SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 65
DGD541 Dental clinic and hospital management I
Faculty of Dental Medicine
Rangsit University
ทิศทางการพัฒนาสุขภาพในกระแสเปลี่ยนแปลง
การบริหาร
จัดการแนว
ใหม่
แนวคิดและทิศ
ทางการพัฒนา
สุขภาพใหม่
ระบบ
สาธารณสุขที่
พึงประสงค์
• การบริหารจัดการภาครัฐ
• การพัฒนาระบบราชการ
• การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
ระบบ สู่ความเป็ นเลิศคน สู่ความเป็ นเลิศ
องค์กร
สู่ความเป็ นเลิศ
สั่งสมคนดี ส่งเสริมคนเก่ง
ความเป็ นมืออาชีพ
การบริหารจัดการที่ดี
รู้คนคือ มีคุณธรรม นาชีวิต
รู้ถูกผิด รู้ชอบ รู้ศักดิ์ศรี
รู้วินัย ใจสัตย์ซื่อ ถือความดี
รู้วิถี มีจรรยา นาพาตน
รู้งานคือ มืออาชีพ ในทุกสิ่ง
รู้ให้จริง รู้แก้กัน ทันเหตุผล
รู้คุณภาพรู้มาตรฐานงาน
สากล
รู้ผ่อนปรนรู้จังหวะกะแนววาง
การวางแผนเพื่อพัฒนาองค์กรสู่ความเป็ นเลิศ
ลักษณะขององค์การสมัยใหม่
Customer driven organization
High performance
organizationMission-oriented
organization
Learning organization
Technology-based
organization
What is organization?
•The act of rearranging element following
one or more rule.กระบวนการแบ่งงานสาหรับบุคคล ซึ่งต้องอาศัยความถนัด หรือความชานาญเฉพาะด้าน มีการจัด
วางโครงสร้าง และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่มคน ตลอดจนอานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบ
ลดหลั่นกันไปตามสายการบังคับบัญชา เพื่อให้ทุกคนสามารถปฏิบัติงานให้บรรลุผลสาเร็จตาม
เป้ าหมายขององค์กร
คาว่า “องค์กร” เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับภาษาอังกฤษ
ว่า Organ ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้บทนิยามไว้ดังนี้ “น. ส่วนประกอบ
ย่อยของหน่วยใหญ่ ทาหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน
และกัน.” ส่วนคาว่า “องค์การ” ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษ
ที่ว่า Organization นั้น ท่านได้ให้นิยามไว้ดังนี้
“น. ศูนย์กลางของกิจการที่รวมกันขึ้นเป็นหน่วย” หรือ
จะพูดง่ายๆ ก็คือ
ศ.จานงค์ ทองประเสริฐ, ราชบัณฑิต
องค์กรบริการสุขภาพของประเทศไทย
ภาครัฐ
ภาคเอกช
น
ภาค
ประชาชน
สุขภาวะ
Beyond Bureaucracy
• ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางและยึด
ประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก
• คิดเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งไปข้างหน้า และเปิด
มุมมองให้กว้าง
• บริหารงานบนฐานขององค์ความรู้และ
ข้อมูลสารสนเทศ
• ทางานเชิงรุก กล้าคิด กล้าทา ท้าทาย ไม่
ยึดติดกับรูปแบบเดิมเพื่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
• ยึดหลักบูรณาการ ไร้พรมแดนของ
หน่วยงาน
• มีเป้ าหมายในการทางาน สามารถวัดผล
สาเร็จได้อย่างชัดเจน
• เน้นความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแข่งขันได้
• เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้ทันโลก
ทันสมัย
• แสวงหาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
สมัยใหม่
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
1. เพื่อประโยชน์สุข
ของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์
3. มีประสิทธิภาพ/คุ้มค่า
4. ลดขั้นตอนที่ไม่จาเป็ น
5. ปรับปรุงภารกิจ/โครงสร้างให้
เหมาะสม
6. อานวยความ
สะดวกตอบสนอง
ความต้องการของ
ประชาชน
7. ประเมินผลการปฏิบัติ
ราชการ
เจตนารมณ์ตาม มาตรา 3/1
ธรรมาภิบาล
Good governance
หลักนิติธรรม
(Rule of Law)
หลักความโปร่งใส
(Transparent)
หลักการมีส่วนร่วม
(Participation)
หลักความรับผิดชอบ
(Accountability)
หลักความคุ้มค่า
(Efficient
Service)
หลักคุณธรรม
(Integrity)
People
Participation
Good Governance
Rightsizing
Better
Service Quality
High
Performance
•Restructuring (Clustering & Matrix system
•Agencification (APO & SDU)
•Comprehensive review
•Contestability (market testing)
•ABC & capital charges•People’s audit
•Paradigm shift
•Networking
•Managing for results
(business-like approach)
•Strategy driven
•Performance Scorecard
•Performance agreement &
review
•Incentive package
•Service standard
•Work process redesign
•Deregulation
•E-services
•Call center 1111
•Service Link (Integrated
Customer Solutions)
•Change management
•Change leaders & facilitators
•E-learning for change
•I AM READY •Strategic posts
•Young executives
•Remuneration
•E-government
•GFMIS
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ต่อการให้บริการด้านสุขภาพ
สุขภาพ เป็นเรื่องการเจ็บไข้ได้ป่วย โรค เชื้อโรค
