SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
Baixar para ler offline
การพยาบาลผู้ป่วยทีมีภาวะฉุกเฉิน
                  ่
       ทางระบบประสาท


                       พรทิพย์ สายสุด
                     โรงพยาบาลเลิดสิน
Emergency in Neurology

    Emergency condition at scene


    Emergency condition at ER


    Emergency condition at ward

    Emergency investigation : CT brain




      Emergency Care in Neurology ?
ภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยเมื่อมารักษาที่ห้องฉุกเฉิน
    Alteration of consciousness


    Increase Intracranial Pressure (IICP)


    Head Injury


    Acute Stroke


    Cerebral Aneurysm


    Intracranial Hemorrhage

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉิน
 ทางระบบประสาทในระยะฉุกเฉิน

Emergency Care in Neurology
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน

 จุดเกิดเหตุ   และระหว่างการเคลื่อนย้าย
    การประเมินสภาพผู้ป่วยเบื้องต้น   : ABCD
D   Disability (brief neurological deficit)

    Assess consciousness

             - alert
     A
    

    V       - response to voice
    P       - response to pain
    U       - Unresponsive
    Pupil size , reaction


    GCS


    Check all extremities : movement

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
    การให้ออกซิเจน canula หรือ mask


    ผู้ป่วยที่มีภาวะ shock จะประเมิน neuro’s sign ไม่ชัดเจน


    รักษาสภาพความดันโลหิตไม่ให้ต่า โดยการให้ IV


    แก้ไขภาวะ shock ก่อนการเคลื่อนย้าย


    ให้สารน้่าด้วยเข็มเบอร์โต เปิด 2 เส้น ด้วย NSS


    ในรายที่มีระดับความรู้สึกตัวลดลง หรืออยู่ในภาวะ Emergency ให้

    ประเมินอาการทุก 5 นาที
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
    เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลที่มีศักยภาพ


        ความเชี่ยวชาญด้านประสาท
          สถานที่

          บุคลากร

        ประสานงานก่อนน่าส่ง
    •


          •แจ้งอาการ สัญญาณชีพ Neuro’s sign
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
 ห้องฉุกเฉิน
    เตรียมความพร้อมของห้องฉุกเฉิน

                แพทย์
    Notify

    เตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ที่ต้องใช้
      ABCD
แนวทางการปฏิบัติ
การดูแลเบื้องต้นในห้องฉุกเฉิน ประกอบด้วย
1. การดูแลระบบทางเดินหายใจ (Airway and
   respiratory support) ผู้ป่วยที่มี GCS ≤ 8
   ทุกรายต้องได้รับการใส่ท่อช่วยหายใจ และช่วยหายใจ
   (intubated and assisted ventilation)
แนวทางการปฏิบัติ
ในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกราย ต้องทา neck
 immobilization ไว้จนกว่าจะตรวจสอบดูแล้วว่าไม่มี
 ภาวะบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ เพราะอาจเกิด
 อันตรายถึงแก่อัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ถ้าไม่ระมัดระวัง
แนวทางการปฏิบัติ
2. การดูแลระบบไหลเวียนโลหิต แก้ไขภาวะความดันโลหิต
   ต่า (hypotension: systolic blood
   pressure < 90 mmHg) ต้องหลีกเลี่ยงภาวะ
   Hypoxia และ Hypercarbia และแก้ไขภาวะ
   ดังกล่าวถ้าเกิดขึ้นอย่างทันที
แนวทางการปฏิบัติ
3. ภาวะบาดเจ็บร่วมอืน ๆ ที่อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต เช่น
                    ่
  tension pneumothorax, cardiac
  temponade, hypovolemic shock ต้อง
  พยายามวินิจฉัยให้ได้ และให้การรักษา อย่างทันท่วงที
C : Circulation




      ที่หนังศีรษะ
               จะมีเลือดออกมาก ห้ามเลือดโดย
      การกด
C : Circulation

    Hypovolemic shock       Neurogenic shock
                       
        PR.                    PR.
                           
