SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 68
ICD 10 คืออะไร

• คูมือในการแปลงชือโรคและ
    ่             ่
  หัตถการมาเป็น รหัสเพื่อใช้ใน
  กิจการทางการแพทย์และ
  สาธารณสุข
 –เช่น Plasmodium falciparum
  malaria = B50
 –Acute appendicitis with
  generalized peritonitis =
ICD 10 คืออะไร

• บัญชีจำาแนกโรคระหว่างประเทศ
  ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
 – ปรับปรุงทุก 10 ปี
• คำาย่อมาจาก International
  Statistical Classification of
  Disease and Related Health
  Problems Tenth Revision
ICD 10 คืออะไร
• คือข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยว
  กับ
 –การจำาแนกโรค
 –การให้บริการสาธารณสุข
• เพื่อให้เกิดมาตรฐานเดียวกันใน
  การ
 –รายงาน
 –ตรวจสอบ
ลักษณะทั่วไปของ ICD 10

• เป็นหนังสือ 3 เล่ม
  –เล่มที่ 1 เป็นรายละเอียดการ
   จำาแนกโรค มีเนือหามากทีสุด (ใช้
                       ้     ่
   บ่อย)
  –เล่มที่ 2 เป็นคูมอการใช้งาน
                   ่ ื
  –เล่มที่ 3 เป็นดรรชนีค้นหาคำา
   (Alphabetical Index)
ลักษณะทั่วไปของ ICD 10
• ใช้ หนึงตัวอักษรและสี่ตวเลข เริม
         ่               ั       ่
  จาก A00.00 ถึง Z99.99
• ยกเว้นตัวอักษร U ยังไม่ถูกใช้
• แบ่งเป็น 21 บท
• มีหลักเกณฑ์ Inclusion และ
  Exclusion ในทุกส่วน
• บางโรคมีระบบเข้ารหัสคู่ (Dual
  Classification) เพื่อเพิ่มราย
  ละเอียด
ตัวอย่าง ICD 10
• หนึ่งตัวอักษรและสี่ตวเลข เริ่มจาก
                      ั
  A00.00 ถึง Z99.99
  – A00.0 = Cholera due to Vibrio
    Cholerae 01, biovar cholerae
    • Classical cholera
  – Z99.9 = Dependence on
    unspecified enabling machine an
    d
           device
ตัวอย่าง ICD 10
• แบ่งเป็น 21 บท
  – Chapter 1: Certain infectious and
    parasitic disease
  – Chapter 2: Neoplasm
  – Chapter 3: Disease of the blood
    and blood-forming organs and
    certain disorder involving the
    immune mechanism
  – …….
  – Chapter 21: Factor influencing
ตัวอย่าง ICD 10
• บางโรคมีระบบเข้ารหัสคู่ (Dual
  Classification) เพื่อเพิ่มราย
  ละเอียดในการบอก Etiology and
  Manifestation
 – ใช้สัญญลักษณ์ Dagger and
   Asterisk
 – A18.7+ = Tuberculosis of
   adrenal glands (E35.1*)
ICD 10 ประกอบไปด้วย
• การวินิจฉัยโรค
• อาการแสดง
• ความผิดปกติทตรวจพบทางห้อง
                 ี่
  ทดลอง
• การบาดเจ็บและเป็นพิษ
• สาเหตุภายนอกของการป่วยและการ
  ตาย
ตัวอย่าง ICD 10

• การวินจฉัยโรค
        ิ
 –Nontoxic single thyroid
  nodule = E04.0
• อาการแสดง
 –Fever, unspecified = R50.9
• ความผิดปกติทตรวจพบทางห้อง
              ี่
  ทดลอง
ตัวอย่าง ICD 10

• การบาดเจ็บและเป็นพิษ
 –Toxic effect of Benzene =
  T52.1
• สาเหตุภายนอกของการป่วยและ
  การตาย
 –Fall on and from ladder =
  W11
ความพยายามใน ICD 10

