SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 118
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย 
โดย 
นางสาวกอบกุล โมทนา 
สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร 
วันพุธที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 9.40 - 10.10 น. 
ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว
2 
1 สถานการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2557 
2 แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2558 
3 บทบาทของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม 
เพื่อเพิ่มแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 
ประเด็นนาเสนอ
3 
ภาพรวมเศรษฐกิจไทย: เกือบ 4 ทศวรรษปีผ่านไปเศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ต่อปี แต่อัตรา 
การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องตามการชะลอตัวของการส่งออกและการลงทุน 
%YOY อัตราการขยายตัวของ GDP (ณ ราคาคงที่ %) 
12 
0 3 6 9 
-3 
-6 
-9 
ที่มา: สศช. 
-1.4 
-10.5 
4.4 4.8 
2.2 
5.3 7.1 6.3 4.6 5.1 5.0 
2.5 
-2.3 
7.8 
0.1 
6.5 
2.9 
-12 
วิกฤตต้มยากุ้ง วิกฤตการเงินโลก วิกฤตน้าท่วม 
2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 
แผน 5 
(2525-2529) 
แผน 6 
(2530-2534) 
แผน 7 
(2535-2539) 
แผน 8 
(2540-2544) 
แผน 9 
(2545-2549) 
แผน 10 
(2550-2554) 
เฉลี่ย 2 ปีแรกของแผน 11 
(2555-2556) 
GDP (พันล้านบาท) 1,136.5 1,748.8 2,700.7 2,955.3 3,661.2 4,416.6 4,968.5 
GDP (%) 5.4 10.9 8.1 -0.1 5.7 2.6 4.7 
การลงทุน (%) 3.1 21.0 9.1 -12.3 9.2 1.2 5.6 
ภาคเอกชน 3.9 24.7 7.1 -12.9 12.4 2.3 5.8 
ภาครัฐ 1.7 10.5 17.7 -7.3 2.4 -1.6 5.1 
การบริโภครวม (%) 3.9 8.6 7.6 0.4 5.1 2.5 3.9 
ภาคเอกชน 3.9 9.4 7.7 0.2 5.2 1.9 3.4 
ภาครัฐ 4.1 4.0 7.4 1.8 4.5 5.6 6.2 
มูลค่าการส่งออกสินค้า (%) 10.3 20.0 9.2 8.7 8.6 5.3 -0.1
4 
การปรับประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 ของหน่วยงานต่างๆ 
หน่วยงาน 
ประมาณการเศรษฐกิจปี 2557 (% GDP growth) 
ประมาณการครั้งก่อน ประมาณการล่าสุด 
สศช. 1.5 – 2.5 (19 พ.ค. 57) 1.5 - 2.0 (18 ส.ค. 57) 
ธนาคารแห่งประเทศไทย 1.5 (27 มิ.ย. 57) 1.5 (26 ก.ย. 57) 
สานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2.6 (27 มี.ค. 57) 1.5-2.5 (29 ก.ค. 57) 
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2.5 (20 มี.ค. 57) 1.5-2.0 (30 ส.ค. 57) 
ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ 1.6 (24 ก.ค. 57) 1.6 (3 ต.ค. 57) 
Phatra securities 1.1 (30 เม.ย. 57) 1.8 (6 มิ.ย. 57) 
ศูนย์วิเคราะห์ธนาคารทหารไทย 2.5 (10 มิ.ย. 57) 2.0 (10 ก.ย. 57) 
Tisco securities 1.5 (16 มิ.ย. 57) 1.5 (19 ส.ค. 57) 
Nomura securities 1.1 (7 ส.ค. 57) 1.1 (24 ก.ย. 57) 
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย 2.3 (18 ส.ค. 57) 1.6 (10 ต.ค. 57) 
ธนาคารโลก 3.0 (มิ.ย. 57) 1.5 (ต.ค. 57) 
ADB 2.9 (เม.ย. 57) 1.6 (ก.ย. 57) 
IMF 2.5 (เม.ย. 57) 1.0 (ต.ค. 57) 
ที่มา: รวบรวมโดย สศช., ณ 8 ตุลาคม 2557
5 
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2557 : คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.5 - 2.0 
ประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2557 
ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2557 
เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ 
(%YOY) 
ข้อมูลจริง 
ปี 2555 
ข้อมูลจริง 
ปี 2556 
ประมาณการ 
ปี 2557 
GDP 6.5 2.9 1.5 – 2.0 
การบริโภคภาคเอกชน 6.7 0.2 0.8 
การลงทุนรวม 13.2 -2.0 -2.0 
มูลค่าการส่งออกสินค้า 
(USD) 3.1 -0.2 2.0 
อัตราเงินเฟ้อ 3.0 2.2 1.9 – 2.4 
ดุลบัญชีเดินสะพัด 
ต่อ GDP -0.4 -0.5 2.6 
o เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2557 สศช. ประมาณการว่าเศรษฐกิจไทย 
ในปี 2557 จะขยายตัวในช่วงร้อยละ 1.5 – 2.0 โดยคาดว่าในช่วง 
ครึ่งปีหลังเศรษฐกิจมีแนวโน้มเร่งขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 0.1 ในช่วง 
ครึ่งปีแรก 
o เครื่องชี้เศรษฐกิจล่าสุดในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคมสะท้อนว่า 
เศรษฐกิจในช่วงไตรมาสที่ 3 เริ่มมีทิศทางการฟื้นตัวอย่างช้าๆ โดย 
มีแรงสนับสนุนหลักจากภาครัฐทั้งการใช้จ่ายและการลงทุน อย่างไรก็ 
ดี การส่งออกและการท่องเที่ยวมีแนวโน้มหดตัวมากกว่าที่คาดไว้เดิม 
o แนวโน้ม ไตรมาส ที่ 4 คาดว่าปัจจัยสนับสนุนการ ขยายตัว 
ประกอบด้วย 
- ความเชื่อมั่นผู้บริโภคและภาคธุรกิจที่ปรับตัวดีขึ้น 
- ฐานการผลิตและจาหน่ายรถยนต์ที่เริ่มเข้าสู่แนวโน้มปกติ 
- สัญญาณการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและแนวโน้ม 
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่น่าจะสนับสนุนการส่งออก 
- มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล 
ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
6 
ประเด็นนาเสนอ 
1 สถานการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2557 
2 แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2558 
3 บทบาทของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม 
เพื่อเพิ่มแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
7 
ประมาณการเศรษฐกิจโลกปี 2558 : หน่วยงานสาคัญประมาณการว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2558 
จะฟื้นตัวดีขึ้นอย่างชัดเจน 
(% GDP growth) 
ประมาณการเศรษฐกิจโลก ปี 2557 - 2558 
ประมาณการเศรษฐกิจโลก ปี 2557 ประมาณการเศรษฐกิจโลก ปี 2558 
ประมาณการครั้งก่อน ประมาณการล่าสุด ประมาณการครั้งก่อน ประมาณการล่าสุด 
กองทุนการเงิน 
ระหว่างประเทศ 
(IMF)1 
3.4 (ก.ค. 57) 3.3 (ต.ค. 57) 4.0 (ก.ค. 57) 3.8 (ต.ค. 57) 
ธนาคารโลก 
(World Bank) 2 3.0 (ก.ค. 57) 2.6 (ต.ค. 57) 3.3 (ก.ค. 57) 3.2 (ต.ค. 57) 
ที่มา: รวบรวมโดย สศช. 
1. World Economic Outlook, October 2014. Data and projection are based on 189 countries. 
2. East Asia and Pacific Economic Update, October 2014.
8 
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2558 : คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 - 4.5 
ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2557-2558 
(%) 2555 2556 2557F 2558F 
GDP 6.5 2.9 1.5-2.0 3.5-4.5 
การบริโภครวม 6.8 1.1 1.3 3.0 
- การบริโภคภาคเอกชน 6.7 0.3 0.8 3.0 
- การใช้จ่ายภาครัฐ 7.5 4.9 3.7 2.7 
การลงทุนรวม 13.2 -2.0 -2.0 4.4 
- ภาคเอกชน 14.4 -2.8 -2.9 4.0 
- ภาครัฐ 8.9 1.3 1.0 6.0 
มูลค่าส่งออกสินค้า 3.1 -0.2 2.0 5.5 
มูลค่านาเข้าสินค้า 8.8 -0.4 4.9 5.1 
อัตราเงินเฟ้อ 3.0 2.2 1.9 – 2.4 1.8-2.8 
ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP -0.4 -0.5 2.6 3.1 
ที่มา: สศช 18 สิงหาคม 2557 
ปัจจัยสนับสนุน 
• การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลก 
• ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนเพิ่มขึ้น 
ต่อเนื่อง การลงทุนภาครัฐคาดว่าจะมีความคืบหน้า 
• การลงทุนภาคเอกชนฟื้นตัว โดยเป็นผลจากการ 
ลงทุนจริงของโครงการที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการ 
ลงทุนในช่วงครึ่งหลังของปี 2557 
• ราคาน้ามันและอัตราเงินเฟ้อลดลงอยู่ในเกณฑ์ต่า 
ปัจจัยเสี่ยงและข้อจากัด 
• ข้อจากัดของการส่งออกจากแนวโน้มการชะลอตัว 
ของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและจีน 
• ราคาส่งออกที่ยังเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ตามราคาสินค้า 
ในตลาดโลก 
• ข้อจากัดด้านรายได้ภาคเกษตรและการส่งออก 
ต่อการใช้จ่ายของครัวเรือน
9 
ประเด็นนาเสนอ 
1 สถานการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2557 
2 แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2558 
3 บทบาทของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม 
เพื่อเพิ่มแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
10 
ความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจไทย 
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ(GDP) ปี 2523 - 2556 
จีน 9.9 
สิงคโปร์ 6.8 
เกาหลีใต้ 6.2 
มาเลเซีย 5.9 
ไทย 5.4 
อินโดนีเซีย 5.2 
เวียดนาม 6.4 
โลก 3.5 
ที่มา: IMF 
31 
41 
36 
31 
34 
31 
28 26 25 
29 
33 
27 26 26 27 
30 
27 
20 
30 
40 
50 
2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552 2554 2556 
ที่มา: IMD World Competitive Yearbook 2013 (rank out of 60 countries) 
อันดับด้านโครงสร้างพื้นฐาน 
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
11 
เศรษฐกิจไทยกับความท้าทายที่สาคัญ 
ความท้าทายระยะสั้น ความท้าทายระยะยาว 
การสร้างศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว 
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 
การเพิ่มผลิตภาพ 
การผลิตโดยรวม 
(TFP) 
Innovation 
Creativity Knowledge 
Based 
Economy 
การลงทุน 
การพัฒนาผลิตภาพ 
แรงงาน 
ท่ามกลางแนวโน้มการ 
ปรับตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ 
การกระจายรายได้ การสร้างการเติบโต 
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 
การบริหารจัดการ 
ภาครัฐ 
 การฟื้นตัวอย่างล่าช้าของเศรษฐกิจโลก จาก 
ความเสี่ยงของเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป และปัญหา 
ทางการเมืองระหว่างประเทศระหว่างรัสเซียและ 
ยูเครน รวมทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน 
 การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลา 
 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน 
 แนวโน้มราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกลดลง 
 ความสามารถในการแข่งขันของการส่งออก 
จากข้อจากัดทางเทคโนโลยีการผลิต
12 
กรอบการบริหารนโยบายเศรษฐกิจในระยะปานกลางและระยะยาว 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) 
การปรับ 
โครงสร้าง 
เศรษฐกิจ 
การสร้างคน 
และสังคม 
คุณภาพ 
6 ยุทธศาสตร์การพัฒนา 
การบริหาร 
จัดการทรัพยากร 
ธรรมชาติ 
 ยุทธศาสตร์การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และการ 
สร้างปัจจัยแวดล้อม 
 ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ 
และความมั่นคงในภูมิภาค 
 ยุทธศาสตร์การสร้างความสมดุลและมั่นคงของ 
อาหารและพลังงาน 
 ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 
 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ 
ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 
 ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ 
สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 
เศรษฐกิจเติบโตอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน 
(New Growth Model) 
คน คุณภาพชีวิต ความรู้ 
ยุติธรรม 
Growth & Competitiveness 
โครงสร้างพื้นฐาน 
ผลิตภาพ วิจัยและพัฒนา 
หลุดพ้น 
จากประเทศ 
รายได้ 
ปานกลาง 
ลดความ 
เหลื่อมล้า 
เป็นมิตรต่อ 
สิ่งแวดล้อม 
ปรับสมดุลและ 
พัฒนาระบบการ 
บริหารจัดการ 
ภาครัฐ 
กฎระเบียบ 
Inclusive Growth Green Growth
13 
การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหนึ่งในนโยบายเศรษฐกิจที่สาคัญของรัฐบาล 
1 เร่งจ่ายงบลงทุนของปีงบประมาณ 2557 
ที่ยังค้างอยู่ 
ติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2558 
2 ให้เป็นไปอย่างคล่องตัว 
3 
4 
ด้านการลงทุน 
• เร่งพิจารณาโครงการลงทุนที่ยื่นขออนุมัติส่งเสริมการลงทุน 
ให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว 
• นาโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานประเภทที่มี 
ผลตอบแทนดีมาจัดทาเป็นโครงการลงทุนร่วมกับเอกชน 
• วางแผนการลงทุนในระยะยาว 
การดูแลให้เกษตรกรมีรายได้ดีขึ้น 
6 
7 
5 
การส่งออก 
• แสวงหาตลาดที่มีศักยภาพ 
• ลดอุปสรรคในการส่งออก 
ด้านการท่องเที่ยว 
• พิจารณามาตรการลดผลกระทบจากการประกาศใช้กฎอัยการศึก 
ในบางพื้นที่ที่มีต่อการท่องเที่ยว 
• สร้างสิ่งจูงใจและสิ่งอานวยความสะดวกที่เกื้อกูลต่อบรรยากาศ 
การท่องเที่ยว 
• ส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวอันมีลักษณะโดดเด่น 
ร่วมกันหรือจัดเป็นกลุ่มได้ 
• พัฒนาท่องเที่ยวเดิมและแหล่งท่องเที่ยวใหม่ 
• เพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การควบคุมสินค้าและ 
บริการให้มีคุณภาพ ราคาที่เป็นธรรม 
• การจัดระเบียบ ด้านความสะอาดให้น่าท่องเที่ยว สวยงาม 
แก้ไขปัญหาน้าท่วมและปัญหาขาดแคลนน้า 
• จัดสร้างแหล่งน้าขนาดเล็กให้ครอบคลุมทั่วพื้นที่เพาะปลูก 
• ระดมความคิดหาทางบริหารจัดการน้าอย่างยั่งยืน 
ระยะเร่งด่วน
14 
การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหนึ่งในนโยบายเศรษฐกิจที่สาคัญของรัฐบาล 
นโยบายด้านเศรษฐกิจในระยะต่อไป: แก้ปัญหาที่ค้างคา และวางรากฐานให้ประเทศ 
ให้สอดคล้องกับต้นทุน และให้มีภาระภาษีที่เหมาะสมระหว่างน้ามันต่าง 
ชนิดและผู้ใช้ต่างประเภท 
• คงอัตราภาษีเงินได้ไว้ในระดับปัจจุบันทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล 
• ปรับปรุงโครงสร้างอัตราภาษีทางด้านการค้าและจะขยายฐานการเก็บภาษี 
ประเภทใหม่ 
• ยกเลิกการยกเว้นภาษีประเภทที่เอื้อประโยชน์เฉพาะผู้ที่มีฐานะการเงินดี 
1 
2 
• พัฒนารถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใน กทม. และรถไฟฟ้าเชื่อม กทม. กับเมืองบริวาร 
• ปรับปรุงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 ท่าอากาศยานดอนเมือง 
และท่าอากาศยานสากลในภูมิภาค 
• พัฒนานิคมอุตสาหกรรมการบินของประเทศ 
• พัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่งที่ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือชายฝั่งทะเลอ่าวไทยและ 
อันดามัน 
• ผลักดันให้ท่าเรือในลาน้าเจ้าพระยาและป่าสักมีการใช้ประโยชน์ในการขนส่ง 
สินค้าภายในประเทศ 
3 
• แบ่งเขตเพื่อปลูกพืชเกษตรแต่ละชนิด 
• สนับสนุนให้สหกรณ์ของกลุ่มเกษตรกรเพิ่มบทบาท 
ในฐานะผู้ค้าจนถึงการแปรรูปและการส่งออกได้ 
• จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ทางการเกษตรในทุกอาเภอและจังหวัด 
4 
• ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับศักยภาพ 
พื้นฐานของประเทศ 
• ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง 
• ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้การออกแบบและสร้างสรรค์ 
5 
• วางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่มขับเคลื่อนได้อย่าง 
จริงจัง 
• ผลิตและค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรง 
• ใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของภาคธุรกิจการเงิน ธุรกิจ 
บริการอื่นๆ รวมทั้งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 
6 
ปฏิรูปโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ 
ปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษี 
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งและคมนาคม 
ด้านเกษตรกรรม 
ด้านอุตสาหกรรม 
เศรษฐกิจดิจิทัล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 
สร้างรากฐานความ 
มั่นคงทางสังคม 
เป้าหมายเชิง 
ยุทธศาสตร์ 
สร้างรากฐาน 
ความมั่นคงทาง 
เศรษฐกิจ 
เสริมสร้างความมั่นคง 
ความปลอดภัยในการ 
เดินทางและการขนส่ง 
สร้างโอกาสสาหรับ 
การใช้ประโยชน์ 
สูงสุดจากการเป็น 
ประชาคม 
อาเซียน 
การประชุม คสช. ในสถานะ ครม. ได้มีมติเมื่อวันที่ 29 
กรกฎาคม 2557 : เห็นชอบ 
15 
กรอบยุทธศาสตร์ฯ พ.ศ. 2558-2565 
ประกอบด้วย 4 เป้าหมาย และ 5 แผนงาน 
แนวทางการพัฒนา ระยะเร่งด่วน 
ปี 2557 2558 
 เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคม 
 พัฒนาระบบราง 
4 เป้าหมาย
16 
การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ประกอบด้วย 5 แผนงาน โดยมีเป้าหมายเพื่อ (1) เสริมสร้างรากฐานความมั่นคง 
ทางสังคมโดยการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน (2) ลดต้นทุนการขนส่ง เพิ่มความเร็วในการเดินทาง (3) ความปลอดภัยในการเดินทาง 
และการขนส่ง และ (4) สร้างโอกาสสาหรับการแข่งขันและให้ประเทศได้ประโยชน์สูงสุดจากการเป็นประชาคมอาเซียน 
ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง (ปี 2558 – 2565) 
1. การพัฒนาโครงข่าย 
รถไฟระหว่างเมือง 
2. การพัฒนาโครงข่ายขนส่ง 
สาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหาจราจร 
ใน กทม. และปริมณฑล 
3. การเพิ่มขีดความสามารถ ทาง 
หลวงเชื่อมโยงฐานการผลิตของ 
ประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน 
4. การพัฒนา 
โครงข่ายการขนส่ง 
ทางน้า 
5. การเพิ่มขีดความสามารถการ 
ให้บริการขนส่งทางอากาศ 
ระบบขนส่ง 
มวลชน 
ในกรุงเทพฯ 
และปริมณฑล 
• ปรับปรุงระบบ 
อุปกรณ์และโครงสร้าง 
พื้นฐาน 
• สร้างรถไฟรางคู่ 6 
สายหลักและส่วนต่อ 
ขยายไปยังชายแดน 
• การยกระดับการ 
เข้าถึงพื้นที่ 
เกษตร ท่องเที่ยว 
• การเชื่อมโยงระหว่างเมืองหลัก 
และระหว่างฐานการผลิตหลักของ 
ประเทศ 
• การเชื่อมโยงประตูการขนส่ง 
ระหว่างประเทศ 
• การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก 
ทางถนน และองค์ประกอบ 
ต่อเนื่อง 
• รถไฟฟ้า 10 สาย 
• การจัดซื้อรถประจาทาง 
เชื้อเพลิง NGV 3,183 คัน 
และ อู่จอด 
• การก่อสร้างโครงข่ายถนนและ 
สะพานใน กทม. และปริมณฑล 
• การพัฒนาท่าเรือ 
• การเสริมสร้าง 
ประสิทธิภาพการ 
ขนส่งทางน้า 
รักษาตลิ่ง 
โครงข่ายทางถนน 
รถไฟ 
การขนส่งทางน้า 
การขนส่งทางอากาศ 
• การเพิ่มขีดความสามารถของ 
ท่าอากาศยาน 
• เพิ่มขีดความสามารถระบบ 
การจัดการจราจรทางอากาศ 
ให้ได้มาตรฐานสากล 
• เพิ่มประสิทธิภาพฝูงบิน 
• การก่อสร้างอาคารเพื่อ 
รองรับการพัฒนาบุคลากร 
การบินพลเรือน 
การเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการและบริการด้านคมนาคมขนส่ง (Service)
ประโยชน์ที่จะได้รับ 
• โครงข่ายรถไฟครอบคลุมขึ้นอีก 6 จังหวัด ทางคู่เพิ่มขึ้นอีก 1,300 กิโลเมตร 
• สามารถเพิ่มความเร็วในการเดินรถสินค้าจาก 29 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็น 60 กิโลเมตร 
ต่อชั่วโมง 
• สัดส่วนการขนส่งทางรถไฟในประเทศจะเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 1.5 เป็น ร้อยละ 5 ในปี 
2563 
• ประชาชนเข้าถึงรถไฟได้ง่ายขึ้น การเดินทางและขนส่งด้วยรถไฟตรงเวลา และปลอดภัย 
มากขึ้น 
17 
แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง 
ประกอบด้วย 
• ปรับปรุงระบบอุปกรณ์และโครงสร้างพื้นฐาน 
• พัฒนาระบบรถไฟทางคู่ที่มีความพร้อมดาเนินการ 6 สายแรกก่อน 
• เร่งผลักดันให้สามารถดาเนินการก่อสร้างทางคู่จนถึงพังงา ภูเก็ต และด่านพรมแดน 
ที่หนองคาย มุกดาหาร นครพนม เชียงราย อุบลราชธานีและปาดังเบซาร์
แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง : การพัฒนาระบบรถไฟทางคู่ ระยะเร่งด่วน 6 เส้นทาง 
โครงการ 57 58 59 60 61 วงเงิน(ลบ.) 
18 
พร้อมก่อสร้าง 
1. ฉะเชิงเทรา-คลอง 19 
-แก่งคอย (106 กม.) 11,272 
อยู่ระหว่างนาเสนอขออนุมัติโครงการ 
2. ชท.ถนนจิระ-ขอนแก่น 
(185 กม.) 26,007 
3. ประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร 
(167 กม.) 17,292 
อยู่ระหว่างนาเสนอขออนุมัติ EIA 
4. ลพบุรี-ปากน้าโพ 
(148 กม.) 24,842 
5. มาบกะเบา-ชท. ถนนจิระ 
(132 กม.) 29,855 
6. นครปฐม-หัวหิน 
(165 กม.) 
20,038 
ประกวดราคา ก่อสร้าง 
เวนคืน 
เวนคืน 
ครม. 
ประกวดราคา 
EIA เวนคนื 
ครม.ประกวดราคา 
ก่อสร้าง 
ก่อสร้าง 
EIA ครม. เวนคนื 
ก่อสร้าง 
ประกวดราคา 
EIA ครม. เวนคนื 
ก่อสร้าง 
ประกวดราคา 
EIA ครม. เวนคนื 
ก่อสร้าง 
ประกวดราคา 
รวม (903 กม.) 129,308 
ที่มา: สนข.
19 
โครงการรถไฟทางคู่ : ระยะที่ 2 (ศึกษาออกแบบรายละเอียดในปีงบประมาณ 2558 : จานวน 8 เส้นทาง) 
แผนพัฒนาระบบรถไฟทางคู่ (MG) 
โครงการ ระยะทาง 
(กม.) 
58 59 60 61 62 63 
1. หัวหิน-ประจวบคึรีขันธ์ 90 
2. ปากน้าโพ-เด่นชัย 285 
3. ชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี 309 
4. ขอนแก่น-หนองคาย 174 
5. ชุมพร-สุราษฎร์ธานี 167 
6. สุราษฎร์ธานี-สงขลา 339 
7. หาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ 45 
8. เด่นชัย-เชียงใหม่ 217 
รวม 1,626 
เวนคนืก่อสร้าง 
ประกวดราคา 
ครม. 
EIA 
ออกแบบ ครม. เวนคนื 
EIA ประกวดราคา ก่อสร้าง 
ออกแบบ 
ที่มา: สนข.
20 
พัฒนาทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) (ความเร็ว 180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 
โครงการ ระยะ 
(กม.) 
58 59 60 61 62 63 
1. กรุงเทพ-นครราชสีมา 
และนครราชสีมา- 
มาบตาพุด 
512 
2. กรุงเทพ-ระยอง 193 
3. นครราชสีมา- 
หนองคาย 
355 
รวม 1,060 
ออกแบบ ครม. 
เวนคืน 
ประกวดราคา ก่อสร้าง 
EIA 
EIA ครม. เวนคนื 
ประกวดราคา ก่อสร้าง 
ออกแบบ ครม. 
เวนคืน 
ประกวดราคา ก่อสร้าง 
EIA 
1 
2 
3 
ที่มา: สนข.
21 
แผนงานการพัฒนาโครงข่ายขนส่งสาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหาจราจรในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 
ที่มา: สนข. 
รถไฟฟ้า 10 เส้นทาง ระยะทาง รวม 464 กม.
22 
การพัฒนารถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใน กทม. และปริมณฑล : เร่งรัดก่อสร้าง 4 โครงการ (89 กม.) 
โครงการ (กม.) 58 59 60 61 62 63 
ประกวดราคา 
0 2 5 10 กม. 22 
Km. 
1 
2 
3 
4 
0 2 5 10 กม. 
Km. 
1. บางใหญ่-บางซื่อ 23 
2. บางซื่อ-ท่าพระ 
27 
หัวลาโพง-บางแค 
3. แบริ่ง-สมุทรปราการ 12.8 
4. บางซื่อ-รังสิต 26 
ครม. 
ก่อสร้าง 
ประกวดราคา ก่อสร้าง 
ก่อสร้าง 
ก่อสร้าง 
ที่มา: สนข. 35
หมอชิต-สะพานใหม่(11.4 กม.) 
23 
สะพานใหม่-คูคต (7 กม.) 
เร่งรัดโครงการระหว่างประกวดราคา : 1 โครงการ 
23 
โครงการ (กม.) 58 59 60 61 62 63 
1. หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต 18.4 
ก่อสร้าง 
ครม. ประกวดราคา 
เวนคืน
0 2 5 10 กม. 24 
Km. 
5 
โครงการเตรียมขออนุมัติประกวดราคา : 
6 เส้นทาง (ระยะทาง 144 กม.) 
โครงการ กม. 58 59 60 61 62 63 64 
1.ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี 20 
2.แคราย-มีนบุรี 36 
3.ลาดพร้าว-พัฒนาการ 30.4 
4. ARL ดอนเมือง-พญาไท 21.8 
5. บางซื่อ-หัวลาโพง-หัวหมาก 25.5 
6. รังสิต-มธ.ศูนย์รังสิต 10.0 
ก่อสร้าง 
ครม. ประกวดราคาเวนคืน ก่อสร้าง 
2 
1 
3 
6 
4
โครงการศึกษาออกแบบรายละเอียด : 1 เส้นทาง 
บางแค-พุทธมณฑล สาย4 
(8 กม.) 
โครงการ (กม.) 58 59 60 61 62 63 64 
บางแค-พุทธมณฑล สาย 4 8.0 
ครม. ประกวดราคา 
0 2 5 10 กม. 25 
Km. 
ก่อสร้าง 
เวนคืน 
ออกแบบ 
EIA
ประโยชน์ที่จะได้รับ 
• มาตรฐานขั้นต่าของโครงข่ายถนนส่วนใหญ่ของประเทศเป็นถนนลาดยาง ตั้งแต่การเดินทางระดับ 
หมู่บ้านจนถึงระหว่างประเทศ ระยะทาง 461,221 กิโลเมตร 
• มีถนน 4 ช่องจราจร 1,864 กม. ในทางหลวงสายหลักทั่วประเทศ 
• มีมาตรฐานถนน สิ่งอานวยความสะดวกด้านการขนส่งที่ช่วยลดอุบัติเหตุที่มีสาเหตุจากถนนและ 
การขับขี่ 
• ดึงดูดการกระจายตัวของการตั้งถิ่นฐาน การใช้พื้นที่ของภาคต่างๆ เป็นฐานการผลิตของประเทศ 
และของประชาคมอาเซียน 
26 
แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถทางหลวงเพื่อเชื่อมโยงพื้นที่ที่สาคัญของประเทศและเชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้าน 
ประกอบด้วย 
• ปรับปรุงถนนเชื่อมโยงแหล่งเกษตรและแหล่งท่องเที่ยว 
• ปรับปรุงโครงข่ายถนนระหว่างเมืองหลักและเชื่อมเมืองหลักกับด่านพรมแดนให้เป็น 
4 ช่องจราจร 
• ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในเส้นทางที่มีความจาเป็น 
• ผลักดันให้มีการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกด้านการขนส่งทางถนน เช่น จุดพักรถบรรทุก สถานี 
ขนส่งสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายระหว่างการขนส่งทางรางกับทางถนน 
โครงการก่อสร้างทางสายหลักให้เป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2)
27 
การพัฒนาทางหลวงสายหลัก: โครงการเร่งรัดก่อสร้างขยาย 4 ช่องจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวง 
2 
1 
3 
4 
5 
โครงการ ระยะทาง 
(ก.ม.) 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท 
วงเงิน 
ปี 2558 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2557 2558 2559 2560 2561 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
โครงการเร่งรัดก่อสร้างขยาย 4 ช่องจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวง 
1. ทล.304 อ.กบินทร์บุรี- 
15.51 1,600.00 240.00 
อ.วังน้าเขียวตอน 3 
2. ทล.304 กบินทร์บุรี- 
อ.ปักธงชัย (ทางเชื่อม 
ผืนป่า) 
3.00 1.397.50 209.63 
3. ทล.4 กระบี่-อ.ห้วยยอด 16.45 600.00 90.00 
4. ทล.3138 อ.บ้านบึง- 
อ.บ้านค่าย ตอน 3 
18.23 670.00 100.50 
5. ทล.314 อ.บางปะกง – 
ฉะเชิงเทรา ตอน 2 
3.25 220.00 44.00 
หมายเหตุประกวดราคา ก่อสร้าง ที่มา: สนข.
การพัฒนาทางหลวงสายหลัก: พัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ 
หมายเหตุ 
28 28 
2 
1 
3 
4 
โครงการ 
ระยะทาง 
(ก.ม.) 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท 
วงเงิน 
ปี 2558 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2557 2558 2559 2560 2561 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
โครงการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ 
1. ทล. 212 อ.โพนพิสัย – 
บึงกาฬ ตอน 1 
30.00 1,200.00 180.00 
2. ทล.12 ตาก – แม่สอด 
ตอน 3 
25.50 1.400.00 280.00 
3. ทล12 กาฬสินธุ์ – 
อ. สมเด็จ ตอน 2 
11.00 470.00 94.00 
4. ทล.3 ตราด-หาดเล็ก 
ตอน 2 จ.ตราด 
35.00 1,400.00 210.00 
ประกวดราคา ก่อสร้าง 
ที่มา: สนข.
29 
การพัฒนาทางหลวงสายหลัก: โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายพัทยา - มาบตาพุด 
ชลบุรี 
พัทยา 
โครงการ ระยะทาง 
(ก.ม.) 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท 
วงเงิน 
ปี 2558 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2558 2559 2560 2561 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (motorway) 
โครงการก่อสร้าง 
32.00 16,700.00 1,440.00 
ทางหลวงพิเศษ 
ระหว่างเมือง สาย 
พัทยา-มาบตาพุด 
(ก่อสร้างปี 58-61 
วงเงิน 14,200 ลบ.) 
จัดกรรมสิทธิ์ประกวดราคา ก่อสร้าง 
หมายเหตุ 
ที่มา: สนข.
30 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 ของกรมทางหลวง
การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า 
เพิ่มประสิทธิภาพแม่น้าป่าสัก 
31 
ท่าเรือแหลมฉบัง
32 
การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า: โครงการพัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) 
 ความยาวหน้าท่า 125 เมตร และ 120 เมตร 
 พื้นที่สนับสนุนบนฝั่ง 43 ไร่ 
