SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
การสื่อสารและการนาเสนอ(IS) 
เรื่อง การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่
วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างรายงาน 
1.เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 
2.เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริง ข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับการสร้างเขื่อนแม่วงก์ 
3.เพื่อพิสูจน์สมมติฐานที่ตั้งขึ้นมาว่าเป็นจริง 
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 
1.การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุน 
2.การสร้างเขื่อนแม่วงก์ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1.ได้ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 
2.ได้รับความเป็นจริงที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการสร้างเขื่อนแม่วงก์ 
3.สามารถนา ข้อมูลที่ค้นคว้ามา ไปใช้ประโยชน์ไนด้านอื่นๆ
ความเป็นมาของเขื่อนแม่วงก์ 
ในปี พ.ศ.2525 กรมชลประทานได้ริเริ่มโครงการเขื่อนแม่วงก์ ต่อมาปี พ.ศ.2537 มีมติในที่ประชุม 
คณะกรรมการนโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) มีความเห็นให้กรมชลประทานศึกษา 
เปรียบเทียบผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมบริเวณเขาชนกัน เนื่องจากให้ผลตอบแทนสูงกว่าเขาสบกก 
และปี พ.ศ.2540 กรมชลประทานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมตามมติ คชก. แต่ปี พ.ศ.2541 มติที่ 
ประชุม คชก. วันที่ 23 มกราคม ครั้งที่ 1/2541 "ไม่เห็นชอบกับการดา เนินโครงการเขื่อนแม่วงก์"ปี 
พ.ศ.2543 ทา มีการทา ประชาพิจารณ์โครงการเขื่อนแม่วงก์ จนกระทั่งในปี พ.ศ.2545 คณะกรรมการ 
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีมติครั้งที่ 3 ยังไม่เห็นชอบต่อรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้กรม 
ชลประทานหาทางเลือกของที่ตั้งโครงการ และศึกษาเพิ่มเติมการบริหารจัดการลุ่มน้า ทั้งระบบใน 
ลักษณะบูรณาการและในปี พ.ศ.2555 มีมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 เมษายน 2555 เห็นชอบในหลักการ 
ให้ดา เนินโครงการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 13,280 ล้านบาท ใช้ 
เวลาก่อสร้าง 8 ปี โดยผูกพันงบประมาณถึงปีงบประมาณ 2562
เหตุผลของฝ่ายการสนับสนุนและฝ่ายคัดค้าน
1.เหตุผลของฝ่ายการสนับสนุน 
1.1ด้านนิเวศ คือ ระบบนิเวศทั้งหมดจะถูกคุกคาม เกิดการทา ลายป่าต้นน้า และอาจเกิดการลักลอบตัดไม้ริม 
อ่างเก็บน้า ซึ่งเป็นเรื่องที่ควบคุมได้ยาก เร่งให้สัตว์ป่า เช่น นกยูง เสือโคร่ง ต้องสูญพันธุ์ และยังสามารถลักลอบ 
ล่าสัตว์ป่าได้ง่าย นอกจากนี้ ยังจะทา ให้สัตว์ป่าสูญเสียที่อยู่อาศัย ทา ลายโอกาสการฟื้นฟูของอุทยาน ซึ่งจะส่งผล 
กระทบต่อป่ามรดกโลก "ห้วยขาแข้ง" เนื่องจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์นั้น มีความสา คัญในฐานะเป็นป่า 
หน้าด่านของป่าห้วยขาแข้ง เป็นพื้นที่ความหวังของการแพร่กระจายสัตว์ป่า และเป็นที่ที่พบเสือโคร่งจากห้วยขา 
แข้งออกมาหากิน 
1. 2 ด้านเศรษฐกิจและสังคม คือ เนื่องจากเขื่อนแม่วงก์มีขนาดเล็ก จึงไม่คุ้มค่ากับการลงทุน อีกทั้งยังไม่ 
สามารถแก้ปัญหาน้า แล้ง-น้า ท่วมได้ นอกจากนี้ยังทา ลายแหล่งศึกษาธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และทา ลายความ 
เชื่อมั่นด้านสิ่งแวดล้อมของไทยด้วย อีกทั้งยังเป็นช่องทางให้โครงการพัฒนาขนาดใหญ่เกิดขึ้นในพื้นที่อนุรักษ์ 
อื่น ๆ ได้อีกในอนาคต