สุขภาพเป็นเรื่องของผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน/เฉพาะทาง
สุขภาพเป็นเรื่องโรงซ่อมสุขภาพ โรงพยาบาล คลินิก สถานบริการสุขภาพร้านขายยา
สุขภาพเป็นเรื่อง High Tech- High Cost
มุมมองเรื่อง สุขภาพ
•สุขภาพ มิใช่เป็นเพียงแค่เรื่องของโรคภัยไข้เจ็บหรือเป็นภาระหน้าที่ของวิชาชีพ
ต่าง ๆ เท่านั้น แต่มองว่า เป็นเรื่องของทุกคนและตนเองโดยเริ่มต้นจากการดูแล
ตนเองทั้งด้านกาย-ใจ-ครอบครัว-สังคม-ปัญญา และ มองว่าตนเองเป็นผู้
กาหนดสภาวะสุขภาพของตนเองแล้วละก็จะเกิดการเปลี่ยนแปลง "สภาวะ
สุขภาพ" ของคนไทยขึ้นอย่างมหาศาล
•สุขภาพในความหมายใหม่ คือ "การสร้างสุขภาพ"จะเป็นการลดลงของโรคที่
ป้ องกันได้ หยุดการทาลายสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การสร้างความสัมพันธ์ทาง
สังคมวัฒนธรรมที่ดี การยกเลิกสิ่งที่เป็นอบายมุข สร้างระบบสนับสนุนชีวิตของ
มนุษย์ให้ดีขึ้น
•สุขภาพเป็นเรื่องของวิถีชีวิต วัฒนธรรม การสร้างสุขภาพ
•การจัดการสิ่งที่เอื้อให้ทุกคนมีสุขภาพดี เกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนและ
เกี่ยวข้องกับทุกคน บุคคล ครอบครัวชุมชน สังคม
•สุขภาพเป็นเรื่องที่ต้องทากันในทุกสถานที่และทุกที่สร้างสุขภาพได้
มุมมองใหม่ของสุขภาพ
มุมมองใหม่ของสุขภาพ
• ไม่เจ็บป่วยหากไม่จาเป็นต้องป่วย
• หากเจ็บป่วยต้องได้รับการรักษาตามความจาเป็น
• ไม่พิการหากไม่จาเป็นต้องพิการ
• หากต้องพิการก็ให้พิการน้อยที่สุด
• เมื่อพิการต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ
• ไม่เสียชีวิตหากไม่จาเป็นต้องเสียชีวิต
สุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชน สุขภาพได้รับการยอมรับให้เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ รัฐมี
หน้าที่ดาเนินการเพื่อสร้างความมั่นคงทางสุขภาพให้แก่ประชาชน ๖ ประการ คือ
มุมมองใหม่ของสุขภาพ
• ขอบเขตของสุขภาพยังไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะเรื่อง
• สาธารณสุข แต่เชื่อมโยงไปสู่ประเด็นทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อและ
ค่านิยมของสังคม หรือแม้แต่การปกครองด้วย
ความกว้างขวางของกรอบนิยามสุขภาพ สุขภาพไม่ได้จากัดอยู่เพียงเรื่องการรักษาพยาบาล
เท่านั้น แต่ครอบคลุมการป้ องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟู
สมรรถภาพ
• แนวโน้มคุณภาพ การทางานที่มีคุณภาพทวีความสาคัญมากยิ่งขึ้น ไม่เว้นแต่คุณภาพในระบบ
สุขภาพ คุณภาพเชื่อมโยงกับมาตรฐาน จริยธรรม การตอบสนองความต้องการอันนาไปสู่ความพึง
พอใจ
• การใช้ความรู้เป็นฐาน การตัดสินใจเลือกนโยบาย การวางแผน หรือแม้แต่
• การปฏิบัติต่าง ๆ ในวิชาชีพหรือระบบงานที่เกี่ยวข้องล้วนมีแนวโน้มที่จะต้องใช้ความรู้เป็นฐาน
มากขึ้น เมื่อมีการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ เกี่ยวกับสุขภาพ ขอบเขตนิยามความหมายของสุขภาพ
และปัจจัยกาหนดสุขภาพก็จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
• ระบบการเงินเพื่อสุขภาพ การยกระดับและรักษาสุขภาพมีต้นทุนค่าใช้จ่าย
• เรื่องระบบการเงินเพื่อสุขภาพเข้าไปเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ประสิทธิภาพของการใช้และ
ความจากัดของทรัพยากร ความเสมอภาคและความเป็นธรรมของสังคมในการรับภาระทางสุขภาพ
ที่เกิดขึ้นกับคนในสังคม นาไปสู่เรื่องกลไกในการกระจายความเสี่ยง เช่น การประกันสุขภาพ
มุมมองใหม่ของสุขภาพ
• อุตสาหกรรมสุขภาพและธุรกิจสุขภาพ สุขภาพกลายเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น
กิจการทางอุตสาหกรรมและบริการต่าง ๆ เข้ามาเชื่อมโยงกับเรื่องสุขภาพในทาง
ธุรกิจมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการผลิตยาและเวชภัณฑ์ การบริการรักษาพยาบาล
อาหาร การออกกาลังกายและส่งเสริมสุขภาพรูปแบบต่าง ๆ ตลอดจนประเด็นด้าน
การค้าระหว่างประเทศ ทาให้ระบบสุขภาพส่วนหนึ่งกลายเป็นธุรกิจสุขภาพที่มีกาไร
ในรูปของตัวเงินเป็นแรงจูงใจ ซึ่งมีโอกาสบิดเบือนพัฒนาการของระบบไปจาก
สุขภาพของบุคคลและสาธารณะตามที่ควรจะเป็นได้
มุมมองใหม่ของสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ปรัชญาพื้นฐานในกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ
20
• เสมอภาคในระดับของสุขภาพ
การเข้าถึง และภาระค่าใช้จ่าย
• เน้นให้ทุกภาคส่วนในสังคมมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาระบบ
สุขภาพ
• เน้นกาหนดนโยบายเพื่อ
ส่งเสริมสุขภาพ
• มุ่งสร้างระบบบริการที่ดูแลเป็ น
องค์รวม กาย จิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณ
ความ
เป็ นองค์
รวม
การมี
ส่วนร่วม
ความ
เสมอ
ภาค
นโยบาย
สาธารณะ
ปรัชญาพื้นฐาน คือ แนวคิดหลักของกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ กาหนดปรัชญาพื้นฐานภายใต้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ 8 ประการ
