SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 33
Baixar para ler offline
Cassini’s Grand Finale
Giovanni Domenico Cassini (Jean-Dominique Cassini, 1625-1712)
ชาวอิตาเลียน ต่อมาแปลงสัญชาติเป็นฝรั่งเศส
ค้นพบจุดแดงใหญ่บนดาวพฤหัสบดี
ค้นพบช่องว่างในวงแหวนของดาวเสาร์ (ช่องแบ่งแคสสินี)
พบว่าดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์หมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วต่างกันที่ละติจูดต่างกัน
Christiaan Huygens (1629-1695)
ชาวดัตช์
ค้นพบดวงจันทร์ไทแทน
คนแรกที่อธิบายได้อย่างถูกต้องว่าสิ่งที่อยู่ข้างๆ ดาวเสาร์เป็นวงแหวน
a a a a a a a c c c c d e e e e e h I I I I I I I l l l l m m n n n n n n n n n o o o o o p p q r r s t t t t t u u u u u
‘ANNULO CINGITUR TENUI, PLANO, NUSQUAM COHAERENTE AD ECLIPTICAM INCLINATO’
‘it is surrounded by a ring, thin and flat, never touching, oblique in relation to the ecliptic’
แรงบันดาลใจจากการสารวจระบบสุริยะรอบนอก
Voyager
Pioneer
ข้อเสนอยานสารวจดาวเสาร์กับดวงจันทร์ไททัน ในปี 1982 ของนักวิทยาศาสตร์
ยุโรปในคณะทางานของ European Science Foundation กับ
American National Academy of Sciences
เป็นโครงการร่วมระหว่างสหรัฐกับยุโรปมาตั้งแต่ต้น
Cassini – JPL
Huygens – ESA
อุปกรณ์
รับรู้ระยะไกลด้วยแสง – กล้องถ่ายรูป สเปกโทรกราฟ
จับสนามแม่เหล็ก อนุภาค และคลื่น – สเปกโทรมิเตอร์ แมกนิโทมิเตอร์
รับรู้ระยะไกลด้วยไมโครเวฟ – เรดาร์
เชื้อเพลิง
ไฮดราซีน ขับเคลื่อนจรวด (ส่งขึ้นด้วยเชื้อเพลิง 2,978 กก. เหลืออยู่ไม่ถึง
30 กก.)
พลูโตเนียม-238 ในเครื่องกาเนิดไฟฟ้าพลังความร้อนจากไอโซโทป
กัมมันตรังสี (RTG)
ดาวยักษ์แก๊ส
ลาดับที่ 6
1,429 ล้าน กม. (9.5 AU)
ใหญ่เป็นที่ 2
รัศมี 58,232 กม.
หมุนเร็วเฉลี่ย 10.7 ชม.
ดวงจันทร์ 62 ดวง
วงแหวนหนาเฉลี่ย 20 เมตร ดาวเสาร์ ถ่ายเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2016
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ส่งขึ้น
15 ตุลาคม 1997 (2540)
บินเฉียดดาวศุกร์
26 เมษายน 1998 – ใกล้สุดที่ 234 กม.
24 มิถุนายน 1999 – ใกล้สุดที่ 600 กม.
บินเฉียดโลก
18 สิงหาคม 1999 – ใกล้สุดที่ 1,171 กม.
(สถานีอวกาศอยู่ที่ 408 กม., วงโคจรค้างฟ้า 35,786 กม.)
บินเฉียดดาวพฤหัสบดี
30 ธันวาคม 2000 – ใกล้สุดที่ 10 ล้าน กม.
GRAVITY ASSIST
ก่อนถึง
18 พฤษภาคม 2004 เข้าสู่เขตความโน้มถ่วงของดาวเสาร์
11 มิถุนายน 2004 ถ่ายรูปดวงจันทร์ฟีบี
ไปถึง
1 กรกฎาคม 2004 ข้ามระนาบวงแหวนระหว่างวงแหวน F กับ G
ดาวเสาร์เพิ่งผ่านเหมายันต์
ปล่อยยานไฮเกนส์
24 ธันวาคม 2004
ลงจอด 14 มกราคม 2005 – ใช้เวลาลงจอด 2 ชั่วโมง
การลงจอดยืนยันจากเสียงเรดาร์
ว่าลงจอดบนพื้นแข็ง ไม่ได้ลอยน้า
ดวงจันทร์ฟีบี
ยานไฮเกนส์
พบบรรยากาศบนดวงจันทร์เอนเซลาดัส
พบดวงจันทร์แดฟนิสในช่องว่างคีลเลอร์ ในวงแหวน A
ภาพระยะใกล้ของดวงจันทร์เอนเซลาดัส
เริ่มขึ้นต่อจากการสิ้นสุดของภารกิจหลัก
เมื่อ 28 พฤษภาคม 2008 (2551)
ชื่อ ภารกิจวิษุวัตแคสสินี
(Cassini Equinox Mission)
เพื่อสังเกตวิษุวัตของดาวเสาร์ เมื่อแสงอาทิตย์ส่องตั้งฉาก
กับเส้นศูนย์สูตร สิงหาคม 2009