2.เหตุผลของฝ่ายคัดค้าน 
2.1 เนื่องจากรัฐบาลอ้างว่า เขื่อนจะสามารถป้องกันน้า ท่วมในลุ่มน้า แม่วง เขต อ.แม่วงก์และ อ.ลาดยาว 
จ.นครสวรรค์ แต่ นายอดิศักด์ิ จันทวิชานุวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือตอนล่าง กล่าวว่า 
ข้อมูลจากกรมชลประทานปีที่แล้วระบุว่า น้า ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 44,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ตัวเขื่อน 
แม่วงก์สามารถเก็บน้า ได้เพียงประมาณ 250 ล้านลูกบาศก์เมตร เท่ากับเป็นการแก้ปัญหาเพียง 1% เท่านั้น ดังนั้น 
เขื่อนนี้จึงไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาน้า ท่วมภาคกลาง และไม่เกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุนหากสร้างเพื่อป้องกัน 
น้า ท่วม 
2.2 การสร้างเขื่อนที่บริเวณเขาสบกก เป็นการกั้นลา น้า แม่วงเพียงสายเดียว แต่ยังมีลา น้า อีกหลายสายที่ไหล 
มาบรรจบตรงที่ลุ่มอา เภอลาดยาว ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของน้า ท่วมในตัวเมือง และจากการสอบถามชาวบ้าน 
ลาดยาวหลายคน ระบุว่า เมื่อถึงฤดูน้า หลาก น้า ก็จะท่วมเพียง 2-5 วัน เท่านั้น หลังจากนั้นน้า ก็จะลดตาม 
ธรรมชาติ เป็นอย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร เว้นแต่ปีที่แล้วที่ท่วมเป็นเวลานานที่น่าจะเกิดจากการจัดการน้า ไม่ดี ไม่ 
ปล่อยให้ไหลตามธรรมชาตินั่นเอง
2.3 ด้านการแก้ภัยแล้งในพื้นที่เกษตรกรรม คือการชูเขื่อนแม่วงก์ให้เป็นที่เก็บน้า เพื่อที่เกษตรกรในพื้นที่ 
อ.ลาดยาว และ อ.สว่างอารมณ์ จะได้มีน้า ไว้ใช้ยามหน้าแล้ง แต่ข้อมูลจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือ 
และมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ระบุว่า บริเวณดังกล่าวมีพื้นที่กว่า 291,900 ไร่ ความต้องการใช้น้า เฉลี่ย 347.9 ล้าน 
ลูกบาศก์เมตรต่อปี ส่วนใหญ่ทา นาข้าว ซึ่งต้องใช้น้า เฉลี่ย 500 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ดังนั้น เมื่อคา นวณแล้วน้า 
ทั้งหมดจากเขื่อนจะสามารถใช้ได้เพียงแค่ 40 วัน ซึ่งไม่เพียงพอกับการทา นาข้าวซึ่งต้องใช้น้า ประมาณ 120 
วัน อีกทั้งตามหลักของการบริหารจัดการเขื่อน ต้องรักษาระดับเก็บกักน้า ไว้อย่างน้อย 100-150 ล้านลูกบาศก์ 
เมตร เพื่อความแข็งแรงของโครงสร้างฐานเขื่อนอีกด้วย 
2.4 บริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ที่จะสร้างเขื่อนแม่วงก์นั้น ยังมีเขื่อนอีกหลายแห่ง เช่น เขื่อนทับ-เสลา เขื่อน 
คลองโพธ์ิ ซึ่งก่อสร้างเสร็จมาประมาณ 10 ปีแล้ว แต่ไม่ได้ช่วยเก็บน้า ไว้ใช้ในฤดูแล้งเลย เพราะพื้นที่อยู่ในเขต 
เงาฝน ปริมาณน้า ฝนน้อย และการก่อสร้างเขื่อนไม่มีประสิทธิภาพ ทา ให้ฐานเขื่อนรองรับน้า ปริมาณมากไม่ได้ 
ซึ่งก็เป็นเพียงอีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขื่อนไม่ใช่คา ตอบของพื้นที่นี้
2.5 ป่าแม่วงก์ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มา 25 ปีแล้ว และเป็นพื้นที่แห่งโอกาสของสัตว์ป่า เนื่องจาก 
เป็นป่าที่สมบูรณ์ จึงเป็นบ้านและแหล่งอาหารของสัตว์ป่าที่หากินนอกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 
นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบที่ไม่สามารถป้องกันในช่วงเวลาก่อสร้างเขื่อนตลอด 8 ปี ได้แก่ การตัดไม้เกินพื้นที่ที่ 
กา หนด การลักลอบล่าสัตว์ป่า เสียงที่ดังรบกวนสัตว์ป่า การยึดพื้นที่ริมอ่างและการเก็บหาของป่า 
2.6 ปัญหาจากการสร้างเขื่อนแม่วงก์อีกมาก เช่น จะต้องมีการเวนคืนที่ดิน เพื่อทา คลองยาว 500 กิโลเมตร และ 