ปรัชญาพื้นฐานในกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ
21
• พัฒนาการดูแลสุขภาพของ
ตนเองของประชาชน
• พัฒนาให้ผู้บริโภคมีความ
เข้มแข็ง เลือกใช้ผลิตภัณฑ์
ได้อย่างถูกต้อง
• มุ่งพัฒนามาตรฐานการ
บริการ
• เลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธ์ทาง
สุขภาพสูงสุด
ประสิทธิ
ภาพ
คุณภาพ
การ
พึ่งตนเอง
พัฒนา
ศักยภาพ
ผู้บริโภค
ปรัชญาพื้นฐาน คือ แนวคิดหลักของกระบวนทัศน์ใหม่ของระบบสุขภาพ กาหนดปรัชญาพื้นฐานภายใต้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ 8 ประการ
ระบบบริการสุขภาพของไทยในปัจจุบัน
•ระบบบริการสุขภาพของไทยปัจจุบัน เป็นระบบบริการสุขภาพแบบสวัสดิการ
•มีโครงสร้างของระบบบริการสาธารณสุขครอบคลุมทุกระดับ (จังหวัด-หมู่บ้าน)
•ให้การบริการสาธารณสุขในลักษณะผสมผสาน (Integrated Health
Service
•มุ่งเน้นเป้ าหมายในการจัดระบบบริการคุณภาพ
•ให้ความสาคัญกับประชาชนจะได้รับบริการสุขภาพอย่างเสมอภาค (Equity)
ตามความจาเป็ นด้านสุขภาพอนามัยโดยเสียค่าใช้จ่ายตามความสามารถที่ช่วย
ได้
•การบริการของเอกชนจะกระจายไปตามศักยภาพของเศรษฐกิจในพื้นที่ต่างๆ
การพัฒนานโยบายสุขภาพระดับโลก
•ในระดับโลกได้มีการพัฒนานโยบายจากการมุ่งที่การขยายสถานบริการสุขภาพ
การควบคุมป้ องกันโรค มาสู่การสร้างสุขภาพในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา
•ยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพตามกฎบัตรออตตาวา
• การสร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพโดยเฉพาะในระดับท้องถิ่น
• การสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพชุมชน
• การเสริมสร้างชุมชนสุขภาพดี
• การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลที่จาเป็นเพื่อการมีสุขภาพดี
• ปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบระบบสุขภาพของไทย
สิทธิและการคุ้มครองสิทธิด้านสุขภาพ
สภาพแวดล้อมด้านสุขภาพ
ระบบเฝ้ าระวังคุ้มครองและป้ องกันโรค
ระบบสร้างเสริมสุขภาพ
ระบบสุขภาพชุมชน
ระบบบริการสุขภาพ
การ
อภิบาล
ระบบ
ระบบ
การเงิน
การคลัง
ระบบ
กาลังค
น
องค์ประกอบหลักของระบบบริการสุขภาพ
แบบแผนการให้บริการสุขภาพ
การเงินการคลังสาธารณสุข
การบริหารจัดการ
โครงสร้างองค์การ
ทรัพยากรสาธารสุข
ระบบบริการสุขภาพ
Health Care System
องค์ประกอบส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพ
กิจกรรมต่างๆ ที่นาไปสู่การบริการสุขภาพต่างๆ
ทั้งในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้ องกันโรค การรักษาพยาบาลและ
การฟื้ นฟูสุขภาพแก่ประชาชนหรือสาธารณะ
กาลังคนสุขภาพ
Manpower
• แพทย์
• ทันตแพทย์
โครงสร้างพื้นฐาน
(Health facility
• จานวนเตียง
• สถานบริการสาธารณสุข
เครื่องมือและวัดสุอุปกรณ์
Equipment and
supply
• อุปกรณ์
• เครื่องมือทางการแพทย์
ทรัพยากรสาธารณสุข
ระบบประกันสุขภาพที่ครอบคลุมประชากรทุกคน โดยการเฉลี่ยจ่ายล่วงหน้า (Prepayment
System) ตามสัดส่วนรายได้ถือเป็นมาตรการสาคัญ
การเงินการคลังสาธารณสุข
เป้ าประสงค์ของระบบบริการสุขภาพที่ดี คือ ความเป็ นธรรมในการร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ
ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพของประชาชน • งบประมาณแผ่นดิน
• นายจ้าง
• องค์กรอาสาสมัคร
• ชุมชนท้องถิ่น
• การช่วยเหลือจาก
ต่างประเทศ
• ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน
• อื่นๆ
ค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพ ควรเฉลี่ยไปตามความสามารถของบุคคล
“คนดีช่วยคนป่ วย คนรวยช่วยคนจน”
การบริหารจัดการที่ดี : Good
Governance
บทบาทของรัฐในการบริหารจัดการบริการ
สุขภาพ
-กาหนดนโยบายสาธารณสุขและวิสัยทัศน์ที่ให้ทุกส่วนในระบบ
มีความเข้าใจและสร้างเสริมพลังช่วยกันไปในทิศทางเดียวกัน
ทาให้ระบบบริการสุขภาพบรรลุเป้ าประสงค์
การบริหารจัดการ -การมีสุขภาพดี
-เกิดความเป็นธรรม
-เกิดความพึงพอใจ
-ควบคุมการปฏิบัติการและออกกฎหมาย ข้อบังคับต่างๆ
-การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการบริหารที่มีคุณภาพ
รูปแบบการให้บริการสุขภาพ
(Delivery of Health Service)
•การให้ความสาคัญกับบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพ
•รูปแบบการให้บริการในลักษณะสาธารณสุขมูลฐาน
•การบริการสุขภาพเพื่อครอบครัว
•การบริการผู้ป่วยซ้าซ้อน
•ระบบการส่งต่อ
•ระบบการให้บริการเฉพาะกลุ่มประชากร
30
Primary care
(1˚ care)
การพัฒนาระบบสุขภาพแบบเครือข่าย
ท้องถิ่น ชุมชน ครอบครัว ตนเอง
Secondary care
(2˚ care)
Tertiary care
(3˚ care)
ปฐมภูมิ : 10,000 คน
ทุติยภูมิ ระดับ 3 : 200,000
คน