 รองรับเรือขนาด 1,000 DWT และ 3000 DWT ได้พร้อมกัน 2 ลาในเวลาเดียวกัน รองรับตู้สินค้า 300,000 TEUs ต่อปี 
ที่มา : สศช. 
โครงการท่าเทียบเรือ 
ชายฝั่ง A โครงการท่าเทียบเรือ 
ชายฝั่ง A 
โครงการ 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท) 
วงเงิน 
ปี 2558 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2557 2558 2559 2560 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
โครงการพัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง 
(ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง 
1,864.19 782.25 
หมายเหตุ : 
เสนอ ครม. 
ประกวดราคา 
ก่อสร้าง
33 
การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า: โครงการพัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟที่ท่าเรือแหลมฉบัง 
โครงการ 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท) 
วงเงิน 
ปี 2558 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2557 2558 2559 2560 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
โครงการพัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้า 
ทางรถไฟที่ท่าเรือแหลมฉบัง (ระยะที่ 1) 
2,944.93 1,049.65 
หมายเหตุ 
เสนอ ครม. 
ประกวดราคา 
ก่อสร้าง 
ที่มา: สนข. 
รองรับตู้สินค้า 2 ล้าน TEUs ต่อปี
34 
การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า: โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการขนส่งสินค้าในแม่น้าป่าสัก 
โครงการ 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท) 
วงเงิน 
ปี 2558 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2557 2558 2559 2560 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการขนส่งสินค้า 
ในแม่น้าป่าสัก โดยการก่อสร้างระบบป้องกันตลิ่ง 
เพื่อพัฒนาร่องน้าทางเรือ (ระยะที่ 1) 
หมายเหตุ 
2,220.00 365.17 ประกวดราคา 
ก่อสร้าง
35 
แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการขนส่งทางอากาศ 
ประกอบด้วย 
• เร่งผลักดันการพัฒนาท่าอากาศยานหลักที่เป็นประตูการขนส่งของประเทศ ให้ได้ 
มาตรฐานสากล 
• ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานในภูมิภาคให้มีบทบาทมากขึ้น 
• ส่งเสริมการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมการบินของประเทศไทย 
• พิจารณาความเหมาะสมในการพัฒนาห้วงอากาศของประเทศให้สามารถใช้ 
ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างเหมาะสม 
ประโยชน์ที่จะได้รับ 
• การเดินทางระยะทางไกลด้วยการขนส่งทางอากาศสะดวก รวดเร็ว ประชาชน 
มีทางเลือกในการเดินทางเพิ่มมากขึ้น 
• ปริมาณการขนส่งสินค้าและปริมาณผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
เพิ่มสูงขึ้น 
• ศักยภาพการให้บริการการเดินอากาศของไทยเพื่อรองรับปริมาณเที่ยวบิน 
ทั่วประเทศเพิ่มสูงขึ้น
36 
การเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการขนส่งทางอากาศ : โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
โครงการ 
วงเงินรวม 
โครงการ 
(ล้านบาท) 
ปีงบประมาณ 
2557 2558 2559 2560 2561 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 
ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 
ทางวิ่งสารอง ด้านทิศตะวันตก 16,100.57 
งานระบบพื้นที่ปฏิบัติการด้านการบิน 
(Airside) 
40,745.07 
งานอาคารที่พักผู้โดยสารเอนกประสงค์ 
(Multi Terminal) 
7,405.86 
งานระบบสาธารณูปโภค 2,693.22 
หมายเหตุ 
เสนอ ครม. 
ประกวดราคา 
ก่อสร้าง
37 
การเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการขนส่งทางอากาศ : แผนพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต 
ความจุ: 12.5 MAP 
 ระหว่างประเทศ 5 MAP 
 ภายในประเทศ 7.5 MAP 
เพิ่มหลุมจอด 15 เป็น 21 หลุม 
เพิ่มทางขับ 1 เส้น 
คาดว่าแล้วเสร็จ : พ.ค. 2558
38 
โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ 
การจัดซื้อรถประจาทาง NGV 3,183 คัน ของ ขสมก.และอู่จอด 
หมายเหตุ : รับมอบรถ โดยรับครั งแรกเดือน 
ปีงบประมาณ 
หมายเหตุ : ศึกษา รายงาน EIA เสนอ ครม. จัดกรรมสิทธิ์ ประกวดราคา ก่อสร้าง 
หมายเหตุ : ศึกษา รายงาน EIA เสนอ ครม. จัดกรรมสิทธิ์ ประกวดราคา ก่อสร้าง 
ม.ค.-มี.ค. 58 จ้านวน 489 คัน 
และทยอยรับจนครบจ้านวน 
วงเงินรวม 
โครงการ 
Q1 Q2 Q3 Q4 Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4 
โครงการ 
วงเงินปี 2558 
2557 2558 2559 
โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ 
โครงการจัดซื้อรถโดยสารใช้ก๊าซธรรมชาติ 
เพื่อน้ามาทดแทนรถโดยสารเดิมที่ใช้น้ามัน 
ดีเซล จ้านวน 3,183 คัน 
13,162.20 5,862.00
39 
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 
ยุทธศาสตร์สาคัญ 
 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่โดยมุ่งเน้นไปที่ 
เขตเศรษฐกิจในพื้นที่ชายแดนเพื่อเป็นประตู 
เชื่อมต่อทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน 
 สนับสนุนธุรกิจ SMEs และนักลงทุนไทยให้ลงทุน 
ในประเทศเพื่อนบ้าน 
 ให้ความสาคัญกับการบังคับใช้กฎหมายแรงงาน 
แรงงานผิดกฎหมายและการค้าชายแดนโดยเฉพาะ 
อย่างยิ่งสินค้าเกษตร 
การพัฒนาในปัจจุบัน 
ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ 
ดาเนินการปรับปรุงการอาศัยอยู่ของประชาชนตามแนวพื้นที่ชายแดน และ 
ส่งเสริมการค้าชายแดน โดยเริ่มจัดตั้งใน 5 พื้นที่เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ: 
• แม่สอด 
• อาเภออรัญประเทศ 
• ตราด 
• มุกดาหาร 
• สะเดา-ปาดังเบซาร์ 
ในระยะที่ 2 พื้นที่อื่นๆ อีก 6 แห่งที่มีศักยภาพ: 
• แม่สาย 
• เชียงของ 
• สังขละบุรี 
• นครพนม 
• หนองคาย 
• สุไหงโกลก
ตารางสรุปวงเงินลงทุนระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2558 (จาแนกตามสาขาการขนส่ง) 
ลาดับ สาขาการขนส่ง 
กรอบวงเงินลงทุน 
ปี 2558 (ล้านบาท) 
ร้อยละ 
1 ทางถนน 20,864.46 30.25 
2 ทางราง 21,509.37 31.18 
2.1 รถไฟทางคู่ 9,249.49 13.41 
2.2 รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 12,259.87 17.77 
3 ทางน้า 2,206.07 3.20 
4 ทางอากาศ 24,397.11 35.37 
รวมทั้งสิ้น 68,977.02 100.00 
40
กระทรวงคมนาคม 
จบการน้าเสนอ 
41
Yunnan Logistic
ยูนนาน จุดเชื่อมโยง GMS, BIMSTEC และ AEC
ภายใต้ยุทธศาสตร์ “เมืองหัวสะพาน” และแนวคิด “One Belt and One Road” 
ยูนนานจะกลายเป็นศูนย์กลางเชื่อมต่อภูมิภาค 4 ทิศทาง
และประตูเชื่อม 3 ตลาดใหญ่ 
1. เอเชียตะวันออกเฉียงใตี2. เอเชี้ยใใต้้ 
3. มณฑลภายในของจีน 
- เขตเศรษฐกิจเฉิงตูู-ฉงชิ่ง 
- Pan-Pearl River Delta 
- Yangzi River Delta
ยูนนานพัฒนาคมนาคมทางบก (ทางด่วนและรถไฟความเร็วสูง) โดยมีเป้าหมายว่า 
ใในอนาคตอัันใใกล้้ จะใใช้้เวลาเดิินทางจาก คุนหมิิงไไปปยัังเฉิิงตู-ฉงชิิ่ง 3-4 ช.ม. 
กว่างโจว 6 ช.ม. เซี่ยงไฮ้ 8 ช.ม. และปักกิ่ง 10 ช.ม.
ภาพรวมเส้นทางคมนาคมยูนนาน 
เสเส้นทางไปแชงกรรีล่าลา- 
เส้นทางไปฉงชิ่ง- 
ทิเบต เส้นทางไปเฉิงตู 
ลี่เจียง 
Yangzi River Delta 
จาวทง เขตเดินทางภายใน 2 ชั่วโมง 
ต้าหลี่คุนหมิง 
เส้นทางจีน-เมียนมาร์- 
เส้นทางเหนือ-ใตุ 
อินเดีย เส้นทางไปกุ้ยหยาง- 
Yangzi River Delta 
้ 
ฉวี่จิ้ง 
เป่าซาน 
๋ 
โหวเฉียว 
g 
เขตเดินทางภายใน 1 ชั่วโมง 
ฉู่สง 
ีี่ 
เหวินซาน 
เต๋อหง 
รุ่ยลี่ 
่้ 
ยวีซี 
หงเหอ 
ผูเอ่อร์ 
ิ เส้นทางจีน- 
เมียนมาร์ 
เมิ่งติ้ง 
เส้นทางไปหนานหนิง- 
เหอโข่ว Pearl สิบสองปั 
นนา 
จิ่งหง 
ต่าลั่ว บ่อหาน 
River Delta 
เส้นทางจีน-เวียดนาม 
เส้นทางจีน -เมีนมาร์-ไทย 
เส้นทางจีน-ลาว-ไทย 
R3A 
เสจเมยร R3B
เเสส้นททาางถนน
กรมการคมนาคมจะดำเนินงานการพัฒนาทางหลวง 
ระหว่างมณฑล 7 เส้นทาง และระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง
เส้นทาง G5 : ปักกิ่ง - คุนหมิง 
ปปักกิ่ง 
ซซีออาาน 
เฉิงตู 
คุนหมิง
ทางด่วน G5 : ปักกิ่ง - คุนหมิง 
ทางด่วน มณฑล/เมือง 
ที่พาดผ่าน 
ระยะทาง 
(ก.ม.) 
สถานะ 
ปักกิ่ง – คุนหมิง (G5) 
京昆高速公路 
ปักกิ่ง 60 อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 
เหอเป่ย 275 ช่วงจิงจี่เจีย้ เมืองจัวโจว – 
อำเภอหลายสุ่ย เมืองเป่าติง้้ 
อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 
ซานซี 504 
ส่านซี 625 
เสฉวน 1039 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง 
ยูนนาน 213 
รวม 2,716 ---
ทางด่วน G60 : เซี่ยงไฮ้- คุนหมิง 
หางโจว เซี่ยงไฮ้ 
้ 
คุนหมิง 
กุ้ยหยาง
ทางด่วน G60 : เซี่ยงไฮ้- คุนหมิง 
ทางด่วน มณฑล/เมือง 
ที่พาดผ่าน 
ระยะทาง 
( ก.ม.) 
สถานะ 
) 
เซี่ยงไฮ้ – คุนหมิง (G60) 
沪昆高速公路 
เซี่ยงไฮ้48 
เจ้อเจีง 161 
เจเจยเจียงซี 298 
หูหนาน 535 
กกุ้ยโโจจว 573 
ยูนนาน 746 
รวม 2,361 --- 
เปิดใช้ตลอดเส้นทาง
ทางด่วน G85 : ฉงชิ่ง – คุนหมิง 
ฉงชิ่ง 
จาวทง 
คุนหมิง
ทางด่วน G85 : ฉงชิ่ง – คุนหมิง 
ทางด่วน มณฑล/เมือง ระยะทาง สถานะ 
ที่พาดผ่าน (ก.ม.) 
ฉงชิ่ง – คุนหมิง (G85) ฉงชิ่ง 204 
渝昆高速公路 
เปิดใช้ตลอดเส้นทาง 
เสฉวน 368 
ยูนนาน 266 
รวม 838
ทางด่วน G78 : ซัวเถา – คุนหมิง 
คุนหมิง 
ซัวเถา 
หนานหนิง
ทางด่วน G78 : ซัวเถา – คุนหมิง 
ททาางดด่วน มณฑล/เเมมือง ระยะทาง 
สถานะ 
ที่พาดผ่าน 
(ก.ม.) 
ซัซวเเถถาา – คุคนหมมิง (G78) กวางต้ตุง 500 หม่มูบ้าบานจจินโจว เมืเมองซัซวเถา - เขตไท่ไทซาน 
汕昆高速公路 
และอำเภอหลงชวน-อำเภอหวยจี๋ 
อยยู่รระะหวว่าางกกาารกก่อสรร้าาง 
กว่างซี780 อำเภอหยางซั่ว-อำเภอลู่จ้าย 
แแลละะเเมมืองเเหหอฉฉือ-เเมมืองปป่าายเเซซ่อ 
อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 
กกุ้ยโโจจว 126 เเปปิดใใชช้แแลล้ว 
ยูนนาน 290 ช่วงชายแดนกุ้ยโจวและยูนนาน-สือหลิน 
กำลังวางแผนก่อสร้าง 
รวม 1,696 ---
ทางด่วน G56 : หางโจว – รุ่ยลี่ 
หังโจว 
รุ่ยลี่เจ้อเจียง 
คุนหมิง
ทางด่วน G56 : หางโจว – รุ่ยลี่ทางด่วน มณฑล/เมือง ส 
ที่พาดผ่าน 
ระยะทาง 
(กม.) 
ถานะ 
หหาางจโโจว – รุ่รยลี่ ล(G56) เจ้เจอเจีเจยง 123 
杭州至瑞丽高速公路 
อันฮุย 119 
เจีียงซีี298 เปิเปดใช้ใชตลอดเส้เสนทาง 
หูเป่ย 200 
หูหนาน 547 ทางด่วนบริเวณเมืองเย่วหยาง 
อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 
กกุ้ยโโจจว 674 ททาางดด่วนชช่วงเเขขตปปี้เเจจี๋ย-ชชาายแแดดนตตูเเกก๋อ 
เขตลิ่วผานสุ่ย อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 
ยยูนนนาาน 1,020 ชช่วงเเปป่าาซซาาน-รรุ่ยลลี่ยยังเเปป็นถนนธรรมดดาา 
รวม 2981 ---
ทางด่วน G80 : กว่างโจว – คุนหมิง 
คุนหมิง 
กว่างโจว 
หนานหนิง
ทางด่วน G80 : กว่างโจว – คุนหมิง 
ทางด่วน มณฑล/เมือง 
ที่พาดผ่าระยะทาง 
(กม ) 
สถานะ 
ทผาน 
.) 
กวว่าางโโจจว – คคุนหมมิง (G80) กวางต้ง 235 
广昆高速公路 
ตุกว่างซี659 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง 
ยูนนาน 538 
รวม 1,432 ---
ทางด่วน G 214 และ G 318 : คุนหมิง – ลาซ่า 
(ทิเบต) 
ลาซ่า 
คุนหมิง
เส้นทาง G 214 และ G 318 : คุนหมิง – ลาซ่า 
(ทิเบต) 
เส้นทาง มณฑล/เมือง/อำเภอ ระยะทาง สถานะ 
ที่พาดผ่าน (กม.) 
คุุนหมิง – ลาซ่า (ทิเบต) ยูนนาน 810 
滇藏公路(G214 และ G318) 
ู 
ทิเบต 1,490 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง 
รวม 2,300 ---
ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง 
4. คคุนหมมิง-โโหหวเเฉฉียว เเชชื่อมเเมมียนมมาารร์-ออินเเดดีย 
ทางด่วนช่วงคุนหมิง-เถิงชง เปิดใช้ 6 ก.พ. 2556 
ช่วงเถิงชง-โหวเฉียว ยังไม่เริ่มก่อสร้าง 
เถงิชง 
หลงหลงิ 
2. คุนหมิง-รุ่ยลี่ เชื่อมเมียนมาร์ 
ช่วง อ.หลงหลิง-รุ่ยลี่ กำลังก่อสร้าง 
ิโ่ืีุ 
่ 
คาดแล้วเสร็จตลอดสายปี 2558 
3.คุนหมิง-เหอโข่ว เชือมเวียดนาม 
เปิดใช้ตลอดเส้นทาง 9 ต.ค. 2556 
และไปเชื่อมกับทางด่วนลาวกาย- 
1. คุนหมิง-บ่อหาน (R3A) ผ่านเข้าลาวและไทย 
เปิดใช้งานตลอดสายแล้ว ช่งจิ่งห-บ่น 
ฮานอย ซึ่งเปิดใช้ 21 ก.ย. 2557 
เปใชแลชวจง บอหาอยู่ระหว่างการขยายให้เป็นทางด่วนเต็มรูปแบบ 
คาดเสร็จตลอดสาย ปี 2561
ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง 
คุนหมิง - บ่อหาน 
(R3A) 
มณฑล/เมือง/อำเภอ ที่พาดผ่าน ระยะทาง 
(กม ) 
สถานะ 
.) 
昆明至磨憨 
(G8511) 
ทางด่วนคุนหมิง-ยวี่ซี86 
ด่วี่ซีหเจียง 117 
ทางดวนยวซ-ยวนเจทางด่วนหยวนเจียง-ม่อเฮย 147 
ทางหลวงม่อเฮย-ซืือเหมา 65 
ทางด่วนซือเหมา-เซี่ยวเหมิงหยาง 98 
ทางด่วนเซ่ี่ยวเหมิงหย่าง-บ่อหาน 175 คาดเสร็จปี 2561 
เปิดใช้ตลอดสาย 
รวม 688 ปัจจุบัน ใช้เวลาเดินทาง 
ประมาณ 8 ชม.
ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง 
คุนหมิง – รุ่ยลี่มณฑล/เมือง/อำเภอ ระยะทาง สถานะ 
昆明至瑞丽ที่พาดผ่าน (กม.) 
อานหนิง – ฉูู่สง 130 
เปิดใช้แล้ว 
ฉู่สง – ต้าลี่179 
ต้าหลี่ - เป่าซาน 166 
(ช่วงซินเจียต้ากวาน) 
เป่าซาน (ช่วงซินเจียต้ากวาน) 37 
- เป่าซาน (หลงหลิง) 
เป่าซาน (หลงหลิง) - รุุ่ยลี่158 ก่อสร้างเมื่อ 30 พ.ค. 2554 
คาดเสร็จตลอดสาย 2558 
รวม 692 ใช้เวลาเดินทางประมาณ 
10 ช.ม.
ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง 
คุนหมิง – เหอโข่ว 
G8011 
昆明至河口 
มณฑล/เมือง/อำเภอ 
ที่พาดผ่าน 
ระยะทาง 
(กม.) 
สถานะ 
สือหลิน - วัดส่ั่วหลงซ่ื่อ 107 
เปิดใช้เส้นทางด่วนตลอดสาย 
ืั่ี่ 9 2556 
วัดสั่วหลงซื่อ - เมิ่งจือ้79 
เมอวนท ต.ค. เมิ่งจือ้ - เหอโข่ว 140 
รวม 412 ใใชช้เเววลลาาเเดดินททาางปรระะมมาาณ 5 ช.ม. 
ปปััจจจุุบบััน สสาามมาารถเเดดิินททาางจจาากคคุุนหมมิิงไไปปฮฮาานอย โโดดยใใชช้้ททาางดด่่วนคคุุนหมมิิง-เเหหอโโขข่่ว 
แแลละะททาางดด่่วนลลาาวกกาาย-ฮฮาานอย ซซ่ึึ่งเเปปิิดใใชช้้ 21 ก.ย. 2557 ใใชช้้เเววลลาาเเดดิินททาางรวม 8 ช.ม.
ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง 
คุนหมิง – เถิงชง 
昆明至腾冲 
มณฑล/เมือง/อำเภอ 
ที่พาดผ่าน 
ระยะทาง 
(กม.) 
สถานะ 
อานหนิง - ฉู่สง 130 
เปิดใช้เส้นทางด่วนตลอดสาย 
ฉู่สง – ต้าลี่179 
ต้้าหลีี่ - เป่าซาน 189 เมอวนท ก.พ. เป่าซาน - เถิงชง 163 
ืั่ี่ 6 2556 
รวม 683 ใช้เวลาเดินทางราว 7 ชม.
เเสส้นททาางรถไไฟฟ
• ตามแผนการพัฒนาของรัฐบาลระยะเวลา 10 ปี (2554-2563) 
ยูนนานจะสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างมณฑลรวม 8 สายเพื่อเชื่อมไปยัง 
มณฑลรอบด้้าน เช่น เสฉวน ฉงชิ่ง กว่างซี กุ้้ยโโจว กว่างโโจว ทิเบต เซี่ยงไไฮ้้ 
• และเส้นทางรถไฟระหว่างประเทศ 4 สายที่เชื่อมไปยังประเทศใน 
เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใใต้้ ไได้้แก่ เส้้นทางรถไไฟแพนเอเชีีย ประกอบด้้วย 
- เส้นทางรถไฟจีน-เวียดนาม- เส้้นทางรถไไฟจีีน-ลาว 
- เส้นทางรถไฟจีน-เมียนมาร์- เส้้นทางรถไไฟฟจีีน-เมีียนมาร์์-อิินเดีีย 
(ความเร็วรถไฟแพนเอเชียอยู่ระหว่าง 160-200 กม./ชม.)
เส้นทางรถไฟระหว่างมณฑล 
เส้นทางรถไฟ ระยะทาง 
(กม.) 
เวลาเดินทาง 
(ช.ม.) 
หมายเหตุ 
1. ยูนนาน – ทิเบต 1 573 ชิ่ีีิี่่้ (7 10 ช ) 
滇藏铁路 
1,573 - -ชวงคุนหมง–ลเจยง เดมมอยูแลว 7-ม.) 
- ช่วงลี่เจียง-แชงกรีล่า เริ่มสร้าง 22 ก.ค. 2557 
รระะยยะะททาาง 140 กม. คคาาดเเสสรร็จใในนปปี 2563 
2. คุนหมิง-กุ้ยหยาง 
贵昆铁路 
639 8 
ิ 
เดิมมีอยู่แล้ว 
3. คุนหมิง-เสฉวน 
内昆铁路 
872 18 
4. คุุนหมิง-หนานหนิง 828 12 
南昆铁路 
5.1 คุนหมิง-เฉิงตู 
成昆铁路 
1,104 18-23 
5. 2 คุนหมิง-เฉิงตู 
(เส้นคู่ขนาน) 成昆铁路复线 
737 5 
(เดิมใช้เวลา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2553 
(รถไฟด่วน ความเร็ว 
160-200 กม./ชม.) 
19 ช.ม.) คาดเสร็จปี 2563
เส้นทางรถไฟระหว่างมณฑล 
เส้นทางรถไฟ ระยะทาง 
(กม ) 
เวลาเดินทาง 
(ช ม ) 
หมายเหตุ 
.) ..) 
6. ยูนนาน-กว่างซี 云桂铁路 
รเร็สรัส่ผ้โดยสารโดยเฉพาะ 
710 5 
(ิ ใช้ 
เริ่มก่อสร้าง 27 ธ.ค. 2552 
- ถไฟความเรวสูง รบสงผูเดมใชเวลา 
คาดเส็รจปี ป 2559 
- ช่วงยูนนานความเร็ว 200 กม./ชม. 
12 ช.ม.) 
- ช่วงกว่างซีความเร็ว 250 กม./ชม. 
7. คุนหมิง-ฉงชิ่ง 渝昆铁路 
- รถไฟความเร็วสูง รับส่งผู้โดยสารโดยเฉพาะ 
700 3 
(เดิมใช้เวลา 
คาดเริ่มก่อสร้าง ปี 2559 
และจะเสร็จปี 2563 
- ช่วงยูนนานความเร็ว 250 กม./ชม. 
- ช่วงฉงชิ่งความเร็ว 250-300 กม./ชม. 
20 ช.ม.) 
8. คุนหมิิง-เซีี่ยงไไฮ้ 沪昆铁路2,264 9 
่่่้ 
- รถไฟความเร็วสูง รับส่งผู้โดยสารโดยเฉพาะ 
- ช่วงยนนานความเร็250 กม./ชม. 
(เดิมใช้เวลา 
34 41 ช ) 
อยูระหวางการกอสราง 
คาดเสร็จปี 2558 
ชยูเรว - ที่เหลือความเร็ว 350 กม./ชม. 
34-.ม.)
เส้นทางรถไฟ 4 เส้นทางออกต่างประเทศ ช่วงมณฑลยูนนาน
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายกลาง 
คุนหมิง 
ยววี่ซซี 
ผูเอ่อร์เชื่อมลาว-ไทย 
ร็จิ่งหง 
คาดเสรจตลอดสาย 
ปี 2563 
ด่านบ่อหาน
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายกลาง 
สายกลาง แบ่งเป็็น 2 ช่วง 
1. คุนหมิง-ยวี่ซี ระยะทาง 108 กม.ปัจจุบัน เป็น 
รถไไฟธรรมดาใช้เวลา 2 ชม. กำลังพัฒนาเป็็นรถไไฟ 
ด่วน เริ่มก่อสร้าง มิ.ย. 2552 คาดเสร็จในปี 2558 
และจะร่นเวลาเดินทางเหลือ 40 นาที 
2. ยวี่ซี-บ่อหาน (ยวี่ซี-ผูเอ่อร์-จิ่งหง-บ่อหาน) 
ระยะทาง 488 ก.ม. ไได้้รับการอนุมัติแล้้ว และจะเริ่ม 
ก่อสร้างในปี 2558 คาดเสร็จในปี 2563 หากเสร็จจะ 
ใใช้้เวลาเดินทางเพีียง 3 ช.ม.
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันตก 
ต้าตาหลี่ลุ 
คุนหมิง 
กว่างทง 
เป่าซาน 
เต๋๋อหง 
ด่านรุ่ยลี่ 
เชื่อมเมียนมาร์ 
(คาดเสร็จตลอดสายปี 2564)
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันตก 
สายตะวันตก แบ่งเป็น 3 ช่วง 
1. คุนหมิิง-ต้้าหลีี่ กำลัังขยายเส้้นทาง คาดแล้้วเสร็็จ 
พ.ค. 2560 ร่นเวลาเดินทางเหลือเพียง 2 ชม. 
แบ่่งเปป็็น 2 ช่่วง 
1.1 คุนหมิง-กว่างทง ระยะทาง 107 กม. เริ่มสร้าง 
ต.ค. 2550 เปปิิดใใช้้แล้้ว 16 ม.ค. 2557 
1.2 กว่างทง-ต้าหลี่ ระยะทาง 175 กม. เริ่มสร้าง 
ปลายปปีี 2555 งบ 13,936 ล้้านหยวน 
2. ต้าหลี่-เป่าซาน ระยะทาง 134 กม. เริ่มก่อสร้าง 
มิิ.ย.2551 คาดเสร็็จปปีี 2558 
3. เป่าซาน-รุ่ยลี่ ระยะทาง 196 กม. เริ่มก่อสร้าง 
ส.ค. 2557 คาดเสร็็จปปีี 2564
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันออก 
คุุนหมิง 
ยววี่ซซี 
เเมมิ่งจจืออ้ 
เชื่อมเวียดนาม ดด่าานเเหหอโโขข่ว 
คาดเสร็จตลอดสายสิ้นปี 2557
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันออก 
สายตะวันออก แบ่่งเปป็็น 3 ช่่วง 
1. คุนหมิง-ยวี่ซี ระยะทาง 108 กม.ปัจจุบันเป็นรถไฟ 
ธรรมดาใใช้เวลา 2 ชม. กํำลังพัฒนาเปป็นรถไไฟฟด่วน 
เริ่มสร้าง มิ.ย. 2552 คาดเสร็จปี 2558 และจะร่น 
เวลาเดิินทางเหลืือ 40 นาทีี 
2. ยวี่ซี-เมิ่งจือ้ ระยะทาง 141 กม. เปิดใช้งานแล้ว 
23 ก.พ. 2556 
3. เมิ่งจือ้-เหอโข่ว ระยะทาง 141 กม. เริ่มก่อสร้าง 
ก.ค. 2552 คาดเสสร็จสสิน้ปปี 2557
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายเหนือ 
คนหมิง 
ต้าหลี่ 
โ คุมเป่าซาน กว่างทง ด่านโหวเฉียว 
เชื่อมเมียนมาร์-อินเดีย
เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายเหนือ 
• สสาายเเหหนนือ ใใชช้เเสส้นททาางเเดดียวกกับสสาายตตะววันตกโโดดยแแยยกจจาาก 
เมืองเป่าซานไปยังด่านโหวเฉียว อำเภอเถิงชง เพื่อเชื่อม 
ตต่อไไปปยยังเเมมียนมมาารร์ บบังคลลาาเเททศ แแลละะออินเเดดีย 
• ช่่วงเปป่่าซาน-โโหวเฉีียว ยัังไไม่่ไได้้เริิ่มการก่่อสร้้าง
ความคืบหน้ารถไฟความเร็วสูงคุนหมิง-เซี่ยงไฮ้ 
ความเร็วสูงสุด 350 กม./ชม. 
1 ช.ม. 
2 ช.ม. 
1 30 ช ม 
2 ช.ม. 
2 ช.ม. 
1.30 ..
รถไฟความเร็วสูงเซี่ยงไฮ้-คุนหมิง 
เส้นทางรถไฟ ระยะทาง 
( กม.) 
เริ่มก่อสร้าง คาดว่าจะ 
สร้างเสร็จ 
มูลค่าการ 
ลงทน 
เวลาเดินทาง 
)ุ( ช.ม.) 
(ล้านหยวน) 
) 
1. เซี่ยงไฮ้ –หังโจว 158 26 ก.พ. 2552 26 ต.ค. 2553 
(เปิดบริการแล้ว) 
29,680 1 
2. หังโจว – ฉางซา 883 
- เจ้อเจียง 294 22 ธ.ค. 2552 2557 4 
(สร้างเสร็จแล้ว 
ราวร้อยละ 90) 
- เจียงซี506 130,880 
- หููหนาน 83
รถไฟความเร็วสูงเซี่ยงไฮ้-คุนหมิง 
เส้นทางรถไฟ ระยะทาง 
(กม.) 
เริ่ม 
ก่อสร้าง 
คาดว่าจะ 
สร้างเสร็จ 
มูลค่าการ 
ลงทุน 
เวลาเดินทาง 
(ช.ม.) 
(ล้านหยวน) 
3. ฉางซา - คุนหมิง 1,140 
26 มี.ค. 
ช่วงหูหนาน 2557 
ช่วงกุ้ยโจว 2558 161,600 
4 
- หูหนาน 408 
- กุ้ยโจว 560 2553 ช่วงยูนนาน 2558 
- ยูนนาน 188 
รวม 2,181 2552 2558 322,160 9 
(เดิมใช้เวลา 
37 ชม.)
รถไฟความเร็วสูงสิงคโปร์-มาเลเซีย 
กรุงเทพ
รถไฟความเร็วสูงสิงคโปร์-มาเลเซีย 
• มีระยะทางกว่า 300 ก.ม. ความเร็็ว 350-450 กม./ชม. ซ่ึ่งจะช่วย 
ลดระยะเวลาการเดินทางระหว่างสิงคโปร์กับกัวลาลัมเปอร์จาก 6 ช.ม.ในปัจจุบันให้เหลือเพียง 90 นาทีเท่านั้้น คาดก่อสร้าง 
แล้วเสร็จปี 2563 
• เส้้นทางรถไไฟนี้จะทำให้้เครือข่ายการเชื่อมโยงเส้้นทางรถไไฟความเร็็วสูง 
จากนครคุนหมิงไปถึงสิงคโปร์เสร็จสมบูรณ์• หากผนวกกับเส้้นทางรถไไฟความเร็็วสูงคุนหมิง-เซี่ยงไไฮ้้ ซึ่งคาดว่าจะ 
ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี 2558 ก็เท่ากับว่า ภูมิภาคนี้จะมีเครือข่ายเส้นทาง 
รถไไฟความเร็็วสูงทีี่มีีระยะทางยาวมาก เชืื่อมโโยงเซีี่ยงไไฮ้้ไไปถึึงสิงคโโปร์์ 
โดยมีคุนหมิงเป็นศูนย์กลางของเส้นทาง
รถไฟด่วนจีน-เมียนมาร์ (คุุนหมิง-ย่างกุุ้ง) 
• การก่อสร้างเริ่มต้นจากมณฑลยูนนาน 
(คุนหมิง-ต้าหลี่-เป่าซาน-รุ่ยลี่) – 
เมียนมาร์ (มูเซ-ลาโซ-มัณฑะเลย์-ย่างกุ้ง) 
– ไทย – มาเลเซีย – สิงคโปร์ 
โดยเส้นทางช่วงมณฑลยูนนาน 
คาดเสร็จตลอดสายปี 2563
รถไฟความเร็วสููงจีน-เมียนมาร์ (คุุนหมิง-ย่างกุุ้ง) 
 รถไ 
เมีย 
กุ้ง) 
• สร้างคู่ขนานไปกับเส้นทางนํ้ามันดิบและ 
ก๊าซธรรมชาติจีน-เมียนมาร์ 
ไฟความ 
นมาร์ ( 
• เป็นเส้นทางสำคัญในการเชื่อมต่อ 
ฐานการผลิตของจีนเข้ากับตลาดขนาดใหญ่ 
เร็วสูงจี 
คุนหมิง 
ของเอเชียใต้ ซึ่งเป็นตลาดที่มีศักยภาพ 
สำหรับสินค้าจีน และเชื่อมต่อจีนเข้ากับ 
น- 
-ย่าง 
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็น 
แหล่งวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรมต่าง ๆ 
ของจีน
โครงข่ายเส้นทางรถไฟแพนเอเชีย 
เส้้นทางรถไไฟ KSRL สายเหนืือ-ตะวัันตก-กลาง-ตะวัันออก
ความคืบหน้ารถไฟแพนเอเชียสายกลาง (จีน-ลาว-ไทย) 
ช่วงมณฑลยูนนาน 
- ความเร็ว 160 กม./ชม. 
- ขนาดราง 1.435 เมตร 
- คาดเสร็จตลอดสายในปี 2563 
ชช่วงปรระะเเททศลลาาว 
- รัฐบาลจีนอยู่ระหว่างเจรจากับลาว 
- คคาาดเเรริ่มกกาารกก่อสรร้าางไไดด้ใในนปปี 2558 
- ใช้เวลาก่อสร้าง 6 ปี 
- ช่วงในลาว ก่อสร้างต่อจากบ่อหาน 
ผ่านเวียงจันทน์ เข้าหนองคาย 
- ปัจจุบัน ยังไม่มีแผนก่อสร้างรถไฟ 
เข้าเชชียงของ
เเสส้นททาางนนํ้้าา
ท่าเรือใหญ่ 2 แห่ง ในมณฑลยูนนาน ผ่านลำนํ้าโขง 
1. ท่าเรือซือเหมา 
2. ท่าเรือจิ่งหง แบ่งเป็นท่าเรือย่อย 3 แห่ง 
ได้แก่ 
ท่าเรือจิ่งหง ท่าเรือก๋านหล่านป้า ท่าเรือกวนเหล่ย
1. ท่าเรือซือเหมา 
• ตั้งอยูู่ที่เมืองผููเอ่อร์ ห่างจากจิ่งหง 85 ก.ม. และเชียงของ 478 ก.ม. 
• เป็นท่าเรือระดับประเทศ 
• มมีทท่าาเเททียบเเรรือ 5 แแหห่ง 
• รองรับเรือขนาด 100-150 ตัน ถูกออกแบบให้สามารถรองรับ 
ปริมาณสสินค้าไได้ปปีละ 360,000 ตัน ผู้โโดยสสารรวม 200,000 คน 
ซือเหมา
2. ท่าเรือจิ่งหง 
2.1 ท่าเรือย่อยจิ่งหง 
• อยู่ห่างจาก อ. เชียงของ จังหวัดเชียงราย ประมาณ 402 ก.ม. 
และห่างจากท่าเรือเชียงแสน 345 ก.ม. 
• เป็นท่าเรือระดับประเทศ 
• รับส่งผูู้โดยสารเป็นหลัก 
• มีท่าเทียบเรือ 1 แห่ง สามารถรองรับปริมาณสินค้าได้ปีละ 100,000 ตัน 
ผูู้โดยสาร 400,000 คน
2. ท่าเรือจิ่งหง 
2.2 ท่าเรือก๋านหล่านป้า 
เป็นท่าเรือที่อยู่ระหว่างการขยายให้มีความหลากหลายทั้งด้าน 
การขนส่่งสิินค้้า ผู้้โโดยสาร และตู้้คอนเทนเนอร์์ เพืื่อใให้้สามารถรองรัับ 
สินค้าได้ปีละ 1 ล้านตัน ผู้โดยสาร 400,000 คน และตู้คอนเทนเนอร์ 
70,000 TEU (Twenty-foot Equivalent Unit)
2. ท่าเรือจิ่งหง 
2.3 ท่าเรือกวนเหล่ย 
• เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าเป็นหลัก 
• สามารถรองรับสินค้าได้ปีละ 150,000 ตัน ผู้โดยสาร 100,000 ตัน 
• ปัจจุบัน ท่าเรือที่สามารถรองรับตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 15,000 TEU/ปี 
ได้สร้างเสร็จแล้ว 
• เป็นท่าเรือหลักสำหรับขนส่งสินค้าไทย-จีน ทางแม่นํ้าโขง
เขื่อนและสถานีไฟฟ้าพลังงานนํ้าขนาดใหญ่ 2 แห่ง ในมณฑลยูนนาน 
สถถาานนีไไฟฟฟฟ้าาพลลังงงาานนนํ้าาเเสสี่ยวววาาน 
สถานีีไไฟฟ้้าพลัังงานนํ้านัั่วจาตู้้
เเสส้นททาางออาากกาาศ
ท่าอากาศยานในมณฑลยูนนาน 
保山 
เป่าซาน 
เเปปิดใใหห้บรริกกาารแแลล้ว 
อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
ท่าอากาศยานในมณฑลยูนนาน 
• มณฑลยููนนานมีสนามบินที่เปิดใช้งานแล้วทั้งหมด 12 แห่ง 
- สนามบินหลัก 1 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติฉางสุ่ย 
- สนามบินย่อย 11 แห่ง ได้แก่ เจาทง ลี่เจียง สิบสองปันนา เถิงชง ต้าหลี่ 
เป่าซาน หมางซื่อ แชงกรีลา ผูเอ่อร์ หลินชาง และเหวินซาน 
• ปัจจุุบัน มีการก่อสร้างสนามบินใหม่เพิ่มอีก 4 แห่ง ได้แก่ 
- สนามบินหลูกูหู (เมืองลี่เจียง) 
- สนามบินหงเหอ (เขตหงเหอ) 
- สนามบินชางหยวน (เมืองหลินชาง) 
- สนามบินหลานชาง (เมืองผููเอ่อร์) 
• ภายในปี 2563 หรือภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 
ฉบับที่ 13 (2559-2563) ยููนนานจะสร้างสนามบินเพิ่มอีก 4 แห่ง 
รวมมีสนามบิน 20 แห่ง
ท่าอากาศยานนานาชาติฉางสุ่ย 
• สนามบินหลักของมณฑลยูนนาน 
• เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2555 
• ห่างจากตัวเมืองนครคุนหมิงประมาณ 30 นาที 
• ปัจจุบัน รองรับผู้โดยสารได้ปีละ 38 ล้านคน 
• ใหญ่เป็็นอันดับ 4 ของจีน รองจากสนามบินกรุงปักก่ิ่ง 
สนามบินผู่ตงของนครเซี่ยงไฮ้ และสนามบินไป๋หวินของนครกว่างโจว 
• ภายใใต้้แผนพััฒนาเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ 5 ปปีี ฉบัับทีี่ 13 (2559-2563) 
สนามบินฉางสุ่ยจะก่อสร้างอาคารผู้โดยสารหมายเลข 2 ซึ่งจะทำให้สามารถรองรับ 
ผผู้โโดดยสสาารไไดด้ถถึงปปีลละะ 80 ลล้าานคน
เส้นทางการบินระหว่างมณฑลยูนนานกับประเทศไทย 
เชีียงราย 
เเชชียงใใหหมม่ 
กรุุงเทพฯ 
ภูเก็ต กระบ่ี่ สมุย
เส้นทางการบินระหว่างมณฑลยูนนานกับประเทศไทย 
กรุงเทพ – คุนหมิง 
เป็็นลักษณะบินตรงท่ี่มีการกำหนดเวลาแน่นอน โดยสายการบิน 
Thai Airways , China Eastern Airlines และ Air Asia 
ใช้เวลาบินราว 2 ชม. 
กรรุงเเททพ – จจิ่งหง 
เป็นการบินลักษณะเหมาลำ โดยสายการบิน China Eastern Airlines 
ใใชช้เเววลลาาบบินรราาว 1.30 ชชั่วโโมมง 
กรรุงเเททพ – ลลี่เเจจียง 
เป็นการบินลักษณะเหมาลำ โดยสายการบิน China Eastern Airlines 
ใใชช้เเววลลาาบบินรราาว 3 ชชั่วโโมมง
เส้นทางการบินระหว่างมณฑลยูนนานกับประเทศไทย 
เชียงใหม่ – คุนหมิง 
เปป็็นการบิินลัักษณะเหมาลํำ โโดยสายการบิิน China Eastern Airlines 
ใช้เวลาบินราว 1.30 ชั่วโมง 
เชียงราย – คุนหมิง 
เปป็็นการบิินลัักษณะเหมาลํำ โโดยสายการบิิน China Eastern Airlines 
ใช้เวลาบินราว 1.30 ชั่วโมง 
ภาคใต้ (ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎร์ธานี สมุย) - คุนหมิง 
เปป็็นการบิินลัักษณะเหมาลํำ โโดยสารการบิิน China Eastern Airlines 
และ Lucky Air
ทางหลวงคุุนหมิง-กรุุงเทพ 
คคุน-มม่าาน-กง-ลลู่ 
(RR33AA)
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