คลองระบายน้า ซึ่งต้องเวนคืนที่ดินจากชาวบ้านกว่าพันราย รวมที่ดิน 10,892 ไร่ อีกทั้งยังต้องเวนคืนที่ดินอื่น ๆ 
เพิ่มอีกในการสร้างเขื่อน คือ ที่ดิน 850 ไร่ ที่บ้านคลองไทร ต.แม่เล่ย์อ.แม่วงก์ เพื่อใช้เป็นบ่อยืมดิน ที่ดิน 55 ไร่ 
ที่บ้านท่าตาอยู่ ต.ปางมะค่า เพื่อใช้ปรับปรุงฝายท่าตาอยู่ และที่ดิน 173 ไร่ ติดเขาสบกก เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของ 
พื้นที่หัวงานอีกด้วย
ความสาคัญของป่าแม่วงก์ 
1.ป่าแม่วงก์บริเวณที่จะถูกน้า ท่วมเป็นป่าริมน้า และป่าที่ราบต่า ซึ่งต่า กว่าระดับน้า ทะเล 200 
เมตร เป็นที่อาศัยของสัตว์ป่าขนาดใหญ่ เช่น ช้าง เสือ และเป็นแหล่งอาหารสาคัญของสัตว์ป่า 
ด้วย แม้ว่าสูญเสียป่าแม่วงก์ไป 18 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 2 ของป่าทั้งหมด แต่มี 
ความสา คัญต่อการดา รงชีวิตของป่าทั้งระบบมาก เพราะมันคือ “หัวใจ” 
2.ป่าแม่วงก์เปรียบเหมือนหัวใจเพราะเป็นส่วนสา คัญของผืนป่าตะวันตก ที่เกิดจากป่า 
อนุรักษ์ 17 ผืนต่อกันเป็นป่าผืนใหญ่ขนาด 11.7 ล้านไร่ ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออก 
เฉียงใต้ และเป็นบ้านของสัตว์ป่านานาชนิด เช่น เสือโคร่ง ช้าง กระทิง วัวแดง สมเสร็จ ควายป่า
3.ป่าแม่วงก์ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มา 25 ปีแล้ว และเป็นพื้นที่แห่งโอกาสของ 
สัตว์ป่า เนื่องจากเป็นป่าที่สมบูรณ์ จึงเป็นบ้านและแหล่งอาหารของสัตว์ป่าที่หากินนอกเขต 
รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งยังมีผลกระทบที่ไม่สามารถป้องกันในช่วงเวลาก่อสร้างเขื่อนตลอด 
8 ปี ได้แก่ การตัดไม้เกินพื้นที่ที่กา หนด การลักลอบล่าสัตว์ป่า เสียงที่ดังรบกวนสัตว์ป่า การยึด 
พื้นที่ริมอ่างและการเก็บหาของป่าปริมาณน้า ที่กักเก็บในเขื่อนแม่วงก์คิดเป็นร้อยละ 1 ของน้า 
ทั้งหมดที่ท่วมลุ่มน้า ภาคกลางในปี 2554 ดังนั้น เขื่อนนี้จึงไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาน้า ท่วมภาค 
กลาง และไม่เกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุนหากสร้างเพื่อป้องกันน้า ท่วมหรือกรณีที่น้า ท่วม อ. 
ลาดยาว จ.นครสวรรค์ มีน้า เพียงร้อยละ 10-20 เท่านั้นที่มาจากแม่วงก์ที่เขาสบกก ส่วนอีกร้อยละ 
80 ที่เหลือคือน้า ที่มาจากลา น้า สาขาอีก 16 สายใต้เขื่อนแม่วงก์ ซึ่งปัญหาที่น้า ท่วมก็เพราะถนน 
ขวางทางระบายน้า รวมถึงการปลูกพืชเชิงเดี่ยวบนเขา ซึ่งทา ให้น้า หลากมาถึงบ้านที่อยู่ในที่ราบ 
อย่างรวดเร็ว และถึงแม้จะสร้างเขื่อนได้แล้ว ปริมาณน้า นองที่ อ.ลาดยาวก็ลดลงไม่ถึงร้อยละ 30
4.การก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะทา ให้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ไม่น้อย 
กว่า 13,000 ไร่ เป็นไม้ใหญ่ประมาณ 500,000 ต้น ซึ่งในจา นวนนี้มีไม้สักประมาณ 50,000 ต้น 
กล้าไม้อีก 10,000 ต้น หรือเปรียบ เทียบได้ว่าพื้นที่ป่า 1 ไร่ ที่จะถูกน้า ท่วมจะมีไม้ยืนต้นขนาด 
ใหญ่ 80 ต้นเป็น ไม้สัก 13 ต้น ลูกไม้ 576 ต้น และกล้าไม้อีก 1,880 ต้น จากการคา นวณพื้นที่ป่าที่ 
จะสูญเสียไป จากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อคา นวณเป็น ปริมาณคาร์บอนที่ต้นไม้สามารถดูดซับ 
ไว้ได้นั้น หากมีการสร้างเขื่อนแม่วงก์ ประเทศไทยจะสูญเสียพื้นที่ที่ สามารถดูดซับคาร์บอนได้ 
ประมาณ 10,400 ตันคาร์บอน ป่าแม่วงก์มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างน้อย 549 ชนิด และมีปลาอาศัยอยู่ 
ในลา น้า 64 ชนิด ในจา นวนนี้มีเพียง 8 ชนิด หรือ 13% ที่สามารถผสมพันธุ์ในแหล่งน้า นิ่งในอ่าง 
เหนือเขื่อนได้นอกนั้นต้องอาศัยพื้นที่น้า ไหลหรือน้า หลากซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติสภาพป่า 
โดยทั่วไปของอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ แทบจะถูกจา ลองมาไว้ให้เห็นภายในบริเวณหน่วยพิทักษ์ 
ป่า
5.กรมชลประทานระบุว่าเขื่อนแม่วงก์จะสามารถส่งน้า ให้กับพื้นที่ชลประทานในฤดูฝนได้ 
291,900 ไร่ พื้นที่ในฤดูแล้ง 116,545 ไร่ จากการลงพื้นที่ ปรากฏว่าในฤดูฝน ชาวบ้านใช้น้า ฝน 
และน้า หลากทุ่งในการทา การเกษตรอยู่แล้ว ไม่มีความจา เป็นต้องพึ่งน้า จากเขื่อนแต่อย่างใด 
ประโยชน์ของน้า ชลประทานจากเขื่อนจึงเหลือแต่ในฤดูแล้ง ซึ่งจากการคา นวน โดยใช้ 
สมมุติฐานว่า
ชาวบ้านปลูกข้าวได้ 0.75 ตัน/ไร่ 
ขายข้าวได้ราคาปกติ 8,000 บาท/ตัน 
ขายข้าวได้ราคาจา นา (เฉลี่ย) 14,000 บาท/ตัน 
มีต้นทุนการเพาะปลูก 3,000 บาท/ไร่ 
ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*8,000)-3,000 = 3,000 บาท/ไร่ (ราคาปกติ) 
ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*14,000)-3,000 = 7,500 บาท/ไร่ (ราคาจา นา ) 
ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 3,000 = 349.64 ล้านบาท (ราคาปกติ) 
ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 7,500 = 874.09 ล้านบาท (ราคาจา นา ) 
ทา ให้โครงการมูลค่า 13,000,000,000 บาทมีระยะเวลาคืนทุน 37 ปี และ 15 ปี ตามลา ดับ โดยยัง 
ไม่คิดถึงค่าใช้จ่ายในการดูแลและซ่อมบา รุงเขื่อนและระบบส่งน้า ทั้งนี้การลงทุนทั่วไปควรมี 
ระยะคืนทุนอยู่ระหว่าง 4-7 ปี และ 7-10 ปีในโครงการขนาดใหญ่
จาการศึกษาสรุปได้ว่า 
ตามโครงการก่อสร้างได้ถูกรับการศึกษาความมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบจนกระทั่งได้รับ 
การอนุมัติในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โดยให้เหตุผลว่าการสร้างเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารจัดการน้า เพื่อแก้ไข 
ปัญหาน้า ท่วม แต่ก็ยังมีข้อโต้แย้งจากองค์กรพัฒนาเอกชนและอีกหลายๆ ฝ่ายว่าเป็นเขื่อนขนาดเล็กไม่คุ้มค่าต่อ 
การลงทุน และจากการมองถึงผลเสียแล้ว จะพบว่ามีมากกว่าผลดี เช่น การสร้างเขื่อนจะต้องสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ถึง 
18 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า การก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะทา ให้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในเขต 
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ไม่น้อยกว่า 13,000 ไร่ เป็นไม้ใหญ่ประมาณ 500,000 ต้น ซึ่งในจา นวนนี้มีไม้สัก 
ประมาณ 50,000 ต้น กล้าไม้อีก 10,000 ต้น หรือเปรียบ เทียบได้ว่าพื้นที่ป่า 1 ไร่ ที่จะถูกน้า ท่วมจะมีไม้ยืนต้น 
ขนาดใหญ่ 80 ต้นเป็น ไม้สัก 13 ต้น ลูกไม้ 576 ต้น และกล้าไม้อีก 1,880 ต้น จากการคา นวณพื้นที่ป่าที่จะสูญเสีย 
ไป จากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อคา นวณเป็น ปริมาณคาร์บอนที่ต้นไม้สามารถดูดซับไว้ได้นั้น หากมีการสร้าง 
เขื่อนแม่วงก์ ประเทศไทยจะสูญเสียพื้นที่ที่ สามารถดูดซับคาร์บอนได้ประมาณ 10,400 ตันคาร์บอน ป่าแม่วงก์มี 
สัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างน้อย 549 ชนิด และมีปลาอาศัยอยู่ในลา น้า 64 ชนิด
จัดทาโดย 
นางสาวพิมผกา เณรจาที เลขที่ 15 
นางสาวสมฤทัย อิ่มกระจ่าง เลขที่ 22 
นายกฤษฎา พันอาจ เลขที่ 30 
นายกิตติพงศ์ หลอมทอง เลขที่ 31 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่

โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)Duckthth Duck
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรfainaja
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 

Semelhante a การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่ (19)

โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)โรงไฟฟ้าพลังน้ำ     (Hydro power plant)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ (Hydro power plant)
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรหลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากร
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 

การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่

  • 2. วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างรายงาน 1.เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 2.เพื่อให้ทราบถึงข้อเท็จจริง ข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับการสร้างเขื่อนแม่วงก์ 3.เพื่อพิสูจน์สมมติฐานที่ตั้งขึ้นมาว่าเป็นจริง สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1.การสร้างเขื่อนแม่วงก์คุ้มค่าต่อการลงทุน 2.การสร้างเขื่อนแม่วงก์ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน
  • 3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 2.ได้รับความเป็นจริงที่ถูกต้อง เกี่ยวกับการสร้างเขื่อนแม่วงก์ 3.สามารถนา ข้อมูลที่ค้นคว้ามา ไปใช้ประโยชน์ไนด้านอื่นๆ
  • 4. ความเป็นมาของเขื่อนแม่วงก์ ในปี พ.ศ.2525 กรมชลประทานได้ริเริ่มโครงการเขื่อนแม่วงก์ ต่อมาปี พ.ศ.2537 มีมติในที่ประชุม คณะกรรมการนโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) มีความเห็นให้กรมชลประทานศึกษา เปรียบเทียบผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมบริเวณเขาชนกัน เนื่องจากให้ผลตอบแทนสูงกว่าเขาสบกก และปี พ.ศ.2540 กรมชลประทานศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติมตามมติ คชก. แต่ปี พ.ศ.2541 มติที่ ประชุม คชก. วันที่ 23 มกราคม ครั้งที่ 1/2541 "ไม่เห็นชอบกับการดา เนินโครงการเขื่อนแม่วงก์"ปี พ.ศ.2543 ทา มีการทา ประชาพิจารณ์โครงการเขื่อนแม่วงก์ จนกระทั่งในปี พ.ศ.2545 คณะกรรมการ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีมติครั้งที่ 3 ยังไม่เห็นชอบต่อรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้กรม ชลประทานหาทางเลือกของที่ตั้งโครงการ และศึกษาเพิ่มเติมการบริหารจัดการลุ่มน้า ทั้งระบบใน ลักษณะบูรณาการและในปี พ.ศ.2555 มีมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 10 เมษายน 2555 เห็นชอบในหลักการ ให้ดา เนินโครงการก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ใช้งบประมาณทั้งสิ้น 13,280 ล้านบาท ใช้ เวลาก่อสร้าง 8 ปี โดยผูกพันงบประมาณถึงปีงบประมาณ 2562
  • 6. 1.เหตุผลของฝ่ายการสนับสนุน 1.1ด้านนิเวศ คือ ระบบนิเวศทั้งหมดจะถูกคุกคาม เกิดการทา ลายป่าต้นน้า และอาจเกิดการลักลอบตัดไม้ริม อ่างเก็บน้า ซึ่งเป็นเรื่องที่ควบคุมได้ยาก เร่งให้สัตว์ป่า เช่น นกยูง เสือโคร่ง ต้องสูญพันธุ์ และยังสามารถลักลอบ ล่าสัตว์ป่าได้ง่าย นอกจากนี้ ยังจะทา ให้สัตว์ป่าสูญเสียที่อยู่อาศัย ทา ลายโอกาสการฟื้นฟูของอุทยาน ซึ่งจะส่งผล กระทบต่อป่ามรดกโลก "ห้วยขาแข้ง" เนื่องจากพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์นั้น มีความสา คัญในฐานะเป็นป่า หน้าด่านของป่าห้วยขาแข้ง เป็นพื้นที่ความหวังของการแพร่กระจายสัตว์ป่า และเป็นที่ที่พบเสือโคร่งจากห้วยขา แข้งออกมาหากิน 1. 2 ด้านเศรษฐกิจและสังคม คือ เนื่องจากเขื่อนแม่วงก์มีขนาดเล็ก จึงไม่คุ้มค่ากับการลงทุน อีกทั้งยังไม่ สามารถแก้ปัญหาน้า แล้ง-น้า ท่วมได้ นอกจากนี้ยังทา ลายแหล่งศึกษาธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และทา ลายความ เชื่อมั่นด้านสิ่งแวดล้อมของไทยด้วย อีกทั้งยังเป็นช่องทางให้โครงการพัฒนาขนาดใหญ่เกิดขึ้นในพื้นที่อนุรักษ์ อื่น ๆ ได้อีกในอนาคต
  • 7. 2.เหตุผลของฝ่ายคัดค้าน 2.1 เนื่องจากรัฐบาลอ้างว่า เขื่อนจะสามารถป้องกันน้า ท่วมในลุ่มน้า แม่วง เขต อ.แม่วงก์และ อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ แต่ นายอดิศักด์ิ จันทวิชานุวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือตอนล่าง กล่าวว่า ข้อมูลจากกรมชลประทานปีที่แล้วระบุว่า น้า ไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 44,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่ตัวเขื่อน แม่วงก์สามารถเก็บน้า ได้เพียงประมาณ 250 ล้านลูกบาศก์เมตร เท่ากับเป็นการแก้ปัญหาเพียง 1% เท่านั้น ดังนั้น เขื่อนนี้จึงไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาน้า ท่วมภาคกลาง และไม่เกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุนหากสร้างเพื่อป้องกัน น้า ท่วม 2.2 การสร้างเขื่อนที่บริเวณเขาสบกก เป็นการกั้นลา น้า แม่วงเพียงสายเดียว แต่ยังมีลา น้า อีกหลายสายที่ไหล มาบรรจบตรงที่ลุ่มอา เภอลาดยาว ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของน้า ท่วมในตัวเมือง และจากการสอบถามชาวบ้าน ลาดยาวหลายคน ระบุว่า เมื่อถึงฤดูน้า หลาก น้า ก็จะท่วมเพียง 2-5 วัน เท่านั้น หลังจากนั้นน้า ก็จะลดตาม ธรรมชาติ เป็นอย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไร เว้นแต่ปีที่แล้วที่ท่วมเป็นเวลานานที่น่าจะเกิดจากการจัดการน้า ไม่ดี ไม่ ปล่อยให้ไหลตามธรรมชาตินั่นเอง
  • 8. 2.3 ด้านการแก้ภัยแล้งในพื้นที่เกษตรกรรม คือการชูเขื่อนแม่วงก์ให้เป็นที่เก็บน้า เพื่อที่เกษตรกรในพื้นที่ อ.ลาดยาว และ อ.สว่างอารมณ์ จะได้มีน้า ไว้ใช้ยามหน้าแล้ง แต่ข้อมูลจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมภาคเหนือ และมูลนิธิสืบ นาคะเสถียร ระบุว่า บริเวณดังกล่าวมีพื้นที่กว่า 291,900 ไร่ ความต้องการใช้น้า เฉลี่ย 347.9 ล้าน ลูกบาศก์เมตรต่อปี ส่วนใหญ่ทา นาข้าว ซึ่งต้องใช้น้า เฉลี่ย 500 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ดังนั้น เมื่อคา นวณแล้วน้า ทั้งหมดจากเขื่อนจะสามารถใช้ได้เพียงแค่ 40 วัน ซึ่งไม่เพียงพอกับการทา นาข้าวซึ่งต้องใช้น้า ประมาณ 120 วัน อีกทั้งตามหลักของการบริหารจัดการเขื่อน ต้องรักษาระดับเก็บกักน้า ไว้อย่างน้อย 100-150 ล้านลูกบาศก์ เมตร เพื่อความแข็งแรงของโครงสร้างฐานเขื่อนอีกด้วย 2.4 บริเวณใกล้เคียงกับพื้นที่ที่จะสร้างเขื่อนแม่วงก์นั้น ยังมีเขื่อนอีกหลายแห่ง เช่น เขื่อนทับ-เสลา เขื่อน คลองโพธ์ิ ซึ่งก่อสร้างเสร็จมาประมาณ 10 ปีแล้ว แต่ไม่ได้ช่วยเก็บน้า ไว้ใช้ในฤดูแล้งเลย เพราะพื้นที่อยู่ในเขต เงาฝน ปริมาณน้า ฝนน้อย และการก่อสร้างเขื่อนไม่มีประสิทธิภาพ ทา ให้ฐานเขื่อนรองรับน้า ปริมาณมากไม่ได้ ซึ่งก็เป็นเพียงอีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสร้างเขื่อนไม่ใช่คา ตอบของพื้นที่นี้
  • 9. 2.5 ป่าแม่วงก์ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มา 25 ปีแล้ว และเป็นพื้นที่แห่งโอกาสของสัตว์ป่า เนื่องจาก เป็นป่าที่สมบูรณ์ จึงเป็นบ้านและแหล่งอาหารของสัตว์ป่าที่หากินนอกเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง นอกจากนี้ ยังมีผลกระทบที่ไม่สามารถป้องกันในช่วงเวลาก่อสร้างเขื่อนตลอด 8 ปี ได้แก่ การตัดไม้เกินพื้นที่ที่ กา หนด การลักลอบล่าสัตว์ป่า เสียงที่ดังรบกวนสัตว์ป่า การยึดพื้นที่ริมอ่างและการเก็บหาของป่า 2.6 ปัญหาจากการสร้างเขื่อนแม่วงก์อีกมาก เช่น จะต้องมีการเวนคืนที่ดิน เพื่อทา คลองยาว 500 กิโลเมตร และ คลองระบายน้า ซึ่งต้องเวนคืนที่ดินจากชาวบ้านกว่าพันราย รวมที่ดิน 10,892 ไร่ อีกทั้งยังต้องเวนคืนที่ดินอื่น ๆ เพิ่มอีกในการสร้างเขื่อน คือ ที่ดิน 850 ไร่ ที่บ้านคลองไทร ต.แม่เล่ย์อ.แม่วงก์ เพื่อใช้เป็นบ่อยืมดิน ที่ดิน 55 ไร่ ที่บ้านท่าตาอยู่ ต.ปางมะค่า เพื่อใช้ปรับปรุงฝายท่าตาอยู่ และที่ดิน 173 ไร่ ติดเขาสบกก เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของ พื้นที่หัวงานอีกด้วย
  • 10. ความสาคัญของป่าแม่วงก์ 1.ป่าแม่วงก์บริเวณที่จะถูกน้า ท่วมเป็นป่าริมน้า และป่าที่ราบต่า ซึ่งต่า กว่าระดับน้า ทะเล 200 เมตร เป็นที่อาศัยของสัตว์ป่าขนาดใหญ่ เช่น ช้าง เสือ และเป็นแหล่งอาหารสาคัญของสัตว์ป่า ด้วย แม้ว่าสูญเสียป่าแม่วงก์ไป 18 ตารางกิโลเมตร หรือร้อยละ 2 ของป่าทั้งหมด แต่มี ความสา คัญต่อการดา รงชีวิตของป่าทั้งระบบมาก เพราะมันคือ “หัวใจ” 2.ป่าแม่วงก์เปรียบเหมือนหัวใจเพราะเป็นส่วนสา คัญของผืนป่าตะวันตก ที่เกิดจากป่า อนุรักษ์ 17 ผืนต่อกันเป็นป่าผืนใหญ่ขนาด 11.7 ล้านไร่ ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และเป็นบ้านของสัตว์ป่านานาชนิด เช่น เสือโคร่ง ช้าง กระทิง วัวแดง สมเสร็จ ควายป่า
  • 11. 3.ป่าแม่วงก์ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติแม่วงก์มา 25 ปีแล้ว และเป็นพื้นที่แห่งโอกาสของ สัตว์ป่า เนื่องจากเป็นป่าที่สมบูรณ์ จึงเป็นบ้านและแหล่งอาหารของสัตว์ป่าที่หากินนอกเขต รักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งยังมีผลกระทบที่ไม่สามารถป้องกันในช่วงเวลาก่อสร้างเขื่อนตลอด 8 ปี ได้แก่ การตัดไม้เกินพื้นที่ที่กา หนด การลักลอบล่าสัตว์ป่า เสียงที่ดังรบกวนสัตว์ป่า การยึด พื้นที่ริมอ่างและการเก็บหาของป่าปริมาณน้า ที่กักเก็บในเขื่อนแม่วงก์คิดเป็นร้อยละ 1 ของน้า ทั้งหมดที่ท่วมลุ่มน้า ภาคกลางในปี 2554 ดังนั้น เขื่อนนี้จึงไม่ตอบโจทย์การแก้ปัญหาน้า ท่วมภาค กลาง และไม่เกิดความคุ้มค่าแก่การลงทุนหากสร้างเพื่อป้องกันน้า ท่วมหรือกรณีที่น้า ท่วม อ. ลาดยาว จ.นครสวรรค์ มีน้า เพียงร้อยละ 10-20 เท่านั้นที่มาจากแม่วงก์ที่เขาสบกก ส่วนอีกร้อยละ 80 ที่เหลือคือน้า ที่มาจากลา น้า สาขาอีก 16 สายใต้เขื่อนแม่วงก์ ซึ่งปัญหาที่น้า ท่วมก็เพราะถนน ขวางทางระบายน้า รวมถึงการปลูกพืชเชิงเดี่ยวบนเขา ซึ่งทา ให้น้า หลากมาถึงบ้านที่อยู่ในที่ราบ อย่างรวดเร็ว และถึงแม้จะสร้างเขื่อนได้แล้ว ปริมาณน้า นองที่ อ.ลาดยาวก็ลดลงไม่ถึงร้อยละ 30
  • 12. 4.การก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะทา ให้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ไม่น้อย กว่า 13,000 ไร่ เป็นไม้ใหญ่ประมาณ 500,000 ต้น ซึ่งในจา นวนนี้มีไม้สักประมาณ 50,000 ต้น กล้าไม้อีก 10,000 ต้น หรือเปรียบ เทียบได้ว่าพื้นที่ป่า 1 ไร่ ที่จะถูกน้า ท่วมจะมีไม้ยืนต้นขนาด ใหญ่ 80 ต้นเป็น ไม้สัก 13 ต้น ลูกไม้ 576 ต้น และกล้าไม้อีก 1,880 ต้น จากการคา นวณพื้นที่ป่าที่ จะสูญเสียไป จากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อคา นวณเป็น ปริมาณคาร์บอนที่ต้นไม้สามารถดูดซับ ไว้ได้นั้น หากมีการสร้างเขื่อนแม่วงก์ ประเทศไทยจะสูญเสียพื้นที่ที่ สามารถดูดซับคาร์บอนได้ ประมาณ 10,400 ตันคาร์บอน ป่าแม่วงก์มีสัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างน้อย 549 ชนิด และมีปลาอาศัยอยู่ ในลา น้า 64 ชนิด ในจา นวนนี้มีเพียง 8 ชนิด หรือ 13% ที่สามารถผสมพันธุ์ในแหล่งน้า นิ่งในอ่าง เหนือเขื่อนได้นอกนั้นต้องอาศัยพื้นที่น้า ไหลหรือน้า หลากซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติสภาพป่า โดยทั่วไปของอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ แทบจะถูกจา ลองมาไว้ให้เห็นภายในบริเวณหน่วยพิทักษ์ ป่า
  • 13. 5.กรมชลประทานระบุว่าเขื่อนแม่วงก์จะสามารถส่งน้า ให้กับพื้นที่ชลประทานในฤดูฝนได้ 291,900 ไร่ พื้นที่ในฤดูแล้ง 116,545 ไร่ จากการลงพื้นที่ ปรากฏว่าในฤดูฝน ชาวบ้านใช้น้า ฝน และน้า หลากทุ่งในการทา การเกษตรอยู่แล้ว ไม่มีความจา เป็นต้องพึ่งน้า จากเขื่อนแต่อย่างใด ประโยชน์ของน้า ชลประทานจากเขื่อนจึงเหลือแต่ในฤดูแล้ง ซึ่งจากการคา นวน โดยใช้ สมมุติฐานว่า
  • 14. ชาวบ้านปลูกข้าวได้ 0.75 ตัน/ไร่ ขายข้าวได้ราคาปกติ 8,000 บาท/ตัน ขายข้าวได้ราคาจา นา (เฉลี่ย) 14,000 บาท/ตัน มีต้นทุนการเพาะปลูก 3,000 บาท/ไร่ ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*8,000)-3,000 = 3,000 บาท/ไร่ (ราคาปกติ) ชาวบ้านจะมีกา ไร/ไร่ (0.75*14,000)-3,000 = 7,500 บาท/ไร่ (ราคาจา นา ) ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 3,000 = 349.64 ล้านบาท (ราคาปกติ) ชาวบ้านในพื้นที่ชลประทานจะมีรายได้เพิ่มขึ้น = 116,545 (ไร่) * 7,500 = 874.09 ล้านบาท (ราคาจา นา ) ทา ให้โครงการมูลค่า 13,000,000,000 บาทมีระยะเวลาคืนทุน 37 ปี และ 15 ปี ตามลา ดับ โดยยัง ไม่คิดถึงค่าใช้จ่ายในการดูแลและซ่อมบา รุงเขื่อนและระบบส่งน้า ทั้งนี้การลงทุนทั่วไปควรมี ระยะคืนทุนอยู่ระหว่าง 4-7 ปี และ 7-10 ปีในโครงการขนาดใหญ่
  • 15. จาการศึกษาสรุปได้ว่า ตามโครงการก่อสร้างได้ถูกรับการศึกษาความมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบจนกระทั่งได้รับ การอนุมัติในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร โดยให้เหตุผลว่าการสร้างเป็นส่วนหนึ่งในการบริหารจัดการน้า เพื่อแก้ไข ปัญหาน้า ท่วม แต่ก็ยังมีข้อโต้แย้งจากองค์กรพัฒนาเอกชนและอีกหลายๆ ฝ่ายว่าเป็นเขื่อนขนาดเล็กไม่คุ้มค่าต่อ การลงทุน และจากการมองถึงผลเสียแล้ว จะพบว่ามีมากกว่าผลดี เช่น การสร้างเขื่อนจะต้องสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ถึง 18 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า การก่อสร้างเขื่อนแม่วงก์ จะทา ให้สูญเสียพื้นที่ป่าไม้ในเขต อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ไม่น้อยกว่า 13,000 ไร่ เป็นไม้ใหญ่ประมาณ 500,000 ต้น ซึ่งในจา นวนนี้มีไม้สัก ประมาณ 50,000 ต้น กล้าไม้อีก 10,000 ต้น หรือเปรียบ เทียบได้ว่าพื้นที่ป่า 1 ไร่ ที่จะถูกน้า ท่วมจะมีไม้ยืนต้น ขนาดใหญ่ 80 ต้นเป็น ไม้สัก 13 ต้น ลูกไม้ 576 ต้น และกล้าไม้อีก 1,880 ต้น จากการคา นวณพื้นที่ป่าที่จะสูญเสีย ไป จากการสร้างเขื่อนแม่วงก์ เมื่อคา นวณเป็น ปริมาณคาร์บอนที่ต้นไม้สามารถดูดซับไว้ได้นั้น หากมีการสร้าง เขื่อนแม่วงก์ ประเทศไทยจะสูญเสียพื้นที่ที่ สามารถดูดซับคาร์บอนได้ประมาณ 10,400 ตันคาร์บอน ป่าแม่วงก์มี สัตว์ป่าอาศัยอยู่อย่างน้อย 549 ชนิด และมีปลาอาศัยอยู่ในลา น้า 64 ชนิด
  • 16. จัดทาโดย นางสาวพิมผกา เณรจาที เลขที่ 15 นางสาวสมฤทัย อิ่มกระจ่าง เลขที่ 22 นายกฤษฎา พันอาจ เลขที่ 30 นายกิตติพงศ์ หลอมทอง เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2