บินผ่านละอองไกเซอร์ของดวงจันทร์เอนเซลาดัส
บินเฉียดดวงจันทร์ต่างๆ
ขอบวงแหวน B กับช่องว่างแคสสินี มีน้าแข็งกองสูง 2.5 กม.
บนวงแหวนที่หนาเฉลี่ย 10 เมตร เมื่อ 26 กรกฎาคม 2009
ภารกิจถูกวางแผนไว้แล้ว เนื่องจากเชื้อเพลิงจรวดยังเหลือ
เริ่มขึ้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2010 (2553)
ถึงพฤษภาคม 2017 เมื่อครีสมายันดาวเสาร์เพิ่งผ่านพ้น
จึงได้ชื่อ ภารกิจอายันแคสสินี (Cassini Solstice Mission)
บินผ่านดวงจันทร์ไททัน 54 ครั้ง เอนเซลาดัส 11 ครั้ง ฯลฯ
ถ่ายภาพสุริยุปราคา
ถ่ายเมื่อ 19 กรกฎาคม 2013
http://saturn.jpl.nasa.gov/multimedia/images/saturn/images/IMG004916.jpg
ถ่ายเมื่อ 19 กรกฎาคม 2013
http://saturn.jpl.nasa.gov/multimedia/images/saturn/images/IMG004915.jpg
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
https://saturn.jpl.nasa.gov/resources/7393/
• เปิดเผยพิภพที่อาจมีชีวิตอุบัติ
• ดวงจันทร์เอนเซลาดัส
• ดวงจันทร์ไททัน
นักวิทยาศาสตร์ไม่เคยคิดว่า
พิภพเล็กๆ อย่างเอนเซลาดัส
จะมีของเหลว
หรือแม้แต่สารอินทรีย์
ดวงจันทร์ไททันเหมือนโลกก่อนเกิดชีวิต
ทะเลมีเทน
พายุฝน
ภูมิประเทศเกิดจากการกัดกร่อน
มหาสมุทรใต้พื้นผิว
บรรยากาศและเคมีก่อนเกิดชีวิตในโลก
https://youtu.be/svmGxFaGILY
ความเป็นแบบจาลองระบบสุริยะ
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในวงแหวน เป็นเหมือนระบบสุริยะขนาดย่อม
กระบวนการต่างๆ ปรากฏให้เห็นได้ชัดเจน
วงแหวน F ถูกดวงจันทร์โพรเมเทีย
สดึงดูดจนมีหยัก ไม่กลมเรียบ
ความยาวนานของภารกิจทาให้เห็นมากขึ้น
เวลา 13 ปี หรือ ครึ่งปีดาวเสาร์
จากหลังเหมายัน ผ่านวิษุวัต ถึงครีสมายัน
พายุใหญ่บนดาวเสาร์พัดไปรอบดาวอย่างรวดเร็วจนวนกลับไปทับเส้นทางตัวเอง
25 กุมภาพันธ์ 2011 เมื่อ 12 สัปดาห์หลังการเกิดพายุ
พายุฝนมีเทนบนดวงจันทร์ไททัน
ดวงจันทร์แต่ละดวงเป็นพิภพพิเศษ
วงแหวน E เกิดจากละอองน้าของดวงจันทร์เอนเซลาดัส
ดวงจันทร์ฟีบีมาจากระบบสุริยะชั้นนนอกเลยดาวเนปจูน ดวงจันทรเอียเพทัส มีรอยด่าง
เพราะฝุ่นจากดวงจันทร์ฟีบี
ดวงจันทร์ไฮเพียเรียนมีรูเพราะ
ความหนาแน่นต่า
จึงไม่แตกเมื่อถูกชน
ความพิสดารของวงแหวน
ดวงจันทร์สร้างวงแหวน
อุกกาบาตสร้างวงแหวน
วงแหวนสร้างดวงจันทร์
“กา” (spoke) ในบนวงแหวน
ภูมิลักษณ์รูปใบพัดบนวงแหวน
เชื่อว่าเป็นการจับตัวของวัตถุวงแหวน
ทานองเดียวกับการเกิดดาวเคราะห์
ในจานพอกพูนมวลรอบดาวฤกษ์
ดวงจันทร์แพน รัศมี 14 กม. อยู่ใกล้ดาวเสาร์ที่สุด
ในช่องแบ่งเองเคอ (Encke Gap) ของวงแหวน A
ละอองน้าจากไกเซอร์บนดวงจันทร์เอนเซลาดัสทาให้เกิดวงแหวน E
กา
บน
วงแหวน
การค้นพบโดยบังเอิญเปลี่ยนแนวคิดเรื่องระบบสุริยะ
ออกซิเจนในวงแหวน
ดวงจันทร์เอนเซลาดัส
ความไม่แน่นอนของวันดาวเสาร์ (10.6-10.8 ชม.)
ภูมิประเทศและบรรยากาศที่มีโมเลกุลอินทรีย์ของดวงจันทร์ไททัน
บุกเบิกการจัดการความซับซ้อนในอวกาศและโลก
นวัตกรรม
เครื่องบันทึกข้อมูลที่ไม่มีชิ้นส่วนเคลื่อนไหว ใช้แทนเท้ป
การใช้แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ไททันปรับแนวโคจรทาให้เดินทางได้ไกลกว่า
เชื้อเพลิงที่มีจะทาได้ เป็นต้นแบบของแนวโคจรของยาน Europa Clipper
การปรับใช้อุปกรณ์ที่มีสาหรับงานอื่น