Mais conteúdo relacionado

Destaque

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017 หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017  หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์  แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017  หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017 หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์ Peerasak C.
 
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคายรถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคายluipmuk
 
Developing national action plans on transport, health and environment
Developing national action plans on transport, health and environmentDeveloping national action plans on transport, health and environment
Developing national action plans on transport, health and environmentPeerasak C.
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 

Destaque (9)

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017 หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017  หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์  แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017  หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์
แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2017 หลังรัฐเร่งลงทุนเมกะโปรเจกต์
 
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคายรถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
รถไฟทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) ช่วงโคราช-หนองคาย
 
Developing national action plans on transport, health and environment
Developing national action plans on transport, health and environmentDeveloping national action plans on transport, health and environment
Developing national action plans on transport, health and environment
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรอบรู้สอบครูผู้ช่วย(เก่าแล้ว)
 
แผน12
แผน12แผน12
แผน12
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 

Semelhante a พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...
ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...
ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน Dr.Choen Krainara
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017NIMT
 

Semelhante a พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย (20)

Asia2030 asean
Asia2030 aseanAsia2030 asean
Asia2030 asean
 
Asia2030 mam
Asia2030 mamAsia2030 mam
Asia2030 mam
 
ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...
ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...
ปัจจัยเสี่ยงและโอกาส ผลกระทบของปัจจัยเสี่ยงทางการเมือง และหน้าผาทาง การคลัง (...
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
HRM of TAT
HRM of TATHRM of TAT
HRM of TAT
 
Ptt energy choices
Ptt energy choicesPtt energy choices
Ptt energy choices
 
การท่องเที่ยว[2]
การท่องเที่ยว[2]การท่องเที่ยว[2]
การท่องเที่ยว[2]
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
การเพิ่มผลิตภาพกำลังแรงงานอาเซียน
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
นโยบาายและแผน
นโยบาายและแผนนโยบาายและแผน
นโยบาายและแผน
 
Hr of TAT
Hr of TATHr of TAT
Hr of TAT
 
Pp excellence
Pp excellencePp excellence
Pp excellence
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 

Mais de WiseKnow Thailand

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfWiseKnow Thailand
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfWiseKnow Thailand
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceWiseKnow Thailand
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfWiseKnow Thailand
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564WiseKnow Thailand
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationWiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020WiseKnow Thailand
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5WiseKnow Thailand
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionWiseKnow Thailand
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of ThailandWiseKnow Thailand
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560WiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016WiseKnow Thailand
 
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 WiseKnow Thailand
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?WiseKnow Thailand
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016WiseKnow Thailand
 

Mais de WiseKnow Thailand (20)

Capital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdfCapital in the Twenty-First Century.pdf
Capital in the Twenty-First Century.pdf
 
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdfeBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
eBook_A_Legacy_for_All_6July2022.pdf
 
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human IntelligenceThe Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
The Age of Spiritual Machines: When Computers Exceed Human Intelligence
 
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdfตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
ตำราตรวจโรคหมอสุรเกียรติ์.pdf
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
เอกสารการแถลงผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdfคู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
คู่มือฉบับประชาชน กรณีรักษาแบบผู้ป่วยนอกและแยกกักกันตนเอง.pdf
 
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 PresentationThailand Internet User Behavior 2020 Presentation
Thailand Internet User Behavior 2020 Presentation
 
Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020Thailand Internet User Behavior 2020
Thailand Internet User Behavior 2020
 
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5
 
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial InclusionThailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
Thailand Economic Monitor - Harnessing Fintech for Financial Inclusion
 
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailandสู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
สู่จุดจบ! | The Coming Collapse of Thailand
 
CLS for Volunteer
CLS for VolunteerCLS for Volunteer
CLS for Volunteer
 
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2560
 
Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015Cyber Threats 2015
Cyber Threats 2015
 
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
 
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016 เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
เอกสารประกอบของ Thailand Internet User Profile 2016
 
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
What if the next big disruptor isn’t a what but a who?
 
Interaction 2016
Interaction 2016Interaction 2016
Interaction 2016
 
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
The Future 100: Trends and Change to Watch in 2016
 

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย

  • 1. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย โดย นางสาวกอบกุล โมทนา สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร วันพุธที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 9.40 - 10.10 น. ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว
  • 2. 2 1 สถานการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2557 2 แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2558 3 บทบาทของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม เพื่อเพิ่มแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ประเด็นนาเสนอ
  • 3. 3 ภาพรวมเศรษฐกิจไทย: เกือบ 4 ทศวรรษปีผ่านไปเศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6.2 ต่อปี แต่อัตรา การขยายตัวของเศรษฐกิจไทยชะลอตัวลงอย่างต่อเนื่องตามการชะลอตัวของการส่งออกและการลงทุน %YOY อัตราการขยายตัวของ GDP (ณ ราคาคงที่ %) 12 0 3 6 9 -3 -6 -9 ที่มา: สศช. -1.4 -10.5 4.4 4.8 2.2 5.3 7.1 6.3 4.6 5.1 5.0 2.5 -2.3 7.8 0.1 6.5 2.9 -12 วิกฤตต้มยากุ้ง วิกฤตการเงินโลก วิกฤตน้าท่วม 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 แผน 5 (2525-2529) แผน 6 (2530-2534) แผน 7 (2535-2539) แผน 8 (2540-2544) แผน 9 (2545-2549) แผน 10 (2550-2554) เฉลี่ย 2 ปีแรกของแผน 11 (2555-2556) GDP (พันล้านบาท) 1,136.5 1,748.8 2,700.7 2,955.3 3,661.2 4,416.6 4,968.5 GDP (%) 5.4 10.9 8.1 -0.1 5.7 2.6 4.7 การลงทุน (%) 3.1 21.0 9.1 -12.3 9.2 1.2 5.6 ภาคเอกชน 3.9 24.7 7.1 -12.9 12.4 2.3 5.8 ภาครัฐ 1.7 10.5 17.7 -7.3 2.4 -1.6 5.1 การบริโภครวม (%) 3.9 8.6 7.6 0.4 5.1 2.5 3.9 ภาคเอกชน 3.9 9.4 7.7 0.2 5.2 1.9 3.4 ภาครัฐ 4.1 4.0 7.4 1.8 4.5 5.6 6.2 มูลค่าการส่งออกสินค้า (%) 10.3 20.0 9.2 8.7 8.6 5.3 -0.1
  • 4. 4 การปรับประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2557 ของหน่วยงานต่างๆ หน่วยงาน ประมาณการเศรษฐกิจปี 2557 (% GDP growth) ประมาณการครั้งก่อน ประมาณการล่าสุด สศช. 1.5 – 2.5 (19 พ.ค. 57) 1.5 - 2.0 (18 ส.ค. 57) ธนาคารแห่งประเทศไทย 1.5 (27 มิ.ย. 57) 1.5 (26 ก.ย. 57) สานักงานเศรษฐกิจการคลัง 2.6 (27 มี.ค. 57) 1.5-2.5 (29 ก.ค. 57) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2.5 (20 มี.ค. 57) 1.5-2.0 (30 ส.ค. 57) ศูนย์วิจัยธนาคารไทยพาณิชย์ 1.6 (24 ก.ค. 57) 1.6 (3 ต.ค. 57) Phatra securities 1.1 (30 เม.ย. 57) 1.8 (6 มิ.ย. 57) ศูนย์วิเคราะห์ธนาคารทหารไทย 2.5 (10 มิ.ย. 57) 2.0 (10 ก.ย. 57) Tisco securities 1.5 (16 มิ.ย. 57) 1.5 (19 ส.ค. 57) Nomura securities 1.1 (7 ส.ค. 57) 1.1 (24 ก.ย. 57) ศูนย์วิจัยกสิกรไทย 2.3 (18 ส.ค. 57) 1.6 (10 ต.ค. 57) ธนาคารโลก 3.0 (มิ.ย. 57) 1.5 (ต.ค. 57) ADB 2.9 (เม.ย. 57) 1.6 (ก.ย. 57) IMF 2.5 (เม.ย. 57) 1.0 (ต.ค. 57) ที่มา: รวบรวมโดย สศช., ณ 8 ตุลาคม 2557
  • 5. 5 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2557 : คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.5 - 2.0 ประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2557 ณ วันที่ 18 สิงหาคม 2557 เครื่องชี้ทางเศรษฐกิจ (%YOY) ข้อมูลจริง ปี 2555 ข้อมูลจริง ปี 2556 ประมาณการ ปี 2557 GDP 6.5 2.9 1.5 – 2.0 การบริโภคภาคเอกชน 6.7 0.2 0.8 การลงทุนรวม 13.2 -2.0 -2.0 มูลค่าการส่งออกสินค้า (USD) 3.1 -0.2 2.0 อัตราเงินเฟ้อ 3.0 2.2 1.9 – 2.4 ดุลบัญชีเดินสะพัด ต่อ GDP -0.4 -0.5 2.6 o เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2557 สศช. ประมาณการว่าเศรษฐกิจไทย ในปี 2557 จะขยายตัวในช่วงร้อยละ 1.5 – 2.0 โดยคาดว่าในช่วง ครึ่งปีหลังเศรษฐกิจมีแนวโน้มเร่งขึ้นจากที่หดตัวร้อยละ 0.1 ในช่วง ครึ่งปีแรก o เครื่องชี้เศรษฐกิจล่าสุดในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคมสะท้อนว่า เศรษฐกิจในช่วงไตรมาสที่ 3 เริ่มมีทิศทางการฟื้นตัวอย่างช้าๆ โดย มีแรงสนับสนุนหลักจากภาครัฐทั้งการใช้จ่ายและการลงทุน อย่างไรก็ ดี การส่งออกและการท่องเที่ยวมีแนวโน้มหดตัวมากกว่าที่คาดไว้เดิม o แนวโน้ม ไตรมาส ที่ 4 คาดว่าปัจจัยสนับสนุนการ ขยายตัว ประกอบด้วย - ความเชื่อมั่นผู้บริโภคและภาคธุรกิจที่ปรับตัวดีขึ้น - ฐานการผลิตและจาหน่ายรถยนต์ที่เริ่มเข้าสู่แนวโน้มปกติ - สัญญาณการฟื้นตัวของการผลิตภาคอุตสาหกรรมและแนวโน้ม การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกที่น่าจะสนับสนุนการส่งออก - มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ที่มา: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
  • 6. 6 ประเด็นนาเสนอ 1 สถานการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2557 2 แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2558 3 บทบาทของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม เพื่อเพิ่มแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
  • 7. 7 ประมาณการเศรษฐกิจโลกปี 2558 : หน่วยงานสาคัญประมาณการว่าเศรษฐกิจโลกในปี 2558 จะฟื้นตัวดีขึ้นอย่างชัดเจน (% GDP growth) ประมาณการเศรษฐกิจโลก ปี 2557 - 2558 ประมาณการเศรษฐกิจโลก ปี 2557 ประมาณการเศรษฐกิจโลก ปี 2558 ประมาณการครั้งก่อน ประมาณการล่าสุด ประมาณการครั้งก่อน ประมาณการล่าสุด กองทุนการเงิน ระหว่างประเทศ (IMF)1 3.4 (ก.ค. 57) 3.3 (ต.ค. 57) 4.0 (ก.ค. 57) 3.8 (ต.ค. 57) ธนาคารโลก (World Bank) 2 3.0 (ก.ค. 57) 2.6 (ต.ค. 57) 3.3 (ก.ค. 57) 3.2 (ต.ค. 57) ที่มา: รวบรวมโดย สศช. 1. World Economic Outlook, October 2014. Data and projection are based on 189 countries. 2. East Asia and Pacific Economic Update, October 2014.
  • 8. 8 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2558 : คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 - 4.5 ประมาณการเศรษฐกิจ ปี 2557-2558 (%) 2555 2556 2557F 2558F GDP 6.5 2.9 1.5-2.0 3.5-4.5 การบริโภครวม 6.8 1.1 1.3 3.0 - การบริโภคภาคเอกชน 6.7 0.3 0.8 3.0 - การใช้จ่ายภาครัฐ 7.5 4.9 3.7 2.7 การลงทุนรวม 13.2 -2.0 -2.0 4.4 - ภาคเอกชน 14.4 -2.8 -2.9 4.0 - ภาครัฐ 8.9 1.3 1.0 6.0 มูลค่าส่งออกสินค้า 3.1 -0.2 2.0 5.5 มูลค่านาเข้าสินค้า 8.8 -0.4 4.9 5.1 อัตราเงินเฟ้อ 3.0 2.2 1.9 – 2.4 1.8-2.8 ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP -0.4 -0.5 2.6 3.1 ที่มา: สศช 18 สิงหาคม 2557 ปัจจัยสนับสนุน • การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและปริมาณการค้าโลก • ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนเพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง การลงทุนภาครัฐคาดว่าจะมีความคืบหน้า • การลงทุนภาคเอกชนฟื้นตัว โดยเป็นผลจากการ ลงทุนจริงของโครงการที่ได้รับอนุมัติส่งเสริมการ ลงทุนในช่วงครึ่งหลังของปี 2557 • ราคาน้ามันและอัตราเงินเฟ้อลดลงอยู่ในเกณฑ์ต่า ปัจจัยเสี่ยงและข้อจากัด • ข้อจากัดของการส่งออกจากแนวโน้มการชะลอตัว ของเศรษฐกิจสหภาพยุโรปและจีน • ราคาส่งออกที่ยังเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ตามราคาสินค้า ในตลาดโลก • ข้อจากัดด้านรายได้ภาคเกษตรและการส่งออก ต่อการใช้จ่ายของครัวเรือน
  • 9. 9 ประเด็นนาเสนอ 1 สถานการณ์เศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจปี 2557 2 แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2558 3 บทบาทของการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม เพื่อเพิ่มแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
  • 10. 10 ความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจไทย อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ(GDP) ปี 2523 - 2556 จีน 9.9 สิงคโปร์ 6.8 เกาหลีใต้ 6.2 มาเลเซีย 5.9 ไทย 5.4 อินโดนีเซีย 5.2 เวียดนาม 6.4 โลก 3.5 ที่มา: IMF 31 41 36 31 34 31 28 26 25 29 33 27 26 26 27 30 27 20 30 40 50 2540 2542 2544 2546 2548 2550 2552 2554 2556 ที่มา: IMD World Competitive Yearbook 2013 (rank out of 60 countries) อันดับด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
  • 11. 11 เศรษฐกิจไทยกับความท้าทายที่สาคัญ ความท้าทายระยะสั้น ความท้าทายระยะยาว การสร้างศักยภาพการขยายตัวทางเศรษฐกิจระยะยาว การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การเพิ่มผลิตภาพ การผลิตโดยรวม (TFP) Innovation Creativity Knowledge Based Economy การลงทุน การพัฒนาผลิตภาพ แรงงาน ท่ามกลางแนวโน้มการ ปรับตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การกระจายรายได้ การสร้างการเติบโต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การบริหารจัดการ ภาครัฐ  การฟื้นตัวอย่างล่าช้าของเศรษฐกิจโลก จาก ความเสี่ยงของเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป และปัญหา ทางการเมืองระหว่างประเทศระหว่างรัสเซียและ ยูเครน รวมทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน  การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสอีโบลา  ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน  แนวโน้มราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกลดลง  ความสามารถในการแข่งขันของการส่งออก จากข้อจากัดทางเทคโนโลยีการผลิต
  • 12. 12 กรอบการบริหารนโยบายเศรษฐกิจในระยะปานกลางและระยะยาว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) การปรับ โครงสร้าง เศรษฐกิจ การสร้างคน และสังคม คุณภาพ 6 ยุทธศาสตร์การพัฒนา การบริหาร จัดการทรัพยากร ธรรมชาติ  ยุทธศาสตร์การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และการ สร้างปัจจัยแวดล้อม  ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงในภูมิภาค  ยุทธศาสตร์การสร้างความสมดุลและมั่นคงของ อาหารและพลังงาน  ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม  ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน  ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เศรษฐกิจเติบโตอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน (New Growth Model) คน คุณภาพชีวิต ความรู้ ยุติธรรม Growth & Competitiveness โครงสร้างพื้นฐาน ผลิตภาพ วิจัยและพัฒนา หลุดพ้น จากประเทศ รายได้ ปานกลาง ลดความ เหลื่อมล้า เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการ บริหารจัดการ ภาครัฐ กฎระเบียบ Inclusive Growth Green Growth
  • 13. 13 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหนึ่งในนโยบายเศรษฐกิจที่สาคัญของรัฐบาล 1 เร่งจ่ายงบลงทุนของปีงบประมาณ 2557 ที่ยังค้างอยู่ ติดตามการเบิกจ่ายงบประมาณปี 2558 2 ให้เป็นไปอย่างคล่องตัว 3 4 ด้านการลงทุน • เร่งพิจารณาโครงการลงทุนที่ยื่นขออนุมัติส่งเสริมการลงทุน ให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว • นาโครงการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานประเภทที่มี ผลตอบแทนดีมาจัดทาเป็นโครงการลงทุนร่วมกับเอกชน • วางแผนการลงทุนในระยะยาว การดูแลให้เกษตรกรมีรายได้ดีขึ้น 6 7 5 การส่งออก • แสวงหาตลาดที่มีศักยภาพ • ลดอุปสรรคในการส่งออก ด้านการท่องเที่ยว • พิจารณามาตรการลดผลกระทบจากการประกาศใช้กฎอัยการศึก ในบางพื้นที่ที่มีต่อการท่องเที่ยว • สร้างสิ่งจูงใจและสิ่งอานวยความสะดวกที่เกื้อกูลต่อบรรยากาศ การท่องเที่ยว • ส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวอันมีลักษณะโดดเด่น ร่วมกันหรือจัดเป็นกลุ่มได้ • พัฒนาท่องเที่ยวเดิมและแหล่งท่องเที่ยวใหม่ • เพิ่มมาตรฐานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การควบคุมสินค้าและ บริการให้มีคุณภาพ ราคาที่เป็นธรรม • การจัดระเบียบ ด้านความสะอาดให้น่าท่องเที่ยว สวยงาม แก้ไขปัญหาน้าท่วมและปัญหาขาดแคลนน้า • จัดสร้างแหล่งน้าขนาดเล็กให้ครอบคลุมทั่วพื้นที่เพาะปลูก • ระดมความคิดหาทางบริหารจัดการน้าอย่างยั่งยืน ระยะเร่งด่วน
  • 14. 14 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศเป็นหนึ่งในนโยบายเศรษฐกิจที่สาคัญของรัฐบาล นโยบายด้านเศรษฐกิจในระยะต่อไป: แก้ปัญหาที่ค้างคา และวางรากฐานให้ประเทศ ให้สอดคล้องกับต้นทุน และให้มีภาระภาษีที่เหมาะสมระหว่างน้ามันต่าง ชนิดและผู้ใช้ต่างประเภท • คงอัตราภาษีเงินได้ไว้ในระดับปัจจุบันทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล • ปรับปรุงโครงสร้างอัตราภาษีทางด้านการค้าและจะขยายฐานการเก็บภาษี ประเภทใหม่ • ยกเลิกการยกเว้นภาษีประเภทที่เอื้อประโยชน์เฉพาะผู้ที่มีฐานะการเงินดี 1 2 • พัฒนารถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใน กทม. และรถไฟฟ้าเชื่อม กทม. กับเมืองบริวาร • ปรับปรุงท่าอากาศยานสุวรรณภูมิระยะที่ 2 ท่าอากาศยานดอนเมือง และท่าอากาศยานสากลในภูมิภาค • พัฒนานิคมอุตสาหกรรมการบินของประเทศ • พัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่งที่ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือชายฝั่งทะเลอ่าวไทยและ อันดามัน • ผลักดันให้ท่าเรือในลาน้าเจ้าพระยาและป่าสักมีการใช้ประโยชน์ในการขนส่ง สินค้าภายในประเทศ 3 • แบ่งเขตเพื่อปลูกพืชเกษตรแต่ละชนิด • สนับสนุนให้สหกรณ์ของกลุ่มเกษตรกรเพิ่มบทบาท ในฐานะผู้ค้าจนถึงการแปรรูปและการส่งออกได้ • จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ทางการเกษตรในทุกอาเภอและจังหวัด 4 • ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับศักยภาพ พื้นฐานของประเทศ • ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง • ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้การออกแบบและสร้างสรรค์ 5 • วางรากฐานของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่มขับเคลื่อนได้อย่าง จริงจัง • ผลิตและค้าผลิตภัณฑ์ดิจิทัลโดยตรง • ใช้ดิจิทัลรองรับการให้บริการของภาคธุรกิจการเงิน ธุรกิจ บริการอื่นๆ รวมทั้งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 6 ปฏิรูปโครงสร้างราคาเชื้อเพลิงประเภทต่างๆ ปรับปรุงวิธีการจัดเก็บภาษี พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งและคมนาคม ด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม เศรษฐกิจดิจิทัล
  • 15. ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 สร้างรากฐานความ มั่นคงทางสังคม เป้าหมายเชิง ยุทธศาสตร์ สร้างรากฐาน ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ เสริมสร้างความมั่นคง ความปลอดภัยในการ เดินทางและการขนส่ง สร้างโอกาสสาหรับ การใช้ประโยชน์ สูงสุดจากการเป็น ประชาคม อาเซียน การประชุม คสช. ในสถานะ ครม. ได้มีมติเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2557 : เห็นชอบ 15 กรอบยุทธศาสตร์ฯ พ.ศ. 2558-2565 ประกอบด้วย 4 เป้าหมาย และ 5 แผนงาน แนวทางการพัฒนา ระยะเร่งด่วน ปี 2557 2558  เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคม  พัฒนาระบบราง 4 เป้าหมาย
  • 16. 16 การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ประกอบด้วย 5 แผนงาน โดยมีเป้าหมายเพื่อ (1) เสริมสร้างรากฐานความมั่นคง ทางสังคมโดยการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน (2) ลดต้นทุนการขนส่ง เพิ่มความเร็วในการเดินทาง (3) ความปลอดภัยในการเดินทาง และการขนส่ง และ (4) สร้างโอกาสสาหรับการแข่งขันและให้ประเทศได้ประโยชน์สูงสุดจากการเป็นประชาคมอาเซียน ยุทธ์ศาสตร์การพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง (ปี 2558 – 2565) 1. การพัฒนาโครงข่าย รถไฟระหว่างเมือง 2. การพัฒนาโครงข่ายขนส่ง สาธารณะเพื่อแก้ไขปัญหาจราจร ใน กทม. และปริมณฑล 3. การเพิ่มขีดความสามารถ ทาง หลวงเชื่อมโยงฐานการผลิตของ ประเทศและประเทศเพื่อนบ้าน 4. การพัฒนา โครงข่ายการขนส่ง ทางน้า 5. การเพิ่มขีดความสามารถการ ให้บริการขนส่งทางอากาศ ระบบขนส่ง มวลชน ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล • ปรับปรุงระบบ อุปกรณ์และโครงสร้าง พื้นฐาน • สร้างรถไฟรางคู่ 6 สายหลักและส่วนต่อ ขยายไปยังชายแดน • การยกระดับการ เข้าถึงพื้นที่ เกษตร ท่องเที่ยว • การเชื่อมโยงระหว่างเมืองหลัก และระหว่างฐานการผลิตหลักของ ประเทศ • การเชื่อมโยงประตูการขนส่ง ระหว่างประเทศ • การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวก ทางถนน และองค์ประกอบ ต่อเนื่อง • รถไฟฟ้า 10 สาย • การจัดซื้อรถประจาทาง เชื้อเพลิง NGV 3,183 คัน และ อู่จอด • การก่อสร้างโครงข่ายถนนและ สะพานใน กทม. และปริมณฑล • การพัฒนาท่าเรือ • การเสริมสร้าง ประสิทธิภาพการ ขนส่งทางน้า รักษาตลิ่ง โครงข่ายทางถนน รถไฟ การขนส่งทางน้า การขนส่งทางอากาศ • การเพิ่มขีดความสามารถของ ท่าอากาศยาน • เพิ่มขีดความสามารถระบบ การจัดการจราจรทางอากาศ ให้ได้มาตรฐานสากล • เพิ่มประสิทธิภาพฝูงบิน • การก่อสร้างอาคารเพื่อ รองรับการพัฒนาบุคลากร การบินพลเรือน การเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการและบริการด้านคมนาคมขนส่ง (Service)
