SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
Chapter 19
                  Initial Public Offerings, Investment Banking, and Financial Restructuring

การระดมทุนของบริษัทที่เพิ่งกอตั้งใหม
      • Founder’s resource : เงินจากผูกอตั้ง
      • Angles : เงินจากนักลงทุนหนึ่งหรือสองราย
      • Venture capital funds : เงินจากธุรกิจเงินรวมลงทุน
           - เงินในกองทุนที่มาจากนักลงทุนที่เปนสถาบันตางๆ
           - ผูจดการกองทุน เรียกวา ผูจัดการเงินรวมลงทุน (Venture capitalists : VCs)
                 ั
           - VCs สวนมากจะมีที่นั่งในคณะกรรมการบริษัทที่รวมลงทุน (Board)

ตลาดทางการเงิน
   • Primary Market : ตลาดแรก
              - IPO
              - Investment Banker (วาณิชธนกิจ)
   • Secondary Market : ตลาดรอง
              - Stock Exchange of Thailand (SET) : ตลาดหลักทรัพยที่เปนทางการ
              - Over the Counter Market (OCT) : ตลาดหลักทรัพยที่ไมเปนทางการ_ ตลาดตอรอง ซึ่งมุงเนน
                กลุมนักลงทุนที่เปนสถาบัน

Initial Public Offerings (IPO) : การเสนอขายหุนที่ออกใหม แกบุคคลทั่วไปเปนครั้งแรก
         - ถาบริษัทตองการเงินทุน และ กระจายการถือครองหุนใหแกบุคคลทั่วไป ก็สามารถนําหุนของตนออกเสนอ
ขายได โดยตองทําผานบริษัทหลักทรัพยที่รับเปนผูจัดจําหนายหลักทรัพย (Underwriters) ซึ่งจะตองไดรับความ
เห็นชอบจาก กลต. และ ตองจัดทําหนังสือชี้ชวนตามหลักเกณฑที่ กลต. กําหนดไว

ความแตกตางระหวาง IPO และ PO
      IPO : เปนการเสนอขายหุนใหม ที่ไมเคยมีการเสนอขายมากอน
       PO : เปนการเสนอขายหุนที่มีอยูแลวใน ตลท. เพื่อระดมทุนเพิ่มเติม
Private Placement (PP) : การเสนอขายหุนแบบเฉพาะเจาะจง (เสนอขายแกบุคคลในวงจํากัด)
        - หลักทรัพยจะถูกขายใหผูลงทุนเฉพาะเจาะจง (นอยราย) เชน angles หรือ VCs

Public Offering (PO) : การเสนอขายหุนแกบุคคลทั่วไป
        - หลักทรัพยจะถูกขายใหกับบุคคลทั่วไป ซึ่งตองขออนุญาตและลงทะเบียนกับ กลต.

Going Public : การแปรสภาพใหเปนบริษัทมหาชน
       ขอดี
       - เปนการกระจายความเสี่ยงของผูถือหุนเดิม
       - เพิ่มสภาพคลอง
       - งายตอการระดมทุนในอนาคต
       - เปนการตั้งมูลคาของบริษัท
       - เพิ่มการยอมรับจากลูกคา

       ขอเสีย
       - ตองเพิ่มการรายงานผล
       - ตองเปดเผยขอมูลการดําเนินงาน
       - ผูถือหุนรายใหญ ตองเปดเผยขอมูลทรัพยสินที่ถือไว
       - ขอตกลงกับผูรูขอมูลภายใน จะทําไดยากขึ้น
       - การออกหุนจํานวนไมมากออกมา อาจทําใหการซื้อขายไมคลองตัว ราคาในตลาดอาจจะไมสะทอนถึงมูล
           คาที่แทจริงของบริษัท
       - การสรางความสัมพันธที่ดีกับนักลงทุนเปนการเสียเวลามาก

