SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 95
Baixar para ler offline
รายงานการศึกษา
บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
โดย
กฤษฎา บุญชัย
วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร
เสนอ
สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
สิงหาคม 2556
คานา
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
ฉบับนี้จัดทาขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์
บทบาท และความสาคัญของภาคประชาสังคมในประเทศไทย และเพื่อถอดบทเรียนและเสริมพลังภาคประชา
สังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง การจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทาง
ชีวภาพ และการเสริมพลังคนจนเมือง รายงานผลการศึกษาฉบับนี้จึงแบ่งออกเป็น 4 บท คือ
บทที่ 1 บทนา กล่าวถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขต
การศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ระยะเวลาในการศึกษา และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บทที่ 2 กล่าวถึงพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชาสังคมใน
ประเทศไทย
บทที่ 3 กล่าวถึง ปัญหาเชิงโครงสร้างของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนไหวฐานทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อมและเกษตรของไทย และข้อเสนอทางยุทธศาสตร์ต่อขบวนการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และ
เกษตรยั่งยืน
บทที่ 4 กล่าวถึงการทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนกับคนจนเมืองและความท้าทายในอนาคต สรุป
ประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่ควรพิจารณา และข้อเสนอเพื่อการพิจารณา
คณะผู้ศึกษาหวังว่า รายงานการศึกษาฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ที่จะนาไปเป็นข้อมูลเพื่อสร้างเครือข่ายกับภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ต่อไป
กฤษฎา บุญชัย
วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร
30 สิงหาคม 2556
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3
1.4 ระเบียบวิธีวิจัย 3
1.5 ระยะเวลาดาเนินการ 3
1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 4
บทที่ 2 แนวคิด พัฒนาการ และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมในประเทศไทย
2.1 ความหมาย 5
2.2 การก่อตัวและองค์ประกอบของภาคประชาสังคม 8
2.3 พัฒนาการของภาคประชาสังคมของประทศไทย 10
2.4 ลักษณะ ประเภทของประชาสังคมในสังคมไทย 20
2.5 ปัญหา อุปสรรค ของภาคประชาสังคม 22
บทที่ 3 สามทศวรรษของขบวนการเคลื่อนไหวด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อมกับความท้าทาย
ทางยุทธศาสตร์ในโลกาภิวัตน์
3.1 หลักการและเหตุผล 25
3.2 วัตถุประสงค์ 27
3.3 แนวทางการศึกษา 28
3.4 ปัญหาเชิงโครงสร้างของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 28
3.5 ประมวลขบวนการเคลื่อนไหวฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเกษตรของไทย 32
3.6 ข้อเสนอทางยุทธศาสตร์ต่อขบวนการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และเกษตรยั่งยืน 50
3.7 ข้อเสนอยุทธศาสตร์ต่อการสร้างความเป็นสถาบันทางสังคมของขบวนการฯ 54
3.8 ข้อเสนอทางนโยบายที่สอดรับการเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 57
บทที่ 4 การทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนกับคนจนเมืองและความท้าทายในอนาคต
4.1 ความนา 58
4.2 คนจนเมือง 62
4.3 ขบวนการเคลื่อนไหวคนจนเมือง 63
4.4 แนวโน้มของปัญหาคนจนเมือง 70
4.5 บทบาทองค์กรพัฒนาเอกชนในการทางานกับคนจนเมือง 73
4.6 ความท้าทายของเอ็นจีโอกับการทางานในอนาคต 77
4.7 ประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่ควรพิจารณา 82
4.8 ภาพอนาคต 86
4.9 ข้อเสนอเพื่อพิจารณา 87
บทที่ 1
บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง(Civil Right and Political Rights) เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน
ของบุคคล(Primary Right) ในการดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม เป็นสิทธิของประชาชนในฐานะที่เป็น
พลเมืองแห่งรัฐที่จะได้รับบริการสาธารณะ ได้รับการคุ้มครองทางสังคม ได้รับสวัสดิการสังคมจากรัฐ
รวมทั้งได้รับสิทธิในการนับถือศาสนา การเข้าร่วมพิธีกรรม ประเพณี วัฒนธรรม ของประชาคมโดย
ไม่มีข้อจากัด โลกในยุคปัจจุบันกาลังให้ความสาคัญกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เพราะทา
ให้เกิดหลักประกันในการอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง จึงไม่ใช่เรื่อง
ของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นเรื่องที่สังคมทั่วโลกต้องให้ความสาคัญและยึดมั่นใน
หลักการเดียวกัน
ประเทศไทยในฐานะที่เป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ ได้เข้าเป็นภาคีของกติการะหว่าง
ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง( International Covenant on Civil and Political
Rights) หรือ ICCPR ) ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2539 มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 29 มกราคม
2540 สนธิสัญญานี้ให้คามั่นสัญญาว่าภาคีจะเคารพสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของบุคคล ซึ่ง
รวมถึงสิทธิในชีวิต เสรีภาพในศาสนา เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการรวมตัว สิทธิเลือกตั้ง และ
สิทธิในการได้รับการพิจารณาความอย่างยุติธรรม
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเป็ นส่วนหนึ่งของ
"International Bill of Human Rights" ร่วมกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal
Declaration of Human Rights) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights หรือ ICESCR)
การต่อสู้เพื่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในสังคมไทยมีมายาวนาน ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า
แม้ประเทศไทยจะให้การรับรองกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการตั้งแต่
ปี 2539 แต่ก็ยังคงมีการละเมิดสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อย่างต่อเนื่อง ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ฉบับปี 2540 ที่ดูจะเป็นความหวังของผู้ด้อยโอกาสหรือผู้ไร้อานาจที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน แต่ดู
เหมือนรากเหง้าและปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็ยังดารงอยู่ในสังคมไทย อันเป็นผลมาจากหลาย
สาเหตุ เช่น ระบบเศรษฐกิจการเมืองแบบเผด็จการ อานาจนิยม ระบบทุนนิยม หรือวิถีพัฒนาที่มิได้เอา
ความเป็นมนุษย์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นที่ตั้ง วัฒนธรรมความเชื่อที่ล้าหลังจนก่อมายาคติผิดๆ
ที่ไม่ศรัทธาคุณค่าความเป็นมนุษย์และความเท่าเทียม เป็นผลให้เกิดความรุนแรงและสนับสนุนการ
ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชนจนฝังรากลึกมาถึงปัจจุบัน (จรัญ โฆษณานันท์, 2545:522-526)
2
สังคมไทยปัจจุบันเน้นความสาคัญของภาคเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
หรือระบบตลาดได้ครอบงาเศรษฐกิจโลก และภายใต้ระบบตลาดเศรษฐกิจทุนนิยมดังกล่าว ได้ทาให้
เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มาพร้อมกับเศรษฐกิจในระบบตลาด ภายใต้การพยายามก้าวไปสู่ความ
ทันสมัย รัฐบาลได้ใช้กฎหมายโดยไม่คานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดกับชุมชน เห็นได้จากการจัดการ
ทรัพยากรในภาคอีสาน เช่น การประกาศเขตวนอุทยานกับที่ดินทากินของชาวบ้าน การให้สัมปทานป่า
แก่กลุ่มอิทธิพลภายนอกชุมชน ด้วยการส่งเสริมการปลูกพืชพาณิชย์และการพัฒนาอุตสาหกรรม
(เสน่ห์ จามริก, 2546:35-40) ตัวอย่างหนึ่งของการละเมิดสิทธิมนุษยชน คือ กรณีเขื่อนปากมูล ที่
หลังจากการสร้างเขื่อนได้ทาให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนแปลงไป ระบบนิเวศที่ลุ่มน้ามูลก็ถูก
เปลี่ยนแปลง เกิดวิกฤตในการทามาหากิน ชาวบ้านบางส่วนต้องอพยพไปใช้แรงงานที่อื่น จานวนป่า
ลดน้อยลง ชาวบ้านจับปลาไม่ได้พอเพียงแก่การเลี้ยงชีพ ทั้งที่เมื่อก่อนระบบนิเวศนี้สมบูรณ์ ปลามีมาก
ชาวบ้านจึงจับปลาขายและเป็นรายได้เลี้ยงครอบครัว (ชลธิรา สัตยาวัฒนา, 2546:154-164) นอกจากนี้
แล้วยังมีกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอื่นๆอีก เช่น การฆ่าตัดตอนปราบปรามยาเสพติดในสมัยรัฐบาล
ทักษิณ ปัญหาการค้าประเวณี การก่อการร้าย และความยากจนเป็นต้น ยังเป็นปัญหาของสังคมไทยจน
ปัจจุบัน สิทธิ เป็นเสมือนทั้งเกราะในการคุ้มกันประชาชนให้พ้นจากภัยคุกคามของกาลังอิทธิพลและ
อานาจที่ไม่ยุติธรรม และเป็นเสมือนกุญแจให้ประชาชนสามารถใช้ไขไปสู่ประโยชน์ด้านต่างๆ ได้
ภาคประชาสังคม(Civil Society Sector) ในประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทในการคุ้มครองสิทธิ
พลเมืองและสิทธิทางการเมืองของประชาชนมากขึ้นเป็นลาดับนับตั้งแต่หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม
2516 เป็นต้นมา บทบาทของภาคประชาสังคมครอบคลุมสาระสาคัญของสิทธิ และพันธะของรัฐที่มี
ต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนใน 3 ด้านคือ สิทธิ เสรีภาพในความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพในความ
เป็นพลเมือง และ สิทธิในความเสมอภาคที่ต้องได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันจากรัฐ หรือการไม่เลือก
ปฏิบัติ เว้นแต่การเลือกปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือให้ผู้เสียเปรียบ ผู้ด้อยโอกาส ได้รับสิทธิโอกาสเท่าเทียมกับ
คนอื่นได้
ในช่วง 4 ทศวรรษ (2516 – 2556) ที่ผ่านมา ภาคประชาสังคมมีบทเรียนในการรณรงค์เพื่อการ
คุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ของขบวนการ
เคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และด้านคนจนเมือง ซึ่งได้รับ
ผลกระทบอย่างมากจากกระบวนการแผ่ขยายของทุนนิยมภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ที่มิได้เอาความ
เป็นมนุษย์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นที่ตั้ง ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง
อย่างรวดเร็ว ที่ดินทากินในชนบทถูกกว้านซื้อเพื่อการขยายพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม หรือเพื่อการลงทุน
โครงการขนาดใหญ่เชิงพาณิชย์ ทาให้คนในชนบทต้องอพยพโยกย้ายเข้ามาทางานรับจ้างในเมือง
กลายเป็นคนจนเมืองในที่สุด จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาวิจัยเรื่อง “บทบาทของภาคประชา
สังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
3
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
1) เพื่อศึกษาพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชา
สังคมในประเทศไทย
2) เพื่อถอดบทเรียนและเสริมพลังภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ทางการเมือง การจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเสริมพลังคนจน
เมือง
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังกล่าว ขอบเขตของการวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้น 3 ประเด็น คือ
1) พัฒนาการทางแนวคิด และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมในประเทศไทย
2) ขบวนการเคลื่อนไหวด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อมกับความท้าทายทางยุทธศาสตร์ในยุค
โลกาภิวัตน์
3) การทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนเมืองภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเมืองและคนจนเมือง
1.4 ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Methods )โดยมีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากเอกสาร และการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสาคัญ(Key informant) ดังนี้
1) การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) คือการศึกษาพัฒนาการทางแนวคิด
ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชาสังคมในประเทศไทยในการคุ้มครองสิทธิ
พลเมืองและสิทธิทางการเมือง การจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทางชีวภาพ และการ
เสริมพลังคนจนเมืองจากเอกสารรางงานการวิจัย และบทความทางวิชาการ
2) การสัมภาษณ์เจาะลึก (In depth interview) คือการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ(Key
informant) ที่เป็นนักพัฒนาอาวุโสที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความ
หลากหลายทางชีวภาพ และคนจนเมือง
3) จัดเวทีสัมมนา เพื่อนาเสนอผลการศึกษาเบื้องต้น โดยมีนักพัฒนาอาวุโสเป็นผู้
วิพากษ์วิจารณ์รายงานการวิจัย
1.5 ระยะเวลาดาเนินการ
มีนาคม ‟ สิงหาคม 2556
4
1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ได้ข้อมูลที่ชัดเจนเรื่องพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของ
ภาคประชาสังคมในประเทศไทย
2) ภาคประชาสังคมด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และด้านคนจนเมือง มีการถอดบทเรียน
อย่างเป็นระบบ และได้รับการเสริมพลังให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น
5
บทที่ 2
แนวคิด พัฒนาการ และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมในประเทศไทย
ดร.จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร*
2.1 ความหมาย
คาว่า "ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษว่า Civil Society โคเฮน และอาเรโต (1992) ได้
อธิบายแนวคิดประชาสังคมไว้ในทฤษฎีเสรีนิยมว่า ประชาสังคมเป็นเรื่องการใช้สิทิในการไม่เชื่อฟัง
รัฐของประชาชน ทาให้เกิดการเรียกร้องสิทธิใหม่ๆขึ้น ในขณะ ที่ เจอร์เก็น ฮาร์เบอร์มาส (1994)
เสนอตัวแบบของเสรีภาพ พรหมแดนระหว่างรัฐและสังคมที่ต้องได้รับการยอมรับโดยมีภาคประชา
สังคมเป็นตัวสร้างความสมดุลใหม่ระหว่างภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคสังคม
สาหรับประเทศไทย มีการให้นิยามความหมายของประชาสังคม ไว้อย่างกว้างขวาง (เช่น
จามรี เชียงทอง, 2543; ชูชัย ศุภวงศ์และยุวดี คาดการณ์ไกล, 2541; อนุชาติ พวงสาลีและ กฤตยา อาชว
นิจกุล, บรรณาธิการ, 2542; เอนก เหล่าธรรมทัศน์, 2542; พฤฒิสาณ ชุมพล, ม.ป.ป. ฯลฯ) พื้นฐาน
สาคัญในการเข้าใจนิยาม ความหมายของคา “ประชาสังคม” ก็คือ มีการใช้ในความหมายที่แตกต่างกัน
ออกไป และมีคุณลักษณะเฉพาะและพิเศษคือ ประชาสังคมเป็นแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ (strategic
concept) (ชลทิศ ตั้งเจริญ, ม.ป.ป.: 1) นั่นหมายความว่า การให้ความหมาย ลักษณะ องค์ประกอบ ของ
ประชาสังคม วิธีการขับเคลื่อนประชาสังคมเพื่อนามาสู่สังคมประชาธิปไตยที่ดีขึ้นอยู่กับประสบการณ์
บทเรียน ปัญหาที่ผู้คนที่ละกลุ่มก้อนเผชิญและระบุแนวทางการขับเคลื่อน ผู้วิจัยจะนาเสนอการให้
นิยามความหมายของนักคิด นักวิชาการบางท่านที่น่าสนใจ ดังนี้
ศาสตราจารย์น.พ. ประเวศ วะสี นับเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการจุดประกายการคิด ในเรื่อง
"ประชาสังคม" อย่างเข้มข้น โดยผ่านงานเขียนชิ้นสาคัญคือ "สังคมสมานุภาพและวิชชา" ซึ่งในงาน
เขียนดังกล่าวประกอบกับบทความย่อย ๆ และการแสดงปาฐกถาและ การอภิปรายในที่ต่าง ๆ พอ
ประมวลเป็นความคิดรวบยอดได้ว่า ในสภาพของสังคมไทยปัจจุบัน ภาคส่วนหลักของสังคมที่มีความ
เข้มแข็ง และมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างมากคือ ภาครัฐ หรือ "รัฐานุภาพ" และภาคธุรกิจเอกชน
หรือ "ธนานุภาพ" ซึ่งปรากฏการณ์นี้ส่งผลทาให้สังคม ขาดดุลยภาพและเกิดความล้าหลังในการพัฒนา
ของฝ่ายประชาชนหรือ ภาคสังคม ซึ่งเรียกว่า "สังคมานุภาพ" ศาสตราจารย์น.พ. ประเวศ วะสี จึงมุ่ง
ไปที่การทาอย่างไรที่จะเกื้อหนุนให้ภาคสังคมหรือภาคประชาชนมีความเข้มแข็งและเกิดดุลภาพทาง
สังคมขึ้น ที่เรียกว่าเป็น "สังคมสมานุภาพ" โดยนัยยะนี้จึงเชื่อว่าจะต้องพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งที่