  • 17. ประโยชน์ที่จะได้รับ • โครงข่ายรถไฟครอบคลุมขึ้นอีก 6 จังหวัด ทางคู่เพิ่มขึ้นอีก 1,300 กิโลเมตร • สามารถเพิ่มความเร็วในการเดินรถสินค้าจาก 29 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เป็น 60 กิโลเมตร ต่อชั่วโมง • สัดส่วนการขนส่งทางรถไฟในประเทศจะเพิ่มขึ้นจากเดิม ร้อยละ 1.5 เป็น ร้อยละ 5 ในปี 2563 • ประชาชนเข้าถึงรถไฟได้ง่ายขึ้น การเดินทางและขนส่งด้วยรถไฟตรงเวลา และปลอดภัย มากขึ้น 17 แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง ประกอบด้วย • ปรับปรุงระบบอุปกรณ์และโครงสร้างพื้นฐาน • พัฒนาระบบรถไฟทางคู่ที่มีความพร้อมดาเนินการ 6 สายแรกก่อน • เร่งผลักดันให้สามารถดาเนินการก่อสร้างทางคู่จนถึงพังงา ภูเก็ต และด่านพรมแดน ที่หนองคาย มุกดาหาร นครพนม เชียงราย อุบลราชธานีและปาดังเบซาร์
  • 18. แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมือง : การพัฒนาระบบรถไฟทางคู่ ระยะเร่งด่วน 6 เส้นทาง โครงการ 57 58 59 60 61 วงเงิน(ลบ.) 18 พร้อมก่อสร้าง 1. ฉะเชิงเทรา-คลอง 19 -แก่งคอย (106 กม.) 11,272 อยู่ระหว่างนาเสนอขออนุมัติโครงการ 2. ชท.ถนนจิระ-ขอนแก่น (185 กม.) 26,007 3. ประจวบคีรีขันธ์-ชุมพร (167 กม.) 17,292 อยู่ระหว่างนาเสนอขออนุมัติ EIA 4. ลพบุรี-ปากน้าโพ (148 กม.) 24,842 5. มาบกะเบา-ชท. ถนนจิระ (132 กม.) 29,855 6. นครปฐม-หัวหิน (165 กม.) 20,038 ประกวดราคา ก่อสร้าง เวนคืน เวนคืน ครม. ประกวดราคา EIA เวนคนื ครม.ประกวดราคา ก่อสร้าง ก่อสร้าง EIA ครม. เวนคนื ก่อสร้าง ประกวดราคา EIA ครม. เวนคนื ก่อสร้าง ประกวดราคา EIA ครม. เวนคนื ก่อสร้าง ประกวดราคา รวม (903 กม.) 129,308 ที่มา: สนข.
  • 19. 19 โครงการรถไฟทางคู่ : ระยะที่ 2 (ศึกษาออกแบบรายละเอียดในปีงบประมาณ 2558 : จานวน 8 เส้นทาง) แผนพัฒนาระบบรถไฟทางคู่ (MG) โครงการ ระยะทาง (กม.) 58 59 60 61 62 63 1. หัวหิน-ประจวบคึรีขันธ์ 90 2. ปากน้าโพ-เด่นชัย 285 3. ชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี 309 4. ขอนแก่น-หนองคาย 174 5. ชุมพร-สุราษฎร์ธานี 167 6. สุราษฎร์ธานี-สงขลา 339 7. หาดใหญ่-ปาดังเบซาร์ 45 8. เด่นชัย-เชียงใหม่ 217 รวม 1,626 เวนคนืก่อสร้าง ประกวดราคา ครม. EIA ออกแบบ ครม. เวนคนื EIA ประกวดราคา ก่อสร้าง ออกแบบ ที่มา: สนข.
  • 20. 20 พัฒนาทางคู่ขนาดทางมาตรฐาน (Standard Gauge) (ความเร็ว 180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) โครงการ ระยะ (กม.) 58 59 60 61 62 63 1. กรุงเทพ-นครราชสีมา และนครราชสีมา- มาบตาพุด 512 2. กรุงเทพ-ระยอง 193 3. นครราชสีมา- หนองคาย 355 รวม 1,060 ออกแบบ ครม. เวนคืน ประกวดราคา ก่อสร้าง EIA EIA ครม. เวนคนื ประกวดราคา ก่อสร้าง ออกแบบ ครม. เวนคืน ประกวดราคา ก่อสร้าง EIA 1 2 3 ที่มา: สนข.
  • 22. 22 การพัฒนารถไฟฟ้าขนส่งมวลชนใน กทม. และปริมณฑล : เร่งรัดก่อสร้าง 4 โครงการ (89 กม.) โครงการ (กม.) 58 59 60 61 62 63 ประกวดราคา 0 2 5 10 กม. 22 Km. 1 2 3 4 0 2 5 10 กม. Km. 1. บางใหญ่-บางซื่อ 23 2. บางซื่อ-ท่าพระ 27 หัวลาโพง-บางแค 3. แบริ่ง-สมุทรปราการ 12.8 4. บางซื่อ-รังสิต 26 ครม. ก่อสร้าง ประกวดราคา ก่อสร้าง ก่อสร้าง ก่อสร้าง ที่มา: สนข. 35
  • 23. หมอชิต-สะพานใหม่(11.4 กม.) 23 สะพานใหม่-คูคต (7 กม.) เร่งรัดโครงการระหว่างประกวดราคา : 1 โครงการ 23 โครงการ (กม.) 58 59 60 61 62 63 1. หมอชิต-สะพานใหม่-คูคต 18.4 ก่อสร้าง ครม. ประกวดราคา เวนคืน
  • 24. 0 2 5 10 กม. 24 Km. 5 โครงการเตรียมขออนุมัติประกวดราคา : 6 เส้นทาง (ระยะทาง 144 กม.) โครงการ กม. 58 59 60 61 62 63 64 1.ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี 20 2.แคราย-มีนบุรี 36 3.ลาดพร้าว-พัฒนาการ 30.4 4. ARL ดอนเมือง-พญาไท 21.8 5. บางซื่อ-หัวลาโพง-หัวหมาก 25.5 6. รังสิต-มธ.ศูนย์รังสิต 10.0 ก่อสร้าง ครม. ประกวดราคาเวนคืน ก่อสร้าง 2 1 3 6 4
  • 25. โครงการศึกษาออกแบบรายละเอียด : 1 เส้นทาง บางแค-พุทธมณฑล สาย4 (8 กม.) โครงการ (กม.) 58 59 60 61 62 63 64 บางแค-พุทธมณฑล สาย 4 8.0 ครม. ประกวดราคา 0 2 5 10 กม. 25 Km. ก่อสร้าง เวนคืน ออกแบบ EIA
  • 26. ประโยชน์ที่จะได้รับ • มาตรฐานขั้นต่าของโครงข่ายถนนส่วนใหญ่ของประเทศเป็นถนนลาดยาง ตั้งแต่การเดินทางระดับ หมู่บ้านจนถึงระหว่างประเทศ ระยะทาง 461,221 กิโลเมตร • มีถนน 4 ช่องจราจร 1,864 กม. ในทางหลวงสายหลักทั่วประเทศ • มีมาตรฐานถนน สิ่งอานวยความสะดวกด้านการขนส่งที่ช่วยลดอุบัติเหตุที่มีสาเหตุจากถนนและ การขับขี่ • ดึงดูดการกระจายตัวของการตั้งถิ่นฐาน การใช้พื้นที่ของภาคต่างๆ เป็นฐานการผลิตของประเทศ และของประชาคมอาเซียน 26 แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถทางหลวงเพื่อเชื่อมโยงพื้นที่ที่สาคัญของประเทศและเชื่อมกับประเทศเพื่อนบ้าน ประกอบด้วย • ปรับปรุงถนนเชื่อมโยงแหล่งเกษตรและแหล่งท่องเที่ยว • ปรับปรุงโครงข่ายถนนระหว่างเมืองหลักและเชื่อมเมืองหลักกับด่านพรมแดนให้เป็น 4 ช่องจราจร • ก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในเส้นทางที่มีความจาเป็น • ผลักดันให้มีการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกด้านการขนส่งทางถนน เช่น จุดพักรถบรรทุก สถานี ขนส่งสินค้า ศูนย์เปลี่ยนถ่ายระหว่างการขนส่งทางรางกับทางถนน โครงการก่อสร้างทางสายหลักให้เป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2)
  • 27. 27 การพัฒนาทางหลวงสายหลัก: โครงการเร่งรัดก่อสร้างขยาย 4 ช่องจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวง 2 1 3 4 5 โครงการ ระยะทาง (ก.ม.) วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท วงเงิน ปี 2558 (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 2561 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 โครงการเร่งรัดก่อสร้างขยาย 4 ช่องจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวง 1. ทล.304 อ.กบินทร์บุรี- 15.51 1,600.00 240.00 อ.วังน้าเขียวตอน 3 2. ทล.304 กบินทร์บุรี- อ.ปักธงชัย (ทางเชื่อม ผืนป่า) 3.00 1.397.50 209.63 3. ทล.4 กระบี่-อ.ห้วยยอด 16.45 600.00 90.00 4. ทล.3138 อ.บ้านบึง- อ.บ้านค่าย ตอน 3 18.23 670.00 100.50 5. ทล.314 อ.บางปะกง – ฉะเชิงเทรา ตอน 2 3.25 220.00 44.00 หมายเหตุประกวดราคา ก่อสร้าง ที่มา: สนข.
  • 28. การพัฒนาทางหลวงสายหลัก: พัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ หมายเหตุ 28 28 2 1 3 4 โครงการ ระยะทาง (ก.ม.) วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท วงเงิน ปี 2558 (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 2561 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 โครงการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงเชื่อมโยงระหว่างประเทศ 1. ทล. 212 อ.โพนพิสัย – บึงกาฬ ตอน 1 30.00 1,200.00 180.00 2. ทล.12 ตาก – แม่สอด ตอน 3 25.50 1.400.00 280.00 3. ทล12 กาฬสินธุ์ – อ. สมเด็จ ตอน 2 11.00 470.00 94.00 4. ทล.3 ตราด-หาดเล็ก ตอน 2 จ.ตราด 35.00 1,400.00 210.00 ประกวดราคา ก่อสร้าง ที่มา: สนข.
  • 29. 29 การพัฒนาทางหลวงสายหลัก: โครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง สายพัทยา - มาบตาพุด ชลบุรี พัทยา โครงการ ระยะทาง (ก.ม.) วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท วงเงิน ปี 2558 (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 2561 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 โครงการก่อสร้างทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (motorway) โครงการก่อสร้าง 32.00 16,700.00 1,440.00 ทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมือง สาย พัทยา-มาบตาพุด (ก่อสร้างปี 58-61 วงเงิน 14,200 ลบ.) จัดกรรมสิทธิ์ประกวดราคา ก่อสร้าง หมายเหตุ ที่มา: สนข.
  • 32. 32 การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า: โครงการพัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A)  ความยาวหน้าท่า 125 เมตร และ 120 เมตร  พื้นที่สนับสนุนบนฝั่ง 43 ไร่  รองรับเรือขนาด 1,000 DWT และ 3000 DWT ได้พร้อมกัน 2 ลาในเวลาเดียวกัน รองรับตู้สินค้า 300,000 TEUs ต่อปี ที่มา : สศช. โครงการท่าเทียบเรือ ชายฝั่ง A โครงการท่าเทียบเรือ ชายฝั่ง A โครงการ วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท) วงเงิน ปี 2558 (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 โครงการพัฒนาท่าเทียบเรือชายฝั่ง (ท่าเทียบเรือ A) ที่ท่าเรือแหลมฉบัง 1,864.19 782.25 หมายเหตุ : เสนอ ครม. ประกวดราคา ก่อสร้าง
  • 33. 33 การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า: โครงการพัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้าทางรถไฟที่ท่าเรือแหลมฉบัง โครงการ วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท) วงเงิน ปี 2558 (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 โครงการพัฒนาศูนย์การขนส่งตู้สินค้า ทางรถไฟที่ท่าเรือแหลมฉบัง (ระยะที่ 1) 2,944.93 1,049.65 หมายเหตุ เสนอ ครม. ประกวดราคา ก่อสร้าง ที่มา: สนข. รองรับตู้สินค้า 2 ล้าน TEUs ต่อปี
  • 34. 34 การพัฒนาโครงข่ายการขนส่งทางน้า: โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการขนส่งสินค้าในแม่น้าป่าสัก โครงการ วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท) วงเงิน ปี 2558 (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบการขนส่งสินค้า ในแม่น้าป่าสัก โดยการก่อสร้างระบบป้องกันตลิ่ง เพื่อพัฒนาร่องน้าทางเรือ (ระยะที่ 1) หมายเหตุ 2,220.00 365.17 ประกวดราคา ก่อสร้าง
  • 35. 35 แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการขนส่งทางอากาศ ประกอบด้วย • เร่งผลักดันการพัฒนาท่าอากาศยานหลักที่เป็นประตูการขนส่งของประเทศ ให้ได้ มาตรฐานสากล • ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานในภูมิภาคให้มีบทบาทมากขึ้น • ส่งเสริมการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมการบินของประเทศไทย • พิจารณาความเหมาะสมในการพัฒนาห้วงอากาศของประเทศให้สามารถใช้ ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างเหมาะสม ประโยชน์ที่จะได้รับ • การเดินทางระยะทางไกลด้วยการขนส่งทางอากาศสะดวก รวดเร็ว ประชาชน มีทางเลือกในการเดินทางเพิ่มมากขึ้น • ปริมาณการขนส่งสินค้าและปริมาณผู้โดยสารผ่านท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เพิ่มสูงขึ้น • ศักยภาพการให้บริการการเดินอากาศของไทยเพื่อรองรับปริมาณเที่ยวบิน ทั่วประเทศเพิ่มสูงขึ้น
  • 36. 36 การเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการขนส่งทางอากาศ : โครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โครงการ วงเงินรวม โครงการ (ล้านบาท) ปีงบประมาณ 2557 2558 2559 2560 2561 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทางวิ่งสารอง ด้านทิศตะวันตก 16,100.57 งานระบบพื้นที่ปฏิบัติการด้านการบิน (Airside) 40,745.07 งานอาคารที่พักผู้โดยสารเอนกประสงค์ (Multi Terminal) 7,405.86 งานระบบสาธารณูปโภค 2,693.22 หมายเหตุ เสนอ ครม. ประกวดราคา ก่อสร้าง
  • 37. 37 การเพิ่มขีดความสามารถการให้บริการขนส่งทางอากาศ : แผนพัฒนาท่าอากาศยานภูเก็ต ความจุ: 12.5 MAP  ระหว่างประเทศ 5 MAP  ภายในประเทศ 7.5 MAP เพิ่มหลุมจอด 15 เป็น 21 หลุม เพิ่มทางขับ 1 เส้น คาดว่าแล้วเสร็จ : พ.ค. 2558
  • 38. 38 โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ การจัดซื้อรถประจาทาง NGV 3,183 คัน ของ ขสมก.และอู่จอด หมายเหตุ : รับมอบรถ โดยรับครั งแรกเดือน ปีงบประมาณ หมายเหตุ : ศึกษา รายงาน EIA เสนอ ครม. จัดกรรมสิทธิ์ ประกวดราคา ก่อสร้าง หมายเหตุ : ศึกษา รายงาน EIA เสนอ ครม. จัดกรรมสิทธิ์ ประกวดราคา ก่อสร้าง ม.ค.-มี.ค. 58 จ้านวน 489 คัน และทยอยรับจนครบจ้านวน วงเงินรวม โครงการ Q1 Q2 Q3 Q4 Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3Q4 โครงการ วงเงินปี 2558 2557 2558 2559 โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะ โครงการจัดซื้อรถโดยสารใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อน้ามาทดแทนรถโดยสารเดิมที่ใช้น้ามัน ดีเซล จ้านวน 3,183 คัน 13,162.20 5,862.00
  • 39. 39 การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ยุทธศาสตร์สาคัญ  การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่โดยมุ่งเน้นไปที่ เขตเศรษฐกิจในพื้นที่ชายแดนเพื่อเป็นประตู เชื่อมต่อทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน  สนับสนุนธุรกิจ SMEs และนักลงทุนไทยให้ลงทุน ในประเทศเพื่อนบ้าน  ให้ความสาคัญกับการบังคับใช้กฎหมายแรงงาน แรงงานผิดกฎหมายและการค้าชายแดนโดยเฉพาะ อย่างยิ่งสินค้าเกษตร การพัฒนาในปัจจุบัน ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ ดาเนินการปรับปรุงการอาศัยอยู่ของประชาชนตามแนวพื้นที่ชายแดน และ ส่งเสริมการค้าชายแดน โดยเริ่มจัดตั้งใน 5 พื้นที่เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ: • แม่สอด • อาเภออรัญประเทศ • ตราด • มุกดาหาร • สะเดา-ปาดังเบซาร์ ในระยะที่ 2 พื้นที่อื่นๆ อีก 6 แห่งที่มีศักยภาพ: • แม่สาย • เชียงของ • สังขละบุรี • นครพนม • หนองคาย • สุไหงโกลก
  • 40. ตารางสรุปวงเงินลงทุนระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2558 (จาแนกตามสาขาการขนส่ง) ลาดับ สาขาการขนส่ง กรอบวงเงินลงทุน ปี 2558 (ล้านบาท) ร้อยละ 1 ทางถนน 20,864.46 30.25 2 ทางราง 21,509.37 31.18 2.1 รถไฟทางคู่ 9,249.49 13.41 2.2 รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน 12,259.87 17.77 3 ทางน้า 2,206.07 3.20 4 ทางอากาศ 24,397.11 35.37 รวมทั้งสิ้น 68,977.02 100.00 40
  • 44. ภายใต้ยุทธศาสตร์ “เมืองหัวสะพาน” และแนวคิด “One Belt and One Road” ยูนนานจะกลายเป็นศูนย์กลางเชื่อมต่อภูมิภาค 4 ทิศทาง
  • 45. และประตูเชื่อม 3 ตลาดใหญ่ 1. เอเชียตะวันออกเฉียงใตี2. เอเชี้ยใใต้้ 3. มณฑลภายในของจีน - เขตเศรษฐกิจเฉิงตูู-ฉงชิ่ง - Pan-Pearl River Delta - Yangzi River Delta
  • 46. ยูนนานพัฒนาคมนาคมทางบก (ทางด่วนและรถไฟความเร็วสูง) โดยมีเป้าหมายว่า ใในอนาคตอัันใใกล้้ จะใใช้้เวลาเดิินทางจาก คุนหมิิงไไปปยัังเฉิิงตู-ฉงชิิ่ง 3-4 ช.ม. กว่างโจว 6 ช.ม. เซี่ยงไฮ้ 8 ช.ม. และปักกิ่ง 10 ช.ม.
  • 47. ภาพรวมเส้นทางคมนาคมยูนนาน เสเส้นทางไปแชงกรรีล่าลา- เส้นทางไปฉงชิ่ง- ทิเบต เส้นทางไปเฉิงตู ลี่เจียง Yangzi River Delta จาวทง เขตเดินทางภายใน 2 ชั่วโมง ต้าหลี่คุนหมิง เส้นทางจีน-เมียนมาร์- เส้นทางเหนือ-ใตุ อินเดีย เส้นทางไปกุ้ยหยาง- Yangzi River Delta ้ ฉวี่จิ้ง เป่าซาน ๋ โหวเฉียว g เขตเดินทางภายใน 1 ชั่วโมง ฉู่สง ีี่ เหวินซาน เต๋อหง รุ่ยลี่ ่้ ยวีซี หงเหอ ผูเอ่อร์ ิ เส้นทางจีน- เมียนมาร์ เมิ่งติ้ง เส้นทางไปหนานหนิง- เหอโข่ว Pearl สิบสองปั นนา จิ่งหง ต่าลั่ว บ่อหาน River Delta เส้นทางจีน-เวียดนาม เส้นทางจีน -เมีนมาร์-ไทย เส้นทางจีน-ลาว-ไทย R3A เสจเมยร R3B
  • 50. เส้นทาง G5 : ปักกิ่ง - คุนหมิง ปปักกิ่ง ซซีออาาน เฉิงตู คุนหมิง
  • 51. ทางด่วน G5 : ปักกิ่ง - คุนหมิง ทางด่วน มณฑล/เมือง ที่พาดผ่าน ระยะทาง (ก.ม.) สถานะ ปักกิ่ง – คุนหมิง (G5) 京昆高速公路 ปักกิ่ง 60 อยู่ระหว่างการก่อสร้าง เหอเป่ย 275 ช่วงจิงจี่เจีย้ เมืองจัวโจว – อำเภอหลายสุ่ย เมืองเป่าติง้้ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ซานซี 504 ส่านซี 625 เสฉวน 1039 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง ยูนนาน 213 รวม 2,716 ---
  • 52. ทางด่วน G60 : เซี่ยงไฮ้- คุนหมิง หางโจว เซี่ยงไฮ้ ้ คุนหมิง กุ้ยหยาง
  • 53. ทางด่วน G60 : เซี่ยงไฮ้- คุนหมิง ทางด่วน มณฑล/เมือง ที่พาดผ่าน ระยะทาง ( ก.ม.) สถานะ ) เซี่ยงไฮ้ – คุนหมิง (G60) 沪昆高速公路 เซี่ยงไฮ้48 เจ้อเจีง 161 เจเจยเจียงซี 298 หูหนาน 535 กกุ้ยโโจจว 573 ยูนนาน 746 รวม 2,361 --- เปิดใช้ตลอดเส้นทาง
  • 54. ทางด่วน G85 : ฉงชิ่ง – คุนหมิง ฉงชิ่ง จาวทง คุนหมิง
  • 55. ทางด่วน G85 : ฉงชิ่ง – คุนหมิง ทางด่วน มณฑล/เมือง ระยะทาง สถานะ ที่พาดผ่าน (ก.ม.) ฉงชิ่ง – คุนหมิง (G85) ฉงชิ่ง 204 渝昆高速公路 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง เสฉวน 368 ยูนนาน 266 รวม 838
  • 56. ทางด่วน G78 : ซัวเถา – คุนหมิง คุนหมิง ซัวเถา หนานหนิง