ขั้นตอนมาตรฐานของ IPO
       - เลือกธนาคารเพื่อการลงทุน (Investment Banker : IB)
       - ยื่นแบบขออนุญาตและแบบแสดงรายการขอมูล (Filling) ตอองคการทีกํากับดูแล
                                                                     ่
       - เลือกชวงของราคาที่จะเสนอขาย
       - Roadshow
       - เลือกราคาสุดทายกอนที่จะเสนอขาย
วิธีการเลือกธนาคารเพื่อการลงทุน
     • Competitive Bidding : วิธีประมูล
         - จัดใหมีการประกวดราคา เพื่อใหธนาคารเพื่อการลงทุนแตละแหงประมูลซื้อหลักทรัพยไปจําหนายใหกับ
             ผูลงทุน
         - มักใชเฉพาะกับการเสนอขายครั้งใหญ ของบริษัทใหญๆ
     • Negotiated Offering : วิธีการเจรจาตอรอง
         - ผูออกหลักทรัพยจะเลือกธนาคารเพื่อการลงทุนใหเปนผูจัดการในการออกจัดจําหนายหลักทรัพยและ
ประกันผลการขายหลักทรัพย ซึ่งจะตองจายคานายหนา และ คาธรรมเนียมใหธนาคารเพื่อการลงทุน

การตั้งราคาหุน IPO กอนเสนอขาย
        - เนื่องจากบริษทเพิ่งจะกลายเปนมหาชน จึงยังไมมีการตั้งราคามากอน
                          ั
        - ธนาคารเพื่อการลงทุนและบริษัท จะทําการพยากรณยอดขาย และ FCF ของบริษัทในอนาคต และ ศึกษา
            ขอมูลของบริษัทที่ดําเนินธุรกิจคลายๆกัน
        - ตั้งราคาหุนที่จะทําใหอัตราสวน P/E และ M/B ของบริษัทอยูในระดับเดียวกันกับบริษัทมหาชนอื่นๆที่อยู
            ในอุตสาหกรรมเดียวกันและมีความเสี่ยงและอัตราเติบโตคลายๆกัน
        - จะกําหนดราคาเปนชวง เชน 10 ถึง 12 บาท โดยยังไมกําหนดเปนราคาสุดทายที่แนนอน

Roadshow
       - ทีมผูบริหารและ IB จะเขาหานักลงทุนที่นาจะเขามาซื้อหลักทรัพย ซึ่งโดยมากจะเปนลูกคาประจําของผู
รับประกันการจัดจําหนาย

Book Building
        - IB จะขอใหผูลงทุนระบุหลักทรัพยท่ีตองการซื้อ ณ ระดับราคาตางๆ จากนั้นก็เก็บบันทึกขอมูลไวใน
หนังสือ
        - จากจํานวนอุปสงคที่มีตอหุน IB จะสามารถตั้งราคาเสนอขายสุดทายอนที่จะเสนอขายได

First-day returns
        - โดยเฉลี่ยแลวหุน IPO จะมีราคาปดสูงกวาราคาเสนอขายในวันแรกของการออกขาย
        - ราคาของหุน IPO จะต่ากวาความเปน (Underprice)
                                ํ
        - แรงจูงใจของ IB ในการที่จะกําหนดราคาของหุน IPO ต่ําๆ
                - เปนการตอบแทนลูกคาประจํา
                - งายตอการขาย
        - การออกหุนหลัง IPO มักจะประสบความสําเร็จ ถา IPO ประสบความสําเร็จ
Long-term returns : ผลตอบแทนระยะยาวของหุน IPOs
           - ผลตอบแทนภายใน 2 ปหลังจาก IPO มักจะนอยกวาผลตอบแทนของหุนที่ไมใช IPO
           - โดยเฉลี่ยแลว ราคาเสนอขายของหุน IPO ถูกกดต่ําเกินไป และ ราคาก็พุงสูงขึ้นมากเกินไปในวันแรกของ
               การขาย

    Direct cost of an IPO
            - คารับประกันการขาย = ชวงหางระหวางราคาที่เสนอขาย และ ราคาที่ผูออกหลักทรัพยไดรับ
                        Underwriter = Spread between Offer price and Proceed to issuer
            - คาเอกสาร, คาทนาย, คาใชจายที่ตองใหนักบัญชี
                                         

    Indirect cost of an IPO
            - Money left on the table = (ราคาปดในวันแรกของการขาย – ราคาเสนอขาย) x จํานวนหุนที่ขาย

    Ex. If firm issues 7 million shares at $10, what are net proceed if spread is 7%?

                     Net Proceed =         Gross proceed – Underwriting fee



Gross proceed = # Shares x Price per share                      Underwriting fee = % spread x Gross proceed


                    Gross proceed =       7 million x $10
                                   =       $70 million
                  Underwriting fee =      7% x $70 million
                                   =      $4.9 million

                     Net proceed      = $70 – $4.9 = $65.1 million

    Equity carve-outs (Partial IPO)
            - เปน IPO ชนิดพิเศษที่บริษัทแม (Parent company) ตั้งบริษัทมหาชนแหงใหมขึ้นมา โดยการขาย
    หลักทรัพยของบริษทยอย (Subsidiary) ใหแกนกลงทุนภายนอก
                      ั                        ั
            - บริษัทแม จะเปนผูควบคุมผลประโยชนของบริษัทยอย
Rights Offering
       - สิทธิ์ที่บริษัทมอบใหแกผูถือหุนเดิม ในการที่จะจองซื้อหุนสามัญจากการเพิ่มทุนของบริษัท โดยผูถือหุน
           จะไดสิทธิ์ตามสัดสวนของจํานวนหุนที่ถือครองอยู
       - ราคาของการใชสิทธิ์ (Exercise price) ที่ผูถือหุนเดิมจะตองจายสําหรับการซื้อหุนใหม จะต่ากวา ราคา
                                                                                                    ํ
           ตลาด หรือ ต่ํากวา ราคาที่เสนอขายแกบุคคลทั่วไป (Public Offering price)

Going Private : การแปรสภาพใหเปนบริษัทเอกชน
       - โดยทั่วไปแลวฝายจัดการของบริษัทจะรวมตัวกับนักลงทุนกลุมเล็กๆ เพื่อที่จะกวานซื้อหลักทรัพยที่ถือ
           โดยนักลงทุนรายยอยในสาธารณะ
       - ผูถือหุนรายใหมมักจะระดมทุนในการนี้ ดวยการกอหนี้ขนาดใหญ (Debt Financing) ธุรกรรมนี้เรียกวา
           การเขายึดครองบริษัท หรือ Leveraged buyouts (LBOs) : การซื้อคืน โดยที่เงินที่ซื้อคืนนั้นหามาจากการกู
       ขอดี
       - ใหแรงจูงใจ และ ความยืดหยุนของฝายจัดการ
       - ลดความกดดันที่จะตองทําใหไดกําไรในระยะสั้น
       - ลด Agency costs

        ขอเสีย
        - การเพิ่มทุนทําไดลําบาก
        - การเปนหนี้จํานวนมากเพื่อทําการแปรสภาพ อาจทําใหบริษัทเขาสูภาวะวิกฤต
                                                                      

Maturity structure of their debt : การจัดการโครงสรางของระยะเวลาชําระหนี้
   • Maturity matching : การ match ระหวางระยะเวลาชําระหนี้ กับ อายุของสินทรัพย
       - ควรออกหุนกูระยะสั้น เพื่อซื้อสินทรัพยที่มอายุสั้น
                                                     ี
       - ควรออกหุนกูระยะยาว เพื่อซื้อสินทรัพยที่มอายุยาว
                                                       ี
   • Information asymmetries : ขอมูลแบบอสมมาตร
       - บริษัทที่อยูในชวงที่แย แตคาดหมายวาจะมีโอกาสทีดีในอนาคต มักจะกูระยะสั้นกอนที่จะออกหุนระยะ
                                                              ่
            ยาวทีหลังตอนที่ Rating ดีกวาและกติกาในการใชหนี้ไมเขมงวดมาก
       - ขอมูลที่ผูจัดการทางการเงินรู แตกตางจาก ขอมูลที่นักลงทุนรู
Managing Debt Risk with Project Financing : การจัดการความเสี่ยงจากการกอหนี้
  • Project Financing
      - Project Financing เปนการระดมทุนสําหรับโครงการใหญๆ ที่ตองการใชทุนสูงๆ
      - บริษัทตองการทําโครงการ แตไมอยากใหมาเกี่ยวกับสินทรัพยของบริษัทแม คือ ตองการใหพิจารณาความ
          เสี่ยงเฉพาะโครงการนั้นๆ ดังนั้น จึงอาจตั้งเปนบริษัทยอยขึ้นมา
      - ผูสนับสนุน (บริษัทแม) จะออกทุนใหสวนหนึ่งเรียกวา Equity Capital สวนทุนที่เหลือจะมาจาก Lenders
          (ผูใหกู) และ Lessors (ผูใหเชา)
      - ดอกเบี้ย จะจายจาก Cash Flow ของโครงการนั้นๆ เจาหนี้ไมสามารถไลเบี้ยเอากับบริษัทแมได

    • Securitization : กระบวนการที่ทาให ขายหลักทรัพยไดงายขึ้น
                                    ํ
      - กระบวนการที่รวมตราสารทางการเงินที่คลายกันเขาดวยกัน แลวเปลี่ยนจากตราสารที่ไมมีสภาพคลองให
         เปนหลักทรัพยที่มีสภาพคลองสูง



Bond call : การไถถอนหุนคืน
        - ถา Interest ต่ําลงจากตอนที่ออกหุนกู (Bond) บริษัทสามารถไถถอนหุนกูเกาคืน และ ออกหุนกูตัวใหม
            เพื่อที่จะไดจายดอกเบี้ย (Coupon rate) ที่ต่ํากวา
Cost of refunding
        - Call premium : เงินสวนเกินมูลคาที่เรียนไถคืน
        - Flotation costs on the new issue
Benefits
        - การลดลงของดอกเบี้ยที่ตองจายในแตละป (Coupon rate)
        - การลดหยอนภาษีที่ไดจาก Flotation expenses

The NPV of refunding
      - ใช NPV ในการเปรียบเทียบประโยชนจากการลดลงของอัตราดอกเบี้ย กับ คาใชจายที่เกิดขึ้น
      - ถา NPV เปนบวก แสดงวา การไถถอนคืน (Bond Refunding) วันนี้จะเปนการเพิ่มมูลคาใหกับบริษัท

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1guest48146f
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseWorawisut Pinyoyang
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟglenferry
 
เกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคเกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคTechno Polis
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTphaisack
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawSarinee Achavanuntakul
 
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudyDisclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudySarinee Achavanuntakul
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.DrDanai Thienphut
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemNarinporn Malasri
 

Mais procurados (17)

Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
MBA- Entrepreneurship
MBA- EntrepreneurshipMBA- Entrepreneurship
MBA- Entrepreneurship
 
Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1Ensop Dsm Bid1 Part1
Ensop Dsm Bid1 Part1
 
Household Energy Saving
Household Energy SavingHousehold Energy Saving
Household Energy Saving
 
Strategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks CaseStrategic Management - Starbucks Case
Strategic Management - Starbucks Case
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
บ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟบ้านไร่กาแฟ
บ้านไร่กาแฟ
 
เกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มคเกษตรประณีต22มค
เกษตรประณีต22มค
 
Economics in Daily Life
Economics in Daily LifeEconomics in Daily Life
Economics in Daily Life
 
WHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUTWHYONLINELEARNERDROPOUT
WHYONLINELEARNERDROPOUT
 
P F1
P F1P F1
P F1
 
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization LawThoughts on Draft SET Demutualization Law
Thoughts on Draft SET Demutualization Law
 
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case StudyDisclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
Disclosure in Stock Exchange of Thailand: A Case Study
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.Progenitor of the family business.
Progenitor of the family business.
 
Thailand Energy Management System
Thailand Energy Management SystemThailand Energy Management System
Thailand Energy Management System
 

Destaque

Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Reporttltutortutor
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summarytltutortutor
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)Puff Pie
 
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plustltutortutor
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602tltutortutor
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updatedtltutortutor
 

Destaque (19)

Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Report
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summary
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
 
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updated
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updated
 

Mais de tltutortutor

Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updatedtltutortutor
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดtltutortutor
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwesttltutortutor
 

Mais de tltutortutor (7)

Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updated
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwest
 

Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring

  • 1. Chapter 19 Initial Public Offerings, Investment Banking, and Financial Restructuring การระดมทุนของบริษัทที่เพิ่งกอตั้งใหม • Founder’s resource : เงินจากผูกอตั้ง • Angles : เงินจากนักลงทุนหนึ่งหรือสองราย • Venture capital funds : เงินจากธุรกิจเงินรวมลงทุน - เงินในกองทุนที่มาจากนักลงทุนที่เปนสถาบันตางๆ - ผูจดการกองทุน เรียกวา ผูจัดการเงินรวมลงทุน (Venture capitalists : VCs) ั - VCs สวนมากจะมีที่นั่งในคณะกรรมการบริษัทที่รวมลงทุน (Board) ตลาดทางการเงิน • Primary Market : ตลาดแรก - IPO - Investment Banker (วาณิชธนกิจ) • Secondary Market : ตลาดรอง - Stock Exchange of Thailand (SET) : ตลาดหลักทรัพยที่เปนทางการ - Over the Counter Market (OCT) : ตลาดหลักทรัพยที่ไมเปนทางการ_ ตลาดตอรอง ซึ่งมุงเนน กลุมนักลงทุนที่เปนสถาบัน Initial Public Offerings (IPO) : การเสนอขายหุนที่ออกใหม แกบุคคลทั่วไปเปนครั้งแรก - ถาบริษัทตองการเงินทุน และ กระจายการถือครองหุนใหแกบุคคลทั่วไป ก็สามารถนําหุนของตนออกเสนอ ขายได โดยตองทําผานบริษัทหลักทรัพยที่รับเปนผูจัดจําหนายหลักทรัพย (Underwriters) ซึ่งจะตองไดรับความ เห็นชอบจาก กลต. และ ตองจัดทําหนังสือชี้ชวนตามหลักเกณฑที่ กลต. กําหนดไว ความแตกตางระหวาง IPO และ PO IPO : เปนการเสนอขายหุนใหม ที่ไมเคยมีการเสนอขายมากอน PO : เปนการเสนอขายหุนที่มีอยูแลวใน ตลท. เพื่อระดมทุนเพิ่มเติม
  • 2. Private Placement (PP) : การเสนอขายหุนแบบเฉพาะเจาะจง (เสนอขายแกบุคคลในวงจํากัด) - หลักทรัพยจะถูกขายใหผูลงทุนเฉพาะเจาะจง (นอยราย) เชน angles หรือ VCs Public Offering (PO) : การเสนอขายหุนแกบุคคลทั่วไป - หลักทรัพยจะถูกขายใหกับบุคคลทั่วไป ซึ่งตองขออนุญาตและลงทะเบียนกับ กลต. Going Public : การแปรสภาพใหเปนบริษัทมหาชน ขอดี - เปนการกระจายความเสี่ยงของผูถือหุนเดิม - เพิ่มสภาพคลอง - งายตอการระดมทุนในอนาคต - เปนการตั้งมูลคาของบริษัท - เพิ่มการยอมรับจากลูกคา ขอเสีย - ตองเพิ่มการรายงานผล - ตองเปดเผยขอมูลการดําเนินงาน - ผูถือหุนรายใหญ ตองเปดเผยขอมูลทรัพยสินที่ถือไว - ขอตกลงกับผูรูขอมูลภายใน จะทําไดยากขึ้น - การออกหุนจํานวนไมมากออกมา อาจทําใหการซื้อขายไมคลองตัว ราคาในตลาดอาจจะไมสะทอนถึงมูล คาที่แทจริงของบริษัท - การสรางความสัมพันธที่ดีกับนักลงทุนเปนการเสียเวลามาก ขั้นตอนมาตรฐานของ IPO - เลือกธนาคารเพื่อการลงทุน (Investment Banker : IB) - ยื่นแบบขออนุญาตและแบบแสดงรายการขอมูล (Filling) ตอองคการทีกํากับดูแล ่ - เลือกชวงของราคาที่จะเสนอขาย - Roadshow - เลือกราคาสุดทายกอนที่จะเสนอขาย
  • 3. วิธีการเลือกธนาคารเพื่อการลงทุน • Competitive Bidding : วิธีประมูล - จัดใหมีการประกวดราคา เพื่อใหธนาคารเพื่อการลงทุนแตละแหงประมูลซื้อหลักทรัพยไปจําหนายใหกับ ผูลงทุน - มักใชเฉพาะกับการเสนอขายครั้งใหญ ของบริษัทใหญๆ • Negotiated Offering : วิธีการเจรจาตอรอง - ผูออกหลักทรัพยจะเลือกธนาคารเพื่อการลงทุนใหเปนผูจัดการในการออกจัดจําหนายหลักทรัพยและ ประกันผลการขายหลักทรัพย ซึ่งจะตองจายคานายหนา และ คาธรรมเนียมใหธนาคารเพื่อการลงทุน การตั้งราคาหุน IPO กอนเสนอขาย - เนื่องจากบริษทเพิ่งจะกลายเปนมหาชน จึงยังไมมีการตั้งราคามากอน ั - ธนาคารเพื่อการลงทุนและบริษัท จะทําการพยากรณยอดขาย และ FCF ของบริษัทในอนาคต และ ศึกษา ขอมูลของบริษัทที่ดําเนินธุรกิจคลายๆกัน - ตั้งราคาหุนที่จะทําใหอัตราสวน P/E และ M/B ของบริษัทอยูในระดับเดียวกันกับบริษัทมหาชนอื่นๆที่อยู ในอุตสาหกรรมเดียวกันและมีความเสี่ยงและอัตราเติบโตคลายๆกัน - จะกําหนดราคาเปนชวง เชน 10 ถึง 12 บาท โดยยังไมกําหนดเปนราคาสุดทายที่แนนอน Roadshow - ทีมผูบริหารและ IB จะเขาหานักลงทุนที่นาจะเขามาซื้อหลักทรัพย ซึ่งโดยมากจะเปนลูกคาประจําของผู รับประกันการจัดจําหนาย Book Building - IB จะขอใหผูลงทุนระบุหลักทรัพยท่ีตองการซื้อ ณ ระดับราคาตางๆ จากนั้นก็เก็บบันทึกขอมูลไวใน หนังสือ - จากจํานวนอุปสงคที่มีตอหุน IB จะสามารถตั้งราคาเสนอขายสุดทายอนที่จะเสนอขายได First-day returns - โดยเฉลี่ยแลวหุน IPO จะมีราคาปดสูงกวาราคาเสนอขายในวันแรกของการออกขาย - ราคาของหุน IPO จะต่ากวาความเปน (Underprice) ํ - แรงจูงใจของ IB ในการที่จะกําหนดราคาของหุน IPO ต่ําๆ - เปนการตอบแทนลูกคาประจํา - งายตอการขาย - การออกหุนหลัง IPO มักจะประสบความสําเร็จ ถา IPO ประสบความสําเร็จ
  • 4. Long-term returns : ผลตอบแทนระยะยาวของหุน IPOs - ผลตอบแทนภายใน 2 ปหลังจาก IPO มักจะนอยกวาผลตอบแทนของหุนที่ไมใช IPO - โดยเฉลี่ยแลว ราคาเสนอขายของหุน IPO ถูกกดต่ําเกินไป และ ราคาก็พุงสูงขึ้นมากเกินไปในวันแรกของ การขาย Direct cost of an IPO - คารับประกันการขาย = ชวงหางระหวางราคาที่เสนอขาย และ ราคาที่ผูออกหลักทรัพยไดรับ Underwriter = Spread between Offer price and Proceed to issuer - คาเอกสาร, คาทนาย, คาใชจายที่ตองใหนักบัญชี  Indirect cost of an IPO - Money left on the table = (ราคาปดในวันแรกของการขาย – ราคาเสนอขาย) x จํานวนหุนที่ขาย Ex. If firm issues 7 million shares at $10, what are net proceed if spread is 7%? Net Proceed = Gross proceed – Underwriting fee Gross proceed = # Shares x Price per share Underwriting fee = % spread x Gross proceed Gross proceed = 7 million x $10 = $70 million Underwriting fee = 7% x $70 million = $4.9 million Net proceed = $70 – $4.9 = $65.1 million Equity carve-outs (Partial IPO) - เปน IPO ชนิดพิเศษที่บริษัทแม (Parent company) ตั้งบริษัทมหาชนแหงใหมขึ้นมา โดยการขาย หลักทรัพยของบริษทยอย (Subsidiary) ใหแกนกลงทุนภายนอก ั ั - บริษัทแม จะเปนผูควบคุมผลประโยชนของบริษัทยอย
  • 5. Rights Offering - สิทธิ์ที่บริษัทมอบใหแกผูถือหุนเดิม ในการที่จะจองซื้อหุนสามัญจากการเพิ่มทุนของบริษัท โดยผูถือหุน จะไดสิทธิ์ตามสัดสวนของจํานวนหุนที่ถือครองอยู - ราคาของการใชสิทธิ์ (Exercise price) ที่ผูถือหุนเดิมจะตองจายสําหรับการซื้อหุนใหม จะต่ากวา ราคา ํ ตลาด หรือ ต่ํากวา ราคาที่เสนอขายแกบุคคลทั่วไป (Public Offering price) Going Private : การแปรสภาพใหเปนบริษัทเอกชน - โดยทั่วไปแลวฝายจัดการของบริษัทจะรวมตัวกับนักลงทุนกลุมเล็กๆ เพื่อที่จะกวานซื้อหลักทรัพยที่ถือ โดยนักลงทุนรายยอยในสาธารณะ - ผูถือหุนรายใหมมักจะระดมทุนในการนี้ ดวยการกอหนี้ขนาดใหญ (Debt Financing) ธุรกรรมนี้เรียกวา การเขายึดครองบริษัท หรือ Leveraged buyouts (LBOs) : การซื้อคืน โดยที่เงินที่ซื้อคืนนั้นหามาจากการกู ขอดี - ใหแรงจูงใจ และ ความยืดหยุนของฝายจัดการ - ลดความกดดันที่จะตองทําใหไดกําไรในระยะสั้น - ลด Agency costs ขอเสีย - การเพิ่มทุนทําไดลําบาก - การเปนหนี้จํานวนมากเพื่อทําการแปรสภาพ อาจทําใหบริษัทเขาสูภาวะวิกฤต  Maturity structure of their debt : การจัดการโครงสรางของระยะเวลาชําระหนี้ • Maturity matching : การ match ระหวางระยะเวลาชําระหนี้ กับ อายุของสินทรัพย - ควรออกหุนกูระยะสั้น เพื่อซื้อสินทรัพยที่มอายุสั้น ี - ควรออกหุนกูระยะยาว เพื่อซื้อสินทรัพยที่มอายุยาว ี • Information asymmetries : ขอมูลแบบอสมมาตร - บริษัทที่อยูในชวงที่แย แตคาดหมายวาจะมีโอกาสทีดีในอนาคต มักจะกูระยะสั้นกอนที่จะออกหุนระยะ ่ ยาวทีหลังตอนที่ Rating ดีกวาและกติกาในการใชหนี้ไมเขมงวดมาก - ขอมูลที่ผูจัดการทางการเงินรู แตกตางจาก ขอมูลที่นักลงทุนรู
  • 6. Managing Debt Risk with Project Financing : การจัดการความเสี่ยงจากการกอหนี้ • Project Financing - Project Financing เปนการระดมทุนสําหรับโครงการใหญๆ ที่ตองการใชทุนสูงๆ - บริษัทตองการทําโครงการ แตไมอยากใหมาเกี่ยวกับสินทรัพยของบริษัทแม คือ ตองการใหพิจารณาความ เสี่ยงเฉพาะโครงการนั้นๆ ดังนั้น จึงอาจตั้งเปนบริษัทยอยขึ้นมา - ผูสนับสนุน (บริษัทแม) จะออกทุนใหสวนหนึ่งเรียกวา Equity Capital สวนทุนที่เหลือจะมาจาก Lenders (ผูใหกู) และ Lessors (ผูใหเชา) - ดอกเบี้ย จะจายจาก Cash Flow ของโครงการนั้นๆ เจาหนี้ไมสามารถไลเบี้ยเอากับบริษัทแมได • Securitization : กระบวนการที่ทาให ขายหลักทรัพยไดงายขึ้น ํ - กระบวนการที่รวมตราสารทางการเงินที่คลายกันเขาดวยกัน แลวเปลี่ยนจากตราสารที่ไมมีสภาพคลองให เปนหลักทรัพยที่มีสภาพคลองสูง Bond call : การไถถอนหุนคืน - ถา Interest ต่ําลงจากตอนที่ออกหุนกู (Bond) บริษัทสามารถไถถอนหุนกูเกาคืน และ ออกหุนกูตัวใหม เพื่อที่จะไดจายดอกเบี้ย (Coupon rate) ที่ต่ํากวา Cost of refunding - Call premium : เงินสวนเกินมูลคาที่เรียนไถคืน - Flotation costs on the new issue Benefits - การลดลงของดอกเบี้ยที่ตองจายในแตละป (Coupon rate) - การลดหยอนภาษีที่ไดจาก Flotation expenses The NPV of refunding - ใช NPV ในการเปรียบเทียบประโยชนจากการลดลงของอัตราดอกเบี้ย กับ คาใชจายที่เกิดขึ้น - ถา NPV เปนบวก แสดงวา การไถถอนคืน (Bond Refunding) วันนี้จะเปนการเพิ่มมูลคาใหกับบริษัท