ใช้เรดาร์วัดความลึกของทะเลบนดวงจันทร์ไททัน
วิเคราะห์ละอองไกเซอร์ของดวงจันทร์เอนเซลาดัสด้วยอุปกรณ์สาหรับบรรยากาศ
ดวงจันทร์ไททัน
ตลาดแลกเปลี่ยนทรัพยากรของโครงการ เป็นต้นแบบให้แก่การจัดการระดับ
นานาชาติ รวมถึงตลาดคาร์บอนที่ใช้ในการควบคุมแก๊สเรือนกระจก
ความงามอันยิ่งใหญ่ของดาวเสาร์
การโคจรรอบดาวเสาร์ 22 รอบสุดท้าย
เริ่มตั้งแต่วันที่ 22 เมษายน 2017
สิ้นสุดวันที่ 15 กันยายน 2017
แต่ละรอบโคจรใช้เวลา 6.5 วัน
เส้นทางโคจรเป็นเส้นทางที่ไม่เคยใช้
เนื่องจากเสี่ยงต่อความเสียหาย
คือลอดระหว่างวงแหวนด้านในสุด
กับบรรยากาศชั้นบนของดาวเสาร์
เพื่อศึกษาสนามแม่เหล็ก บรรยากาศดาวเสาร์ วัตถุวงแหวน
เชื้อเพลิงเหลือไม่ถึง 1% ของปริมาณตั้งต้น
22 เมษายน – 15 กันยายน
https://saturn.jpl.nasa.gov/resources/7624/
ไม่ส่งไปนอกระบบสุริยะเลย?
ไม่เอาเข้าวงโคจรรอบดาวเสาร์ถาวร?
กลัวจุลินทรีย์ปนเปื้อนดวงจันทร์ แล้วดาวเสาร์ล่ะ?
แล้วดวงจันทร์ไททันล่ะ มียานอยู่ทั้งลา?
การนาร่องต้องใช้ดาว?
เราไม่มีทางรู้ตาแหน่งที่แน่นอนของยานแคสซีนี? ต้องใช้ดาวด้วย?
เวลาที่คลื่นวิทยุจากดาวเสาร์จะส่งมาถึงโลกคือ 83 นาที (1 ชม. 23 นาที)
12 ก.ย.
(เวลาไทย)
เวลารับ
ข้อมูล
12:27 จุดห่างดาวเสาร์ที่สุด 1.3 ล ้าน กม.
06:56 (13) เริ่มส่งข ้อมูลชุดสุดท ้ายจากดวงจันทร์
ไททัน
08:19
14 ก.ย.
02:58 กาหนดเวลาสาหรับการถ่ายภาพครั้ง
สุดท ้ายด ้วยกล ้องบนยานแคสซีนี
03:22 ยานหันเสาอากาศมาทางโลก เริ่มการ
สื่อสารอย่างต่อเนื่อง (14.5 ชม.)
จนถึงวินาทีสุดท ้าย ข ้อมูลจาก
เครื่องวัดและกล ้องถ่ายรูปในอุปกรณ์
บันทึกถูกส่งกลับทั้งหมด
04:45
สถานีเครือข่ายอวกาศลึกที่กรุงแคน
เบอ์รา ออสเตรเลีย รับช่วงติดตาม
สัญญาณจากยานแคสซีนีจนจบ
ภารกิจ
22:15
15 ก.ย.
12:08 ยานแคสซีนีบินสูงเหนือดาวเสาร์ ข ้ามวงโคจร
ของดวงจันทร์เอนเซลาดัสเป็นครั้งสุดท ้าย
14:14 ยานแคสซีนีเริ่มหมุนตัว 5 นาทีเพื่อหันอุปกรณ์
INMS ที่ใช ้เก็บตัวอย่างบรรยากาศดาวเสาร์
พร ้อมปรับการจัดระบบเพื่อการส่งข ้อมูลตามเวลา
จริง ที่ 27 กิโลบิตต่อวินาที เริ่มการส่งข ้อมูลตาม
เวลาจริงเป็นครั้งสุดท ้าย
15:37
14:22 ยานแคสซีนีบินสูงเหนือดาวเสาร์ ข ้ามวงแหวน F
(วงนอกสุด) เป็นครั้งสุดท ้าย
17:31 เริ่มเข ้าสู่บรรยากาศดาวเสาร์ จรวดเปิดไอพ่นที่
10% ของวิสัยสามารถ
18:54
17:32 ไอพ่นทางาน 100% เสาอากาศอัตราขยายสูงเริ่ม
ไม่สามารถหันมาทางโลก สัญญาณถูกตัดขาด
18:55
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
https://saturn.jpl.nasa.gov/system/downloadable_items/943_cassini_final_plunge.mp4
Europa Clipper
ยานในโครงการ New Frontiers
สารวจบรรยากาศดาวเสาร์
สารวจดวงจันทร์ไททัน
สารวจดวงจันทร์เอนเซลาดัส
การสารวจดาวเคราะห์รอบนอกของระบบสุริยะอีกสองดวงที่เหลือ
ดาวยูเรนัส
ดาวเนปจูน
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์Wichai Likitponrak
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55yadanoknun
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์Jiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ narongsakday
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 