  • 57. ทางด่วน G78 : ซัวเถา – คุนหมิง ททาางดด่วน มณฑล/เเมมือง ระยะทาง สถานะ ที่พาดผ่าน (ก.ม.) ซัซวเเถถาา – คุคนหมมิง (G78) กวางต้ตุง 500 หม่มูบ้าบานจจินโจว เมืเมองซัซวเถา - เขตไท่ไทซาน 汕昆高速公路 และอำเภอหลงชวน-อำเภอหวยจี๋ อยยู่รระะหวว่าางกกาารกก่อสรร้าาง กว่างซี780 อำเภอหยางซั่ว-อำเภอลู่จ้าย แแลละะเเมมืองเเหหอฉฉือ-เเมมืองปป่าายเเซซ่อ อยู่ระหว่างการก่อสร้าง กกุ้ยโโจจว 126 เเปปิดใใชช้แแลล้ว ยูนนาน 290 ช่วงชายแดนกุ้ยโจวและยูนนาน-สือหลิน กำลังวางแผนก่อสร้าง รวม 1,696 ---
  • 58. ทางด่วน G56 : หางโจว – รุ่ยลี่ หังโจว รุ่ยลี่เจ้อเจียง คุนหมิง
  • 59. ทางด่วน G56 : หางโจว – รุ่ยลี่ทางด่วน มณฑล/เมือง ส ที่พาดผ่าน ระยะทาง (กม.) ถานะ หหาางจโโจว – รุ่รยลี่ ล(G56) เจ้เจอเจีเจยง 123 杭州至瑞丽高速公路 อันฮุย 119 เจีียงซีี298 เปิเปดใช้ใชตลอดเส้เสนทาง หูเป่ย 200 หูหนาน 547 ทางด่วนบริเวณเมืองเย่วหยาง อยู่ระหว่างการก่อสร้าง กกุ้ยโโจจว 674 ททาางดด่วนชช่วงเเขขตปปี้เเจจี๋ย-ชชาายแแดดนตตูเเกก๋อ เขตลิ่วผานสุ่ย อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ยยูนนนาาน 1,020 ชช่วงเเปป่าาซซาาน-รรุ่ยลลี่ยยังเเปป็นถนนธรรมดดาา รวม 2981 ---
  • 60. ทางด่วน G80 : กว่างโจว – คุนหมิง คุนหมิง กว่างโจว หนานหนิง
  • 61. ทางด่วน G80 : กว่างโจว – คุนหมิง ทางด่วน มณฑล/เมือง ที่พาดผ่าระยะทาง (กม ) สถานะ ทผาน .) กวว่าางโโจจว – คคุนหมมิง (G80) กวางต้ง 235 广昆高速公路 ตุกว่างซี659 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง ยูนนาน 538 รวม 1,432 ---
  • 62. ทางด่วน G 214 และ G 318 : คุนหมิง – ลาซ่า (ทิเบต) ลาซ่า คุนหมิง
  • 63. เส้นทาง G 214 และ G 318 : คุนหมิง – ลาซ่า (ทิเบต) เส้นทาง มณฑล/เมือง/อำเภอ ระยะทาง สถานะ ที่พาดผ่าน (กม.) คุุนหมิง – ลาซ่า (ทิเบต) ยูนนาน 810 滇藏公路(G214 และ G318) ู ทิเบต 1,490 เปิดใช้ตลอดเส้นทาง รวม 2,300 ---
  • 64. ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง 4. คคุนหมมิง-โโหหวเเฉฉียว เเชชื่อมเเมมียนมมาารร์-ออินเเดดีย ทางด่วนช่วงคุนหมิง-เถิงชง เปิดใช้ 6 ก.พ. 2556 ช่วงเถิงชง-โหวเฉียว ยังไม่เริ่มก่อสร้าง เถงิชง หลงหลงิ 2. คุนหมิง-รุ่ยลี่ เชื่อมเมียนมาร์ ช่วง อ.หลงหลิง-รุ่ยลี่ กำลังก่อสร้าง ิโ่ืีุ ่ คาดแล้วเสร็จตลอดสายปี 2558 3.คุนหมิง-เหอโข่ว เชือมเวียดนาม เปิดใช้ตลอดเส้นทาง 9 ต.ค. 2556 และไปเชื่อมกับทางด่วนลาวกาย- 1. คุนหมิง-บ่อหาน (R3A) ผ่านเข้าลาวและไทย เปิดใช้งานตลอดสายแล้ว ช่งจิ่งห-บ่น ฮานอย ซึ่งเปิดใช้ 21 ก.ย. 2557 เปใชแลชวจง บอหาอยู่ระหว่างการขยายให้เป็นทางด่วนเต็มรูปแบบ คาดเสร็จตลอดสาย ปี 2561
  • 65. ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง คุนหมิง - บ่อหาน (R3A) มณฑล/เมือง/อำเภอ ที่พาดผ่าน ระยะทาง (กม ) สถานะ .) 昆明至磨憨 (G8511) ทางด่วนคุนหมิง-ยวี่ซี86 ด่วี่ซีหเจียง 117 ทางดวนยวซ-ยวนเจทางด่วนหยวนเจียง-ม่อเฮย 147 ทางหลวงม่อเฮย-ซืือเหมา 65 ทางด่วนซือเหมา-เซี่ยวเหมิงหยาง 98 ทางด่วนเซ่ี่ยวเหมิงหย่าง-บ่อหาน 175 คาดเสร็จปี 2561 เปิดใช้ตลอดสาย รวม 688 ปัจจุบัน ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 8 ชม.
  • 66. ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง คุนหมิง – รุ่ยลี่มณฑล/เมือง/อำเภอ ระยะทาง สถานะ 昆明至瑞丽ที่พาดผ่าน (กม.) อานหนิง – ฉูู่สง 130 เปิดใช้แล้ว ฉู่สง – ต้าลี่179 ต้าหลี่ - เป่าซาน 166 (ช่วงซินเจียต้ากวาน) เป่าซาน (ช่วงซินเจียต้ากวาน) 37 - เป่าซาน (หลงหลิง) เป่าซาน (หลงหลิง) - รุุ่ยลี่158 ก่อสร้างเมื่อ 30 พ.ค. 2554 คาดเสร็จตลอดสาย 2558 รวม 692 ใช้เวลาเดินทางประมาณ 10 ช.ม.
  • 67. ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง คุนหมิง – เหอโข่ว G8011 昆明至河口 มณฑล/เมือง/อำเภอ ที่พาดผ่าน ระยะทาง (กม.) สถานะ สือหลิน - วัดส่ั่วหลงซ่ื่อ 107 เปิดใช้เส้นทางด่วนตลอดสาย ืั่ี่ 9 2556 วัดสั่วหลงซื่อ - เมิ่งจือ้79 เมอวนท ต.ค. เมิ่งจือ้ - เหอโข่ว 140 รวม 412 ใใชช้เเววลลาาเเดดินททาางปรระะมมาาณ 5 ช.ม. ปปััจจจุุบบััน สสาามมาารถเเดดิินททาางจจาากคคุุนหมมิิงไไปปฮฮาานอย โโดดยใใชช้้ททาางดด่่วนคคุุนหมมิิง-เเหหอโโขข่่ว แแลละะททาางดด่่วนลลาาวกกาาย-ฮฮาานอย ซซ่ึึ่งเเปปิิดใใชช้้ 21 ก.ย. 2557 ใใชช้้เเววลลาาเเดดิินททาางรวม 8 ช.ม.
  • 68. ทางด่วนระหว่างประเทศ 4 เส้นทาง คุนหมิง – เถิงชง 昆明至腾冲 มณฑล/เมือง/อำเภอ ที่พาดผ่าน ระยะทาง (กม.) สถานะ อานหนิง - ฉู่สง 130 เปิดใช้เส้นทางด่วนตลอดสาย ฉู่สง – ต้าลี่179 ต้้าหลีี่ - เป่าซาน 189 เมอวนท ก.พ. เป่าซาน - เถิงชง 163 ืั่ี่ 6 2556 รวม 683 ใช้เวลาเดินทางราว 7 ชม.
  • 70. • ตามแผนการพัฒนาของรัฐบาลระยะเวลา 10 ปี (2554-2563) ยูนนานจะสร้างเส้นทางรถไฟระหว่างมณฑลรวม 8 สายเพื่อเชื่อมไปยัง มณฑลรอบด้้าน เช่น เสฉวน ฉงชิ่ง กว่างซี กุ้้ยโโจว กว่างโโจว ทิเบต เซี่ยงไไฮ้้ • และเส้นทางรถไฟระหว่างประเทศ 4 สายที่เชื่อมไปยังประเทศใน เอเชีียตะวัันออกเฉีียงใใต้้ ไได้้แก่ เส้้นทางรถไไฟแพนเอเชีีย ประกอบด้้วย - เส้นทางรถไฟจีน-เวียดนาม- เส้้นทางรถไไฟจีีน-ลาว - เส้นทางรถไฟจีน-เมียนมาร์- เส้้นทางรถไไฟฟจีีน-เมีียนมาร์์-อิินเดีีย (ความเร็วรถไฟแพนเอเชียอยู่ระหว่าง 160-200 กม./ชม.)
  • 71. เส้นทางรถไฟระหว่างมณฑล เส้นทางรถไฟ ระยะทาง (กม.) เวลาเดินทาง (ช.ม.) หมายเหตุ 1. ยูนนาน – ทิเบต 1 573 ชิ่ีีิี่่้ (7 10 ช ) 滇藏铁路 1,573 - -ชวงคุนหมง–ลเจยง เดมมอยูแลว 7-ม.) - ช่วงลี่เจียง-แชงกรีล่า เริ่มสร้าง 22 ก.ค. 2557 รระะยยะะททาาง 140 กม. คคาาดเเสสรร็จใในนปปี 2563 2. คุนหมิง-กุ้ยหยาง 贵昆铁路 639 8 ิ เดิมมีอยู่แล้ว 3. คุนหมิง-เสฉวน 内昆铁路 872 18 4. คุุนหมิง-หนานหนิง 828 12 南昆铁路 5.1 คุนหมิง-เฉิงตู 成昆铁路 1,104 18-23 5. 2 คุนหมิง-เฉิงตู (เส้นคู่ขนาน) 成昆铁路复线 737 5 (เดิมใช้เวลา เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 16 ม.ค. 2553 (รถไฟด่วน ความเร็ว 160-200 กม./ชม.) 19 ช.ม.) คาดเสร็จปี 2563
  • 72. เส้นทางรถไฟระหว่างมณฑล เส้นทางรถไฟ ระยะทาง (กม ) เวลาเดินทาง (ช ม ) หมายเหตุ .) ..) 6. ยูนนาน-กว่างซี 云桂铁路 รเร็สรัส่ผ้โดยสารโดยเฉพาะ 710 5 (ิ ใช้ เริ่มก่อสร้าง 27 ธ.ค. 2552 - ถไฟความเรวสูง รบสงผูเดมใชเวลา คาดเส็รจปี ป 2559 - ช่วงยูนนานความเร็ว 200 กม./ชม. 12 ช.ม.) - ช่วงกว่างซีความเร็ว 250 กม./ชม. 7. คุนหมิง-ฉงชิ่ง 渝昆铁路 - รถไฟความเร็วสูง รับส่งผู้โดยสารโดยเฉพาะ 700 3 (เดิมใช้เวลา คาดเริ่มก่อสร้าง ปี 2559 และจะเสร็จปี 2563 - ช่วงยูนนานความเร็ว 250 กม./ชม. - ช่วงฉงชิ่งความเร็ว 250-300 กม./ชม. 20 ช.ม.) 8. คุนหมิิง-เซีี่ยงไไฮ้ 沪昆铁路2,264 9 ่่่้ - รถไฟความเร็วสูง รับส่งผู้โดยสารโดยเฉพาะ - ช่วงยนนานความเร็250 กม./ชม. (เดิมใช้เวลา 34 41 ช ) อยูระหวางการกอสราง คาดเสร็จปี 2558 ชยูเรว - ที่เหลือความเร็ว 350 กม./ชม. 34-.ม.)
  • 74. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายกลาง คุนหมิง ยววี่ซซี ผูเอ่อร์เชื่อมลาว-ไทย ร็จิ่งหง คาดเสรจตลอดสาย ปี 2563 ด่านบ่อหาน
  • 75. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายกลาง สายกลาง แบ่งเป็็น 2 ช่วง 1. คุนหมิง-ยวี่ซี ระยะทาง 108 กม.ปัจจุบัน เป็น รถไไฟธรรมดาใช้เวลา 2 ชม. กำลังพัฒนาเป็็นรถไไฟ ด่วน เริ่มก่อสร้าง มิ.ย. 2552 คาดเสร็จในปี 2558 และจะร่นเวลาเดินทางเหลือ 40 นาที 2. ยวี่ซี-บ่อหาน (ยวี่ซี-ผูเอ่อร์-จิ่งหง-บ่อหาน) ระยะทาง 488 ก.ม. ไได้้รับการอนุมัติแล้้ว และจะเริ่ม ก่อสร้างในปี 2558 คาดเสร็จในปี 2563 หากเสร็จจะ ใใช้้เวลาเดินทางเพีียง 3 ช.ม.
  • 76. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันตก ต้าตาหลี่ลุ คุนหมิง กว่างทง เป่าซาน เต๋๋อหง ด่านรุ่ยลี่ เชื่อมเมียนมาร์ (คาดเสร็จตลอดสายปี 2564)
  • 77. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันตก สายตะวันตก แบ่งเป็น 3 ช่วง 1. คุนหมิิง-ต้้าหลีี่ กำลัังขยายเส้้นทาง คาดแล้้วเสร็็จ พ.ค. 2560 ร่นเวลาเดินทางเหลือเพียง 2 ชม. แบ่่งเปป็็น 2 ช่่วง 1.1 คุนหมิง-กว่างทง ระยะทาง 107 กม. เริ่มสร้าง ต.ค. 2550 เปปิิดใใช้้แล้้ว 16 ม.ค. 2557 1.2 กว่างทง-ต้าหลี่ ระยะทาง 175 กม. เริ่มสร้าง ปลายปปีี 2555 งบ 13,936 ล้้านหยวน 2. ต้าหลี่-เป่าซาน ระยะทาง 134 กม. เริ่มก่อสร้าง มิิ.ย.2551 คาดเสร็็จปปีี 2558 3. เป่าซาน-รุ่ยลี่ ระยะทาง 196 กม. เริ่มก่อสร้าง ส.ค. 2557 คาดเสร็็จปปีี 2564
  • 78. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันออก คุุนหมิง ยววี่ซซี เเมมิ่งจจืออ้ เชื่อมเวียดนาม ดด่าานเเหหอโโขข่ว คาดเสร็จตลอดสายสิ้นปี 2557
  • 79. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายตะวันออก สายตะวันออก แบ่่งเปป็็น 3 ช่่วง 1. คุนหมิง-ยวี่ซี ระยะทาง 108 กม.ปัจจุบันเป็นรถไฟ ธรรมดาใใช้เวลา 2 ชม. กํำลังพัฒนาเปป็นรถไไฟฟด่วน เริ่มสร้าง มิ.ย. 2552 คาดเสร็จปี 2558 และจะร่น เวลาเดิินทางเหลืือ 40 นาทีี 2. ยวี่ซี-เมิ่งจือ้ ระยะทาง 141 กม. เปิดใช้งานแล้ว 23 ก.พ. 2556 3. เมิ่งจือ้-เหอโข่ว ระยะทาง 141 กม. เริ่มก่อสร้าง ก.ค. 2552 คาดเสสร็จสสิน้ปปี 2557
  • 80. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายเหนือ คนหมิง ต้าหลี่ โ คุมเป่าซาน กว่างทง ด่านโหวเฉียว เชื่อมเมียนมาร์-อินเดีย
  • 81. เส้นทางรถไฟแพนเอเชียสายเหนือ • สสาายเเหหนนือ ใใชช้เเสส้นททาางเเดดียวกกับสสาายตตะววันตกโโดดยแแยยกจจาาก เมืองเป่าซานไปยังด่านโหวเฉียว อำเภอเถิงชง เพื่อเชื่อม ตต่อไไปปยยังเเมมียนมมาารร์ บบังคลลาาเเททศ แแลละะออินเเดดีย • ช่่วงเปป่่าซาน-โโหวเฉีียว ยัังไไม่่ไได้้เริิ่มการก่่อสร้้าง
  • 83. รถไฟความเร็วสูงเซี่ยงไฮ้-คุนหมิง เส้นทางรถไฟ ระยะทาง ( กม.) เริ่มก่อสร้าง คาดว่าจะ สร้างเสร็จ มูลค่าการ ลงทน เวลาเดินทาง )ุ( ช.ม.) (ล้านหยวน) ) 1. เซี่ยงไฮ้ –หังโจว 158 26 ก.พ. 2552 26 ต.ค. 2553 (เปิดบริการแล้ว) 29,680 1 2. หังโจว – ฉางซา 883 - เจ้อเจียง 294 22 ธ.ค. 2552 2557 4 (สร้างเสร็จแล้ว ราวร้อยละ 90) - เจียงซี506 130,880 - หููหนาน 83
  • 84. รถไฟความเร็วสูงเซี่ยงไฮ้-คุนหมิง เส้นทางรถไฟ ระยะทาง (กม.) เริ่ม ก่อสร้าง คาดว่าจะ สร้างเสร็จ มูลค่าการ ลงทุน เวลาเดินทาง (ช.ม.) (ล้านหยวน) 3. ฉางซา - คุนหมิง 1,140 26 มี.ค. ช่วงหูหนาน 2557 ช่วงกุ้ยโจว 2558 161,600 4 - หูหนาน 408 - กุ้ยโจว 560 2553 ช่วงยูนนาน 2558 - ยูนนาน 188 รวม 2,181 2552 2558 322,160 9 (เดิมใช้เวลา 37 ชม.)
  • 86. รถไฟความเร็วสูงสิงคโปร์-มาเลเซีย • มีระยะทางกว่า 300 ก.ม. ความเร็็ว 350-450 กม./ชม. ซ่ึ่งจะช่วย ลดระยะเวลาการเดินทางระหว่างสิงคโปร์กับกัวลาลัมเปอร์จาก 6 ช.ม.ในปัจจุบันให้เหลือเพียง 90 นาทีเท่านั้้น คาดก่อสร้าง แล้วเสร็จปี 2563 • เส้้นทางรถไไฟนี้จะทำให้้เครือข่ายการเชื่อมโยงเส้้นทางรถไไฟความเร็็วสูง จากนครคุนหมิงไปถึงสิงคโปร์เสร็จสมบูรณ์• หากผนวกกับเส้้นทางรถไไฟความเร็็วสูงคุนหมิง-เซี่ยงไไฮ้้ ซึ่งคาดว่าจะ ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี 2558 ก็เท่ากับว่า ภูมิภาคนี้จะมีเครือข่ายเส้นทาง รถไไฟความเร็็วสูงทีี่มีีระยะทางยาวมาก เชืื่อมโโยงเซีี่ยงไไฮ้้ไไปถึึงสิงคโโปร์์ โดยมีคุนหมิงเป็นศูนย์กลางของเส้นทาง
  • 87. รถไฟด่วนจีน-เมียนมาร์ (คุุนหมิง-ย่างกุุ้ง) • การก่อสร้างเริ่มต้นจากมณฑลยูนนาน (คุนหมิง-ต้าหลี่-เป่าซาน-รุ่ยลี่) – เมียนมาร์ (มูเซ-ลาโซ-มัณฑะเลย์-ย่างกุ้ง) – ไทย – มาเลเซีย – สิงคโปร์ โดยเส้นทางช่วงมณฑลยูนนาน คาดเสร็จตลอดสายปี 2563
  • 88. รถไฟความเร็วสููงจีน-เมียนมาร์ (คุุนหมิง-ย่างกุุ้ง)  รถไ เมีย กุ้ง) • สร้างคู่ขนานไปกับเส้นทางนํ้ามันดิบและ ก๊าซธรรมชาติจีน-เมียนมาร์ ไฟความ นมาร์ ( • เป็นเส้นทางสำคัญในการเชื่อมต่อ ฐานการผลิตของจีนเข้ากับตลาดขนาดใหญ่ เร็วสูงจี คุนหมิง ของเอเชียใต้ ซึ่งเป็นตลาดที่มีศักยภาพ สำหรับสินค้าจีน และเชื่อมต่อจีนเข้ากับ น- -ย่าง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็น แหล่งวัตถุดิบสำคัญในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของจีน
  • 89. โครงข่ายเส้นทางรถไฟแพนเอเชีย เส้้นทางรถไไฟ KSRL สายเหนืือ-ตะวัันตก-กลาง-ตะวัันออก
  • 90. ความคืบหน้ารถไฟแพนเอเชียสายกลาง (จีน-ลาว-ไทย) ช่วงมณฑลยูนนาน - ความเร็ว 160 กม./ชม. - ขนาดราง 1.435 เมตร - คาดเสร็จตลอดสายในปี 2563 ชช่วงปรระะเเททศลลาาว - รัฐบาลจีนอยู่ระหว่างเจรจากับลาว - คคาาดเเรริ่มกกาารกก่อสรร้าางไไดด้ใในนปปี 2558 - ใช้เวลาก่อสร้าง 6 ปี - ช่วงในลาว ก่อสร้างต่อจากบ่อหาน ผ่านเวียงจันทน์ เข้าหนองคาย - ปัจจุบัน ยังไม่มีแผนก่อสร้างรถไฟ เข้าเชชียงของ
  • 92. ท่าเรือใหญ่ 2 แห่ง ในมณฑลยูนนาน ผ่านลำนํ้าโขง 1. ท่าเรือซือเหมา 2. ท่าเรือจิ่งหง แบ่งเป็นท่าเรือย่อย 3 แห่ง ได้แก่ ท่าเรือจิ่งหง ท่าเรือก๋านหล่านป้า ท่าเรือกวนเหล่ย
  • 93. 1. ท่าเรือซือเหมา • ตั้งอยูู่ที่เมืองผููเอ่อร์ ห่างจากจิ่งหง 85 ก.ม. และเชียงของ 478 ก.ม. • เป็นท่าเรือระดับประเทศ • มมีทท่าาเเททียบเเรรือ 5 แแหห่ง • รองรับเรือขนาด 100-150 ตัน ถูกออกแบบให้สามารถรองรับ ปริมาณสสินค้าไได้ปปีละ 360,000 ตัน ผู้โโดยสสารรวม 200,000 คน ซือเหมา
  • 94. 2. ท่าเรือจิ่งหง 2.1 ท่าเรือย่อยจิ่งหง • อยู่ห่างจาก อ. เชียงของ จังหวัดเชียงราย ประมาณ 402 ก.ม. และห่างจากท่าเรือเชียงแสน 345 ก.ม. • เป็นท่าเรือระดับประเทศ • รับส่งผูู้โดยสารเป็นหลัก • มีท่าเทียบเรือ 1 แห่ง สามารถรองรับปริมาณสินค้าได้ปีละ 100,000 ตัน ผูู้โดยสาร 400,000 คน
  • 95. 2. ท่าเรือจิ่งหง 2.2 ท่าเรือก๋านหล่านป้า เป็นท่าเรือที่อยู่ระหว่างการขยายให้มีความหลากหลายทั้งด้าน การขนส่่งสิินค้้า ผู้้โโดยสาร และตู้้คอนเทนเนอร์์ เพืื่อใให้้สามารถรองรัับ สินค้าได้ปีละ 1 ล้านตัน ผู้โดยสาร 400,000 คน และตู้คอนเทนเนอร์ 70,000 TEU (Twenty-foot Equivalent Unit)
  • 96. 2. ท่าเรือจิ่งหง 2.3 ท่าเรือกวนเหล่ย • เป็นท่าเรือขนส่งสินค้าเป็นหลัก • สามารถรองรับสินค้าได้ปีละ 150,000 ตัน ผู้โดยสาร 100,000 ตัน • ปัจจุบัน ท่าเรือที่สามารถรองรับตู้คอนเทนเนอร์ขนาด 15,000 TEU/ปี ได้สร้างเสร็จแล้ว • เป็นท่าเรือหลักสำหรับขนส่งสินค้าไทย-จีน ทางแม่นํ้าโขง
  • 97. เขื่อนและสถานีไฟฟ้าพลังงานนํ้าขนาดใหญ่ 2 แห่ง ในมณฑลยูนนาน สถถาานนีไไฟฟฟฟ้าาพลลังงงาานนนํ้าาเเสสี่ยวววาาน สถานีีไไฟฟ้้าพลัังงานนํ้านัั่วจาตู้้
  • 99. ท่าอากาศยานในมณฑลยูนนาน 保山 เป่าซาน เเปปิดใใหห้บรริกกาารแแลล้ว อยู่ระหว่างการก่อสร้าง
  • 100. ท่าอากาศยานในมณฑลยูนนาน • มณฑลยููนนานมีสนามบินที่เปิดใช้งานแล้วทั้งหมด 12 แห่ง - สนามบินหลัก 1 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานนานาชาติฉางสุ่ย - สนามบินย่อย 11 แห่ง ได้แก่ เจาทง ลี่เจียง สิบสองปันนา เถิงชง ต้าหลี่ เป่าซาน หมางซื่อ แชงกรีลา ผูเอ่อร์ หลินชาง และเหวินซาน • ปัจจุุบัน มีการก่อสร้างสนามบินใหม่เพิ่มอีก 4 แห่ง ได้แก่ - สนามบินหลูกูหู (เมืองลี่เจียง) - สนามบินหงเหอ (เขตหงเหอ) - สนามบินชางหยวน (เมืองหลินชาง) - สนามบินหลานชาง (เมืองผููเอ่อร์) • ภายในปี 2563 หรือภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (2559-2563) ยููนนานจะสร้างสนามบินเพิ่มอีก 4 แห่ง รวมมีสนามบิน 20 แห่ง
  • 101. ท่าอากาศยานนานาชาติฉางสุ่ย • สนามบินหลักของมณฑลยูนนาน • เปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2555 • ห่างจากตัวเมืองนครคุนหมิงประมาณ 30 นาที • ปัจจุบัน รองรับผู้โดยสารได้ปีละ 38 ล้านคน • ใหญ่เป็็นอันดับ 4 ของจีน รองจากสนามบินกรุงปักก่ิ่ง สนามบินผู่ตงของนครเซี่ยงไฮ้ และสนามบินไป๋หวินของนครกว่างโจว • ภายใใต้้แผนพััฒนาเศรษฐกิิจและสัังคมแห่่งชาติิ 5 ปปีี ฉบัับทีี่ 13 (2559-2563) สนามบินฉางสุ่ยจะก่อสร้างอาคารผู้โดยสารหมายเลข 2 ซึ่งจะทำให้สามารถรองรับ ผผู้โโดดยสสาารไไดด้ถถึงปปีลละะ 80 ลล้าานคน
  • 103. เส้นทางการบินระหว่างมณฑลยูนนานกับประเทศไทย กรุงเทพ – คุนหมิง เป็็นลักษณะบินตรงท่ี่มีการกำหนดเวลาแน่นอน โดยสายการบิน Thai Airways , China Eastern Airlines และ Air Asia ใช้เวลาบินราว 2 ชม. กรรุงเเททพ – จจิ่งหง เป็นการบินลักษณะเหมาลำ โดยสายการบิน China Eastern Airlines ใใชช้เเววลลาาบบินรราาว 1.30 ชชั่วโโมมง กรรุงเเททพ – ลลี่เเจจียง เป็นการบินลักษณะเหมาลำ โดยสายการบิน China Eastern Airlines ใใชช้เเววลลาาบบินรราาว 3 ชชั่วโโมมง
  • 104. เส้นทางการบินระหว่างมณฑลยูนนานกับประเทศไทย เชียงใหม่ – คุนหมิง เปป็็นการบิินลัักษณะเหมาลํำ โโดยสายการบิิน China Eastern Airlines ใช้เวลาบินราว 1.30 ชั่วโมง เชียงราย – คุนหมิง เปป็็นการบิินลัักษณะเหมาลํำ โโดยสายการบิิน China Eastern Airlines ใช้เวลาบินราว 1.30 ชั่วโมง ภาคใต้ (ภูเก็ต กระบี่ สุราษฎร์ธานี สมุย) - คุนหมิง เปป็็นการบิินลัักษณะเหมาลํำ โโดยสารการบิิน China Eastern Airlines และ Lucky Air