*
อนุกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และประธานกรรมการประจาหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการบริหารงานสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
6
ชุมชน (ประเวศ วะสี, 2536) จนเกิดคาขยายความตามมา อาทิ ชุมชนเข้มแข็ง ความเป็นชุมชน เป็นต้น
ดังการให้ความหมายของการเป็น "ชุมชน" ในที่นี้ ว่าหมายถึง "การที่ประชาชนจานวนหนึ่งมี
วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันหรือมีความเชื่อร่วมกันในบางเรื่อง มีการติดต่อสื่อสารกัน หรือ
มีการรวมกลุ่มกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความรัก มีมิตรภาพ มีการเรียนรู้ร่วมกันในการ ปฏิบัติบาง
สิ่งบางอย่างและมีระบบการจัดการในระดับกลุ่ม" (ประเวศ วะสี, 2539) ซึ่งโดยนัยยะนี้ประชาสังคมที่
เข้มแข็ง ต้องมีรากฐานที่เกิดจากการมีชุมชนที่หลากหลายและเข้มแข็งด้วย
ข้อพึงสังเกตสาคัญต่อเรื่องการเกื้อหนุนภาคสังคม ที่เสนอแนวคิดในเชิงกลยุทธ์ที่ว่าด้วย
"ความร่วมมือเบญจภาคี" (ต่อมาใช้คาว่า "พหุภาคี") โดยมองว่าชุมชนในปัจจุบันอ่อนแอมาก การที่จะ
ทาให้ชุมชน มีความเข้มแข็งได้นั้น จะต้องเกิดจากความร่วมมือและการทางานร่วมกันของภาคสังคม
ต่าง ๆ ซึ่งรวมทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนด้วย "สังคมสมานุภาพ" จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยกระบวนการ
ถักทอความรักของคนในสังคม ของคนในชุมชน ถักทอทั้งแนวดิ่ง อันหมายถึง โครงสร้างอานาจที่เป็น
ทางการและแนวนอนซึ่ง หมายถึงพันธมิตร/เพื่อน/เครือข่ายเข้าหากัน ซึ่งหากพิจารณาจากประเด็นนี้
การให้ความหมายหรือความสาคัญของ "ประชาสังคม" ของ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประเวศ วะสี
นั้น มิได้กล่าวถึง"การปฏิเสธรัฐ" หรือ State Disobedience แต่อย่างใด
ศาสตราจารย์ธีรยุทธ บุญมี และ ศาสตราจารย์ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ สองนักคิดทางสังคม
คนสาคัญ ที่ได้ให้ความสนใจกับเรื่อง "ประชาสังคม" อย่างมาก โดยศาสตราจารย์ธีรยุทธ บุญมี มองว่า
การแก้ปัญหา พื้นฐานทางสังคมนั้นควรให้ความสาคัญกับ "พลังที่สาม" หรือพลังของสังคม หากแม้น
ว่าสังคมโดยรวมมีความเข้มแข็ง นักธุรกิจ นักวิชาชีพ นักศึกษา ปัญญาชนชาวบ้าน สามารถร่วมแรง
ร่วมใจกัน ผลักดันสังคม ปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นพื้นฐาน ก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ สังคมที่
เข้มแข็งในความหมายของ ธีรยุทธ บุญมี นั้น จะเน้นที่ลักษณะที่กระจัดกระจาย (Diffuse) พลังทาง
สังคมที่มาจากทุกส่วนทุกวิชาชีพทุกระดับ รายได้ ทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งโดยนัยยะนี้ จะมีความ
แตกต่างจากแนวคิด"ประชาชนเป็นส่วนใหญ่" หรือ "อานาจของประชาชน" ดังเช่นขบวนการ
เคลื่อนไหวทางการเมืองในอดีตเป็นอย่างมาก (ธีรยุทธ บุญมี, 2536) ขณะที่ ศาสตราจารย์ดร. เอนก
เหล่าธรรมทัศน์ ได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" หรือ "อารยสังคม" ที่ครอบคลุมทุกชนชั้นของ
สังคม เน้นเรื่องความสมานฉันท์ ความกลมเกลียว ความกลมกลืนในภาคประชาสังคมมากกว่าการดูที่
ความแตกต่างหรือ ความแตกแยกภายใน อย่างไรก็ตามมุมมองของ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้ให้ความ
สนใจเป็นพิเศษกับประเด็นของ "คนชั้นกลาง" "การมีส่วนร่วม" "ความผูกพัน" และ "สานึกของความ
เป็นพลเมือง" กล่าวคือ "ประชาสังคม" โดยนัยยะนี้ มิได้หมายถึงความเป็นชุมชนของสังคมชนบท
เท่านั้นแต่กิน ความรวมไปถึงคนชั้นกลางภาคเมืองที่ไม่จาเป็นต้องมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเป็นเครือ
ญาติหรือเป็นแบบคุ้นหน้า แต่เป็นความผูกพันของผู้คนที่หลากหลายต่อกันบนฐานแห่งความร่วมมือ
และการแสวงหาการมีส่วนร่วม และด้วยสานึกที่มีต่อความเป็นพลเมือง หรือ Citizenship นั่นเอง
นอกจากนี้ อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ยังได้ตั้งข้อสังเกตที่สาคัญถึงรากฐานของคนไทย และสังคมไทยว่า
7
คนไทยส่วนมากยังมีระบบวิธีคิดว่าตนเองเป็นไพร่ (client) หรือคิดแบบไพร่ ที่จะต้องมีมูลนายที่ดี
โหยหาคนดี จึงมักขาดสานึกของความเป็นพลเมืองและมองปัญหาในเชิงโครงสร้างไม่ออก(เอนก
เหล่าธรรมทัศน์: 2539)
ศาสตราจารย์ดร. ชัยอนันต์สมุทวณิช เป็นนักคิดอีกคนหนึ่งที่กล่าวถึง "ประชาสังคม" โดยเน้น
ที่การปรับใช้ในบริบทของสังคมไทย ชัยอนันต์ สมุทวณิช มองว่า "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ ส่วน
ของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ ภาคประชาชนด้วย ถือว่าทั้งหมด เป็น Civil Society ซึ่งแตกต่างจาก
ความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจากภาครัฐ หรือนอกภาครัฐ แต่หมายถึงทุกฝ่ายเข้ามาเป็น
partnership กัน (ชัยอนันต์ สมุทวณิช, 2541) โดยนัยยะนี้ ชัยอนันต์ สมุทวณิช ให้ความสาคัญกับ Civic
movement หรือ "วิถีประชา" ที่เป็นการดาเนินกิจกรรม ของกลุ่มองค์กรต่าง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเป็น
ศูนย์กลางปราศจากการจัดตั้ง ดังข้อเสนอที่สาคัญใน เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา ในช่วงของการจัดทา
แผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-Participation - AFP กล่าวคือจะต้องเน้นที่กระบวนการมี
ส่วนร่วม ในการดาเนินกิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝ่ายร่วมกันในระดับพื้นที่ (ย่อย ๆ) ซึ่งในที่นี้ อาจ
เป็นพื้นที่จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน หรือพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เช่น เขตพื้นที่ชายฝั่งทะเล ภาค
ตะวันออก เป็นต้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช, 2539)
ไพบูลย์วัฒนศิริธรรม อดีตรองนายกรัฐมนตรีสมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเป็นนักคิด
นักพัฒนาอาวุโสอีกท่านหนึ่งได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" ว่าหมายถึง "สังคมที่ประชาชน
ทั่วไป ต่างมีบทบาทสาคัญในการจัดการเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ของประชาชน โดยอาศัยองค์กร
กลไก กระบวนการ และกิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัดขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย
ขององค์กรนี้ไม่ว่า จะเป็น กลุ่ม องค์กร ชมรม สมาคม ซึ่งล้วนแต่มีบทบาทสาคัญต่อการผลักดันการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้น จึงเป็นเสมือน "สังคม" ของ "ประชา" หรือ Society ของ Civil นั่นเอง
อย่างไรก็ดี ไพบูลย์วัฒนศิริธรรม ยังเสนอต่ออีกด้วยว่า "ประชาสังคม" นั้นเป็นส่วนของสังคมที่ไม่ใช่
ภาครัฐ ซึ่งดาเนินงานโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายและไม่ใช่ภาคธุรกิจ ซึ่งดาเนินงานโดยมุ่งหวังผล
กาไรเป็นสาคัญ
จากการให้นิยามความหมายข้างต้นจะเห็นถึงความต่าง ความเหมือน และการวางน้าหนักในการ
อธิบายที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ดี จะสังเกตได้ว่าคาอธิบายจากนักคิด นักวิชาการของไทย เป็น
คาอธิบายที่วางอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์หรือบริบทของสังคมไทยร่วมสมัย อีกทั้งยังมีลักษณะ
ของความคาดหวังต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในอนาคตทั้งสิ้น ซึ่งที่จริงปรากฏการณ์นี้ ก็ไม่
ต่างไปจากประเทศในซีกโลกตะวันตก แต่ความเคลื่อนไหว เรื่องประชาสังคมในประเทศตะวันตกนั้น
ก้าวหน้าและเป็นรูปธรรมกว่าในเมืองไทยมาก
อย่างไรก็ตาม พอที่จะสรุปได้ว่า "ประชาสังคม" หมายถึงการที่คนในสังคม ซึ่งมีจิตสานึก
ร่วมกัน มารวมตัวกันในการกระทาบางอย่างด้วยความรักและความเอื้ออาทรต่อกันภายใต้ระบบการ
จัดการให้เกิดความรู้สึกร่วมกันเพื่อประโยชน์สาธารณะ ประชาสังคม จะก่อให้เกิด "อานาจที่สาม"
8
นอกเหนือจาก อานาจรัฐ และอานาจธุรกิจ อานาจที่สามนี้อาจเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ที่กระจัดกระจายและ
อาจมีความเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายย่อย ๆ การรวมตัวกันนั้น อาจเป็นองค์กรทางการ (นิติบุคคล)
หรือไม่เป็นทางการก็ได้การรวมตัวในลักษณะประชาสังคมจะก่อให้เกิดโครงสร้างสังคมแนวใหม่ที่มี
ความสัมพันธ์กันในแนวราบที่เท่าเทียมกัน ซึ่งหากประสานกับโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง
ด้วยความสมานฉันท์แล้วก็จะทาให้สังคมทั้งสังคมมีความเข้มแข็ง
2.2 การก่อตัวและองค์ประกอบของภาคประชาสังคม
หากศึกษาการก่อตัวของแนวคิดประชาคมทั้งระดับโลก และในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่า
กระแสประชาสังคมก่อตัวมาจากหลายเหตุปัจจัยด้วยกัน กล่าวคือ
1) วิกฤตในสังคม ที่รัฐและทุนไม่สามารถแก้ไขได้โดยลาพังหรือเป็นวิกฤตระดับโลก
(Global Crisis) เช่น วิกฤตสิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน เอดส์
2) การก่อกาเนิดของชนชั้นกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พ่อค้า นักธุรกิจ นักวิชาการ ที่มีการศึกษา
และมีฐานะทางเศรษฐกิจ
3) พัฒนาการของกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถแสดงออก
ทางความคิดเห็นได้โดยอิสระ
4) ระบบการติดต่อสื่อสาร ซึ่งช่วยให้การรวมตัวเป็นไปได้สะดวกขึ้น โดยที่บางครั้งไม่
จาเป็นต้องพบกัน
5) ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพและความโปร่งใสทางภาครัฐ ทาให้รัฐไม่สามารถเป็นผู้แก้ปัญหา
ในสังคมได้แต่เพียงอย่างเดียว จึงต้องการหาทางเลือกอย่างอื่น
ประชาชนผู้แบกรับปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไม่สามารถพึ่งพารัฐแต่เพียงอย่างเดียว ไม่ว่าด้วย
เหตุความสลับซับซ้อนของปัญหา หรือเพราะความจากัดของประสิทธิภาพในภาครัฐ ประชาชนก็
จะต้องหาทางแก้ไขปัญหานั้น ตั้งแต่แก้ไขด้วยตัวเองเป็นกลุ่มเล็ก ๆ จนเมื่อมีโอกาสในการสนทนา
แลกเปลี่ยนความเห็นในวงกว้าง จึงเกิดการรวมตัวกันที่จะกระทาการบางอย่างเพื่อแก้ปัญหานั้นให้
ลุล่วงไป ทั้งนี้ อาจดาเนินการโดยประชาสังคมเอง หรือร่วมกับภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนก็ได้
สาหรับประเทศไทย คาว่า “ประชาสังคม” ปรากฏขึ้นในราวกลางทศวรรษที่ 2520 ซึ่งมีคา
อื่นๆ ที่ใช้ในความหมายเดียวกันคือ “ภาคประชาชน” “ภาคพลเมือง” ปรากฏการณ์ที่นามาสู่ “ประชา
สังคม” หรือ “การเมืองภาคประชาชน” ที่ชัดเจนก็คือ ในยุคที่มีเริ่มเกิดการเดินขบวน เรียกร้องของ
ชาวบ้านในชุมชนท้องถิ่นต่างๆ อย่างกว้างขวางช่วงการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรยุครัฐบาลพลเอก
ชาติชายราวปี 2531 กับอีกด้านหนึ่งก็คือ การเกิดปัญหาทุจริต คอรัปชั่น การเคลื่อนไหวของสังคมใน
การตรวจสอบอานาจ และกระแสการปฏิรูปการเมืองในช่วงหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535
การปรากฏตัวของคา “ภาคประชาสังคม” เกิดขึ้นเพื่อนามาใช้ในการอธิบายกลุ่มก้อนของผู้คน
ที่ไม่ใช่ “ภาครัฐ” หรือภาคราชการและไม่ใช่ “ภาคธุรกิจ” ที่เติบโตในช่วงรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลา
9
นนท์ เป็นต้นมา ( เอนก เหล่าธรรมทัศน์, 2539 ) ดังนั้น ในแง่มุมทางทฤษฎี การอธิบายผ่านแนวคิด
ประชาสังคมจึงเป็นการท้าทายต่องานของ Fred W. Riggs เรื่อง “รัฐราชการ” (Bureaucratic Polity)
และข้อจากัดของตัวแบบภาคีรัฐสังคมแบบเสรี (Liberal Corporatism) โดย เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ที่
มองว่า มีองค์กรนอกภาครัฐเกิดขึ้นแต่องค์กรที่มีพลังต่อรองและบทบาทในกระบวนการนโยบาย
สาธารณะก็คือ ภาคธุรกิจ ในขณะที่องค์กร/กลุ่มก้อนอื่นๆ ถึงแม้จะมีอยู่บ้างก็ตาม แต่ก็มีลักษณะที่เป็น
กลุ่มจัดตั้งและกากับ ควบคุมโดยรัฐ
บริบทสาคัญในช่วงทศวรรษ 2520 ที่นามาสู่การก่อตัวของแนวคิดและขบวนการประชาสังคม
ก็คือ การเกิดแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนที่ก่อร่างสร้างตัวขึ้นโดยนักพัฒนาภาคเอกชน(NGOs) ซึ่งเป็นนัก
กิจกรรม นักเคลื่อนไหวทางสังคมที่เริ่มถอยห่างจากอุดมการณ์สังคมนิยม พฤฒิสาณ ชุมพล (ม.ป.ป.)
มองว่า “แนวคิดประชาสังคมได้ค่อยๆ ถูกสร้างขึ้นโดย NGO ของไทยเพื่อใช้เป็นเสมือนร่มหรือโครง
กรอบของการจัดสิ่งที่คิดและปฏิบัติอยู่ให้เชื่อมโยงกันอย่างเป็นองค์ เพื่อเป็นประโยชน์ทั้งในการ
อธิบายปรากฏการณ์ของการเปลี่ยนแปลงสังคม และการสร้างจินตนาการสังคมในอุดมคติ” ซึ่งนี่ก็คือ
การตอกย้าให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ประชาสังคมจึงเป็นแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์
การก่อตัวของภาคประชาสังคมของประเทศไทยเกิดจาก 5 ปัจจัยดังกล่าวซึ่งมีความคล้ายคลึง
กับการเกิดภาคประชาสังคมของต่างประเทศ
กิจกรรมหรือกระบวนการที่จะเรียกว่าเป็ นประชาสังคมได้นั้น จะต้องประกอบด้วย
องค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน คือ
1) จิตสานึกประชาคม (Civic Consciousness) หมายถึงความคิดและความยอมรับเรื่องการ
รวมตัวกันอย่างอิสระด้วยความรัก ความเอื้ออาทร ความยอมรับในความคิดเห็นของกันและกันในอันที่
จะเรียนรู้ร่วมกัน หรือแก้ไขปัญหาที่เผชิญอยู่ การรวมตัวกันจึงเป็นลักษณะหุ้นส่วน (Partnership) เป็น
ความสัมพันธ์ในแนวราบ (Horizontal) มีอิสระเท่าเทียมกัน และมีการเรียนรู้ร่วมกัน
2) โครงสร้างองค์กรประชาสังคม (Civic Organization) หมายถึง กลุ่มการรวมตัวซึ่งอาจเป็น
องค์กรที่เป็นทางการ (นิติบุคคล) หรือไม่เป็นทางการก็ได้ เป็นกลุ่มที่รวมตัวกันเฉพาะคราว เฉพาะ
เรื่องหรือต่อเนื่องก็ได้สมาชิกของกลุ่มอาจเป็นบุคคลในภาครัฐ ภาคธุรกิจ หรือประชาชน หรือรวมกัน
อยู่ก็ได้ จานวนสมาชิกไม่จากัด มีสมาชิกเพียง 2 - 3 คนก็ได้ รูปแบบที่เห็นได้มากที่สุด ก็คือ องค์กร
เอกชนสาธารณะประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นมูลนิธิ สมาคม ชมรม สมาพันธ์ สหพันธ์
ชุมนุม สหกรณ์ กลุ่มออมทรัพย์ หรือกลุ่มอื่น ๆ ประเด็นสาคัญการรวมกลุ่มต้องมีจิตสานึกประชาคม
ครบถ้วน การรวมกลุ่มที่มีลักษณะจัดตั้ง ชี้นา ขาดการสร้าง Partnership ไม่มีการเรียนรู้ร่วมกันและมี
ลักษณะความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง แม้จะเกิดอยู่ในชุมชนไม่ว่าจะสนับสนุนโดยภาครัฐหรือองค์กร
เอกชนก็ไม่สามารถนับเป็นประชาสังคมได้ เพราะขาดจิตสานึกประชาสังคม
10
3) เครือข่ายประชาคม (Civic Network) หมายถึง โครงสร้างและกระบวนการซึ่งเชื่อมโยง
สมาชิกในกลุ่ม หรือ เชื่อมโยงองค์กรประชาสังคมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ปัจจัยสาคัญของเครือข่ายประชา
สังคม คือ ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและการประชาสัมพันธ์ด้วยความสมานฉันท์ เครือข่าย
ประชาสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยรวมจิตสานึกของสมาชิกและองค์กรประชาสังคมต่าง ๆ ให้เกิด "อานาจที่
สาม" ที่มีความเข้มแข็งในสังคมขึ้นมา
ในบริบทของสังคมไทย องค์กรพัฒนาเอกชนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีบทบาทคล้ายกับ
ภาคประชาสังคม บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนมีความครอบคลุมสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ
เมือง อย่างกว้างขวางไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือประชาชนให้ได้รับบริการสาธารณะอย่างมีคุณภาพ ให้
ได้รับสิทธิด้านสวัสดิการสังคม สิทธิของแรงงาน เกษตรกร เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ รวมถึงการ
ป้ องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์การต่อต้านความรุนแรงในครอบครัว การต่อต้านการทรมาน การ
คุกคามนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน ซึ่งหน่วยงานของรัฐไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างเท่าทัน
กับปัญหาที่นับวันหนักหน่วงรุนแรงยิ่งขึ้นได้ จึงต้องอาศัยองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามาช่วยกันแก้ไข
ปัญหาเหล่านี้ ทั้งนี้เนื่องจากองค์กรพัฒนาเอกชนมีความคล่องตัวสูงในการตอบสนองต่อความจาเป็น
และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ถูกจากัดด้วยระเบียบที่แข็งตัวแบบระบบราชการ มีการดาเนินงานใน