แนวทางการปฏิบัติ
 ห้องฉุกเฉิน
    การซักประวัติจาก   ญาติ ผู้ป่วย ผู้นาส่ง
    หาร่องรอยการบาดเจ็บ

    หาสาเหตุของโรค

    เวลาที่เกิดอาการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
แนวทางการปฏิบัติ
    การซักประวัติ ควรซักประวัติจากญาติที่เห็นอาการผู้ป่วยเริ่ม

    เปลี่ยนแปลง ได้แก่
       เวลาที่เริ่มมีอาการเปลี่ยนแปลง
     
      การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
      โรคประจาตัวที่อาจทาให้ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงได้ เช่น เบาหวาน
       ไต ตับ โรคลมชัก
      อาการอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น ไข้ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เดินเซ แขนขาอ่อน
       แรง และอาการหอบเหนื่อย
      ประวัติการใช้ยา สารเสพติด การดื่มสุรา แอลกอฮอล์
      ประวัติทางสุขภาพจิต
การซักประวัติเกี่ยวกับการบาดเจ็บ

     การบาดเจ็บเกิดขึ้นอย่างไร และโดยอะไร Dx    STROKE ?
     เกิดเหตุที่ใด และตั้งแต่เมื่อใด

     หลังจากได้รับบาดเจ็บแล้วผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงอย่างไรบ้าง

     ผู้ป่วยหมดสติทันทีหรือไม่หลังจากเกิดเหตุ และหลังจากนั้นมีความ
        รู้สึกตัวดีขึ้นหรือเลวลงอย่างไร : Lucid Interval
แนวทางการปฏิบัติ
    การซักประวัติ ถึงความเสี่ยงต่าง ๆ


      อายุ

      การสวมหมวกกันน๊อค

      การใช้โทรศัพท์มือถือ (อุบัติเหตุจราจร อยู่ในที่สูง ขณะท่างานความ
       เสี่ยงต่าง ๆ)
      ประวัติการดื่มสุรา

      ประวัติการได้รับยา : ยากล่อมประสาท ยาแข็งตัวของเลือด
แนวทางการปฏิบัติ
    อาการแสดงทางระบบประสาทอื่นๆ ได้แก่


     Amnesia
     ปวดศีรษะรุนแรงจนสับสน

     คลื่นไส้อาเจียน

     ระดับความรู้สึกตัวลดลงหรือเปลี่ยนไป

     ผู้ป่วยนอนพักไม่ได้ขณะอยู่ที่ห้องฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
    การตรวจร่างกายทั่วไป


    สังเกตการบาดเจ็บร่วมในอวัยวะอื่น


    ตรวจทางระบบประสาท ให้ท่าหลังจาก ABC ดี และคงที่


      การประเมินด้วย GCS

         ภาวะที่ทาให้ประเมินผิด ได้แก่ Hypotension
           Hypoxemia
         ประวัติการได้รับยา แอลกอฮอล์
แนวทางการปฏิบัติ
    ประเมินอาการผู้บาดเจ็บ

        ตรวจร่างกาย : การยุบของกะโหลกศีรษะ
    

              การแตกกะโหลกแบบเปิด หรือปิด

              อาการแสดงของฐานกะโหลกแตก ได้แก่ CSF ออกทางหู หรือ
                จมูก raccoon eyes
Detailed Exam
    และ Battle’s sign





                        Battle’s Signs
Detailed Exam
    Assess the pupils

                             Periorbital
                             ecchymosis
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                    ในระยะฉุกเฉิน
    ตรวจร่างกายหาความผิดปกติทางระบบประสาท โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่

    สามารถให้ประวัติได้
        Glasgow Coma Scale (GCS)
    
Coma evaluation: 5 steps

                    รูปแบบการหายใจ
    Breathing



                    รูม่านตา
    Pupils



                    การกลอกตา
    Eye movements



                    การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ
    Motor



                    ความสมมาตร
    Symmetry

MOTOR
                       (posture)
    โดยสังเกตท่า

    การเคลื่อนไหว (movement)

    การตอบสนองสิ่งเร้า (stimili)




                       ผู้ป่วยมีลักษณะเหยียดแขนและขาและบิดแขนเข้าด้านใน
Decerebrate rigidity
Painful stimuli
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
 จัดท่านอนศีรษะสูง ให้คออยู่ในท่าธรรมชาติ (ไม่มีปัญหา
  ของกระดูกสันหลัง)
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน

 ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวและใส่ ET การ Hyperventilation มีผล