• การตั้งชือโรคให้เป็นมาตรฐาน
           ่
 –J61 Pneumoconiosis due to
  asbestosis and other mineral
  fibres
   • Asbestosis
• คงบางชือที่ยงนิยมใช้กัน เช่น
         ่    ั
 –G20 Parkinsonism
ความพยายามใน ICD 10

• เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยทำา
  สถิติ
  –สาเหตุการป่วย
  –สาเหตุการตาย
  –การบาดเจ็บ
  –และสถิตอื่น ๆ
          ิ
• เป็นรหัสสากลที่ทกประเทศทัว
                  ุ        ่
หลักการจัดกลุ่มใน ICD 10

• แบ่งกลุม โดยอาศัยสาเหตุของ
         ่
  โรคเป็นหลักก่อน
• ถัดมาจึงใช้ระบบอวัยวะทีเป็นโรค
                         ่
• แล้วจึงค่อยจำาแนกตามอาการ
หลักการจัดกลุ่มใน ICD 10

• 21 บท แบ่งได้เป็น 5 กลุ่มหลัก
 –โรคทางระบาดวิทยา
 –โรคทั่วไป
 –โรคเฉพาะตำาแหน่ง หรือส่วนของ
  ร่างกาย
 –Development disease
 –Injuries
วัตถุประสงค์ของ ICD 10
• เพื่อการเปรียบเทียบระหว่าง
  ประเทศ
 –ใช้รหัส 3 ตัวอักษร
   • A00 = Cholera
• การใช้ทาง Clinic
 –รหัสตัวที่ 4 เพื่อจำาแนกย่อยลงไป
  ให้ละเอียด
   • A00.1 = Cholera due to Vibrio
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10
• การลง รหัสโรค ควรจำาเพาะ และ
  มีรายละเอียดให้มากที่สด
                        ุ
 –Acute appendicitis with
  perforation (K35.0)
 –Malignant neoplasm of
  stomach, fundus (C16.1)
 –Third-degree burn of wrist and
  hand (T23.3)
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10
• ทำาไม ไม่ควรใช้ รหัส .8 หรือ .9
  – .8 หมายถึง โรคอื่นๆ ซึ่งไม่ specific
    • E56.8 Deficiency of other vitamins
  – .9 หมายถึง ภาวะที่ไม่ระบุเฉพาะซึ่ง
    อาจไม่สื่อความหมายตามที่ต้องการ
    • E 61.9 Deficiency of nutrient
      element, unspecified
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การเจ็บป่วย ที่มีหลายโรค
 –ให้ลงโรค ที่มผลรุนแรง และ ใช้
               ี
  ทรัพยากรมากที่สุด
 –ใช้คำารวมที่อธิบายได้ครอบคลุม
  ทุกโรค เช่น Multiple Fractures
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• โรคทีเกิดจากสาเหตุภายนอก
       ่
 –ควร บรรยายสาเหตุไว้ดวย เช่น
                         ้
   •Fracture neck of femur จาก
    การหกล้มบนพื้นลื่น
   •ได้รบสารพิษจาก อุบัตเหตุดื่มยา
        ั                  ิ
    ฆ่าเชื้อ จากการคิดว่าเป็นเครื่อง
    ดืม
      ่
   •อุณหภูมตำ่ากว่าปกติ จากการ
              ิ
ตัวอย่างการลงรหัสโรคใน ICD
            10
• ถ้าเป็นการรักษาความพิการที่
  หลงเหลือ
 –สันจมูกคด - จากการมีจมูกหัก
  เมือเป็นเด็ก
     ่
 –เป็นหมันจากท่อรังไข่อุดตัน
  เนื่องจากเคยเป็นวัณโรค
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10
• หลักการในการออกรหัส “Main
  condition” และ “ภาวะอื่นๆ”
 –แพทย์มหน้าที่กำาหนด Main
         ี
  condition หรือ Principal
  diagnosis ให้ถกต้อง
                 ู
 –และควรมีการบันทึก ”ภาวะอื่นๆ
  (other condition)” ที่เกี่ยวข้อง
  กับการมารับบริการของผู้ป่วยใน
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การออกรหัส suspect, ruled
  out, อาการ และภาวะที่ไม่เจ็บ
  ป่วย
  –ไม่ควรเลือกใช้ ยกเว้น ใน
    กรณีทไม่สามารถได้การ
           ี่
    วินจฉัยที่ชดเจนจริงๆ ก็อนุโลม
       ิ       ั
    ให้ใช้ได้ ซึ่ง Coder จะตัดคำา
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การออกรหัส multiple disease
 –เมือมีโรคหลายโรคเป็นพร้อมกัน
     ่
  และไม่มโรคใดโดดเด่นเป็นพิเศษ
          ี
  ให้ดรหัสโรคในหมวด “Multiple
       ู
  …” และการออกรหัสเสริมสำาหรับ
  ภาวะต่างๆเพิ่มเติม
 –การออกรหัสแบบนี้    มักพบในผู้
  ป่วย HIV , บาดเจ็บ และ พิการ
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การออกรหัสรวมโรค
 –ICD มีหมวดที่ประกอบไปด้วยโร
  คหลายๆโรคที่นำามา code รวมกัน
  โดยใช้รหัสเดียวได้      หมวดรหัส
  รวมนี้ ควรนำามาใช้เป็น Principal
  diagnosis     ในกรณีที่มข้อมูลที่
                            ี
  ชัดเจนว่า      โรคที่นำามารวมนั้น
  เกี่ยวข้องกัน
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การออกรหัสสาเหตุภายนอกของ
  ความเจ็บป่วย
 –ในกรณีของการบาดเจ็บ      ที่เกิด
  จากเหตุภายนอกมากระทำา      ควร
  ได้รับการออกรหัสทั้งสภาพของ
  โรค และ สภาวะการทีทำาให้เกิด
                        ่
  โรค ซึงเป็นรหัสที่พบในบทที่ 19
         ่
  (Injury)     ส่วนสาเหตุของโรค
ตัวอย่างการลงรหัสสาเหตุ
    ภายนอกของความเจ็บป่วย
• Principal diagnosis:
  Fracture of neck of femur
  จากการหกล้มตกจากพื้นต่าง
  ระดับ
• ภาวะอื่น ๆ     ข้อศอกและแขน
  ฟกชำ้า
 –ให้ใช้รหัส Fracture of neck of
  femur (S72.0) เป็น Principal
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การให้รหัส Sequelae of
  disease หรือผลตามมาของโรค
 –เช่น พูดไม่ชัด เนื่องจากเคยเป็น
  สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
   • ใช้รหัส พูดไม่ชัด (R47.0) เป็น
     Principal diagnosis
   • ส่วนรหัส การเคยเป็นโรคสมองขาด
     เลือดไปเลี้ยง (I69.3) ใช้เป็นรหัส
การให้รหัส Sequelae หรือผล
       ตามมาของโรค
• เช่น พูดไม่ชัด เนื่องจากเคยเป็น
  สมองขาดเลือดไปเลี้ยง
  –ใช้รหัส พูดไม่ชัด (R47.0) เป็น
   Principal diagnosis
  –ส่วนรหัส การเคยเป็นโรคสมอง
   ขาดเลือดไปเลียง (I69.3) อาจนำา
                 ้
   มาใช้เป็นรหัสเสริม
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10

• การออกรหัสโรคระยะเฉียบพลัน
  และเรื้อรัง
 –ถ้า Principal diagnosis เป็นโรค
  ระยะเฉียบพลัน           (หรือกึ่ง
  เฉียบพลัน) และเรือรัง รวมทั้ง
                     ้
  ตรวจพบว่า โรคนัน ๆ มีปรากฏ
                   ้
  แยกกันอยู่ ในหมวดใดหมวดหนึ่ง
  ของ ICD ก็ตามให้ใช้โรคระยะ
ตัวอย่างการออกรหัสโรคระยะ
    เฉียบพลันและเรื้อรัง
• ถุงนำ้าดีอักเสบเฉียบพลันและ
  เรือรัง
     ้
  – ใช้รหัส ถุงนำ้าดีอักเสบเฉียบพลัน
    (K81.0) เป็น Principal diagnosis
  – ส่วนรหัส ถุงนำ้าดีอักเสบเรื้อรัง (K81.1)
    อาจนำามาใช้เป็นรหัสเสริม
หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10
• การออกรหัส สภาวะหลังการผ่าตัด
  และโรคแทรกซ้อน
 – ให้ใช้โรคหรือ สภาวะนั้นเป็น “Main
   condition”
 – อาจใช้รหัสเสริมในกลุ่ม Y83-Y84
   ร่วมด้วยเพื่อให้เห็นที่มาที่ไปชัดขึ้น
การออกรหัส สภาวะหลังการ
   ผ่าตัดและโรคแทรกซ้อน
• ต่อมธัยรอยด์ ทำางานได้นอยกว่า
                         ้
  ปกติ หลังการผ่าตัดธัยรอยด์ 1
  ปี
 – ใช้รหัส ต่อมธัยรอยด์ ทำางานได้น้อย
   กว่าปกติ หลังการ ผ่าตัด (E89.0)
   เป็น Principal diagnosis
การออกรหัส สภาวะหลังการ
   ผ่าตัดและโรคแทรกซ้อน
• โรคจิตหลังการทำาผ่าตัด
  ศัลยกรรมตกแต่ง
 – ใช้รหัสโรคจิต (F09) เป็น Principal
   diagnosis
 – เสริมโดยรหัส (Y83.8) (การทำาผ่าตัด
   ทีทำาให้เกิดผลผิดปกติต่อผู้ป่วย)
     ่
   เป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ต่อการ
   ทำาผ่าตัด
กฎในการเลือกเมือบันทึก Main
                ่
    condition ไม่ถูกต้อง
• Ruled morbidity 1. กรณีมการี
  บันทึกโรคเล็กน้อยเป็น Principal
  diagnosis และบันทึกโรคสำาคัญกว่า
  เป็นภาวะอื่น ๆ
  – เมื่อใดก็ตามทีแพทย์ลงบันทึกโรคเล็ก
                  ่
    น้อย เป็น Principal diagnosis แต่
    บันทึกโรครุนแรงหรือสำาคัญกว่าทีนำาผู้
                                   ่
    ป่วยมารักษาตามสาขาที่เกี่ยวข้องเป็น
    ภาวะอื่นๆ ให้ทำาการเลือกใหม่ โดยใช้
ตัวอย่างกฎ MB1. ของ ICD
           10
–Principal diagnosis ไซนัสอักเสบ
  เฉียบพลัน (J01)
– ภาวะอื่น ๆ มะเร็งปากมดลูก (C53),
  ความดันโลหิตสูง (I10)
– การผ่าตัด ตัดมดลูกทั้งหมด (68.4)
– ให้เลือก     มะเร็งปากมดลูก    เป็น
  Principal diagnosis ออกรหัส
  C53
กฎในการเลือกเมือบันทึก Main
                ่
    condition ไม่ถูกต้อง
• Ruled morbidity 2. กรณี บันทึก
  โรคหลายโรคเป็น Principal
  diagnosis
  – ถ้าแพทย์ทำาการบันทึกโรคหลายโรคไว้
    เป็น Principal diagnosis ทั้งหมด
    โดยที่โรคเหล่านั้นไม่สามารถออกรหัส
    รวมกันได้ ให้พิจารณาดูว่าโรคใดน่า
    จะเป็นโรคทีสำาคัญมากที่สุด แล้วเลือก
                ่
    โรคนั้นเป็น Principal diagnosis
    ถ้าไม่สามารถระบุได้ว่าโรคใดสำาคัญ
ตัวอย่าง กฎ MB2. ของ ICD
             10