ประเด็นปัญหาหรือพื้นที่ที่ไม่ค่อยจะมีหน่วยงานราชการใดดาเนินงานอยู่หรือไม่สามารถครอบคลุมถึง
2.3 พัฒนาการของภาคประชาสังคมของประทศไทย
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นับเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในการเรียกร้องประชาธิปไตย
และเสรีภาพของนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนที่ได้ลุกขึ้นมาโค่นล้มรัฐบาลเผด็จการของจอม
พลถนอม กิตติขจรและ จอมพลประภาส จารุเสถียร ได้เป็นผลสาเร็จ ชัยชนะในครั้งนั้น ได้ทาให้เกิด
การตื่นตัวเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตยในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง เพียง 5 สัปดาห์หลังจาก
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นักวิชาการ ทนายความ และประชาชนผู้รักประชาธิปไตยจากวงการต่าง ๆ
ที่ต้องการสิทธิเสรีภาพ ความยุติธรรม และประชาธิปไตยที่แท้จริง ได้ร่วมกันก่อตั้ง “สหภาพเพื่อสิทธิ
เสรีภาพของประชาชน” ขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2516 ซึ่งอาจนับได้ว่า “สหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชน” เป็นองค์กรของภาคประชาสังคมองค์กรแรกที่เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการ เผยแพร่หลักการแห่งสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนดาเนินการพิทักษ์สิทธิ
มนุษยชน โดยมุ่งประโยชน์เพื่อส่วนรวมเป็นสาคัญ จนกระทั่งถึงเหตุการณ์นองเลือก 6 ตุลาคม 2519
ซึ่ง ตามมาด้วยการประกาศใช้กฎอัยการศึกษาทาให้ “สหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน” ต้องยุติ
บทบาทลงชั่วคราว
หลังจากเหตุการณ์นองเลือก 6 ตุลาคม 2519 ผ่านไป เกือบ 2 ปี สถานการณ์ทางการเมือง
คลี่คลายลง เดือนธันวาคม 2521 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ และปี ต่อมามีการเลือกตั้งทั่วไป
“สหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน” จึงได้รื้อฟื้นกิจกรรมขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เมื่อกลางปี 2522 ได้
11
ยื่นขอจดทะเบียนเป็นสมาคม และได้รับการอนุญาตจากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติให้มี
สถานภาพเป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นสมาคมเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2525 โดยใช้ชื่อว่า “สมาคมสิทธิ
เสรีภาพของประชาชน” หรือชื่อย่อ “สสส.”
ด้วยปรัชญาในการดาเนินงานของ สสส. คือ การปกป้ องสิทธิของผู้ถูกละเมิดสิทธิให้เท่าเทียม
กับคนทั่วไป โดยเน้นความสาคัญในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ การทางานของ สสส. มิใช่เพื่อการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่เป็นการทางานที่ต้องการผลักดันสังคมให้ก้าวหน้าไปสู่สังคมที่ดีงาม และมี
ความยุติธรรมโดยอาศัยหลักกฎหมายที่เป็นธรรม
ภาคประชาสังคมมีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้นเป็นลาดับตั้งแต่ปี 2523 เป็นต้นมาโดยการเกิด
องค์กรใหม่ๆ ขึ้นอีกหลายองค์กร ในช่วงนั้น การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชนเติบโตขึ้น
อย่างรวดเร็วแทนที่ขบวนปฏิวัติด้วยกาลังอาวุธที่เสื่อมสลายไป สถานการณ์และเงื่อนไขทางสังคมที่
ทาให้ภาคประชาสังคมมีบทบาทมากขึ้นเกิดจากปัจจัย 5 ประการ คือ
ประการแรก สภาพความยากจนของประชาชนไทยอันเป็นปัญหาที่ยังดารงอยู่โดยทั่วไปการ
กระจายรายได้ ทรัพยากร และผลประโยชน์ในสังคม ยังมีความไม่เท่าเทียมกัน มีความเหลื่อมล้าต่าสูง
ระหว่างชนบทกับเมือง ระหว่างภาคต่างๆ สภาพเช่นนี้นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และนับเป็น
เงื่อนไขสาคัญอันหนึ่งที่ผลักดันให้ผู้ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมมิอาจทนดูความหายนะต่างๆที่จะมา
สู่ประเทศไทยได้ จึงต้องหันหน้ามาหากันเพื่อไตร่ตรองและหาแนวทางที่จะดาเนินการเพื่อปรับปรุง
สภาพต่างๆให้ดียิ่งขึ้น
ประการที่สอง ช่วงปี พ.ศ.2522 เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเคลื่อนไหวของหน่วยงานและ
ขบวนการพัฒนาสังคมในระดับสากล เพื่อทบทวนปัญหาและประสบการณ์การดาเนินการพัฒนา
ประเทศในโลกที่สาม มีการประชุมสัมมนาบ่อยครั้ง อาทิเช่น การประชุมขององค์การระหว่างประเทศ
เรื่อง “การปฏิรูปสถาบันเกษตรและพัฒนาชนบทของโลก” ที่กรุงโรม ในเดือนกรกฎาคม 2522 ได้
ข้อสรุปว่า “การดาเนินการพัฒนาสังคมหรือการพัฒนาชนบทนั้น จะต้องยึดถือกลยุทธ์ที่ให้ประชาชน
มีความสามารถที่จะก่อตั้งหรือดาเนินการพัฒนาด้วยตัวเอง และจะต้องพยายามสนับสนุนให้มีการ
สร้างสถาบันหรือองค์กรของประชาชน รวมทั้งองค์กรพัฒนาต่างๆด้วย” การเคลื่อนไหวและผลักดัน
แนวคิดดังกล่าวได้ส่งผลกระทบกลับไปยังประเทศโลกที่สามต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย จะเห็นได้
จากการที่แนวคิดเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชน ได้รับการแพร่กระจายและได้รับการยอมรับจาก
หน่วยงานต่างๆค่อนข้างมาก ทาให้เกิดกระบวนการทบทวนการปฏิบัติงานและการพัฒนาสังคมทั้งใน
ระดับภาครัฐบาลและภาคเอกชน
ประการที่สาม หน่วยงานของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประเทศได้มีการ
เคลื่อนไหวและทบทวนแนวทางการพัฒนาสังคมของไทยที่ผ่านมาว่าประสบความสาเร็จมากน้อย
เพียงใด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ง
รับผิดชอบด้านการวางนโยบายและการวางแผนพัฒนาในประเทศ ได้มีการประเมินผลการพัฒนาที่
12
ผ่านมาและยอมรับว่าประเทศไทยยังประสบปัญหาในการพัฒนาประเทศอยู่อีกมาก รวมทั้งเล็งเห็นว่า
ภาคเอกชนน่าจะมีบทบาทต่อการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนมากขึ้น
ประการที่สี่ องค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศไทยจานวนหนึ่งได้มีการประชุมสัมมนา
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมา และพยายามที่จะร่วมมือประสานงานกัน
เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการดาเนินงานพัฒนาสังคมให้ขยายตัวออกไปให้กว้างขวางขึ้น
ประการที่ห้า สภาพการณ์ทางการเมืองในช่วงปี 2522 ‟ 2523 ซึ่งเกิดบรรยากาศที่เรียกว่า
“วิกฤตการณ์แห่งศรัทธา” ซึ่งหมายถึงการสิ้นศรัทธาต่อแนวทางการต่อสู้เพื่อให้ได้อานาจรัฐด้วยความ
รุนแรง ทาให้ขบวนการสันติวิธีเติบโตขึ้น
นักศึกษาปัญญาชนจานวนมากจึงเห็นว่า การปฏิบัติตนในฐานะบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อ
ประชาคมของตนนั้น ไม่มีวิถีทางใดจะเหมาะสมเท่ากับการเข้าร่วมกับขบวนการพัฒนาสังคมแนว
สันติวิธี เพราะอย่างน้อยที่สุดจะได้ช่วยเหลือและบรรเทาความทุกข์ให้กับประชาชนบางส่วนได้มี
กาลังใจที่จะดิ้นรนและต่อสู้ปัญหาของเขาต่อไป รวมทั้งการเข้าร่วมภารกิจเช่นนี้ก็นับเป็นการ
เสริมสร้างขบวนการพัฒนาบุคคลให้กับสังคม ซึ่งนับเป็นทรัพยากรที่มีค่าอย่างยิ่งในการพัฒนา
ประเทศ สภาพเช่นนี้ได้ผลักดันให้งานของภาคประชาสังคมเติบโตขึ้น เริ่มมีการก่อตัวของกลุ่มคน
หรือหน่วยงานใหม่ๆเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งจานวนอาสาสมัครและบุคลากรที่ตัดสินใจเข้ามาร่วมใน
ขบวนการพัฒนาดังกล่าวก็เพิ่มปริมาณขึ้น
นับแต่ปี 2523 เป็นต้นมา จึงมีองค์กรพัฒนาเอกชนเล็กๆ เกิดขึ้นมากมาย ทั้งที่จดทะเบียนและ
ไม่ได้จดทะเบียนอย่างเป็นทางการ แต่ในระยะเริ่มต้นนั้นองค์กรพัฒนาเอกชนต่างๆเหล่านี้ยังมีบทบาท
ไม่ได้มากนัก เนื่องจากลักษณะการดาเนินงานยังต่างคนต่างทา การปรึกษาหารือกันถึงแนวการพัฒนา
สังคม การประสานและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ยังมีน้อย จวบจนกระทั่งประมาณปี 2526 เป็นต้นมา
แนวโน้มของการร่วมมือประสานงานกันมีมากขึ้น เกิดหน่วยงานหรือคณะกรรมการที่มีลักษณะร่วม
มากมาย เช่น คณะกรรมการติดตามผลการสัมมนา คณะกรรมการเผยแพร่และส่งเสริมงานพัฒนา กลุ่ม
ศึกษาทางเลือกการพัฒนา กลุ่มศึกษาปัญหาสลัม เป็นต้น ขณะเดียวกันก็เริ่มมีแนวโน้มของการรวมตัว
กันในหน่วยงานที่มีลักษณะการทางานเหมือนกัน อาทิเช่น การรวมตัวของคณะทางานด้านเด็ก การ
รวมตัวกันของหน่วยงานที่ทางานทางด้านสาธารณสุข หรือการรวมตัวของหน่วยงานที่ทางานทางด้าน
สิทธิมนุษยชน เป็นต้น ในช่วงนี้องค์กรพัฒนาเอกชนได้ทาหน้าที่ของตนต่อการพัฒนาสังคมต่างๆ
อย่างมากมาย ซึ่งสามารถสรุปได้ 3 ลักษณะคือ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและปูพื้นฐานในการแก้ไข
ปัญหาระยะยาวของประชาชน บทบาทของประเภทกิจกรรมพัฒนาในด้านนี้ได้แสดงออกโดยการ
บรรเทาผลร้ายและลดภาระของประชาชนที่เสียเปรียบในสังคมให้ลดน้อยลง ทดแทนในสิ่งที่
ประชาชนขาดแคลน และเสริมสร้างกาลังใจให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสในสังคมสามารถต่อสู้กับปัญหา
ที่เขาเผชิญต่อไป
13
นอกจากนั้นยังมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนหรือตาม
กลุ่มเป้ าหมายเกิดประสบการณ์ สามารถเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สูงขึ้น เพื่อประโยชน์
ในการพัฒนาตนเองและการแก้ไขปัญหาของเขาในอนาคต ศึกษารวบรวมปัญหาต่างๆในสังคมและ
รณรงค์เผยแพร่ เนื่องจากสภาพงานขององค์กรพัฒนาเอกชนต่างๆจะมีโอกาสได้ไปสัมผัสและคลุกคลี
กับสภาพปัญหาของสังคมมากมาย ทาให้สามารถแสดงบทบาทในด้านการศึกษารวบรวมปัญหาใน
สังคม รวมทั้งการรณรงค์เผยแพร่ปัญหาต่างๆต่อประชาชนในสังคมวงกว้าง ซึ่งนับเป็นการดึงความ
ร่วมมือของประชาชนทั้งสังคมให้มีส่วนรับรู้และเป็นการสร้างสานึกร่วมกันของคนทั้งสังคม
เสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและผลิตบุคลากรที่ดีให้แก่สังคม กิจกรรมพัฒนาได้แสดงบทบาทเป็น
“โรงเรียนชีวิต” ที่ทาหน้าที่เสริมสร้างประสบการณ์ในการทางานที่ดีให้แก่บุคคลของตน นอกจากนั้น
ยังเป็นเวทีที่จะช่วยทาให้คนทางานได้เข้าใจปัญหาต่างๆในสังคมและเกิดสานึกที่ดีต่อภาระหน้าที่ใน
การพัฒนาสังคมในอนาคต ซึ่งนับเป็นการเตรียมบุคลากรที่มีคุณภาพให้แก่สังคมอีกด้วย
การที่องค์กรพัฒนาเอกชนได้ขยายบทบาทมากยิ่งขึ้นในช่วงนี้เป็นผลมาจากสถานการณ์ทาง
เศรษฐกิจและสังคมในขณะนั้นเป็นช่วงที่ราคาข้าวตกต่าจนเกิดวิกฤติ ราคาข้าวควบคู่กับภาวะฝนแล้งที่
มีต่อเนื่องในภาคอีสาน ประกอบกับเป็นช่วงต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6
ซึ่งรัฐบาลได้กาหนดนโยบายให้ภาครัฐบาลประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะการพัฒนาชนบท ภายใต้นโยบายนี้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจึงได้ตั้งคณะทางานเพื่อกาหนดแนวทางการประสานความร่วมมือขึ้น
และได้เสนอจังหวะก้าวของความร่วมมือ โดยในประการแรกจาเป็นต้องให้เกิดกระบวนการรวมตัว
ร่วมมือประสานงาน ตลอดจนพัฒนากลไกความร่วมมือขององค์กรพัฒนาเอกชนขึ้นมาก่อน จากนั้นจึง
ค่อยดาเนินการแสวงหาความร่วมมือ กาหนดแผนงานร่วมหรือจัดตั้งกลไกความร่วมมือระหว่างรัฐและ
องค์กรพัฒนาเอกชนต่อไป
ในช่วงปลายปี 2528 องค์กรพัฒนาเอกชนทั้งประเภทพัฒนาและสงเคราะห์ 139 องค์กร จึงได้
จัดประชุมและมีมติให้จัดตั้ง “คณะกรรมการประสานงานองค์กรเอกชนพัฒนาชนบท” (กป.อพช.)
ระดับชาติขึ้น ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น “คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน” เพื่อเป็นกลไก
ขององค์กรพัฒนาเอกชนในการประสานงานกับภาครัฐ ขณะเดียวกันได้มีมติให้องค์กรพัฒนาเอกชนที่
อยู่ตามภูมิภาคต่างๆรวมตัวกันเป็น กป.อพช. ระดับภาคขึ้นเช่นเดียวกัน
การกาเนิดขึ้นของ กป.อพช. นับเป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญอีกจุดหนึ่งขององค์กรพัฒนาเอกชน
ไทยในแนวทางที่เน้นการพัฒนามากกว่าสังคมสงเคราะห์ ด้วยเหตุผล 3 ประการคือ
ประการแรก เป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการทางานที่ต่างคนต่างทา มาเป็นการรวมพลัง
ประสานงานกัน อย่างเป็นขบวนการมากยิ่งขึ้น
ประการที่สอง เป็นการเชื่อมโยงองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีเนื้องานที่หลากหลาย ทั้งด้านเด็ก
สตรี สาธารณสุข การศึกษา และศาสนา ให้มีจุดเน้นร่วมกันในการแก้ไขปัญหาการพัฒนาชนบท
14
ประการที่สาม เป็นการยกระดับการทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนจากจุดเล็กๆ เฉพาะพื้นที่
และเฉพาะปัญหา สู่ระดับที่กว้างขวางมากขึ้น
การรวมตัวกันขององค์กรพัฒนาเอกชนจึงเป็นการเพิ่มพลังให้กับภาคประชาสังคมและ
กลายเป็นขบวนการทางสังคมหนึ่งที่รัฐมิอาจมองข้าม ดังนั้นรัฐจึงต้องขอความร่วมมือจากองค์กร
พัฒนาเอกชนในหลายๆเรื่อง เช่น ในปี 2538 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติขอให้องค์กรพัฒนาเอกชนร่วมในการจัดสัมมนาระดมความคิดเห็นของประชาชนในภูมิภาค
ทั่วประเทศ เพื่อนาไปพิจารณาในการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8
นอกจากนี้หน่วยราชการต่างๆยังแต่งตั้งให้ผู้แทนขององค์กรพัฒนาเอกชนด้านต่างๆเป็นกรรมการ เช่น
คณะทางานพิจารณากลั่นกรองโครงการขององค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม คณะอนุกรรมการฝ่าย
วิชาการสาหรับการประชุมระดับโลกเรื่องการศึกษาชุมชน คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ กรอ. สังคม
คณะอนุกรรมการจัดทาแผนพัฒนาสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน
คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการสังคมแห่งชาติ คณะอนุกรรมการประสานการแก้ไขปัญหาความ
ขัดแย้งเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะอนุกรรมการพิจารณาแนวทางการจัดตั้งศูนย์
ประสานงานองค์การเอกชน คณะกรรมการบริการศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรเอกชนเพื่อการ
พัฒนา และคณะกรรมการรณรงค์ความปลอดภัยในสถานประกอบการ คณะกรรมการหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ และคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เป็นต้น
ในปี 2540 ประเทศไทยต้องเผชิญกับวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ สถาบันการเงิน
ล้มละลาย ลูกจ้าง พนักงานของสถานประกอบการต่างๆ ตกงาน ซึ่งมีจานวนไม่น้อยที่กลับไปยัง
ชนบท เปลี่ยนวิถีชีวิตไปอยู่กับการทาเกษตรแบบพอเพียง ภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 แนวคิด
วัฒนธรรมชุมชนได้รับการขานรับอย่างกว้างขวางจากสังคมและหน่วยงานรัฐจนมีฐานะกลายเป็น
อุดมการณ์ของสังคมโดยปริยาย มีแนวคิดสาคัญที่เข้ามาหลอมรวมและมีส่วนสาคัญในการขยาย
แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ได้แก่ แนวคิดเชิงพุทธ ซึ่งเสนอให้เพิ่ม
หลักธรรมทางพุทธศาสนาเข้าไปเป็นฐานชุมชนธรรมนิยม แนวคิดธุรกิจชุมชน นาเอาธุรกิจชุมชนเข้า
มาเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจชุมชนและเชื่อมต่อระบบเศรษฐกิจทุนโดยไม่เป็นส่วนของระบบ
ทุนนิยม และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเสนอแนวทาง 3
ขั้นตอนได้แก่ ขั้นตอนพออยู่พอกิน-พึ่งตนเองได้ ขั้นตอนรวมพลังเป็นชุมชนในรูปสหกรณ์ และ
ขั้นตอนการร่วมมือกับองค์กรหรือภาคเอกชนภายนอก
ในขณะที่แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนกาลังทาให้เกิดการขยายตัวของขบวนการชุมชนเข้มแข็ง
และประชาสังคมขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป ช่วงเวลาเดียวกันได้มีเหตุการณ์บ้านเมืองที่วิกฤตและมีความ
รุนแรงเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ซึ่งกลับกลายเป็นโอกาสที่กระตุ้นขบวนการของภาคประชาสังคมให้มีการ
เติบโต นอกจากนั้นกระแสประชาสังคมโลกซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่ (New Social
Movement) ยังเข้ามาหนุนเสริมกระแสประชาชน การเคลื่อนไหวเชิงเครือข่าย การเคลื่อนไหวด้าน
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
หลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรคหลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรคssuser214242
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวpurithem
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬbussayamas Baengtid
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันkrupornpana55
 