 ทาให้ ICP สูงขึ้น
(บีบ ambu > 28-30 ครั้ง และนานกว่า 30 นาที)

    หลีกเลี่ยงการดูดเสมหะบ่อย แต่ละครั้งไม่เกิน 10 วินาที ควร

    ให้ผู้ป่วยพัก 2 นาที ก่อนทาการดูดเสมหะครั้งต่อไป ในแต่ละ
    รอบไม่ควรดูดเสมหะเกิน 1-2 ครั้ง
แนวทางการปฏิบัติ
    ดูแลให้ระดับความดันกะโหลกศีรษะลดลงโดยเร็ว


     จัดท่านอนให้หน้าตรง

     นอนศีรษะสูง   30 องศา
     หลีกเลี่ยงการกระตุ้น ความเจ็บปวด เช่น การดูดเสมหะ
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน

  เตรียมผู้ป่วยส่งตรวจพิเศษ : CT brain, MRI


 และการส่งตรวจ Chest X-ray

 ติดตามผลทางรังสี
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
 Lab   : CBC, PT, PTT, Inr., BS,
  Lipid profile Hepatic function ,
  renal function
 IVF : NSS
 ดูแลระดับน้าตาลในเลือด ไม่เกิน 180 mg%

 ดูแลความสมดุลของเกลือแร่
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
 การควบคุมอุณหภูมิในร่างกาย

 การเฝ้าระวังและประเมินอาการทางระบบประสาทเป็น
  ระยะ ๆ ควรทาทุก 15 นาที
 ตรวจ EKG 12 lead ในผูที่อายุ > 40 ปี
                                 ้
 การเตรียมผู้ป่วยส่งผ่าตัด ไม่จาเป็นต้องโกนศีรษะในห้อง
  ฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท
                ในระยะฉุกเฉิน
 ไม่ส่งผู้ป่วยตรวจพิเศษใด ๆ เมื่อมีอาการและสัญญาณชีพ
  ไม่คงที่
 จัดให้ผู้ป่วยอยูในสิ่งแวดล้อมที่สงบ ไม่วนวาย
                  ่                       ุ่
 ป้องกันการตกเตียง ลืนล้ม่
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยที่มี
            ภาวะฉุกเฉินทางระบบประสาท
    ขณะเคลื่อนย้าย หรือส่งต่อ มักให้ Manitol โดยปรับยาไว้ที่อัตราเร็ว

    เพื่อเร่งการรักษา
    หรือส่งตรวจพิเศษ เพื่อ investigation


    ประเมิน GCS ในส่วนของ verbal ไม่ชัดเจน


    ผู้ประเมิน GCS และ pupils ของผู้ป่วยให้ระดับที่ไม่ตรงกัน

    โดยเฉพาะส่วน Motor
แนวทางการปฏิบัติ
    ประเมินความเสี่ยงและแยกประเภทผู้บาดเจ็บที่ศีรษะ

      Low risk
    

     Medium risk
     High risk
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
    ปล่อยผู้ป่วยกลับบ้านโดยไม่ได้รับค่าแนะน่า หรือมีญาติเฝ้าระวังอาการ

    ผู้ป่วยที่เอะอะโวยวายจะถูกละเลยเพราะคิดว่าเมา หรือผู้ป่วยเมาจนหลับ

    ผู้ป่วยอาจ shock ได้ หากปล่อยให้มี external bleeding

    นาน โดยเฉพาะที่ scalp หรือเลือดก่าเดาไหล
    ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว มีอาการดิ้นไปมาตลอด จะท่าให้ผ้าปิดแผลหลุดได้

    ต้องใช้ EB พันทับ
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ

    ไม่ได้ป้องกันการบาดเจ็บที่คอ หรือ ตรึงให้อยู่นิ่ง เพราะคิดว่าผู้ป่วยยัง

    รู้สึกตัว พูดคุยได้
    ซักประวัติสลบไม่ชัดเจน ว่าหลับไป หรือจ่าเหตุการณ์ได้ หรือไม่ได้