ทุติยภูมิ ระดับ 2 : 80,000
คน
ทุติยภูมิ ระดับ 1 : 3-5 หมื่น
คน
Excellent
Center
ตติยภูมิ : 1,000,000
คน
2,000,000 คน
บริการระดับต้นที่ประชาชน
ชุมชน ครอบครัว และท้องถิ่น
สามารถดาเนินการได้ด้วย
ตนเอง
•บริการระดับสูงต้องคุ้มค่าต่อการลงทุน
•ความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง
•เครือข่ายการบริการและการส่งต่อผู้ป่วย
หลักการ
•ประกันคุณภาพ
•ประกันราคา
•เข้าถึงบริการ
แพทย์ปฐมภูมิและทุติยภูมิระดับต้น 1:10,000 GP:SP = 40:60 ชาตรี บานชื่น, 2550
การออกแบบองค์การ คือ อะไร
การพัฒนาหรือการปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์การ
Work
specializationDepartmentalizati
on Chain of
command
Span of control
Centralization VS
Decentralization
Formalization
What is “Decentralization”?
•Decentralization is the process of dispersing
decision-making governance closer to the
people and/or citizens. It includes the
dispersal of administration or governance in
sectors or areas like engineering,
management science , political science,
political economy, sociology and economics.
Decentralization is also possible in the
dispersal of population and employment.
Administrative decentralization
Deconcentra
tion
Devolution
Delegation
Deconcentration is the weakest form of decentralization and is used most frequently in
unitary states—redistributes decision making authority and financial and management
responsibilities among different levels of the national government. It can merely shift
responsibilities from central government officials in the capital city to those working in
regions, provinces or districts, or it can create strong field administration or local
administrative capacity under the supervision of central government ministries.
Delegation is a more extensive form of decentralization. Through delegation central governments
transfer responsibility for decision-making and administration of public functions to semi-autonomous
organizations not wholly controlled by the central government, but ultimately accountable to it.
Governments delegate responsibilities when they create public enterprises or corporations, housing
authorities, transportation authorities, special service districts, semi-autonomous school districts,
regional development corporations, or special project implementation units. Usually these
organizations have a great deal of discretion in decision-making. They may be exempted from
constraints on regular civil service personnel and may be able to charge users directly for services.
Devolution is an administrative type of decentralisation. When governments devolve functions, they
transfer authority for decision-making, finance, and management to quasi-autonomous units of local
government with corporate status. Devolution usually transfers responsibilities for services to local
governments that elect their own elected functionaries and councils, raise their own revenues, and
have independent authority to make investment decisions. In a devolved system, local governments
have clear and legally recognized geographical boundaries over which they exercise authority and
within which they perform public functions. Administrative decentralization always underlies most
cases of political decentralization.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service
plan)
•การให้การบริการสุขภาพทั้ง 3 ระดับประสานกันทั้งทางด้านโครงสร้าง
บุคลากร และคุณภาพการบริการ
•สถานบริการสุขภาพมีศักยภาพที่จะรองรับความท้าทาย และบริบทที่
เปลี่ยนแปลงในอนาคต รวมทั้งความซับซ้อนในระดับพื้นที่
•การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลด้วยระบบการส่งต่อ
(Referral system)
เครือข่ายบริการไร้รอยต่อ (Seamless health service
network)1st level referral
hospital
เครือข่ายบริการทุติยภูมิที่รับส่งต่อผู้ป่วยจากเครือข่ายบริการปฐม
ภูมิ
โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ (F1)
โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง (F2)
โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก (F3)
Mid-level referral
hospital
รับส่งต่อจากเครือข่ายบริการทุกติภูมิ
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็ก (M1)
โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย (M2)
High-level referral
hospital
โรงพยาบาลทั่วไปขนาดใหญ่ (S)
โรงพยาบาลศูนย์ (A)
รพศ.
รพท.
รพท.ขนาดเล็ก
รพช.ขนาดใหญ่
เครือข่ายบริการทุติยภูมิ
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง (Excellence center)
หัวใจและหลอด
เลือด
มะเร็ง อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ทารกแรกเกิด
A
S
M
1
M
2
F1
-3
Referralsystem
ระดับสูง
เน้นการส่งต่อ
การดูแลระดับจังหวัด
• รพ.ส่งเสริมสุขภาพตาบล 8750+1000 แห่ง
• ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง 266 แห่ง
F1: รพช. ขนาดใหญ่ 60-120 เตียง 91 แห่ง
F2: รพช. ขนาดกลาง 30-90 เตียง ไม่มี พ.เฉพาะทาง 518
แห่ง
F3:รพช. ขนาดเล็ก 10 เตียง 35 แห่ง
M2: รพช. ขนาด 120 เตียงขึ้นไป มีแพทย์เฉพาะทางครบ 6
สาขาหลัก 35 แห่ง)
M1: รพท. 35 แห่ง
S: รพท. มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อย
บางสาขา 48 แห่ง
A: รพศ. มีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาหลัก สาขารอง และสาขาย่อย
ทุกสาขา 33 แห่ง
การสาธารณสุขมูลฐานชุมชน
ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง 226 แห่ง
• มีประชากรในความรับผิดชอบไม่เกิน 30,000 คนต่อแห่ง
• มีขีดความสามารถด้านเวชปฏิบัติทั่วไป ทันตกรรม เภสัชกรรม ชันสูตรโรค กายภาพบาบัด หรือ
กิจกรรมบาบัด และการแพทย์แผนไทยหรือแพทย์ทางเลือก สามารถตรวจรักษาผู้ป่วยนอกทั่วไป เพื่อลด
ความแออัดในโรงพยาบาลเป็นวัตถุประสงค์หลัก
• มีงานบริการเวชปฏิบัติครอบครัว และงานพัฒนาสุขภาพชุมชน
• มีบุคลากรประจาศูนย์ที่มีความพร้อม ได้แก่ แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปหรือแพทย์เวชปฏิบัติครอบครัว ทันต
แพทย์เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักเทคนิคการแพทย์ นักกายภาพบาบัด หรือนักกิจกรรมบาบัด นักวิชาการ
สาธารณสุขเป็นต้น ระยะแรกของการดาเนินการอาจใช้แพทย์พยาบาลและ
บุคลากรหมุนเวียนจากโรงพยาบาลหลัก แต่ต่อไปควรจัดหาบุคลากรให้
สามารถดาเนินงานด้วยตนเองได
กาลังคนด้านสุขภาพช่องปากภาครัฐ
อัตรากาลังทันตแพทย์ในศูนย์ความเชี่ยวชาญ
ศูนย์หัวใจและหลอด
เลือด
ศูนย์มะเร็ง ศูนย์อุบัติเหตุ ศูนย์ทารกแรกเกิด
Min Max Min Max Min Max Min Max
จานวนทันต
แพทย์
1 1 1 1 3 3 1 1
อัตรากาลังทันตแพทย์ใน รพศ. และ รพท.
รพศ. A รพท. ขนาดใหญ่ (S) รพท. ขนาดเล็ก (M1)
Min Max Min Max Min Max
จานวนทันตแพทย์ 15 30 8 15 6 12
เจ้าพนักงานทันต
สาธารณสุข
4 8 4 8 4 8
ผู้ช่วยทันตแพทย์ 1.5 ต่อ 1 1.5 ต่อ 1 1.5 ต่อ 1
กาลังคนด้านสุขภาพช่องปากภาครัฐ
อัตรากาลังทันตแพทย์ รพช. ขนาดเล็กและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
รพช. ขนาดเล็ก (F3) ศูนย์การแพทย์ชุมชนเมือง รพ.สต.
Min Max Min Max Min Max
จานวนทันตแพทย์ 2 5 0 1 0 0
เจ้าพนักงานทันต
สาธารณสุข
2 4 1 2 1 1
อัตรากาลังทันตแพทย์ใน รพช.
รพช. แม่ข่าย (M2) รพช. ขนาดใหญ่ (F1) รพช. ขนาดกลาง (F2)
Min Max Min Max Min Max
จานวนทันตแพทย์ 4 10 4 8 3 6
เจ้าพนักงานทันต
สาธารณสุข
3 6 3 6 2 4
ผู้ช่วยทันตแพทย์ 1.5 ต่อ 1 1.5 ต่อ 1 1.5 ต่อ 1
โครงสร้างระบบบริการสุขภาพช่องปากของไทย
• หน่วยบริการสุขภาพช่องปากในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
• โรงพยาบาลศูนย์ (25)/โรงพยาบาลทั่วไป (70)
• โรงพยาบาลชุมชน (725)
• โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน/สถานีอนามัย(เดิม) (9,762)
• สถาบันร่วม
• โรงพยาบาลเอกชนและคลินิกเอกชน
• สถานพยาบาลในสังกัดหน่วยงานอื่นของรัฐ
• กระทรวงกลาโหม
• องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
• สถานพยาบาลในมหาวิทยาลัย
การกระจายของทันตแพทย์ไทย
พื้นที่
โรงพยาบาล คลินิกทันตกรรมเอกชน
จานวน ร้อยละ จานวน ทพ. ร้อยละ ทพ. จานวน ร้อยละ จานวน ทพ. ร้อยละ ทพ.
กรุงเทพมหานคร 20 2.4 365 12.9 1075 43.4 3300 77.1
ส่วนภูมิภาค 820 97.6 247 87.1 1400 56.6 980 22.9
รวม 840 100.0 2836 100.0 2475 100.0 4280 100.0
สถานการณ์การกระจายของทันตแพทย์ไทย
สถานการณ์การกระจายของทันตแพทย์ไทย
บุคลากรที่เกี่ยวข้องในระบบบริการสุขภาพช่องปาก
•ทันตแพทย์ (Dentists)
•ทันตาภิบาล (Dental therapists)
•ผู้ช่วยทันตแพทย์ (Dental assistants)
•ทันตานามัย (Dental nurse)*
บทบาทของทันตาภิบาลไทย
งานทันตกรรมป้ องกัน
•การใช้ฟลูโอไรด์
•การเคลือบหลุมร่องฟัน
•การขูดหินน้าลาย และทาความ
สะอาดฟัน
งานทันตกรรมบาบัดฉุกเฉิน
•การบาบัดเบื้องต้นเพื่อลดความ
เจ็บปวด การกรอเพื่อระบายหนอง
•การช่วยเหลือผู้ป่ วยเบื้องต้น ก่อน
และหลังการรักษาทางทันตกรรม
•การคัดแยกโรคและส่งต่อผู้ป่ วย
ทางทันตกรรม
งานทันตกรรมบาบัด