Mais procurados (19)

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1pageใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
ใบความรู้+การสำรวจอวกาศ และชีวิตในอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f08-1page
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
7.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs ดวงจันทร์ดาวเคาระห์
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)กาแลกซี (Galaxy)
กาแลกซี (Galaxy)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
อุณหภูมิและสีของดาวฤกษ์55
 
คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์คณิตกับดาราศาสตร์
คณิตกับดาราศาสตร์
 
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ บทที่ 3 ระบบสุริยะ
บทที่ 3 ระบบสุริยะ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

Semelhante a ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี

Semelhante a ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี (13)

ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์ดาวเคราะห์
ดาวเคราะห์
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
สอนๅๅ
สอนๅๅสอนๅๅ
สอนๅๅ
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 

Mais de Visanu Euarchukiati

6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palaceVisanu Euarchukiati
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562Visanu Euarchukiati
 
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดสิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดVisanu Euarchukiati
 
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดVisanu Euarchukiati
 
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดVisanu Euarchukiati
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมVisanu Euarchukiati
 
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีการใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีVisanu Euarchukiati
 
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีวิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีVisanu Euarchukiati
 
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015Visanu Euarchukiati
 
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงVisanu Euarchukiati
 
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCคู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCVisanu Euarchukiati
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังVisanu Euarchukiati
 

Mais de Visanu Euarchukiati (13)

6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562
 
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดสิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
 
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีการใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
 
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีวิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
 
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
 
Zooniverse
ZooniverseZooniverse
Zooniverse
 
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
 
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCคู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 

ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี