SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 6
Baixar para ler offline
Chapter 18
                         Distributions to Shareholders: Dividends and Repurchases

   • ผูถือหุน
        - ถือหุนเดิมไว จะได Dividends
        - ขายหุนคืน จะได Capital Gain
   • เปาหมายของการดําเนินธุรกิจ คือ การสรางความมั่งคังสูงสุดใหกับผูถือหุน
                                                       ่

Dividend Policy : นโยบายเงินปนผล
        - นโยบายเงินปนผลที่เหมาะสม คือ การจัดใหมีความสมดุลระหวาง การจายเงินปนผลในปจจุบัน และ อัตรา
การเจริญเติบโตของบริษัทในอนาคต เพื่อที่จะทําใหราคาของหุนสามัญสูงสุด

Theory of Dividends : ทฤษฎีนโยบายเงินปนผล
            1. Dividend Irrelevance Theory : ทฤษฎีนโยบายปนผลที่ไมแตกตาง
                    - เสนอโดย Merton Miller และ Franco Modigliani
                    - Investors don’t care about payout (จาย หรือ ไมจาย Dividends ก็ไมมีผลตอนักลงทุน)
                    - เสนอวา ... นโยบายเงินปนผลของบริษัท ไมมีผลกระทบตอมูลคาของบริษัท และ ตนทุนของเงินทุน
ทั้งนี้เนื่องจาก มูลคาของบริษท ขึ้นอยูกบ ความสามารถในการทํากําไร และ ความเสี่ยงของธุรกิจของบริษัทเอง
                                 ั        ั

ทฤษฎีของ M&M นั้นจะตั้งอยูบนสมมติฐานที่สําคัญ ดังนี้
       - ไมมีภาษีเงินได ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล
       - ไมมีคาใชจายในการจําหนายหุนสามัญใหม และ ไมมีคาใชจายในการซื้อขายหุน
                                                                 
       - การที่บริษัทมีหนี้สิน ไมมีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุน
       - นักลงทุนและผูบริหาร ไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับแนวโนมของบริษัทในอนาคต และ ขอมูลภายในของ
          บริษัทเหมือนกัน
       - ผูลงทุนทั้งหมด จะไมมีความแตกตางในการไดรับผลตอบแทนในรูปของการจายเงินปนผล หรือ สวน
          ตางราคาหลักทรัพย
       - นโยบายในการกําหนดงบลงทุนของบริษัท ไมขึ้นกับ นโยบายเงินปนผล

         จะเห็นไดวา จากสมมติฐานบางขออาจไมสอดคลองกับความเปนจริงของการดําเนินธุรกิจ กลาวคือ ธุรกิจและ
ผูลงทุนจะตองจายภาษีเงินได และ การออกหุนสามัญจะมีคาใชจายในการดําเนินการ และ ผูลงทุนจะมีคาใชจายในการ
                                                                                                     
ซื้อขายหลักทรัพย ซึ่งคาใชจายที่เกิดขึ้นจะมีผลตอตนทุนของเงินทุนในสวนของผูถือหุน และ สวนใหญผูบริหารจะ
                             
ทราบถึงขอมูลภายใน หรือ แนวโนมธุรกิจไดดีกวาผูลงทุนภายนอก
2. Bird-in-the-Hand Theory : ทฤษฎีลูกนกในกํามือ
                  - เสนอโดย Myron Gordon และ John Lintner
                  - Investors prefer a high payout (เอา Dividends เลยดีกวา)
                  - นักลงทุนยินดีที่จะไดรบเงินปนผลในปจจุบัน มากกวา การรอกําไรที่จะไดจากการที่ราคาหุนสามัญ
                                           ั
จะสูงขึ้นในอนาคต เนื่องจาก อัตราผลตอบแทนจากเงินปนผลจะมีความเสี่ยง นอยกวา อัตราผลตอบแทนจากกําไรที่จะ
ไดรบจากการที่คาดวาราคาหุนจะสูงขึ้นในอนาคต ดังนั้น จึงชอบบริษัทที่จายเงินปนผลสูงๆ
    ั
                  - นโยบายจายเงินปนผล จะมีผลตอ ตนทุนของเงินทุนในสวนของผูถือหุน คือ ตนทุนของเงินทุนใน
สวนของผูถือหุนจะเพิ่มขึ้น หากอัตราการจายเงินปนผลลดลง เนื่องจากนักลงทุนจะมีความเชื่อมั่นจากผลตอบแทนที่
คาดวาจะไดรับจากเงินปนผล มากกวา ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากสวนตางของราคา Capital Gain ในการซื้อขาย
หุนสามัญ ซึ่งอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังสามารถหาไดจาก....
                                                              Ks = อัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากหุนสามัญ
                                      Ks = D1 + g
                                                              D1 = เงินปนผลจายที่คาดวาจะไดรับในปหนา
                                             P0
                                                              P0 = ราคาหุนสามัญในปจจุบัน
                                                                          
                                                               g = อัตราการเจริญเติบโตของเงินปนผล
         นักลงทุนเห็นวา ความเสี่ยงที่เกิดจากเงินปนผล (D1/P0) นอยกวา ความเสี่ยงที่เกิดจากสวนตางราคาหุนใน
ปจจุบันกับในอนาคต ซึ่งขึ้นอยูกับอัตราการเจริญเติบโต (g) ที่มีความไมแนนอนสูงกวา
ปล. ราคาหุนสามัญจะแปรผันในทิศทางเดียวกันกับเงินปนผล ถาอัตราจายเงินปนผลสูง คนก็อยากไปซื้อมากขึ้น ทําใหราคาหุนสามัญ
ในตลาดสูงขึ้น


         3. Tax Preference Theory : ทฤษฎีความแตกตางทางภาษี
                 - Investors prefer a low payout, hence growth
                 - คนที่มีรายไดสูง จะเสียภาษีสูง ดังนั้น จึงชอบบริษัทที่จายเงินปนผลในอัตราต่า เพราะจะทําใหเสีย
                                                                                                  ํ
ภาษีนอยกวา
                 - นักลงทุนยินดีที่จะรับเงินปนผลในอัตราที่ต่ํา มากกวา อัตราที่สูง เนื่องจากเหตุผล 2 ขอ
                          1. อัตราภาษีจากการซื้อขายหุน จะมีอัตราที่ต่ํากวา อัตราภาษีของเงินปนผล หากผูที่มีหุน
สามัญอยูเปนจํานวนมาก ก็จะไดรับเงินปนผลมาก และเสียภาษีมากตามไปดวย ดังนั้น ทฤษฎีนี้สนับสนุนแนวคิด
ที่วา นักลงทุนจะมีความตองการที่จะใหบริษัทเก็บกําไรไวเปนกําไรสะสม เพื่อนําไปลงทุนในการขยายกิจการ ทําให
    
เกิดผลกําไรและทําใหราคาหุนสูงขึ้นตามมา สงผลใหนักลงทุนเสียภาษีในอัตราที่ต่ํากวาการไดรับผลตอบแทนในรูป
ของเงินปนผล
                          2. ภาษีจากกําไรในการซื้อขายหุน จะยังไมตองจายจนกวาจะมีการขายหุนออกไปจริง แต
รายไดจากเงินปนผลจะตองเสียภาษีทันทีทไดรับเงินปนผล ซึ่งความสามารถในการชะลอเวลาการชําระคาภาษีน้ี จะมี
                                           ี่
ประโยชนในเรื่องของมูลคาของเงินตามเวลานั่นเอง
                 - นักลงทุนอาจมีความชอบในเรื่องของการจายเงินปนผลในอัตราที่ต่ํา มากกวา ในอัตราที่สูง
เนื่องจากผลประโยชนทางภาษีนั่นเอง และเมื่อมีอัตราเงินปนผลต่ํา คนก็ไมคอยอยากซื้อ ทําใหราคาหุนสามัญต่ํา
                                                                               
Theory                             Implication
          1. Dividend Irrelevance                   Any payout OK.
          2. Bird-in-the-Hand                       Set high payout
          3. Tax preference                         Set low payout



ฉบับยอ
          1. Dividend Irrelevance Theory ผูลงทุนไมสนใจอัตราเงินปนผลจายเทาไรก็ได เพราะเชื่อวานโยบายเงินปน
ผลไมมีผลกระทบตอราคาหุนสามัญหรือตนทุนของเงิน ถาผูถือหุนตองการเงินสดก็จะขายหุน หรือใชเงินสวนเกินซื้อ
                                 
หุนเพิ่มเพื่อลงทุน ทฤษฎีนี้สมมติวาไมมีภาษีและคานายหนา
                                        
          2. Bird - in – the – Hand Theory ผูลงทุนชอบอัตราการจายปนผลสูง ใหความสําคัญกับเงินปนผลใน
ปจจุบัน คือ มีความแนนอนมากกวากําไรสวนเกินทุน(เสี่ยงนอยกวาผลตอบแทนจากกําไรที่คาดวาราคาหุนจะสูงใน
อนาคต)
          3. Tax Preference Theory มีเหตุผลเกี่ยวกับภาษี 3 ประการซึ่งทําใหผลงทุนชอบเงินปนผลต่ํา คือ
                                                                                   ู
                   3.1. อัตราภาษีของเงินปนผลสูงกวากําไรสวนทุน ผูลงทุนจึงยินดีใหกิจการนํากําไร สวนใหญไป
ลงทุนเพื่อทําใหราคาหุนสามัญสูงขึ้น ทําใหผูลงทุนไดรับประโยชนจากการขายหุนสามัญไดในราคาสูงแตเสียภาษีจาก
กําไรสวนทุนต่ํา
                   3.2. ภาษีของกําไรสวนทุนผูลงทุนยังไมตองจายจนกวาจะขายหุนนั้นได เงินภาษีที่จายในอนาคตจึงมี
                                                                                                          
ตนทุนที่แทจริงต่ํากวาปจจุบน    ั
                   3.3. เมื่อผูถือหุนถึงแกกรรมผูรับมรดกจะใชมูลคาหุน ณ วันที่ผูถึงหุนถึงแกกรรมเปน ตนทุนของหุน
ได แมวาหุนจะมีราคาสูงกวาราคาที่ผูถือหุนเดิมซื้อไวก็ไมเสียภาษีจากกําไรสวนทุน



Setting Dividend Policy : ขั้นตอนในการกําหนดอัตราการจายเงินปนผล
         - Forecast ความตองการลงทุน ทุก 5 ป
         - ตั้งเปาหมายโครงสรางเงินลงทุน
         - กําหนดจํานวนเงินทุนที่ตองการจากสวนของผูถือหุนตามโครงสรางของเงินทุนเปาหมาย
         - ตั้งเปาหมายการจายเงินปนผลจาก Residual model (จายเงินปนผลจากกําไรสวนที่เหลือจากการลงทุน)
         - Maintain target growth rate it possible, Varying capital structure somewhat if necessary
Clientele effect : นักลงทุนแตละกลุม จะชอบนโยบายการจายเงินปนผลที่แตกตางกัน)
          - เนื่องจากการใช Dividend Policy แตละแบบ ก็จะตอบสนองตอความตองการของกลุมผูลงทุนที่แตกตางกัน
ดังนั้น ถาหากบริษัทมีนโยบายจางเงินปนผลสูงก็จะมีกลุมผูลงทุนที่ตองการรายไดในปจจุบัน (Bird-in-hand) แต
ยอมรับกับการที่ตองเสียภาษี ในขณะที่หากนโยบายที่มีการจายเงินปนผลต่ํา ก็จะมีกลุมผูลงทุนในบริษัทที่เปนกลุมที่
ไมมีความจําเปนในการใช income ในปจจุบัน แตตองการ Capital Gain มากกวา เนื่องจาก Capital Gain ไมตองเสีย
                                                                                                        
ภาษี
           - ดังนั้น บริษัทอาจจะดึงดูดนักลงทุน โดยการกําหนดนโยบายเงินปนผลตามที่ผูถือหุนสวนใหญตองการ

Information content or Signaling
         - ถาผูบริหารประกาศจายเงินปนผลสูงขึ้น ก็จะเปนการสงสัญญาณทางบวกวา ผูบริหารคาดวากําไรในอนาคต
จะสูงขึ้น ดังนั้น ตลาดก็จะตอบสนองกับสัญญาณนี้ในทิศทางที่เปนบวก คือ ราคาหุนสามัญจะเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ตาม
หากการเพิ่มการจายเงินปนผลนี้ เปนผลมาจากการที่บริษัทไมมีโครงการที่นาลงทุนแลว ตลาดก็อาจจะตอบสนองใน
ทิศทางที่ตรงกันขาม คือ ราคาหุนสามัญจะลดลง
         - ในทางตรงกันขาม ถามีการประกาศจายเงินปนผลลดลง นักลงทุนอาจถือเปนสัญญาณทางลบจากผูบริหาร
วากําไรในอนาคตจะลดนอยลง หรืออาจจะมองวา การจายเงินปนผลที่นอยลงนี้เกิดขึ้นเพราะบริษัทมีโครงการลงทุนที่
นาสนใจ จึงจายเงินปนผลนอยลง เพื่อตองการเก็บกําไรสะสมไวเพื่อลงทุนตอ ซึ่งก็จะสงผลใหมูลคาหุนสามัญเพิ่มขึ้น
         - ดังนั้น ผูบริหารควรจะทําการชีแจงใหนักลงทุนทราบถึงสาเหตุในการเปลี่ยนแปลงการจายเงินปนผลดวย
                                            ้
                  ขอดี คือ ผูถือหุน, นักลงทุน เกิดความมันใจ
                                                           ่
                  ขอเสีย คือ คูแขงรูทัน

Residual distribution model : นโยบายปนผลสวนที่เหลือ
        - นํากําไรสะสมที่ได ---> เอามาใชเปนแหลงเงินทุนในการลงทุน (Capital Budget) ใหมากทีสุดเทาที่จะ
                                                                                              ่
เปนไปไดกอน แลวสวนของกําไรที่เหลือจากการลงทุนคอยเอามาจายเปนเงินปนผล เนื่องจากการใชเงินจากแหลง
เงินภายในนั้นมีตนทุนที่ต่ํากวา
                                                    เงินที่จะใชในการลงทุนนั้น มาจากสวนของ Equity เทาไหร

            Distributions Paid = Net Income – (Target equity ratio x Total capital budget)



        -    ถา Net Income > แสดงวา มีเงินเหลือพอที่จะจายเงินปนผล
        -    ถา Net Income < แสดงวา มีเงินไมพอ ตองหาเงินมาเพิ่ม โดยอาจจะหามาจากการกู , ออกหุนใหม
        -    หากบริษทมีโครงการลงทุนที่นาสนใจนอย ก็จะใชเงินลงทุนนอย ทําให จายเงินปนผลไดมาก
                       ั
        -    หากบริษัทมีโครงการลงทุนที่นาสนใจมาก ก็จะใชเงินลงทุนมาก ทําให จายเงินปนผลไดนอย

                            Payout ratio =      Dividends
                                                Net Income
ขอดี
  - ใชเงินที่มีอยูกอน ถาไมพอแลวคอยออกหุนใหม ทําให มีการออกหุนใหมนอย ซึ่งก็จะทําใหมี Flotation cost นอย
ขอเสีย
  - การจายเงินปนผลจะไมมีความสม่ําเสมอในแตละป เนื่องจากโอกาสการลงทุน, กําไรสุทธิในแตละปจะมีความ
แตกตางกัน
สรุป
 - การพิจารณาใช Residual Policy นั้น ควรใชเมื่อทําการ Setting target payout แตไมควรใชเปนแบบตายตัว
ปล. นโยบายนี้ –คาใชจายในการขายหุนต่ํา และตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของเงินทุนต่ํา


ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเรื่อง อัตราการจายเงินปนผลที่เหมาะสม
          1. ความชอบของนักลงทุน ระหวาง Dividend และ Capital gain
          2. โอกาสในการลงทุนของบริษัท
          3. ผลกระทบของนโยบายเงินปนผล ตอ นโยบายโครงสรางเงินทุนของบริษัท
          4. โอกาสในการหาแหลงเงินทุนและตนทุนของเงินทุนจากแหลงเงินทุนภายนอก

Stock Repurchases : การซื้อหุนคืน
          - การซื้อหุนสามัญกลับคืน ( stock repurchase) เปนทางเลือกหนึ่งของบริษัทในการจายเงินปนผลใหกับผูถือ
หุนสามัญของบริษัท โดยบริษัทที่มีเงินสดสวนเกิน อาจจะทําการซื้อหุนสามัญของตนกลับคืน แทนที่จะจายเงินปนผล
ในรูปแบบของเงินสด หุนที่ถูกซื้อคืนเรียกวา หุนทุนซื้อคืน หรือ Treasury Stock การซื้อหุนคืนอาจมีผลใหราคาหุน
สูงขึ้น และราคาหุนที่สูงขึ้นนี้ จะทําใหมีกําไรจากการเปลี่ยนแปลงของราคาเมื่อขายหุนออกไป

สาเหตุท่มการซื้อหุนคืน
        ีี
        - เพื่อกระจายเงินสดใหผูถือหุน แทนการจายเงินปนผล
        - เพื่อตองการเปลี่ยนแปลง Capital Structure เพื่อให WACC ต่ําที่สุดและ Maximize Value of Firm
        - หุนซื้อคืน เรียกวา Treasury stock การซื้อหุนคืนอาจมีผลใหราคาหุนสูงขึ้น และราคาหุนที่สูงขึ้นนี้จะทําใหมี
กําไรจากการเปลี่ยนแปลงของราคาเมื่อขายหุนไป

ขอดีจากการซื้อหุนคืน
        - ปองการการถูก Takeover
        - บริหารเงินสดสวนเกิน (Excess Cash) และเปนการลด Operation Capital ซึ่งจะทําให EVA ของบริษัทสูงขึ้น
        - รายไดที่ไดรับจากการซื้อขายหุน (Capital gains) rather than higher-taxed dividends
        - Stockholders may take as a positive signal management thinks stock is undervalued
        - ทําใหผูถือหุนสามัญไดรับผลประโยชนทางภาษี เนื่องจาก ภาษีจากการไดรับเงินสดปนผล จะสูงกวาภาษี
จากสวนตางราคาในการซื้อขายหลักทรัพย
ขอเสียจากการซื้อหุนคืน
         - อาจจะเปน Negative signal (firm has poor investment opportunities)
         - IRS สามารถลงโทษโดยการปรับได ถาทําการซื้อหุนคืนเพื่อหลีกเลี่ยนการจายภาษี Dividends

Stock Dividend : หุนปนผล
        หุนปนผล ( stock dividends) หมายถึง หุนสามัญที่ผูถือหุนสามัญจะไดเพิ่มขึ้นแทนการไดรับปนผลเปนเงินสด
หุนปนผลจะมีลักษณะที่คลายกับการแตกหุน ซึ่งจะไมมีผลตอฐานะของผูถือหุนโดยรวม การจายหุนปนผล มักจะ
แสดงเปนรอยละของจํานวนหุนสามัญที่ถืออยูเดิม เชน หุนปนผล 10% ผูถือหุนจะไดรับหุนใหม 10 หุน สําหรับหุน
สามัญเดิมที่ถืออยู 10จ หุน ตัวอยางเชน ถามีการกําหนดนโยบายการจายเงินปนผลเทากับ 5% หมายความวา ผูถือหุนที่
มีหุนสามัญอยูจํานวน 100 หุน จะไดรับหุนปนผลจํานวน 5 หุนทําใหมีหุนสามัญที่ถือเทากับ 105 หุน

 Stock split : การแตกหุน
         การแตกหุน( stock splits) คือการแบง หุนสามัญของบริษัท 1 หุน ออกเปนจํานวนหลายๆ หุน โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อ การกําหนดราคาตลาดของหุน และอัตราสวนราคาตอกําไร ( P/E) ที่เหมาะสม เพื่อทําใหมูลคาของ
หุนสามัญเพิ่มขึ้นสูงสุด เชน ถาราคาตลาดของหุนเปน 100 บาท และราคาตลาดที่เหมาะสมเทากับ 20 บาทตอหุน
ผูบริหารอาจดําเนินการแตกหุนเดิมจาก 1 หุนเปนหุนใหม 5 หุน ซึ่งจะทําใหจํานวนหุนสามัญเพิ่มขึ้นเปน 5 เทา โดยจะ
ทําใหกําไรสุทธิตอหุนและเงินปนผลตอหุนลดลง 5 เทาผูลงทุนแตละคนจะมีหุนเพิ่มขึ้น แตมูลคาของแตละหุนจะ
ลดลง อยางก็ตาม ผลตอบแทนที่ผูถือหุนไดรับโดยรวมจะยังคงเทาเดิม สัดสวนในการถือหุนก็ยังคงเทาเดิม ซึ่งนโยบาย
การแตกหุนอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน จากหุนเดิม 1 หุนเปนหุนใหม 2 หุน หรือจากหุนเดิม 1 หุนเปนหุนใหม 10 หุน
เปนตน

    • เมื่อมีการแตกหุนและการจายหุนปนผล ราคาหุนสามัญมักเพิ่มสูงขึ้น
    • ราคาที่เพิ่มขึ้นของหุนสามัญ เกิดจากการที่นักลงทุนมองวาการแตกหุนและการจายหุนปนผลนั้น เปนการสง
      สัญญาณของบริษัทวา ผลประกอบการของบริษัทในอนาคตจะเพิ่มสูงขึ้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

కురేనీయుడైన సీమోను
కురేనీయుడైన సీమోను కురేనీయుడైన సీమోను
కురేనీయుడైన సీమోను Dr. Johnson Satya
 
Critical anaysis on ayurvedic dentistry
Critical anaysis on ayurvedic dentistryCritical anaysis on ayurvedic dentistry
Critical anaysis on ayurvedic dentistryDr.Syam Chandran.C
 
Ksheera Vasthi Practical Understandings
Ksheera Vasthi Practical UnderstandingsKsheera Vasthi Practical Understandings
Ksheera Vasthi Practical UnderstandingsAnanthram Sharma
 
Parisudda vaaramu
Parisudda vaaramuParisudda vaaramu
Parisudda vaaramuipcchurch
 
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยวิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยTouch Thanaboramat
 
管理思想的演進
管理思想的演進管理思想的演進
管理思想的演進joe lo
 
John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)
John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)
John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)fujsekwsxksmem
 
Bootu kaavyam-01-05
Bootu kaavyam-01-05Bootu kaavyam-01-05
Bootu kaavyam-01-05venkatesha9
 
Yoni vyapda part 1 notes
Yoni vyapda part 1  notes Yoni vyapda part 1  notes
Yoni vyapda part 1 notes Mayank Parashar
 
Tamaka sawasa adetail description
Tamaka sawasa adetail description Tamaka sawasa adetail description
Tamaka sawasa adetail description vidhu mahehswari
 
023 uchchu-01-02
023 uchchu-01-02023 uchchu-01-02
023 uchchu-01-02Hari99
 
班級套書學習單 不是我的錯
班級套書學習單 不是我的錯班級套書學習單 不是我的錯
班級套書學習單 不是我的錯amywen
 

Mais procurados (20)

P4 lesson 3
P4 lesson 3P4 lesson 3
P4 lesson 3
 
P4 lesson 13
P4 lesson 13P4 lesson 13
P4 lesson 13
 
కురేనీయుడైన సీమోను
కురేనీయుడైన సీమోను కురేనీయుడైన సీమోను
కురేనీయుడైన సీమోను
 
Critical anaysis on ayurvedic dentistry
Critical anaysis on ayurvedic dentistryCritical anaysis on ayurvedic dentistry
Critical anaysis on ayurvedic dentistry
 
RRK testimony
RRK testimonyRRK testimony
RRK testimony
 
Ksheera Vasthi Practical Understandings
Ksheera Vasthi Practical UnderstandingsKsheera Vasthi Practical Understandings
Ksheera Vasthi Practical Understandings
 
P4 lesson 5
P4 lesson 5P4 lesson 5
P4 lesson 5
 
Atadi katha-01
Atadi katha-01Atadi katha-01
Atadi katha-01
 
AHIPUTANA.pptx
AHIPUTANA.pptxAHIPUTANA.pptx
AHIPUTANA.pptx
 
Parisudda vaaramu
Parisudda vaaramuParisudda vaaramu
Parisudda vaaramu
 
P4 lesson 15
P4 lesson 15P4 lesson 15
P4 lesson 15
 
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อยวิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
วิชาธรรมกาย ฉบับครึ่งหลักสูตร สำหรับนักเรียนที่มีเวลาน้อย
 
管理思想的演進
管理思想的演進管理思想的演進
管理思想的演進
 
John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)
John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)
John deere g110 garden tractor service repair manual (tm2020)
 
Kshudra kusta vicharchika
Kshudra kusta vicharchikaKshudra kusta vicharchika
Kshudra kusta vicharchika
 
Bootu kaavyam-01-05
Bootu kaavyam-01-05Bootu kaavyam-01-05
Bootu kaavyam-01-05
 
Yoni vyapda part 1 notes
Yoni vyapda part 1  notes Yoni vyapda part 1  notes
Yoni vyapda part 1 notes
 
Tamaka sawasa adetail description
Tamaka sawasa adetail description Tamaka sawasa adetail description
Tamaka sawasa adetail description
 
023 uchchu-01-02
023 uchchu-01-02023 uchchu-01-02
023 uchchu-01-02
 
班級套書學習單 不是我的錯
班級套書學習單 不是我的錯班級套書學習單 不是我的錯
班級套書學習單 不是我的錯
 

Destaque

Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Reporttltutortutor
 
Finance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk ManagementFinance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk Managementtltutortutor
 
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial RestructuringFinance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuringtltutortutor
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interesttltutortutor
 
Fm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield CurveFm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield Curvetltutortutor
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summarytltutortutor
 
capital structure and leverage
capital structure and leveragecapital structure and leverage
capital structure and leverageBZ University
 
Fm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchases
Fm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchasesFm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchases
Fm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchasesNhu Tuyet Tran
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plustltutortutor
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Pricetltutortutor
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3tltutortutor
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2tltutortutor
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1tltutortutor
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communicationtltutortutor
 

Destaque (20)

Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Effective Business Report
Effective Business ReportEffective Business Report
Effective Business Report
 
Finance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk ManagementFinance Derivatives And Risk Management
Finance Derivatives And Risk Management
 
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial RestructuringFinance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
Finance Initial Public Offerings Investment Banking And Financial Restructuring
 
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of InterestFinance Yield Curve & Term Structure Of Interest
Finance Yield Curve & Term Structure Of Interest
 
Fm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield CurveFm Ch6 Yield Curve
Fm Ch6 Yield Curve
 
Operation Management Summary
Operation Management SummaryOperation Management Summary
Operation Management Summary
 
capital structure and leverage
capital structure and leveragecapital structure and leverage
capital structure and leverage
 
Fm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchases
Fm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchasesFm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchases
Fm11 ch 18 distributions to shareholders dividends and repurchases
 
Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2Ru Derivativesand Risk Management Part2
Ru Derivativesand Risk Management Part2
 
Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3Ru Derivativesand Risk Management Part3
Ru Derivativesand Risk Management Part3
 
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1Ru Derivativesandriskmanagement Part1
Ru Derivativesandriskmanagement Part1
 
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated PlusRu Fm Chapter07 Updated Plus
Ru Fm Chapter07 Updated Plus
 
Case Study Ezy Go Product&Price
Case Study Ezy Go  Product&PriceCase Study Ezy Go  Product&Price
Case Study Ezy Go Product&Price
 
Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602Ru Final Exam Bm602
Ru Final Exam Bm602
 
R U Derivativesand Risk Management Part3
R U  Derivativesand Risk Management Part3R U  Derivativesand Risk Management Part3
R U Derivativesand Risk Management Part3
 
R U Derivativesand Risk Management Part2
R U  Derivativesand Risk Management Part2R U  Derivativesand Risk Management Part2
R U Derivativesand Risk Management Part2
 
R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1R U Derivativesandriskmanagement Part1
R U Derivativesandriskmanagement Part1
 
Case Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & CommunicationCase Study Ezy Go Channel & Communication
Case Study Ezy Go Channel & Communication
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 

Mais de tltutortutor

Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plustltutortutor
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updatedtltutortutor
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updatedtltutortutor
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Managementtltutortutor
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดtltutortutor
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwesttltutortutor
 

Mais de tltutortutor (16)

Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Finance Formula
Finance FormulaFinance Formula
Finance Formula
 
Ru Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 UpdatedRu Fm Chapter10 Updated
Ru Fm Chapter10 Updated
 
Ru Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 UpdatedRu Fm Chapter09 Updated
Ru Fm Chapter09 Updated
 
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated PlusRu Fm Chapter08 Updated Plus
Ru Fm Chapter08 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated PlusRu Fm Chapter06 Updated Plus
Ru Fm Chapter06 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 UpdatedRu Fm Chapter05 Updated
Ru Fm Chapter05 Updated
 
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated PlusRu Fm Chapter04 Updated Plus
Ru Fm Chapter04 Updated Plus
 
Ru Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 UpdatedRu Fm Chapter03 Updated
Ru Fm Chapter03 Updated
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Operating Management
Operating ManagementOperating Management
Operating Management
 
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาดแนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
แนวทางการตอบโจทย์วิชาการตลาด
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Case Study Southwest
Case Study SouthwestCase Study Southwest
Case Study Southwest
 

Finance Distributions To Shareholders Dividends And Repurchases

  • 1. Chapter 18 Distributions to Shareholders: Dividends and Repurchases • ผูถือหุน - ถือหุนเดิมไว จะได Dividends - ขายหุนคืน จะได Capital Gain • เปาหมายของการดําเนินธุรกิจ คือ การสรางความมั่งคังสูงสุดใหกับผูถือหุน ่ Dividend Policy : นโยบายเงินปนผล - นโยบายเงินปนผลที่เหมาะสม คือ การจัดใหมีความสมดุลระหวาง การจายเงินปนผลในปจจุบัน และ อัตรา การเจริญเติบโตของบริษัทในอนาคต เพื่อที่จะทําใหราคาของหุนสามัญสูงสุด Theory of Dividends : ทฤษฎีนโยบายเงินปนผล 1. Dividend Irrelevance Theory : ทฤษฎีนโยบายปนผลที่ไมแตกตาง - เสนอโดย Merton Miller และ Franco Modigliani - Investors don’t care about payout (จาย หรือ ไมจาย Dividends ก็ไมมีผลตอนักลงทุน) - เสนอวา ... นโยบายเงินปนผลของบริษัท ไมมีผลกระทบตอมูลคาของบริษัท และ ตนทุนของเงินทุน ทั้งนี้เนื่องจาก มูลคาของบริษท ขึ้นอยูกบ ความสามารถในการทํากําไร และ ความเสี่ยงของธุรกิจของบริษัทเอง ั ั ทฤษฎีของ M&M นั้นจะตั้งอยูบนสมมติฐานที่สําคัญ ดังนี้ - ไมมีภาษีเงินได ทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคล - ไมมีคาใชจายในการจําหนายหุนสามัญใหม และ ไมมีคาใชจายในการซื้อขายหุน   - การที่บริษัทมีหนี้สิน ไมมีผลกระทบตอตนทุนของเงินทุน - นักลงทุนและผูบริหาร ไดรับขอมูลขาวสารเกี่ยวกับแนวโนมของบริษัทในอนาคต และ ขอมูลภายในของ บริษัทเหมือนกัน - ผูลงทุนทั้งหมด จะไมมีความแตกตางในการไดรับผลตอบแทนในรูปของการจายเงินปนผล หรือ สวน ตางราคาหลักทรัพย - นโยบายในการกําหนดงบลงทุนของบริษัท ไมขึ้นกับ นโยบายเงินปนผล จะเห็นไดวา จากสมมติฐานบางขออาจไมสอดคลองกับความเปนจริงของการดําเนินธุรกิจ กลาวคือ ธุรกิจและ ผูลงทุนจะตองจายภาษีเงินได และ การออกหุนสามัญจะมีคาใชจายในการดําเนินการ และ ผูลงทุนจะมีคาใชจายในการ   ซื้อขายหลักทรัพย ซึ่งคาใชจายที่เกิดขึ้นจะมีผลตอตนทุนของเงินทุนในสวนของผูถือหุน และ สวนใหญผูบริหารจะ  ทราบถึงขอมูลภายใน หรือ แนวโนมธุรกิจไดดีกวาผูลงทุนภายนอก
  • 2. 2. Bird-in-the-Hand Theory : ทฤษฎีลูกนกในกํามือ - เสนอโดย Myron Gordon และ John Lintner - Investors prefer a high payout (เอา Dividends เลยดีกวา) - นักลงทุนยินดีที่จะไดรบเงินปนผลในปจจุบัน มากกวา การรอกําไรที่จะไดจากการที่ราคาหุนสามัญ ั จะสูงขึ้นในอนาคต เนื่องจาก อัตราผลตอบแทนจากเงินปนผลจะมีความเสี่ยง นอยกวา อัตราผลตอบแทนจากกําไรที่จะ ไดรบจากการที่คาดวาราคาหุนจะสูงขึ้นในอนาคต ดังนั้น จึงชอบบริษัทที่จายเงินปนผลสูงๆ ั - นโยบายจายเงินปนผล จะมีผลตอ ตนทุนของเงินทุนในสวนของผูถือหุน คือ ตนทุนของเงินทุนใน สวนของผูถือหุนจะเพิ่มขึ้น หากอัตราการจายเงินปนผลลดลง เนื่องจากนักลงทุนจะมีความเชื่อมั่นจากผลตอบแทนที่ คาดวาจะไดรับจากเงินปนผล มากกวา ผลตอบแทนที่คาดวาจะไดรับจากสวนตางของราคา Capital Gain ในการซื้อขาย หุนสามัญ ซึ่งอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังสามารถหาไดจาก.... Ks = อัตราผลตอบแทนที่คาดหวังจากหุนสามัญ Ks = D1 + g D1 = เงินปนผลจายที่คาดวาจะไดรับในปหนา P0 P0 = ราคาหุนสามัญในปจจุบัน  g = อัตราการเจริญเติบโตของเงินปนผล นักลงทุนเห็นวา ความเสี่ยงที่เกิดจากเงินปนผล (D1/P0) นอยกวา ความเสี่ยงที่เกิดจากสวนตางราคาหุนใน ปจจุบันกับในอนาคต ซึ่งขึ้นอยูกับอัตราการเจริญเติบโต (g) ที่มีความไมแนนอนสูงกวา ปล. ราคาหุนสามัญจะแปรผันในทิศทางเดียวกันกับเงินปนผล ถาอัตราจายเงินปนผลสูง คนก็อยากไปซื้อมากขึ้น ทําใหราคาหุนสามัญ ในตลาดสูงขึ้น 3. Tax Preference Theory : ทฤษฎีความแตกตางทางภาษี - Investors prefer a low payout, hence growth - คนที่มีรายไดสูง จะเสียภาษีสูง ดังนั้น จึงชอบบริษัทที่จายเงินปนผลในอัตราต่า เพราะจะทําใหเสีย ํ ภาษีนอยกวา - นักลงทุนยินดีที่จะรับเงินปนผลในอัตราที่ต่ํา มากกวา อัตราที่สูง เนื่องจากเหตุผล 2 ขอ 1. อัตราภาษีจากการซื้อขายหุน จะมีอัตราที่ต่ํากวา อัตราภาษีของเงินปนผล หากผูที่มีหุน สามัญอยูเปนจํานวนมาก ก็จะไดรับเงินปนผลมาก และเสียภาษีมากตามไปดวย ดังนั้น ทฤษฎีนี้สนับสนุนแนวคิด ที่วา นักลงทุนจะมีความตองการที่จะใหบริษัทเก็บกําไรไวเปนกําไรสะสม เพื่อนําไปลงทุนในการขยายกิจการ ทําให  เกิดผลกําไรและทําใหราคาหุนสูงขึ้นตามมา สงผลใหนักลงทุนเสียภาษีในอัตราที่ต่ํากวาการไดรับผลตอบแทนในรูป ของเงินปนผล 2. ภาษีจากกําไรในการซื้อขายหุน จะยังไมตองจายจนกวาจะมีการขายหุนออกไปจริง แต รายไดจากเงินปนผลจะตองเสียภาษีทันทีทไดรับเงินปนผล ซึ่งความสามารถในการชะลอเวลาการชําระคาภาษีน้ี จะมี ี่ ประโยชนในเรื่องของมูลคาของเงินตามเวลานั่นเอง - นักลงทุนอาจมีความชอบในเรื่องของการจายเงินปนผลในอัตราที่ต่ํา มากกวา ในอัตราที่สูง เนื่องจากผลประโยชนทางภาษีนั่นเอง และเมื่อมีอัตราเงินปนผลต่ํา คนก็ไมคอยอยากซื้อ ทําใหราคาหุนสามัญต่ํา 