•การตรวจวินิจฉัย คัดแยกโรคใน
ช่องปาก
•การอุดฟันชนิดไม่ซับซ้อนด้วยวัสดุ
อุดฟัน
•การถอนฟันที่ขึ้นปกติที่ไม่สามารถ
เก็บไว้ได้และไม่มีภาวะแทรกซ้อน
บริการทันตกรรมปฐมภูมิโดยไม่จากัดกลุ่มอายุ
กระทรวงสาธารณสุข, 2539
Concept of human resource
management
องค์กรจะประสบความสาเร็จไม่ได้ หากปราศจาก
ความสนใจในการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
เพื่อให้บุคลากรมีความรู้และทักษะที่เหมาะสม นา
และจูงใจให้เกิดความพอใจต่อองค์กร
ศ.นพ.ธีระ รามสูต, 2549
High-performance work
practices
• Self-directed team work
• Job rotation
• High level of skills training
• Problem-solving groups
• Total quality management
procedures and processes
• Encouragement of
innovative and creative
behavior
• Extensive employee
involvement and training
• Implementation of
employee suggestions
• Contingent pay based on
performance
• Coaching and mentoring
• Significant amounts of
information staring
• Use of employee attitude
surveys
• Cross-functional integration
• Comprehensive employee
recruitment and selection
procedures
Human resource management
; HRM
The HRM Process
Human
resource
planning
Recruitment
Decruitment
Training
Compensation
and
Benefits
Selection
Identification and Selection of
Competent Employees
Orientation
Performance
Management
Career
Development
Adapted and competent
employees with up-to-date skills
and knowledge
Competent and high-performing employees who
are capable of sustaining high performance over
the long term
Environment
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (HRM) คือ...
•กระบวนการที่ผู้บริหาร ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวกับงานบุคลากร และ/หรือบุคคลที่
ต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับบุคลากรขององค์กร ร่วมกันใช้ความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ในการสรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคคลที่มีคุณสมบัติ
เหมาะสมให้เข้าปฏิบัติงานในองค์การ พร้อมทั้งดาเนินการธารงรักษาและ
พัฒนาบุคลากรขององค์การที่มีศักยภาพที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน และ
มีคุณภาพชีวิตการทางาน (Quality of work life; QWL) ที่
เหมาะสม ตลอดจนเสริมสร้างหลักประกันให้แก่สมาชิกที่ต้องพ้นจากการ
ร่วมงานกับองค์การให้สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข
กิจกรรมการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ก่อนเข้าร่วมงาน ขณะปฏิบัติงาน หลังเข้าร่วมงาน
•การวางแผน
•การสรรหา
•การคัดเลือก
•การจูงใจให้ร่วมงาน
•ธารงรักษาให้สมาชิกขององค์การ
มีคุณภาพชีิวิตการทางานที่ดี มี
ความเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ
•การจ่ายผลตอบแทนที่เหมาะสม
และยุติธรรม
•การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
(HRD)
•สวัสดิการ การสร้างสุขอนามัย
•การสร้างความก้าวหน้าในอาชีพ
•บาเหน็จ
•บานาญ
•ทุนสารองเลี้ยงชีพ
•เงินทดแทน
•ผลตอบแทนอื่นๆ
Human resource planning
Current assessment
•Human resource inventory survey
•Job analysis
•Job description
•Job specification
Knowing the job
Job analysis
Job specification
A statement of the human
qualifications necessary to do
the job. Usually contains such
items as:
•Education
•Experience
•Training
•Judgement
•Initiative
•Physical effort
•Physical skills
•Respomsibilities
•Communication skills
•Emotional characteristics
Job Description
A statement containing items
as:
•Job title
•Location
•Job summary
•Duties
•Machine, tools, quipment
•Materials and forms used
•Supervision given or recieved
•Working conditions
•Hazards
Future human resource needs
Understaffed
VS
Overstaff
Recruitment VS Decruitment
Knowing the source
of human resources
Sources inside the
organization
Sources outside
the organization
•Management inventory card
•The position replacement form
•Management manpower
replacement chart
•Competitors
•Employment agency
•Publications
•Educational institute
Knowing the law
•หลักสิทธิมนุษยชน
•พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
•กฏกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
•การว่าจ้าง
•การเลิกจ้าง
•การไล่ออก
•การกระทาที่เป็นธรรม
Source Advantage Disadvantage
Internal search
Low cost, build
employee morale,
candidates are similar
with organization
Limited supply, may not
increase proportion of
employees from
protected group
Advertisements Wide distribution
Generates many
unqualified candidates
Employee referrals
Knowledge about the
organization provided by
current employees
May not increases the
diversity and mix of
employees
Public employment
agencies
Free or nominal cost
Candidates tend to be
unskilled or minimally
trained
Private employment
agencies
Wide contact, careful
screening
High cost
School placement
Large, centralized body
of candidates
Limited to entry-level
positions
Decruitment options
Option Description
Firing
Permanent involuntary termination
Layoffs
Temporary involuntary termination; may last only a few days or extend to
years
Attrition
No filling opening created by voluntary resignations or normal retirements
Transfer
Moving employees either laterally or downward; usually does not reduce
costs but can reduce intraorganizational supply-demand imbalances
Reduced workweeks
Having employees work fewer hours per week, share jobs, or perform their
jobs on a part-time basis.
Early retirement
Providing incentives to older and more senior employees for retiring before
their normal retirement date.
Job sharing
Having employees share one full-time position.
Selection
Employee
Available potential
personnel
from inside or outside
company
Rejection
of
potential
employe
es
•Preliminary screening
from records, data sheets,
etc.
•Preliminary interview
•Intelligence tests
•Aptitude tests
•Personality tests
•Performances references
•Diagnostic interview
•Physical examination
•Personal judgement
Stages of the selection
process
educational and
performance record
•Obvious misfit from
outward appearance and
conduct
•Failure to meet minimum
standards
•Failure to have minimum
necessary aptitude
•Negative aspect of
personality
•Unfavorable or negative
reports on past
performance
•Lack of necessary innate
ability, ambition, or other
qualities
•Physically unfit for job
•Remaining candidate
Reasons for
elimination
Selection Decision Devices &
Outcomes
Selection devices
Position
Senior
Manager
Lower
management
Complex non-
management
Routine work
Application form 2 2 2 2
Written tests 1 1 2 3
Work samples - - 4 4
Assessment
center
5 5 - -
Interview 4 3 2 2
Verification of
application data 3 3 3 3
Reference checks 1 1 1 1
Physical exam 1 1 1 2
Accept Reject
Successful
Correct
decision
Reject error
Unsuccessful Accept error
Correct
decision
Selection decision
Orientation
Work unit orientation
Job specification
Head of work unit
Colleague
Goal
Standard operating procedure
Organization orientation
Vision & Mission
Organization philosophy
Organization culture
Regulation and rule
Human resource policy
Benefits and compensations
Employee training
Determining training needs
1
Design the training program
2
Administering the training program
•Lectures
•Programmed learning
•On the job training
•Coaching
•Class room technique
3
Evaluating the training program
•Rating scale
•Employee comparison
•Free-form essay
•Critical-form essay
4
•ข้อมูลหรือทักษะ สาระต่างๆ ของ
บุคคลหรือกลุ่มคนที่ต้องการพัฒนา
เพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตของแต่ละ
คนหรือกลุ่ม
Employee performance management
Method Advantage Disadvantage
Written essay Simple to use
More a measure of evaluator’s writing
ability than of employee’s actual
performance
Critical incidents Rich examples; behavioral based Time-consuming lack quantification
Graphic rating scales
Provide quantitative data; less time-
consuming than others
Do not provide depth of job behavior
assessed
BARs
Focus on specific and measurable job
behavior
Time-consuming; difficult to develop
Multiperson comparisons Compare employees with one another Unwieldy with large number of employees
MBO Focus on ended goals; results oriented Time-consuming
360 degree appraisal Thorough Time-consuming
Compensation and Benefits
Level of
compensation
and benefits
Employee’s tenure
and performance
Kind of job
performed
Kind of business
Unionization
Labor or capital
intensive
Management
philosophy
Geographic location
Company
profitability
Size of company
What industry is job in?
Is business unionization
Is business labor or
capital intensive?
What is management’s
philosophy toward pay?
Where is organization
located?
How profitable is the
company?
How large is the
company?
Does job require high
level of skill?
How long has employee
been with company and
how has he or she
performed
Career development
•การพัฒนาอาชีพ
•การกาหนดเส้นทางในการทางานของพนักงาน
•การฝึกอบรม สัมมนา การพัฒนาความรู้ ความสามารถ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจ้างงาน
•พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
•15 หมวด 166 มาตรา
•พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551
•พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551
Human resources in dental
clinicReceptionist
Register
Chairside dental
assistant
Dental hygienist
Cashier
Laboratory technician
Business assistant -
Sale and marketer
Nurse
Design the HRM in term below
Job analysis
Employee training program
Performance appraisals
Benefits and compensation
Group discussion for approximate 15
minutes and present for 5 minutes

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์Gawewat Dechaapinun
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขUtai Sukviwatsirikul
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 

Mais procurados (20)

การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุแนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
แนวทางการดูแลรักษากลุ่มอาการสูงอายุ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 

Semelhante a ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ

2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)Watcharin Chongkonsatit
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาtassanee chaicharoen
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotionFreelance
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11wichien wongwan
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53Yumisnow Manoratch
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองDa Arsisa
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองDa Arsisa
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์kawpod
 

Semelhante a ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ (20)

2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
 
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรสุขศึกษาและพลศึกษา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotion
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
Theoryorem
TheoryoremTheoryorem
Theoryorem
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
จุดประกายการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ การสร้างเสริมสุขภาพรร.เอเชียแอพอร์ท28มีค 53
 
Aseanjob
AseanjobAseanjob
Aseanjob
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 

Mais de WC Triumph

2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
 
2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision making2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision makingWC Triumph
 
2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introduction2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introductionWC Triumph
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWC Triumph
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWC Triumph
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพWC Triumph
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 

Mais de WC Triumph (7)

2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
 
2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision making2015 lesson 2 planning and decision making
2015 lesson 2 planning and decision making
 
2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introduction2015 lesson 0 an introduction
2015 lesson 0 an introduction
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 

ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