    ไม่ซักประวัติถึงระยะเวลาที่สลบ


    ผู้ป่วยที่รู้สึกตัวหลังได้รับบาดเจ็บ GCS = 15 มักละเลยการดูรู

    ม่านตา
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ

  ระหว่างใส่ ET tube ให้ระวัง associated cervical spine injury


 ระวังการให้ glucose โดยเฉพาะ 50% glucose iv. Push ควรตรวจ
  Dextrostrix ก่อน
 ไม่ควรให้ MANITOL ถ้ายังไม่ได้การวินิจฉัยที่แน่นอน เพราะ
  จะเกิด REBOUND EFFECT ทาให้มี ICPสูงมาก
 การลด ICP ที่ดีที่สุดคือ ใส่ ET Tube และ Hyperventilation :
  pCo2 25-30 mmHg
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
    IV. Fluid


     ในกรณีที่มีภาวะช็อกเนื่องจากการเสียเลือด รักษาระดับแรงดัน
      ซีสโตลิคไว้ไม่ให้ต่ากว่า 90 มิลลิเมตรปรอท และมีจานวน
      ปัสสาวะ 30-50 cc/hr หรือ 0.5-1 cc/kg/hr
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ

 ใน ผป. ที่เมาสุรา ควร OBSERVE NEURO SIGN           อย่าง
  ใกล้ชิด ประมาณ 4-6 ชม. ควรจะเริ่มฟื้น นอกจากนี้ควรดูว่ามี
  LOCALISING SIGN เช่น
  HEMIPLEGIA
  CONVULSION
  DECORTICATION
  DECEREBRATION
ความผิดพลาดที่พบบ่อยในการดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ

 การดู PUPIL     จะสาคัญต่อเมื่อผู้ป่วยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง
 ของระดับความรู้สึกตัว เพราะเป็น SIGN ของ BRAIN
 HERNIATION ใ น ก ร ณี ที่ มี INTRACRANIAL
 HEMATOMA
   แต่ ถ้ า ผป.รู้ สึ ก ตั ว ดี จ ะไม่ มี ค วามส าคั ญ มาก ให้ ดู ก าร
 เปลี่ยนแปลง CONCIOUSSNESS สาคัญที่สุด
แบบตัวอย่างค่าแนะน่าส่าหรับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
    งดการออกกาลังทุกชนิดอย่างน้อย 24 ชั่วโมง รับประทานอาหาร

    อ่อน และงดดื่มสุราและยาที่ทาให้ง่วงซึมทุกชนิด

    ถ้าผู้ป่วยมีอาการตามข้อใดข้อหนึ่งที่บ่งไว้ข้างล่างนี้ ขอให้รีบ

    กลับมาพบแพทย์โดยทันที เพื่อรับการตรวจซ้าอีกครั้งหนึ่ง
    อาการดังกล่าว ได้แก่
แบบตัวอย่างคาแนะนาสาหรับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บทีศีรษะ
                                                 ่
    ง่วงซึมมากขึ้นกว่าเดิม หรือไม่รู้สึกตัว หมดสติ

    กระสับกระส่ายมาก พูดลาบาก หรือมีอาการชักกระตุก

    กาลังของแขนและขาลดน้อยลงกว่าเดิม

    ชีพจรเต้นช้ามาก หรือมีไข้สูง

    คลื่นไส้มาก อาเจียนติดต่อกันหลายครั้ง

    ปวดศีรษะรุนแรง โดยไม่ทุเลา

    มีเลือดใสๆ หรือน้าใสออกจากหู หรือลงคอ หรือออกจากหู

    ( ถ้ามี ไม่ควรพยายามเช็ด หรือสั่งออก )
    คอแข็ง

    วิงเวียนมาก หรือมองเห็นภาพพร่า ปวดตุบๆ ในลูกตา

    อาการอื่นๆ ซึ่งผิดแปลกออกไปจากเดิม เป็นที่น่าสงสัย

โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน
   (Acute Atroke)
 เกิดขึ้นทันทีทันใด
 อาการที่พบบ่อย  คือ อ่อนแรงครึ่งซีก ชา เดินเซ พูดไม่ชัด
 ระดับความรู้สึกตัวอาจปกติหรือแย่ลงเล็กน้อย
 บางกรณีมีรอยโรคที่ก้านสมอง หรือ ภาวะสมองบวมร่วม
  ด้วย
 อาจมีอาการชัก น้าตาลในเลือดต่า
 รุนแรง มีเลือดออกในสมอง
ปัญหาที่พบในระยะเฉียบพลัน
  Cerebral Edema


 IICP
 Brain Herniation
Step by step for rtPA
Step   1   –   Screening at ER by Nurse
Step   2   –   Clinical; Lab Screening by doctor
Step   3   –   IV Thrombolysis
Step   4   –   Post Thrombolysis care (24 hrs;
                    > 24 hrs)
สรุป
    ภาวะฉุกเฉินทางระบบประสาทต้องได้รับการวินิจฉัยและให้การ

    รักษาพยาบาลที่ถูกต้อง
     การซักประวัติ

     การตรวจร่างกาย

     การตรวจพิเศษทางสมอง

     การรักษาเบื้องต้น

     การวางแผนการรักษา

     การเฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อน

     การส่งต่อข้อมูลการรักษา
Multidisciplinary in Neuro


                                              Medical
                             Neurologist      Doctors

                                                            Nerosurgeon
                   Nurses




Physiotherapists
                                                                  Phamacologist


                                            Patient

Occupational
 Therapists                                                         Case
                                                                  Managers

           ญาติ
                                                        Social
                                                        Workers
                            Nutritionists
Thank you for
your attention
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจKrongdai Unhasuta
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059Aphisit Aunbusdumberdor
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thorsang Chayovan
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557Utai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

Shock
ShockShock
Shock
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Warning sign iicp
Warning sign iicpWarning sign iicp
Warning sign iicp
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 

Destaque

The early warning system
The early warning systemThe early warning system
The early warning systemRenee Evans
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgerysoftmail
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseKrongdai Unhasuta
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkunatip
 
Early warning scores
Early warning scoresEarly warning scores
Early warning scoresPARVATHY GOPI
 
Warning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten Alignment
Warning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten AlignmentWarning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten Alignment
Warning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten AlignmentImaginasium, Inc.
 
Early Warning Scoring System and Observation Teaching Session
Early Warning Scoring System and Observation Teaching SessionEarly Warning Scoring System and Observation Teaching Session
Early Warning Scoring System and Observation Teaching SessionTracy Culkin
 
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551taem
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Bedside Pediatric Early Warning System
Bedside Pediatric Early Warning System Bedside Pediatric Early Warning System
Bedside Pediatric Early Warning System vjgibbins
 
TAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric EmergencyTAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric Emergencytaem
 
TAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergencyTAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergencytaem
 
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Destaque (20)

Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
The early warning system
The early warning systemThe early warning system
The early warning system
 
Brain And Craniofacial (Thai)
Brain And Craniofacial (Thai)Brain And Craniofacial (Thai)
Brain And Craniofacial (Thai)
 
Case study surgery
Case study surgeryCase study surgery
Case study surgery
 
Monitor traumatic shock 16 พค.58
Monitor traumatic shock  16 พค.58Monitor traumatic shock  16 พค.58
Monitor traumatic shock 16 พค.58
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Early warning scores
Early warning scoresEarly warning scores
Early warning scores
 
Warning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten Alignment
Warning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten AlignmentWarning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten Alignment
Warning Signs: Recognize and Navigate the Changes That Threaten Alignment
 
Early Warning Scoring System and Observation Teaching Session
Early Warning Scoring System and Observation Teaching SessionEarly Warning Scoring System and Observation Teaching Session
Early Warning Scoring System and Observation Teaching Session
 
Common pitfalls in Trauma
Common pitfalls in TraumaCommon pitfalls in Trauma
Common pitfalls in Trauma
 
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน พ.ศ.2551
 
Theoryorem
TheoryoremTheoryorem
Theoryorem
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Bedside Pediatric Early Warning System
Bedside Pediatric Early Warning System Bedside Pediatric Early Warning System
Bedside Pediatric Early Warning System
 
TAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric EmergencyTAEM10: Pediatric Emergency
TAEM10: Pediatric Emergency
 
TAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergencyTAEM10:Intracranial emergency
TAEM10:Intracranial emergency
 
The early warning score (ews)
The early warning score (ews)The early warning score (ews)
The early warning score (ews)
 
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน
 

Mais de taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 

Mais de taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

TAEM10:Nurse-Neurologic emergency