  • 3. Theory Implication 1. Dividend Irrelevance Any payout OK. 2. Bird-in-the-Hand Set high payout 3. Tax preference Set low payout ฉบับยอ 1. Dividend Irrelevance Theory ผูลงทุนไมสนใจอัตราเงินปนผลจายเทาไรก็ได เพราะเชื่อวานโยบายเงินปน ผลไมมีผลกระทบตอราคาหุนสามัญหรือตนทุนของเงิน ถาผูถือหุนตองการเงินสดก็จะขายหุน หรือใชเงินสวนเกินซื้อ  หุนเพิ่มเพื่อลงทุน ทฤษฎีนี้สมมติวาไมมีภาษีและคานายหนา  2. Bird - in – the – Hand Theory ผูลงทุนชอบอัตราการจายปนผลสูง ใหความสําคัญกับเงินปนผลใน ปจจุบัน คือ มีความแนนอนมากกวากําไรสวนเกินทุน(เสี่ยงนอยกวาผลตอบแทนจากกําไรที่คาดวาราคาหุนจะสูงใน อนาคต) 3. Tax Preference Theory มีเหตุผลเกี่ยวกับภาษี 3 ประการซึ่งทําใหผลงทุนชอบเงินปนผลต่ํา คือ ู 3.1. อัตราภาษีของเงินปนผลสูงกวากําไรสวนทุน ผูลงทุนจึงยินดีใหกิจการนํากําไร สวนใหญไป ลงทุนเพื่อทําใหราคาหุนสามัญสูงขึ้น ทําใหผูลงทุนไดรับประโยชนจากการขายหุนสามัญไดในราคาสูงแตเสียภาษีจาก กําไรสวนทุนต่ํา 3.2. ภาษีของกําไรสวนทุนผูลงทุนยังไมตองจายจนกวาจะขายหุนนั้นได เงินภาษีที่จายในอนาคตจึงมี  ตนทุนที่แทจริงต่ํากวาปจจุบน ั 3.3. เมื่อผูถือหุนถึงแกกรรมผูรับมรดกจะใชมูลคาหุน ณ วันที่ผูถึงหุนถึงแกกรรมเปน ตนทุนของหุน ได แมวาหุนจะมีราคาสูงกวาราคาที่ผูถือหุนเดิมซื้อไวก็ไมเสียภาษีจากกําไรสวนทุน Setting Dividend Policy : ขั้นตอนในการกําหนดอัตราการจายเงินปนผล - Forecast ความตองการลงทุน ทุก 5 ป - ตั้งเปาหมายโครงสรางเงินลงทุน - กําหนดจํานวนเงินทุนที่ตองการจากสวนของผูถือหุนตามโครงสรางของเงินทุนเปาหมาย - ตั้งเปาหมายการจายเงินปนผลจาก Residual model (จายเงินปนผลจากกําไรสวนที่เหลือจากการลงทุน) - Maintain target growth rate it possible, Varying capital structure somewhat if necessary
  • 4. Clientele effect : นักลงทุนแตละกลุม จะชอบนโยบายการจายเงินปนผลที่แตกตางกัน) - เนื่องจากการใช Dividend Policy แตละแบบ ก็จะตอบสนองตอความตองการของกลุมผูลงทุนที่แตกตางกัน ดังนั้น ถาหากบริษัทมีนโยบายจางเงินปนผลสูงก็จะมีกลุมผูลงทุนที่ตองการรายไดในปจจุบัน (Bird-in-hand) แต ยอมรับกับการที่ตองเสียภาษี ในขณะที่หากนโยบายที่มีการจายเงินปนผลต่ํา ก็จะมีกลุมผูลงทุนในบริษัทที่เปนกลุมที่ ไมมีความจําเปนในการใช income ในปจจุบัน แตตองการ Capital Gain มากกวา เนื่องจาก Capital Gain ไมตองเสีย  ภาษี - ดังนั้น บริษัทอาจจะดึงดูดนักลงทุน โดยการกําหนดนโยบายเงินปนผลตามที่ผูถือหุนสวนใหญตองการ Information content or Signaling - ถาผูบริหารประกาศจายเงินปนผลสูงขึ้น ก็จะเปนการสงสัญญาณทางบวกวา ผูบริหารคาดวากําไรในอนาคต จะสูงขึ้น ดังนั้น ตลาดก็จะตอบสนองกับสัญญาณนี้ในทิศทางที่เปนบวก คือ ราคาหุนสามัญจะเพิ่มสูงขึ้น อยางไรก็ตาม หากการเพิ่มการจายเงินปนผลนี้ เปนผลมาจากการที่บริษัทไมมีโครงการที่นาลงทุนแลว ตลาดก็อาจจะตอบสนองใน ทิศทางที่ตรงกันขาม คือ ราคาหุนสามัญจะลดลง - ในทางตรงกันขาม ถามีการประกาศจายเงินปนผลลดลง นักลงทุนอาจถือเปนสัญญาณทางลบจากผูบริหาร วากําไรในอนาคตจะลดนอยลง หรืออาจจะมองวา การจายเงินปนผลที่นอยลงนี้เกิดขึ้นเพราะบริษัทมีโครงการลงทุนที่ นาสนใจ จึงจายเงินปนผลนอยลง เพื่อตองการเก็บกําไรสะสมไวเพื่อลงทุนตอ ซึ่งก็จะสงผลใหมูลคาหุนสามัญเพิ่มขึ้น - ดังนั้น ผูบริหารควรจะทําการชีแจงใหนักลงทุนทราบถึงสาเหตุในการเปลี่ยนแปลงการจายเงินปนผลดวย ้ ขอดี คือ ผูถือหุน, นักลงทุน เกิดความมันใจ ่ ขอเสีย คือ คูแขงรูทัน Residual distribution model : นโยบายปนผลสวนที่เหลือ - นํากําไรสะสมที่ได ---> เอามาใชเปนแหลงเงินทุนในการลงทุน (Capital Budget) ใหมากทีสุดเทาที่จะ ่ เปนไปไดกอน แลวสวนของกําไรที่เหลือจากการลงทุนคอยเอามาจายเปนเงินปนผล เนื่องจากการใชเงินจากแหลง เงินภายในนั้นมีตนทุนที่ต่ํากวา เงินที่จะใชในการลงทุนนั้น มาจากสวนของ Equity เทาไหร Distributions Paid = Net Income – (Target equity ratio x Total capital budget) - ถา Net Income > แสดงวา มีเงินเหลือพอที่จะจายเงินปนผล - ถา Net Income < แสดงวา มีเงินไมพอ ตองหาเงินมาเพิ่ม โดยอาจจะหามาจากการกู , ออกหุนใหม - หากบริษทมีโครงการลงทุนที่นาสนใจนอย ก็จะใชเงินลงทุนนอย ทําให จายเงินปนผลไดมาก ั - หากบริษัทมีโครงการลงทุนที่นาสนใจมาก ก็จะใชเงินลงทุนมาก ทําให จายเงินปนผลไดนอย Payout ratio = Dividends Net Income
  • 5. ขอดี - ใชเงินที่มีอยูกอน ถาไมพอแลวคอยออกหุนใหม ทําให มีการออกหุนใหมนอย ซึ่งก็จะทําใหมี Flotation cost นอย ขอเสีย - การจายเงินปนผลจะไมมีความสม่ําเสมอในแตละป เนื่องจากโอกาสการลงทุน, กําไรสุทธิในแตละปจะมีความ แตกตางกัน สรุป - การพิจารณาใช Residual Policy นั้น ควรใชเมื่อทําการ Setting target payout แตไมควรใชเปนแบบตายตัว ปล. นโยบายนี้ –คาใชจายในการขายหุนต่ํา และตนทุนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของเงินทุนต่ํา ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจเรื่อง อัตราการจายเงินปนผลที่เหมาะสม 1. ความชอบของนักลงทุน ระหวาง Dividend และ Capital gain 2. โอกาสในการลงทุนของบริษัท 3. ผลกระทบของนโยบายเงินปนผล ตอ นโยบายโครงสรางเงินทุนของบริษัท 4. โอกาสในการหาแหลงเงินทุนและตนทุนของเงินทุนจากแหลงเงินทุนภายนอก Stock Repurchases : การซื้อหุนคืน - การซื้อหุนสามัญกลับคืน ( stock repurchase) เปนทางเลือกหนึ่งของบริษัทในการจายเงินปนผลใหกับผูถือ หุนสามัญของบริษัท โดยบริษัทที่มีเงินสดสวนเกิน อาจจะทําการซื้อหุนสามัญของตนกลับคืน แทนที่จะจายเงินปนผล ในรูปแบบของเงินสด หุนที่ถูกซื้อคืนเรียกวา หุนทุนซื้อคืน หรือ Treasury Stock การซื้อหุนคืนอาจมีผลใหราคาหุน สูงขึ้น และราคาหุนที่สูงขึ้นนี้ จะทําใหมีกําไรจากการเปลี่ยนแปลงของราคาเมื่อขายหุนออกไป สาเหตุท่มการซื้อหุนคืน ีี - เพื่อกระจายเงินสดใหผูถือหุน แทนการจายเงินปนผล - เพื่อตองการเปลี่ยนแปลง Capital Structure เพื่อให WACC ต่ําที่สุดและ Maximize Value of Firm - หุนซื้อคืน เรียกวา Treasury stock การซื้อหุนคืนอาจมีผลใหราคาหุนสูงขึ้น และราคาหุนที่สูงขึ้นนี้จะทําใหมี กําไรจากการเปลี่ยนแปลงของราคาเมื่อขายหุนไป ขอดีจากการซื้อหุนคืน - ปองการการถูก Takeover - บริหารเงินสดสวนเกิน (Excess Cash) และเปนการลด Operation Capital ซึ่งจะทําให EVA ของบริษัทสูงขึ้น - รายไดที่ไดรับจากการซื้อขายหุน (Capital gains) rather than higher-taxed dividends - Stockholders may take as a positive signal management thinks stock is undervalued - ทําใหผูถือหุนสามัญไดรับผลประโยชนทางภาษี เนื่องจาก ภาษีจากการไดรับเงินสดปนผล จะสูงกวาภาษี จากสวนตางราคาในการซื้อขายหลักทรัพย
  • 6. ขอเสียจากการซื้อหุนคืน - อาจจะเปน Negative signal (firm has poor investment opportunities) - IRS สามารถลงโทษโดยการปรับได ถาทําการซื้อหุนคืนเพื่อหลีกเลี่ยนการจายภาษี Dividends Stock Dividend : หุนปนผล หุนปนผล ( stock dividends) หมายถึง หุนสามัญที่ผูถือหุนสามัญจะไดเพิ่มขึ้นแทนการไดรับปนผลเปนเงินสด หุนปนผลจะมีลักษณะที่คลายกับการแตกหุน ซึ่งจะไมมีผลตอฐานะของผูถือหุนโดยรวม การจายหุนปนผล มักจะ แสดงเปนรอยละของจํานวนหุนสามัญที่ถืออยูเดิม เชน หุนปนผล 10% ผูถือหุนจะไดรับหุนใหม 10 หุน สําหรับหุน สามัญเดิมที่ถืออยู 10จ หุน ตัวอยางเชน ถามีการกําหนดนโยบายการจายเงินปนผลเทากับ 5% หมายความวา ผูถือหุนที่ มีหุนสามัญอยูจํานวน 100 หุน จะไดรับหุนปนผลจํานวน 5 หุนทําใหมีหุนสามัญที่ถือเทากับ 105 หุน Stock split : การแตกหุน การแตกหุน( stock splits) คือการแบง หุนสามัญของบริษัท 1 หุน ออกเปนจํานวนหลายๆ หุน โดยมี วัตถุประสงคเพื่อ การกําหนดราคาตลาดของหุน และอัตราสวนราคาตอกําไร ( P/E) ที่เหมาะสม เพื่อทําใหมูลคาของ หุนสามัญเพิ่มขึ้นสูงสุด เชน ถาราคาตลาดของหุนเปน 100 บาท และราคาตลาดที่เหมาะสมเทากับ 20 บาทตอหุน ผูบริหารอาจดําเนินการแตกหุนเดิมจาก 1 หุนเปนหุนใหม 5 หุน ซึ่งจะทําใหจํานวนหุนสามัญเพิ่มขึ้นเปน 5 เทา โดยจะ ทําใหกําไรสุทธิตอหุนและเงินปนผลตอหุนลดลง 5 เทาผูลงทุนแตละคนจะมีหุนเพิ่มขึ้น แตมูลคาของแตละหุนจะ ลดลง อยางก็ตาม ผลตอบแทนที่ผูถือหุนไดรับโดยรวมจะยังคงเทาเดิม สัดสวนในการถือหุนก็ยังคงเทาเดิม ซึ่งนโยบาย การแตกหุนอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน จากหุนเดิม 1 หุนเปนหุนใหม 2 หุน หรือจากหุนเดิม 1 หุนเปนหุนใหม 10 หุน เปนตน • เมื่อมีการแตกหุนและการจายหุนปนผล ราคาหุนสามัญมักเพิ่มสูงขึ้น • ราคาที่เพิ่มขึ้นของหุนสามัญ เกิดจากการที่นักลงทุนมองวาการแตกหุนและการจายหุนปนผลนั้น เปนการสง สัญญาณของบริษัทวา ผลประกอบการของบริษัทในอนาคตจะเพิ่มสูงขึ้น