Balanced scorecard shabu noodle2
Balanced scorecard shabu noodle2Balanced scorecard shabu noodle2
Balanced scorecard shabu noodle2Rungrat Panli
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข0868472700
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 

Mais procurados (20)

บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
หลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรคหลักธรรม นิโรธ มรรค
หลักธรรม นิโรธ มรรค
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
14 ตุลา 6 ตุลา พฤษภาทมิฬ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมันปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
ปกโครงงานดูดซับคราบไขมัน
 
Balanced scorecard shabu noodle2
Balanced scorecard shabu noodle2Balanced scorecard shabu noodle2
Balanced scorecard shabu noodle2
 
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุขโครงสร้างองค์กร เสริมสุข
โครงสร้างองค์กร เสริมสุข
 
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
แบบสำรวจวิธีการเรียนรู้(วิทย์)
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 

Destaque

รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...
รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...
รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...Pratheep Mekatitam
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
Republic
RepublicRepublic
Republicsiep
 
PPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือ
PPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือPPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือ
PPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือFURD_RSU
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาKanjana thong
 
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองAkaraphon Kaewkhamthong
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรประพันธ์ เวารัมย์
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
Media materiality theorists cast social movement theories in a new light
Media materiality theorists cast social movement theories in a new lightMedia materiality theorists cast social movement theories in a new light
Media materiality theorists cast social movement theories in a new lightLindsayEms
 
00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรก00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรกpaisonmy
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 

Destaque (20)

รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...
รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...
รายงานการศึกษาวิจัยเรื่อง บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิ...
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์ความหมายของคอมพิวเตอร์
ความหมายของคอมพิวเตอร์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Republic
RepublicRepublic
Republic
 
Populist Policies in Latin America
Populist Policies in Latin AmericaPopulist Policies in Latin America
Populist Policies in Latin America
 
PPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือ
PPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือPPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือ
PPT รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 แนวทางพัฒนาประชาสังคม ภาคเหนือ
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2557-2561) ของเทศบาลตำบลท่าเสา
 
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมืองการมีส่วนร่วมทางการเมือง
การมีส่วนร่วมทางการเมือง
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
Media materiality theorists cast social movement theories in a new light
Media materiality theorists cast social movement theories in a new lightMedia materiality theorists cast social movement theories in a new light
Media materiality theorists cast social movement theories in a new light
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรก00 หน้าปกเเรก
00 หน้าปกเเรก
 
หน้าปก2
หน้าปก2หน้าปก2
หน้าปก2
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 

Semelhante a รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”

คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Gritiga Soonthorn
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีsaovapa nisapakomol
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politicpailinsarn
 
9789740335498
97897403354989789740335498
9789740335498CUPress
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3Ukrit Chalermsan
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
Good governance 3
Good governance 3Good governance 3
Good governance 3gimzui
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 

Semelhante a รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง” (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
Human2.3
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
ความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดีความเป็นพลเมืองดี
ความเป็นพลเมืองดี
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
9789740335498
97897403354989789740335498
9789740335498
 
6.1
6.16.1
6.1
 
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
รวมบทความวิทยานิพนธ์สำหรับคนจน ที่ได้รับรางวัลวนิดา ตันติวิทยาพิทักษ์ ครั้งที่ 3
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
Good governance 3
Good governance 3Good governance 3
Good governance 3
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 

Mais de weeraboon wisartsakul

ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.weeraboon wisartsakul
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยweeraboon wisartsakul
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนweeraboon wisartsakul
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณweeraboon wisartsakul
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ weeraboon wisartsakul
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกweeraboon wisartsakul
 
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลweeraboon wisartsakul
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนweeraboon wisartsakul
 

Mais de weeraboon wisartsakul (14)

ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
ความซับซ้อนและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง นำเสนอ มธ.
 
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตยภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
ภารกิจคนจนในการฟื้นฟูประชาธิปไตย
 
จำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจนจำนำข้าว ความยากจน
จำนำข้าว ความยากจน
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการการจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
การจัดการลุ่มน้ำบูรณาการ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
ชวนถกประเด็นต่างๆ ในกระบวนการประชาธิปไตยที่ใช้วิจารณญาณ
 
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
ชวนถกแถลงประเด็นต่างๆ
 
รายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรกรายงานการศึกษาร่างแรก
รายงานการศึกษาร่างแรก
 
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูลความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
ความตกตื่นในภาวะโลกร้อน : การย้อนแย้งเชิงข้อมูล
 
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อนคู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
คู่มือนักสงสัยเรื่องโลกร้อน
 

รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”

  • 2. คานา รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง” ฉบับนี้จัดทาขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชาสังคมในประเทศไทย และเพื่อถอดบทเรียนและเสริมพลังภาคประชา สังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง การจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทาง ชีวภาพ และการเสริมพลังคนจนเมือง รายงานผลการศึกษาฉบับนี้จึงแบ่งออกเป็น 4 บท คือ บทที่ 1 บทนา กล่าวถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขต การศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ระยะเวลาในการศึกษา และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 กล่าวถึงพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชาสังคมใน ประเทศไทย บทที่ 3 กล่าวถึง ปัญหาเชิงโครงสร้างของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การเคลื่อนไหวฐานทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมและเกษตรของไทย และข้อเสนอทางยุทธศาสตร์ต่อขบวนการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และ เกษตรยั่งยืน บทที่ 4 กล่าวถึงการทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนกับคนจนเมืองและความท้าทายในอนาคต สรุป ประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่ควรพิจารณา และข้อเสนอเพื่อการพิจารณา คณะผู้ศึกษาหวังว่า รายงานการศึกษาฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ที่จะนาไปเป็นข้อมูลเพื่อสร้างเครือข่ายกับภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ต่อไป กฤษฎา บุญชัย วีรบูรณ์ วิสารทสกุล จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร 30 สิงหาคม 2556
  • 3. สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3 1.4 ระเบียบวิธีวิจัย 3 1.5 ระยะเวลาดาเนินการ 3 1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 4 บทที่ 2 แนวคิด พัฒนาการ และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมในประเทศไทย 2.1 ความหมาย 5 2.2 การก่อตัวและองค์ประกอบของภาคประชาสังคม 8 2.3 พัฒนาการของภาคประชาสังคมของประทศไทย 10 2.4 ลักษณะ ประเภทของประชาสังคมในสังคมไทย 20 2.5 ปัญหา อุปสรรค ของภาคประชาสังคม 22 บทที่ 3 สามทศวรรษของขบวนการเคลื่อนไหวด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อมกับความท้าทาย ทางยุทธศาสตร์ในโลกาภิวัตน์ 3.1 หลักการและเหตุผล 25 3.2 วัตถุประสงค์ 27 3.3 แนวทางการศึกษา 28 3.4 ปัญหาเชิงโครงสร้างของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 28 3.5 ประมวลขบวนการเคลื่อนไหวฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเกษตรของไทย 32 3.6 ข้อเสนอทางยุทธศาสตร์ต่อขบวนการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม และเกษตรยั่งยืน 50 3.7 ข้อเสนอยุทธศาสตร์ต่อการสร้างความเป็นสถาบันทางสังคมของขบวนการฯ 54 3.8 ข้อเสนอทางนโยบายที่สอดรับการเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ 57
  • 4. บทที่ 4 การทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนกับคนจนเมืองและความท้าทายในอนาคต 4.1 ความนา 58 4.2 คนจนเมือง 62 4.3 ขบวนการเคลื่อนไหวคนจนเมือง 63 4.4 แนวโน้มของปัญหาคนจนเมือง 70 4.5 บทบาทองค์กรพัฒนาเอกชนในการทางานกับคนจนเมือง 73 4.6 ความท้าทายของเอ็นจีโอกับการทางานในอนาคต 77 4.7 ประเด็นการเปลี่ยนแปลงที่ควรพิจารณา 82 4.8 ภาพอนาคต 86 4.9 ข้อเสนอเพื่อพิจารณา 87
  • 5. บทที่ 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง(Civil Right and Political Rights) เป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ของบุคคล(Primary Right) ในการดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคม เป็นสิทธิของประชาชนในฐานะที่เป็น พลเมืองแห่งรัฐที่จะได้รับบริการสาธารณะ ได้รับการคุ้มครองทางสังคม ได้รับสวัสดิการสังคมจากรัฐ รวมทั้งได้รับสิทธิในการนับถือศาสนา การเข้าร่วมพิธีกรรม ประเพณี วัฒนธรรม ของประชาคมโดย ไม่มีข้อจากัด โลกในยุคปัจจุบันกาลังให้ความสาคัญกับสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เพราะทา ให้เกิดหลักประกันในการอยู่ในสังคมอย่างสันติสุข สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง จึงไม่ใช่เรื่อง ของประเทศใดประเทศหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นเรื่องที่สังคมทั่วโลกต้องให้ความสาคัญและยึดมั่นใน หลักการเดียวกัน ประเทศไทยในฐานะที่เป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติ ได้เข้าเป็นภาคีของกติการะหว่าง ประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง( International Covenant on Civil and Political Rights) หรือ ICCPR ) ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม 2539 มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 สนธิสัญญานี้ให้คามั่นสัญญาว่าภาคีจะเคารพสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองของบุคคล ซึ่ง รวมถึงสิทธิในชีวิต เสรีภาพในศาสนา เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการรวมตัว สิทธิเลือกตั้ง และ สิทธิในการได้รับการพิจารณาความอย่างยุติธรรม กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเป็ นส่วนหนึ่งของ "International Bill of Human Rights" ร่วมกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม (International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights หรือ ICESCR) การต่อสู้เพื่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในสังคมไทยมีมายาวนาน ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า แม้ประเทศไทยจะให้การรับรองกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการตั้งแต่ ปี 2539 แต่ก็ยังคงมีการละเมิดสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง อย่างต่อเนื่อง ภายใต้รัฐธรรมนูญ ฉบับปี 2540 ที่ดูจะเป็นความหวังของผู้ด้อยโอกาสหรือผู้ไร้อานาจที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน แต่ดู เหมือนรากเหง้าและปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนก็ยังดารงอยู่ในสังคมไทย อันเป็นผลมาจากหลาย สาเหตุ เช่น ระบบเศรษฐกิจการเมืองแบบเผด็จการ อานาจนิยม ระบบทุนนิยม หรือวิถีพัฒนาที่มิได้เอา ความเป็นมนุษย์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นที่ตั้ง วัฒนธรรมความเชื่อที่ล้าหลังจนก่อมายาคติผิดๆ ที่ไม่ศรัทธาคุณค่าความเป็นมนุษย์และความเท่าเทียม เป็นผลให้เกิดความรุนแรงและสนับสนุนการ ละเมิดต่อสิทธิมนุษยชนจนฝังรากลึกมาถึงปัจจุบัน (จรัญ โฆษณานันท์, 2545:522-526)
  • 6. 2 สังคมไทยปัจจุบันเน้นความสาคัญของภาคเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นเศรษฐกิจแบบทุนนิยม หรือระบบตลาดได้ครอบงาเศรษฐกิจโลก และภายใต้ระบบตลาดเศรษฐกิจทุนนิยมดังกล่าว ได้ทาให้ เกิดการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่มาพร้อมกับเศรษฐกิจในระบบตลาด ภายใต้การพยายามก้าวไปสู่ความ ทันสมัย รัฐบาลได้ใช้กฎหมายโดยไม่คานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดกับชุมชน เห็นได้จากการจัดการ ทรัพยากรในภาคอีสาน เช่น การประกาศเขตวนอุทยานกับที่ดินทากินของชาวบ้าน การให้สัมปทานป่า แก่กลุ่มอิทธิพลภายนอกชุมชน ด้วยการส่งเสริมการปลูกพืชพาณิชย์และการพัฒนาอุตสาหกรรม (เสน่ห์ จามริก, 2546:35-40) ตัวอย่างหนึ่งของการละเมิดสิทธิมนุษยชน คือ กรณีเขื่อนปากมูล ที่ หลังจากการสร้างเขื่อนได้ทาให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเปลี่ยนแปลงไป ระบบนิเวศที่ลุ่มน้ามูลก็ถูก เปลี่ยนแปลง เกิดวิกฤตในการทามาหากิน ชาวบ้านบางส่วนต้องอพยพไปใช้แรงงานที่อื่น จานวนป่า ลดน้อยลง ชาวบ้านจับปลาไม่ได้พอเพียงแก่การเลี้ยงชีพ ทั้งที่เมื่อก่อนระบบนิเวศนี้สมบูรณ์ ปลามีมาก ชาวบ้านจึงจับปลาขายและเป็นรายได้เลี้ยงครอบครัว (ชลธิรา สัตยาวัฒนา, 2546:154-164) นอกจากนี้ แล้วยังมีกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอื่นๆอีก เช่น การฆ่าตัดตอนปราบปรามยาเสพติดในสมัยรัฐบาล ทักษิณ ปัญหาการค้าประเวณี การก่อการร้าย และความยากจนเป็นต้น ยังเป็นปัญหาของสังคมไทยจน ปัจจุบัน สิทธิ เป็นเสมือนทั้งเกราะในการคุ้มกันประชาชนให้พ้นจากภัยคุกคามของกาลังอิทธิพลและ อานาจที่ไม่ยุติธรรม และเป็นเสมือนกุญแจให้ประชาชนสามารถใช้ไขไปสู่ประโยชน์ด้านต่างๆ ได้ ภาคประชาสังคม(Civil Society Sector) ในประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทในการคุ้มครองสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมืองของประชาชนมากขึ้นเป็นลาดับนับตั้งแต่หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เป็นต้นมา บทบาทของภาคประชาสังคมครอบคลุมสาระสาคัญของสิทธิ และพันธะของรัฐที่มี ต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนใน 3 ด้านคือ สิทธิ เสรีภาพในความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพในความ เป็นพลเมือง และ สิทธิในความเสมอภาคที่ต้องได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกันจากรัฐ หรือการไม่เลือก ปฏิบัติ เว้นแต่การเลือกปฏิบัติเพื่อช่วยเหลือให้ผู้เสียเปรียบ ผู้ด้อยโอกาส ได้รับสิทธิโอกาสเท่าเทียมกับ คนอื่นได้ ในช่วง 4 ทศวรรษ (2516 – 2556) ที่ผ่านมา ภาคประชาสังคมมีบทเรียนในการรณรงค์เพื่อการ คุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ของขบวนการ เคลื่อนไหวของภาคประชาสังคมด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และด้านคนจนเมือง ซึ่งได้รับ ผลกระทบอย่างมากจากกระบวนการแผ่ขยายของทุนนิยมภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ที่มิได้เอาความ เป็นมนุษย์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เป็นที่ตั้ง ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง อย่างรวดเร็ว ที่ดินทากินในชนบทถูกกว้านซื้อเพื่อการขยายพื้นที่นิคมอุตสาหกรรม หรือเพื่อการลงทุน โครงการขนาดใหญ่เชิงพาณิชย์ ทาให้คนในชนบทต้องอพยพโยกย้ายเข้ามาทางานรับจ้างในเมือง กลายเป็นคนจนเมืองในที่สุด จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาวิจัยเรื่อง “บทบาทของภาคประชา สังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง”
  • 7. 3 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชา สังคมในประเทศไทย 2) เพื่อถอดบทเรียนและเสริมพลังภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิ ทางการเมือง การจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทางชีวภาพ และการเสริมพลังคนจน เมือง 1.3 ขอบเขตของการศึกษา จากวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังกล่าว ขอบเขตของการวิจัยครั้งนี้มุ่งเน้น 3 ประเด็น คือ 1) พัฒนาการทางแนวคิด และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมในประเทศไทย 2) ขบวนการเคลื่อนไหวด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อมกับความท้าทายทางยุทธศาสตร์ในยุค โลกาภิวัตน์ 3) การทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนเมืองภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเมืองและคนจนเมือง 1.4 ระเบียบวิธีวิจัย การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative Methods )โดยมีการเก็บรวบรวม ข้อมูลจากเอกสาร และการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสาคัญ(Key informant) ดังนี้ 1) การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) คือการศึกษาพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของภาคประชาสังคมในประเทศไทยในการคุ้มครองสิทธิ พลเมืองและสิทธิทางการเมือง การจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความหลากหลายทางชีวภาพ และการ เสริมพลังคนจนเมืองจากเอกสารรางงานการวิจัย และบทความทางวิชาการ 2) การสัมภาษณ์เจาะลึก (In depth interview) คือการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ(Key informant) ที่เป็นนักพัฒนาอาวุโสที่มีความเชี่ยวชาญในด้านการจัดการทรัพยากร ดิน น้า ป่า ความ หลากหลายทางชีวภาพ และคนจนเมือง 3) จัดเวทีสัมมนา เพื่อนาเสนอผลการศึกษาเบื้องต้น โดยมีนักพัฒนาอาวุโสเป็นผู้ วิพากษ์วิจารณ์รายงานการวิจัย 1.5 ระยะเวลาดาเนินการ มีนาคม ‟ สิงหาคม 2556
  • 8. 4 1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) ได้ข้อมูลที่ชัดเจนเรื่องพัฒนาการทางแนวคิด ยุทธศาสตร์ บทบาท และความสาคัญของ ภาคประชาสังคมในประเทศไทย 2) ภาคประชาสังคมด้านฐานทรัพยากรสิ่งแวดล้อม และด้านคนจนเมือง มีการถอดบทเรียน อย่างเป็นระบบ และได้รับการเสริมพลังให้มีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น
  • 9. 5 บทที่ 2 แนวคิด พัฒนาการ และยุทธศาสตร์ของภาคประชาสังคมในประเทศไทย ดร.จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร* 2.1 ความหมาย คาว่า "ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษว่า Civil Society โคเฮน และอาเรโต (1992) ได้ อธิบายแนวคิดประชาสังคมไว้ในทฤษฎีเสรีนิยมว่า ประชาสังคมเป็นเรื่องการใช้สิทิในการไม่เชื่อฟัง รัฐของประชาชน ทาให้เกิดการเรียกร้องสิทธิใหม่ๆขึ้น ในขณะ ที่ เจอร์เก็น ฮาร์เบอร์มาส (1994) เสนอตัวแบบของเสรีภาพ พรหมแดนระหว่างรัฐและสังคมที่ต้องได้รับการยอมรับโดยมีภาคประชา สังคมเป็นตัวสร้างความสมดุลใหม่ระหว่างภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคสังคม สาหรับประเทศไทย มีการให้นิยามความหมายของประชาสังคม ไว้อย่างกว้างขวาง (เช่น จามรี เชียงทอง, 2543; ชูชัย ศุภวงศ์และยุวดี คาดการณ์ไกล, 2541; อนุชาติ พวงสาลีและ กฤตยา อาชว นิจกุล, บรรณาธิการ, 2542; เอนก เหล่าธรรมทัศน์, 2542; พฤฒิสาณ ชุมพล, ม.ป.ป. ฯลฯ) พื้นฐาน สาคัญในการเข้าใจนิยาม ความหมายของคา “ประชาสังคม” ก็คือ มีการใช้ในความหมายที่แตกต่างกัน ออกไป และมีคุณลักษณะเฉพาะและพิเศษคือ ประชาสังคมเป็นแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ (strategic concept) (ชลทิศ ตั้งเจริญ, ม.ป.ป.: 1) นั่นหมายความว่า การให้ความหมาย ลักษณะ องค์ประกอบ ของ ประชาสังคม วิธีการขับเคลื่อนประชาสังคมเพื่อนามาสู่สังคมประชาธิปไตยที่ดีขึ้นอยู่กับประสบการณ์ บทเรียน ปัญหาที่ผู้คนที่ละกลุ่มก้อนเผชิญและระบุแนวทางการขับเคลื่อน ผู้วิจัยจะนาเสนอการให้ นิยามความหมายของนักคิด นักวิชาการบางท่านที่น่าสนใจ ดังนี้ ศาสตราจารย์น.พ. ประเวศ วะสี นับเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญในการจุดประกายการคิด ในเรื่อง "ประชาสังคม" อย่างเข้มข้น โดยผ่านงานเขียนชิ้นสาคัญคือ "สังคมสมานุภาพและวิชชา" ซึ่งในงาน เขียนดังกล่าวประกอบกับบทความย่อย ๆ และการแสดงปาฐกถาและ การอภิปรายในที่ต่าง ๆ พอ ประมวลเป็นความคิดรวบยอดได้ว่า ในสภาพของสังคมไทยปัจจุบัน ภาคส่วนหลักของสังคมที่มีความ เข้มแข็ง และมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างมากคือ ภาครัฐ หรือ "รัฐานุภาพ" และภาคธุรกิจเอกชน หรือ "ธนานุภาพ" ซึ่งปรากฏการณ์นี้ส่งผลทาให้สังคม ขาดดุลยภาพและเกิดความล้าหลังในการพัฒนา ของฝ่ายประชาชนหรือ ภาคสังคม ซึ่งเรียกว่า "สังคมานุภาพ" ศาสตราจารย์น.พ. ประเวศ วะสี จึงมุ่ง ไปที่การทาอย่างไรที่จะเกื้อหนุนให้ภาคสังคมหรือภาคประชาชนมีความเข้มแข็งและเกิดดุลภาพทาง สังคมขึ้น ที่เรียกว่าเป็น "สังคมสมานุภาพ" โดยนัยยะนี้จึงเชื่อว่าจะต้องพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งที่ * อนุกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง และประธานกรรมการประจาหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานโยบายและการบริหารงานสวัสดิการสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
  • 10. 6 ชุมชน (ประเวศ วะสี, 2536) จนเกิดคาขยายความตามมา อาทิ ชุมชนเข้มแข็ง ความเป็นชุมชน เป็นต้น ดังการให้ความหมายของการเป็น "ชุมชน" ในที่นี้ ว่าหมายถึง "การที่ประชาชนจานวนหนึ่งมี วัตถุประสงค์ร่วมกัน มีอุดมคติร่วมกันหรือมีความเชื่อร่วมกันในบางเรื่อง มีการติดต่อสื่อสารกัน หรือ มีการรวมกลุ่มกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความรัก มีมิตรภาพ มีการเรียนรู้ร่วมกันในการ ปฏิบัติบาง สิ่งบางอย่างและมีระบบการจัดการในระดับกลุ่ม" (ประเวศ วะสี, 2539) ซึ่งโดยนัยยะนี้ประชาสังคมที่ เข้มแข็ง ต้องมีรากฐานที่เกิดจากการมีชุมชนที่หลากหลายและเข้มแข็งด้วย ข้อพึงสังเกตสาคัญต่อเรื่องการเกื้อหนุนภาคสังคม ที่เสนอแนวคิดในเชิงกลยุทธ์ที่ว่าด้วย "ความร่วมมือเบญจภาคี" (ต่อมาใช้คาว่า "พหุภาคี") โดยมองว่าชุมชนในปัจจุบันอ่อนแอมาก การที่จะ ทาให้ชุมชน มีความเข้มแข็งได้นั้น จะต้องเกิดจากความร่วมมือและการทางานร่วมกันของภาคสังคม ต่าง ๆ ซึ่งรวมทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนด้วย "สังคมสมานุภาพ" จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยกระบวนการ ถักทอความรักของคนในสังคม ของคนในชุมชน ถักทอทั้งแนวดิ่ง อันหมายถึง โครงสร้างอานาจที่เป็น ทางการและแนวนอนซึ่ง หมายถึงพันธมิตร/เพื่อน/เครือข่ายเข้าหากัน ซึ่งหากพิจารณาจากประเด็นนี้ การให้ความหมายหรือความสาคัญของ "ประชาสังคม" ของ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ประเวศ วะสี นั้น มิได้กล่าวถึง"การปฏิเสธรัฐ" หรือ State Disobedience แต่อย่างใด ศาสตราจารย์ธีรยุทธ บุญมี และ ศาสตราจารย์ดร.อเนก เหล่าธรรมทัศน์ สองนักคิดทางสังคม คนสาคัญ ที่ได้ให้ความสนใจกับเรื่อง "ประชาสังคม" อย่างมาก โดยศาสตราจารย์ธีรยุทธ บุญมี มองว่า การแก้ปัญหา พื้นฐานทางสังคมนั้นควรให้ความสาคัญกับ "พลังที่สาม" หรือพลังของสังคม หากแม้น ว่าสังคมโดยรวมมีความเข้มแข็ง นักธุรกิจ นักวิชาชีพ นักศึกษา ปัญญาชนชาวบ้าน สามารถร่วมแรง ร่วมใจกัน ผลักดันสังคม ปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นพื้นฐาน ก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ทั้งนี้ สังคมที่ เข้มแข็งในความหมายของ ธีรยุทธ บุญมี นั้น จะเน้นที่ลักษณะที่กระจัดกระจาย (Diffuse) พลังทาง สังคมที่มาจากทุกส่วนทุกวิชาชีพทุกระดับ รายได้ ทุกภูมิภาคของประเทศ ซึ่งโดยนัยยะนี้ จะมีความ แตกต่างจากแนวคิด"ประชาชนเป็นส่วนใหญ่" หรือ "อานาจของประชาชน" ดังเช่นขบวนการ เคลื่อนไหวทางการเมืองในอดีตเป็นอย่างมาก (ธีรยุทธ บุญมี, 2536) ขณะที่ ศาสตราจารย์ดร. เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" หรือ "อารยสังคม" ที่ครอบคลุมทุกชนชั้นของ สังคม เน้นเรื่องความสมานฉันท์ ความกลมเกลียว ความกลมกลืนในภาคประชาสังคมมากกว่าการดูที่ ความแตกต่างหรือ ความแตกแยกภายใน อย่างไรก็ตามมุมมองของ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ได้ให้ความ สนใจเป็นพิเศษกับประเด็นของ "คนชั้นกลาง" "การมีส่วนร่วม" "ความผูกพัน" และ "สานึกของความ เป็นพลเมือง" กล่าวคือ "ประชาสังคม" โดยนัยยะนี้ มิได้หมายถึงความเป็นชุมชนของสังคมชนบท เท่านั้นแต่กิน ความรวมไปถึงคนชั้นกลางภาคเมืองที่ไม่จาเป็นต้องมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดเป็นเครือ ญาติหรือเป็นแบบคุ้นหน้า แต่เป็นความผูกพันของผู้คนที่หลากหลายต่อกันบนฐานแห่งความร่วมมือ และการแสวงหาการมีส่วนร่วม และด้วยสานึกที่มีต่อความเป็นพลเมือง หรือ Citizenship นั่นเอง นอกจากนี้ อเนก เหล่าธรรมทัศน์ ยังได้ตั้งข้อสังเกตที่สาคัญถึงรากฐานของคนไทย และสังคมไทยว่า
  • 11. 7 คนไทยส่วนมากยังมีระบบวิธีคิดว่าตนเองเป็นไพร่ (client) หรือคิดแบบไพร่ ที่จะต้องมีมูลนายที่ดี โหยหาคนดี จึงมักขาดสานึกของความเป็นพลเมืองและมองปัญหาในเชิงโครงสร้างไม่ออก(เอนก เหล่าธรรมทัศน์: 2539) ศาสตราจารย์ดร. ชัยอนันต์สมุทวณิช เป็นนักคิดอีกคนหนึ่งที่กล่าวถึง "ประชาสังคม" โดยเน้น ที่การปรับใช้ในบริบทของสังคมไทย ชัยอนันต์ สมุทวณิช มองว่า "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ ส่วน ของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ ภาคประชาชนด้วย ถือว่าทั้งหมด เป็น Civil Society ซึ่งแตกต่างจาก ความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจากภาครัฐ หรือนอกภาครัฐ แต่หมายถึงทุกฝ่ายเข้ามาเป็น partnership กัน (ชัยอนันต์ สมุทวณิช, 2541) โดยนัยยะนี้ ชัยอนันต์ สมุทวณิช ให้ความสาคัญกับ Civic movement หรือ "วิถีประชา" ที่เป็นการดาเนินกิจกรรม ของกลุ่มองค์กรต่าง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเป็น ศูนย์กลางปราศจากการจัดตั้ง ดังข้อเสนอที่สาคัญใน เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา ในช่วงของการจัดทา แผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-Participation - AFP กล่าวคือจะต้องเน้นที่กระบวนการมี ส่วนร่วม ในการดาเนินกิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝ่ายร่วมกันในระดับพื้นที่ (ย่อย ๆ) ซึ่งในที่นี้ อาจ เป็นพื้นที่จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน หรือพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เช่น เขตพื้นที่ชายฝั่งทะเล ภาค ตะวันออก เป็นต้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช, 2539) ไพบูลย์วัฒนศิริธรรม อดีตรองนายกรัฐมนตรีสมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ซึ่งเป็นนักคิด นักพัฒนาอาวุโสอีกท่านหนึ่งได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" ว่าหมายถึง "สังคมที่ประชาชน ทั่วไป ต่างมีบทบาทสาคัญในการจัดการเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ของประชาชน โดยอาศัยองค์กร กลไก กระบวนการ และกิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัดขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององค์กรนี้ไม่ว่า จะเป็น กลุ่ม องค์กร ชมรม สมาคม ซึ่งล้วนแต่มีบทบาทสาคัญต่อการผลักดันการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้น จึงเป็นเสมือน "สังคม" ของ "ประชา" หรือ Society ของ Civil นั่นเอง อย่างไรก็ดี ไพบูลย์วัฒนศิริธรรม ยังเสนอต่ออีกด้วยว่า "ประชาสังคม" นั้นเป็นส่วนของสังคมที่ไม่ใช่ ภาครัฐ ซึ่งดาเนินงานโดยอาศัยอานาจตามกฎหมายและไม่ใช่ภาคธุรกิจ ซึ่งดาเนินงานโดยมุ่งหวังผล กาไรเป็นสาคัญ จากการให้นิยามความหมายข้างต้นจะเห็นถึงความต่าง ความเหมือน และการวางน้าหนักในการ อธิบายที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ดี จะสังเกตได้ว่าคาอธิบายจากนักคิด นักวิชาการของไทย เป็น คาอธิบายที่วางอยู่บนพื้นฐานของสถานการณ์หรือบริบทของสังคมไทยร่วมสมัย อีกทั้งยังมีลักษณะ ของความคาดหวังต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในอนาคตทั้งสิ้น ซึ่งที่จริงปรากฏการณ์นี้ ก็ไม่ ต่างไปจากประเทศในซีกโลกตะวันตก แต่ความเคลื่อนไหว เรื่องประชาสังคมในประเทศตะวันตกนั้น ก้าวหน้าและเป็นรูปธรรมกว่าในเมืองไทยมาก อย่างไรก็ตาม พอที่จะสรุปได้ว่า "ประชาสังคม" หมายถึงการที่คนในสังคม ซึ่งมีจิตสานึก ร่วมกัน มารวมตัวกันในการกระทาบางอย่างด้วยความรักและความเอื้ออาทรต่อกันภายใต้ระบบการ จัดการให้เกิดความรู้สึกร่วมกันเพื่อประโยชน์สาธารณะ ประชาสังคม จะก่อให้เกิด "อานาจที่สาม"
  • 12. 8 นอกเหนือจาก อานาจรัฐ และอานาจธุรกิจ อานาจที่สามนี้อาจเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ที่กระจัดกระจายและ อาจมีความเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายย่อย ๆ การรวมตัวกันนั้น อาจเป็นองค์กรทางการ (นิติบุคคล) หรือไม่เป็นทางการก็ได้การรวมตัวในลักษณะประชาสังคมจะก่อให้เกิดโครงสร้างสังคมแนวใหม่ที่มี ความสัมพันธ์กันในแนวราบที่เท่าเทียมกัน ซึ่งหากประสานกับโครงสร้างที่มีความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง ด้วยความสมานฉันท์แล้วก็จะทาให้สังคมทั้งสังคมมีความเข้มแข็ง 2.2 การก่อตัวและองค์ประกอบของภาคประชาสังคม หากศึกษาการก่อตัวของแนวคิดประชาคมทั้งระดับโลก และในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่า กระแสประชาสังคมก่อตัวมาจากหลายเหตุปัจจัยด้วยกัน กล่าวคือ 1) วิกฤตในสังคม ที่รัฐและทุนไม่สามารถแก้ไขได้โดยลาพังหรือเป็นวิกฤตระดับโลก (Global Crisis) เช่น วิกฤตสิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน เอดส์ 2) การก่อกาเนิดของชนชั้นกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พ่อค้า นักธุรกิจ นักวิชาการ ที่มีการศึกษา และมีฐานะทางเศรษฐกิจ 3) พัฒนาการของกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถแสดงออก ทางความคิดเห็นได้โดยอิสระ 4) ระบบการติดต่อสื่อสาร ซึ่งช่วยให้การรวมตัวเป็นไปได้สะดวกขึ้น โดยที่บางครั้งไม่ จาเป็นต้องพบกัน 5) ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพและความโปร่งใสทางภาครัฐ ทาให้รัฐไม่สามารถเป็นผู้แก้ปัญหา ในสังคมได้แต่เพียงอย่างเดียว จึงต้องการหาทางเลือกอย่างอื่น ประชาชนผู้แบกรับปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมไม่สามารถพึ่งพารัฐแต่เพียงอย่างเดียว ไม่ว่าด้วย เหตุความสลับซับซ้อนของปัญหา หรือเพราะความจากัดของประสิทธิภาพในภาครัฐ ประชาชนก็ จะต้องหาทางแก้ไขปัญหานั้น ตั้งแต่แก้ไขด้วยตัวเองเป็นกลุ่มเล็ก ๆ จนเมื่อมีโอกาสในการสนทนา แลกเปลี่ยนความเห็นในวงกว้าง จึงเกิดการรวมตัวกันที่จะกระทาการบางอย่างเพื่อแก้ปัญหานั้นให้ ลุล่วงไป ทั้งนี้ อาจดาเนินการโดยประชาสังคมเอง หรือร่วมกับภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชนก็ได้ สาหรับประเทศไทย คาว่า “ประชาสังคม” ปรากฏขึ้นในราวกลางทศวรรษที่ 2520 ซึ่งมีคา อื่นๆ ที่ใช้ในความหมายเดียวกันคือ “ภาคประชาชน” “ภาคพลเมือง” ปรากฏการณ์ที่นามาสู่ “ประชา สังคม” หรือ “การเมืองภาคประชาชน” ที่ชัดเจนก็คือ ในยุคที่มีเริ่มเกิดการเดินขบวน เรียกร้องของ ชาวบ้านในชุมชนท้องถิ่นต่างๆ อย่างกว้างขวางช่วงการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรยุครัฐบาลพลเอก ชาติชายราวปี 2531 กับอีกด้านหนึ่งก็คือ การเกิดปัญหาทุจริต คอรัปชั่น การเคลื่อนไหวของสังคมใน การตรวจสอบอานาจ และกระแสการปฏิรูปการเมืองในช่วงหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ 2535 การปรากฏตัวของคา “ภาคประชาสังคม” เกิดขึ้นเพื่อนามาใช้ในการอธิบายกลุ่มก้อนของผู้คน ที่ไม่ใช่ “ภาครัฐ” หรือภาคราชการและไม่ใช่ “ภาคธุรกิจ” ที่เติบโตในช่วงรัฐบาลพลเอกเปรม ติณสูลา
  • 13. 9 นนท์ เป็นต้นมา ( เอนก เหล่าธรรมทัศน์, 2539 ) ดังนั้น ในแง่มุมทางทฤษฎี การอธิบายผ่านแนวคิด ประชาสังคมจึงเป็นการท้าทายต่องานของ Fred W. Riggs เรื่อง “รัฐราชการ” (Bureaucratic Polity) และข้อจากัดของตัวแบบภาคีรัฐสังคมแบบเสรี (Liberal Corporatism) โดย เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ที่ มองว่า มีองค์กรนอกภาครัฐเกิดขึ้นแต่องค์กรที่มีพลังต่อรองและบทบาทในกระบวนการนโยบาย สาธารณะก็คือ ภาคธุรกิจ ในขณะที่องค์กร/กลุ่มก้อนอื่นๆ ถึงแม้จะมีอยู่บ้างก็ตาม แต่ก็มีลักษณะที่เป็น กลุ่มจัดตั้งและกากับ ควบคุมโดยรัฐ บริบทสาคัญในช่วงทศวรรษ 2520 ที่นามาสู่การก่อตัวของแนวคิดและขบวนการประชาสังคม ก็คือ การเกิดแนวคิดวัฒนธรรมชุมชนที่ก่อร่างสร้างตัวขึ้นโดยนักพัฒนาภาคเอกชน(NGOs) ซึ่งเป็นนัก กิจกรรม นักเคลื่อนไหวทางสังคมที่เริ่มถอยห่างจากอุดมการณ์สังคมนิยม พฤฒิสาณ ชุมพล (ม.ป.ป.) มองว่า “แนวคิดประชาสังคมได้ค่อยๆ ถูกสร้างขึ้นโดย NGO ของไทยเพื่อใช้เป็นเสมือนร่มหรือโครง กรอบของการจัดสิ่งที่คิดและปฏิบัติอยู่ให้เชื่อมโยงกันอย่างเป็นองค์ เพื่อเป็นประโยชน์ทั้งในการ อธิบายปรากฏการณ์ของการเปลี่ยนแปลงสังคม และการสร้างจินตนาการสังคมในอุดมคติ” ซึ่งนี่ก็คือ การตอกย้าให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ประชาสังคมจึงเป็นแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ การก่อตัวของภาคประชาสังคมของประเทศไทยเกิดจาก 5 ปัจจัยดังกล่าวซึ่งมีความคล้ายคลึง กับการเกิดภาคประชาสังคมของต่างประเทศ กิจกรรมหรือกระบวนการที่จะเรียกว่าเป็ นประชาสังคมได้นั้น จะต้องประกอบด้วย องค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วน คือ 1) จิตสานึกประชาคม (Civic Consciousness) หมายถึงความคิดและความยอมรับเรื่องการ รวมตัวกันอย่างอิสระด้วยความรัก ความเอื้ออาทร ความยอมรับในความคิดเห็นของกันและกันในอันที่ จะเรียนรู้ร่วมกัน หรือแก้ไขปัญหาที่เผชิญอยู่ การรวมตัวกันจึงเป็นลักษณะหุ้นส่วน (Partnership) เป็น ความสัมพันธ์ในแนวราบ (Horizontal) มีอิสระเท่าเทียมกัน และมีการเรียนรู้ร่วมกัน 2) โครงสร้างองค์กรประชาสังคม (Civic Organization) หมายถึง กลุ่มการรวมตัวซึ่งอาจเป็น องค์กรที่เป็นทางการ (นิติบุคคล) หรือไม่เป็นทางการก็ได้ เป็นกลุ่มที่รวมตัวกันเฉพาะคราว เฉพาะ เรื่องหรือต่อเนื่องก็ได้สมาชิกของกลุ่มอาจเป็นบุคคลในภาครัฐ ภาคธุรกิจ หรือประชาชน หรือรวมกัน อยู่ก็ได้ จานวนสมาชิกไม่จากัด มีสมาชิกเพียง 2 - 3 คนก็ได้ รูปแบบที่เห็นได้มากที่สุด ก็คือ องค์กร เอกชนสาธารณะประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นมูลนิธิ สมาคม ชมรม สมาพันธ์ สหพันธ์ ชุมนุม สหกรณ์ กลุ่มออมทรัพย์ หรือกลุ่มอื่น ๆ ประเด็นสาคัญการรวมกลุ่มต้องมีจิตสานึกประชาคม ครบถ้วน การรวมกลุ่มที่มีลักษณะจัดตั้ง ชี้นา ขาดการสร้าง Partnership ไม่มีการเรียนรู้ร่วมกันและมี ลักษณะความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง แม้จะเกิดอยู่ในชุมชนไม่ว่าจะสนับสนุนโดยภาครัฐหรือองค์กร เอกชนก็ไม่สามารถนับเป็นประชาสังคมได้ เพราะขาดจิตสานึกประชาสังคม
  • 14. 10 3) เครือข่ายประชาคม (Civic Network) หมายถึง โครงสร้างและกระบวนการซึ่งเชื่อมโยง สมาชิกในกลุ่ม หรือ เชื่อมโยงองค์กรประชาสังคมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ปัจจัยสาคัญของเครือข่ายประชา สังคม คือ ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและการประชาสัมพันธ์ด้วยความสมานฉันท์ เครือข่าย ประชาสังคมจะเป็นสิ่งที่ช่วยรวมจิตสานึกของสมาชิกและองค์กรประชาสังคมต่าง ๆ ให้เกิด "อานาจที่ สาม" ที่มีความเข้มแข็งในสังคมขึ้นมา ในบริบทของสังคมไทย องค์กรพัฒนาเอกชนเป็นองค์ประกอบหลัก และมีบทบาทคล้ายกับ ภาคประชาสังคม บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนมีความครอบคลุมสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการ เมือง อย่างกว้างขวางไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือประชาชนให้ได้รับบริการสาธารณะอย่างมีคุณภาพ ให้ ได้รับสิทธิด้านสวัสดิการสังคม สิทธิของแรงงาน เกษตรกร เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ รวมถึงการ ป้ องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์การต่อต้านความรุนแรงในครอบครัว การต่อต้านการทรมาน การ คุกคามนักต่อสู้เพื่อสิทธิมนุษยชน ซึ่งหน่วยงานของรัฐไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้อย่างเท่าทัน กับปัญหาที่นับวันหนักหน่วงรุนแรงยิ่งขึ้นได้ จึงต้องอาศัยองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามาช่วยกันแก้ไข ปัญหาเหล่านี้ ทั้งนี้เนื่องจากองค์กรพัฒนาเอกชนมีความคล่องตัวสูงในการตอบสนองต่อความจาเป็น และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น โดยไม่ถูกจากัดด้วยระเบียบที่แข็งตัวแบบระบบราชการ มีการดาเนินงานใน ประเด็นปัญหาหรือพื้นที่ที่ไม่ค่อยจะมีหน่วยงานราชการใดดาเนินงานอยู่หรือไม่สามารถครอบคลุมถึง 2.3 พัฒนาการของภาคประชาสังคมของประทศไทย เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นับเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ในการเรียกร้องประชาธิปไตย และเสรีภาพของนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนที่ได้ลุกขึ้นมาโค่นล้มรัฐบาลเผด็จการของจอม พลถนอม กิตติขจรและ จอมพลประภาส จารุเสถียร ได้เป็นผลสาเร็จ ชัยชนะในครั้งนั้น ได้ทาให้เกิด การตื่นตัวเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และประชาธิปไตยในสังคมไทยอย่างกว้างขวาง เพียง 5 สัปดาห์หลังจาก เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นักวิชาการ ทนายความ และประชาชนผู้รักประชาธิปไตยจากวงการต่าง ๆ ที่ต้องการสิทธิเสรีภาพ ความยุติธรรม และประชาธิปไตยที่แท้จริง ได้ร่วมกันก่อตั้ง “สหภาพเพื่อสิทธิ เสรีภาพของประชาชน” ขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2516 ซึ่งอาจนับได้ว่า “สหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพ ของประชาชน” เป็นองค์กรของภาคประชาสังคมองค์กรแรกที่เกิดขึ้นหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการ เผยแพร่หลักการแห่งสิทธิเสรีภาพ ตลอดจนดาเนินการพิทักษ์สิทธิ มนุษยชน โดยมุ่งประโยชน์เพื่อส่วนรวมเป็นสาคัญ จนกระทั่งถึงเหตุการณ์นองเลือก 6 ตุลาคม 2519 ซึ่ง ตามมาด้วยการประกาศใช้กฎอัยการศึกษาทาให้ “สหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน” ต้องยุติ บทบาทลงชั่วคราว หลังจากเหตุการณ์นองเลือก 6 ตุลาคม 2519 ผ่านไป เกือบ 2 ปี สถานการณ์ทางการเมือง คลี่คลายลง เดือนธันวาคม 2521 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ และปี ต่อมามีการเลือกตั้งทั่วไป “สหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน” จึงได้รื้อฟื้นกิจกรรมขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เมื่อกลางปี 2522 ได้
  • 15. 11 ยื่นขอจดทะเบียนเป็นสมาคม และได้รับการอนุญาตจากคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติให้มี สถานภาพเป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นสมาคมเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2525 โดยใช้ชื่อว่า “สมาคมสิทธิ เสรีภาพของประชาชน” หรือชื่อย่อ “สสส.” ด้วยปรัชญาในการดาเนินงานของ สสส. คือ การปกป้ องสิทธิของผู้ถูกละเมิดสิทธิให้เท่าเทียม กับคนทั่วไป โดยเน้นความสาคัญในคุณค่าของความเป็นมนุษย์ การทางานของ สสส. มิใช่เพื่อการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่เป็นการทางานที่ต้องการผลักดันสังคมให้ก้าวหน้าไปสู่สังคมที่ดีงาม และมี ความยุติธรรมโดยอาศัยหลักกฎหมายที่เป็นธรรม ภาคประชาสังคมมีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้นเป็นลาดับตั้งแต่ปี 2523 เป็นต้นมาโดยการเกิด องค์กรใหม่ๆ ขึ้นอีกหลายองค์กร ในช่วงนั้น การเคลื่อนไหวทางการเมืองของภาคประชาชนเติบโตขึ้น อย่างรวดเร็วแทนที่ขบวนปฏิวัติด้วยกาลังอาวุธที่เสื่อมสลายไป สถานการณ์และเงื่อนไขทางสังคมที่ ทาให้ภาคประชาสังคมมีบทบาทมากขึ้นเกิดจากปัจจัย 5 ประการ คือ ประการแรก สภาพความยากจนของประชาชนไทยอันเป็นปัญหาที่ยังดารงอยู่โดยทั่วไปการ กระจายรายได้ ทรัพยากร และผลประโยชน์ในสังคม ยังมีความไม่เท่าเทียมกัน มีความเหลื่อมล้าต่าสูง ระหว่างชนบทกับเมือง ระหว่างภาคต่างๆ สภาพเช่นนี้นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น และนับเป็น เงื่อนไขสาคัญอันหนึ่งที่ผลักดันให้ผู้ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคมมิอาจทนดูความหายนะต่างๆที่จะมา สู่ประเทศไทยได้ จึงต้องหันหน้ามาหากันเพื่อไตร่ตรองและหาแนวทางที่จะดาเนินการเพื่อปรับปรุง สภาพต่างๆให้ดียิ่งขึ้น ประการที่สอง ช่วงปี พ.ศ.2522 เป็นช่วงเวลาที่เกิดการเคลื่อนไหวของหน่วยงานและ ขบวนการพัฒนาสังคมในระดับสากล เพื่อทบทวนปัญหาและประสบการณ์การดาเนินการพัฒนา ประเทศในโลกที่สาม มีการประชุมสัมมนาบ่อยครั้ง อาทิเช่น การประชุมขององค์การระหว่างประเทศ เรื่อง “การปฏิรูปสถาบันเกษตรและพัฒนาชนบทของโลก” ที่กรุงโรม ในเดือนกรกฎาคม 2522 ได้ ข้อสรุปว่า “การดาเนินการพัฒนาสังคมหรือการพัฒนาชนบทนั้น จะต้องยึดถือกลยุทธ์ที่ให้ประชาชน มีความสามารถที่จะก่อตั้งหรือดาเนินการพัฒนาด้วยตัวเอง และจะต้องพยายามสนับสนุนให้มีการ สร้างสถาบันหรือองค์กรของประชาชน รวมทั้งองค์กรพัฒนาต่างๆด้วย” การเคลื่อนไหวและผลักดัน แนวคิดดังกล่าวได้ส่งผลกระทบกลับไปยังประเทศโลกที่สามต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยด้วย จะเห็นได้ จากการที่แนวคิดเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชน ได้รับการแพร่กระจายและได้รับการยอมรับจาก หน่วยงานต่างๆค่อนข้างมาก ทาให้เกิดกระบวนการทบทวนการปฏิบัติงานและการพัฒนาสังคมทั้งใน ระดับภาครัฐบาลและภาคเอกชน ประการที่สาม หน่วยงานของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาประเทศได้มีการ เคลื่อนไหวและทบทวนแนวทางการพัฒนาสังคมของไทยที่ผ่านมาว่าประสบความสาเร็จมากน้อย เพียงใด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ซึ่ง รับผิดชอบด้านการวางนโยบายและการวางแผนพัฒนาในประเทศ ได้มีการประเมินผลการพัฒนาที่
  • 16. 12 ผ่านมาและยอมรับว่าประเทศไทยยังประสบปัญหาในการพัฒนาประเทศอยู่อีกมาก รวมทั้งเล็งเห็นว่า ภาคเอกชนน่าจะมีบทบาทต่อการส่งเสริมบทบาทของภาคเอกชนมากขึ้น ประการที่สี่ องค์กรพัฒนาเอกชนในประเทศไทยจานวนหนึ่งได้มีการประชุมสัมมนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมา และพยายามที่จะร่วมมือประสานงานกัน เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาการดาเนินงานพัฒนาสังคมให้ขยายตัวออกไปให้กว้างขวางขึ้น ประการที่ห้า สภาพการณ์ทางการเมืองในช่วงปี 2522 ‟ 2523 ซึ่งเกิดบรรยากาศที่เรียกว่า “วิกฤตการณ์แห่งศรัทธา” ซึ่งหมายถึงการสิ้นศรัทธาต่อแนวทางการต่อสู้เพื่อให้ได้อานาจรัฐด้วยความ รุนแรง ทาให้ขบวนการสันติวิธีเติบโตขึ้น นักศึกษาปัญญาชนจานวนมากจึงเห็นว่า การปฏิบัติตนในฐานะบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อ ประชาคมของตนนั้น ไม่มีวิถีทางใดจะเหมาะสมเท่ากับการเข้าร่วมกับขบวนการพัฒนาสังคมแนว สันติวิธี เพราะอย่างน้อยที่สุดจะได้ช่วยเหลือและบรรเทาความทุกข์ให้กับประชาชนบางส่วนได้มี กาลังใจที่จะดิ้นรนและต่อสู้ปัญหาของเขาต่อไป รวมทั้งการเข้าร่วมภารกิจเช่นนี้ก็นับเป็นการ เสริมสร้างขบวนการพัฒนาบุคคลให้กับสังคม ซึ่งนับเป็นทรัพยากรที่มีค่าอย่างยิ่งในการพัฒนา ประเทศ สภาพเช่นนี้ได้ผลักดันให้งานของภาคประชาสังคมเติบโตขึ้น เริ่มมีการก่อตัวของกลุ่มคน หรือหน่วยงานใหม่ๆเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งจานวนอาสาสมัครและบุคลากรที่ตัดสินใจเข้ามาร่วมใน ขบวนการพัฒนาดังกล่าวก็เพิ่มปริมาณขึ้น นับแต่ปี 2523 เป็นต้นมา จึงมีองค์กรพัฒนาเอกชนเล็กๆ เกิดขึ้นมากมาย ทั้งที่จดทะเบียนและ ไม่ได้จดทะเบียนอย่างเป็นทางการ แต่ในระยะเริ่มต้นนั้นองค์กรพัฒนาเอกชนต่างๆเหล่านี้ยังมีบทบาท ไม่ได้มากนัก เนื่องจากลักษณะการดาเนินงานยังต่างคนต่างทา การปรึกษาหารือกันถึงแนวการพัฒนา สังคม การประสานและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ยังมีน้อย จวบจนกระทั่งประมาณปี 2526 เป็นต้นมา แนวโน้มของการร่วมมือประสานงานกันมีมากขึ้น เกิดหน่วยงานหรือคณะกรรมการที่มีลักษณะร่วม มากมาย เช่น คณะกรรมการติดตามผลการสัมมนา คณะกรรมการเผยแพร่และส่งเสริมงานพัฒนา กลุ่ม ศึกษาทางเลือกการพัฒนา กลุ่มศึกษาปัญหาสลัม เป็นต้น ขณะเดียวกันก็เริ่มมีแนวโน้มของการรวมตัว กันในหน่วยงานที่มีลักษณะการทางานเหมือนกัน อาทิเช่น การรวมตัวของคณะทางานด้านเด็ก การ รวมตัวกันของหน่วยงานที่ทางานทางด้านสาธารณสุข หรือการรวมตัวของหน่วยงานที่ทางานทางด้าน สิทธิมนุษยชน เป็นต้น ในช่วงนี้องค์กรพัฒนาเอกชนได้ทาหน้าที่ของตนต่อการพัฒนาสังคมต่างๆ อย่างมากมาย ซึ่งสามารถสรุปได้ 3 ลักษณะคือ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและปูพื้นฐานในการแก้ไข ปัญหาระยะยาวของประชาชน บทบาทของประเภทกิจกรรมพัฒนาในด้านนี้ได้แสดงออกโดยการ บรรเทาผลร้ายและลดภาระของประชาชนที่เสียเปรียบในสังคมให้ลดน้อยลง ทดแทนในสิ่งที่ ประชาชนขาดแคลน และเสริมสร้างกาลังใจให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาสในสังคมสามารถต่อสู้กับปัญหา ที่เขาเผชิญต่อไป
  • 17. 13 นอกจากนั้นยังมีบทบาทในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชนหรือตาม กลุ่มเป้ าหมายเกิดประสบการณ์ สามารถเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สูงขึ้น เพื่อประโยชน์ ในการพัฒนาตนเองและการแก้ไขปัญหาของเขาในอนาคต ศึกษารวบรวมปัญหาต่างๆในสังคมและ รณรงค์เผยแพร่ เนื่องจากสภาพงานขององค์กรพัฒนาเอกชนต่างๆจะมีโอกาสได้ไปสัมผัสและคลุกคลี กับสภาพปัญหาของสังคมมากมาย ทาให้สามารถแสดงบทบาทในด้านการศึกษารวบรวมปัญหาใน สังคม รวมทั้งการรณรงค์เผยแพร่ปัญหาต่างๆต่อประชาชนในสังคมวงกว้าง ซึ่งนับเป็นการดึงความ ร่วมมือของประชาชนทั้งสังคมให้มีส่วนรับรู้และเป็นการสร้างสานึกร่วมกันของคนทั้งสังคม เสริมสร้างประสบการณ์ชีวิตและผลิตบุคลากรที่ดีให้แก่สังคม กิจกรรมพัฒนาได้แสดงบทบาทเป็น “โรงเรียนชีวิต” ที่ทาหน้าที่เสริมสร้างประสบการณ์ในการทางานที่ดีให้แก่บุคคลของตน นอกจากนั้น ยังเป็นเวทีที่จะช่วยทาให้คนทางานได้เข้าใจปัญหาต่างๆในสังคมและเกิดสานึกที่ดีต่อภาระหน้าที่ใน การพัฒนาสังคมในอนาคต ซึ่งนับเป็นการเตรียมบุคลากรที่มีคุณภาพให้แก่สังคมอีกด้วย การที่องค์กรพัฒนาเอกชนได้ขยายบทบาทมากยิ่งขึ้นในช่วงนี้เป็นผลมาจากสถานการณ์ทาง เศรษฐกิจและสังคมในขณะนั้นเป็นช่วงที่ราคาข้าวตกต่าจนเกิดวิกฤติ ราคาข้าวควบคู่กับภาวะฝนแล้งที่ มีต่อเนื่องในภาคอีสาน ประกอบกับเป็นช่วงต้นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 ซึ่งรัฐบาลได้กาหนดนโยบายให้ภาครัฐบาลประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะการพัฒนาชนบท ภายใต้นโยบายนี้ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติจึงได้ตั้งคณะทางานเพื่อกาหนดแนวทางการประสานความร่วมมือขึ้น และได้เสนอจังหวะก้าวของความร่วมมือ โดยในประการแรกจาเป็นต้องให้เกิดกระบวนการรวมตัว ร่วมมือประสานงาน ตลอดจนพัฒนากลไกความร่วมมือขององค์กรพัฒนาเอกชนขึ้นมาก่อน จากนั้นจึง ค่อยดาเนินการแสวงหาความร่วมมือ กาหนดแผนงานร่วมหรือจัดตั้งกลไกความร่วมมือระหว่างรัฐและ องค์กรพัฒนาเอกชนต่อไป ในช่วงปลายปี 2528 องค์กรพัฒนาเอกชนทั้งประเภทพัฒนาและสงเคราะห์ 139 องค์กร จึงได้ จัดประชุมและมีมติให้จัดตั้ง “คณะกรรมการประสานงานองค์กรเอกชนพัฒนาชนบท” (กป.อพช.) ระดับชาติขึ้น ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น “คณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน” เพื่อเป็นกลไก ขององค์กรพัฒนาเอกชนในการประสานงานกับภาครัฐ ขณะเดียวกันได้มีมติให้องค์กรพัฒนาเอกชนที่ อยู่ตามภูมิภาคต่างๆรวมตัวกันเป็น กป.อพช. ระดับภาคขึ้นเช่นเดียวกัน การกาเนิดขึ้นของ กป.อพช. นับเป็นจุดเปลี่ยนที่สาคัญอีกจุดหนึ่งขององค์กรพัฒนาเอกชน ไทยในแนวทางที่เน้นการพัฒนามากกว่าสังคมสงเคราะห์ ด้วยเหตุผล 3 ประการคือ ประการแรก เป็นการเปลี่ยนแปลงวิธีการทางานที่ต่างคนต่างทา มาเป็นการรวมพลัง ประสานงานกัน อย่างเป็นขบวนการมากยิ่งขึ้น ประการที่สอง เป็นการเชื่อมโยงองค์กรพัฒนาเอกชนที่มีเนื้องานที่หลากหลาย ทั้งด้านเด็ก สตรี สาธารณสุข การศึกษา และศาสนา ให้มีจุดเน้นร่วมกันในการแก้ไขปัญหาการพัฒนาชนบท
  • 18. 14 ประการที่สาม เป็นการยกระดับการทางานขององค์กรพัฒนาเอกชนจากจุดเล็กๆ เฉพาะพื้นที่ และเฉพาะปัญหา สู่ระดับที่กว้างขวางมากขึ้น การรวมตัวกันขององค์กรพัฒนาเอกชนจึงเป็นการเพิ่มพลังให้กับภาคประชาสังคมและ กลายเป็นขบวนการทางสังคมหนึ่งที่รัฐมิอาจมองข้าม ดังนั้นรัฐจึงต้องขอความร่วมมือจากองค์กร พัฒนาเอกชนในหลายๆเรื่อง เช่น ในปี 2538 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติขอให้องค์กรพัฒนาเอกชนร่วมในการจัดสัมมนาระดมความคิดเห็นของประชาชนในภูมิภาค ทั่วประเทศ เพื่อนาไปพิจารณาในการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 นอกจากนี้หน่วยราชการต่างๆยังแต่งตั้งให้ผู้แทนขององค์กรพัฒนาเอกชนด้านต่างๆเป็นกรรมการ เช่น คณะทางานพิจารณากลั่นกรองโครงการขององค์กรเอกชนด้านสิ่งแวดล้อม คณะอนุกรรมการฝ่าย วิชาการสาหรับการประชุมระดับโลกเรื่องการศึกษาชุมชน คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ กรอ. สังคม คณะอนุกรรมการจัดทาแผนพัฒนาสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน คณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการสังคมแห่งชาติ คณะอนุกรรมการประสานการแก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะอนุกรรมการพิจารณาแนวทางการจัดตั้งศูนย์ ประสานงานองค์การเอกชน คณะกรรมการบริการศูนย์ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรเอกชนเพื่อการ พัฒนา และคณะกรรมการรณรงค์ความปลอดภัยในสถานประกอบการ คณะกรรมการหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ และคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการสาธารณสุข เป็นต้น ในปี 2540 ประเทศไทยต้องเผชิญกับวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่ สถาบันการเงิน ล้มละลาย ลูกจ้าง พนักงานของสถานประกอบการต่างๆ ตกงาน ซึ่งมีจานวนไม่น้อยที่กลับไปยัง ชนบท เปลี่ยนวิถีชีวิตไปอยู่กับการทาเกษตรแบบพอเพียง ภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 แนวคิด วัฒนธรรมชุมชนได้รับการขานรับอย่างกว้างขวางจากสังคมและหน่วยงานรัฐจนมีฐานะกลายเป็น อุดมการณ์ของสังคมโดยปริยาย มีแนวคิดสาคัญที่เข้ามาหลอมรวมและมีส่วนสาคัญในการขยาย แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง ได้แก่ แนวคิดเชิงพุทธ ซึ่งเสนอให้เพิ่ม หลักธรรมทางพุทธศาสนาเข้าไปเป็นฐานชุมชนธรรมนิยม แนวคิดธุรกิจชุมชน นาเอาธุรกิจชุมชนเข้า มาเป็นส่วนหนึ่งของระบบเศรษฐกิจชุมชนและเชื่อมต่อระบบเศรษฐกิจทุนโดยไม่เป็นส่วนของระบบ ทุนนิยม และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งทรงเสนอแนวทาง 3 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นตอนพออยู่พอกิน-พึ่งตนเองได้ ขั้นตอนรวมพลังเป็นชุมชนในรูปสหกรณ์ และ ขั้นตอนการร่วมมือกับองค์กรหรือภาคเอกชนภายนอก ในขณะที่แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนกาลังทาให้เกิดการขยายตัวของขบวนการชุมชนเข้มแข็ง และประชาสังคมขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป ช่วงเวลาเดียวกันได้มีเหตุการณ์บ้านเมืองที่วิกฤตและมีความ รุนแรงเกิดขึ้นเป็นระยะๆ ซึ่งกลับกลายเป็นโอกาสที่กระตุ้นขบวนการของภาคประชาสังคมให้มีการ เติบโต นอกจากนั้นกระแสประชาสังคมโลกซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวทางสังคมแนวใหม่ (New Social Movement) ยังเข้ามาหนุนเสริมกระแสประชาชน การเคลื่อนไหวเชิงเครือข่าย การเคลื่อนไหวด้าน