• Principal diagnosis ต้อกระจก
 (H25), เยื่อหุ้มสมองอักเสบจาก
 การติดเชือ สแตฟฟีโลคอคคัส (G0
          ้
 0.3), กล้ามเนือหัวใจขาดเลือด (I2
               ้
 5.1)
 – ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาล 5 สัปดาห์ สาขา
   ประสาทวิทยา
 – ให้เลือก เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากการ
ตัวอย่างกฎ MB2. ของ ICD
            10
• Principal diagnosis โรค
 หลอดลมอักเสบอุดตันเรือรัง(J44),
                        ้
 ต่อมลูกหมากโต (N40), โรคผิวหนัง
 โซเรียซิส วัลการิส (L40.0)
 – เป็นผู้ป่วยนอกแผนกโรคผิวหนัง
 – ให้เลือก โรคผิวหนังโซเรียซิส วัลการิส
   เป็น Principal diagnosis ออกรหัส
   L40.0
กฎในการเลือกเมือบันทึก Main
                ่
    condition ไม่ถูกต้อง
• Ruled morbidity 3. กรณีทบันทึก
                           ี่
  อาการของโรคที่รับการตรวจรักษา
  เป็น Principal diagnosis
 – ถ้ามีการบันทึก Symptom and signs
   (ซึ่งตามปกติอยู่ใน บทที่ 18) หรือ
   ปัญหาต่างๆที่จำาแนกไว้ในบทที่ 21
   เหล่านี้เป็น Principal diagnosis
   และเห็นได้ชัดว่าแท้จริงแล้วเป็น
   อาการ อาการแสดงหรือปัญหาของ
   โรคหนึ่ง ที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา
ตัวอย่าง กฎ MB3. ของ ICD
             10
• Principal diagnosis ปัสสาวะ
 เป็นเลือด (R31), ภาวะอื่น ๆ
 เส้นเลือดขอดที่ขา (I83), เนืองอก
                             ้
 แปปิโลมาทีผนังด้านหลังของ
            ่
 กระเพาะปัสสาวะ (C67.4)
 – การรักษาใช้ความร้อนตัดเนื้องอกแปปิ
   โลมาออก (57.49)
 – สาขาศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ
 – ให้เลือก เนื้องอกแปปิโลมาที่ผนังด้าน
กฎในการเลือกเมือบันทึก Main
                ่
    condition ไม่ถูกต้อง
• Ruled morbidity 4. ความจำาเพาะ
  – ถ้า Principal diagnosis ที่บันทึก
   ไว้แต่แรกเป็นภาวะที่ครอบคลุมกว้าง
   ขวาง (Non specific) แล้วมีคำาอธิบาย
   หรือภาวะอื่นที่ระบุไว้จำาเพาะเจาะจง
   กว่า ให้เลือกภาวะที่จำาเพาะกว่านั้น
   เป็น Principal diagnosis
ตัวอย่าง กฎ MB4. ของ ICD
             10
• Principal diagnosis ลำาไส้
 อักเสบ (K52.9)
  – ภาวะอื่น ๆ โรคโครห์นของลำาไส้เล็ก
    ส่วนไอเลียม (K50.0)
  – ให้เลือก โรคโครห์นของลำาไส้เล็กส่วน
    ไอเลียมเป็น Principal diagnosis
    ออกรหัส K50.0
กฎในการเลือกเมือบันทึก Main
                ่
    condition ไม่ถูกต้อง
• Ruled morbidity 5. การเปลี่ยน
 Principal diagnosis
  – ถ้าแพทย์บันทึกอาการหรืออาการ
    แสดงของโรคเป็น Principal
    diagnosis โดยที่อาการนั้น ๆ อาจ
    เกิดจากโรคใดโรคหนึ่งที่บันทึกไว้รวม
                                     ่
    กัน ให้ใช้อาการนั้นเป็น Principal di
    agnosis หรือ ถ้ามีการวินิจฉัยแยก
ตัวอย่าง กฎ MB5. ของ ICD
             10
• ปวดท้องจาก ถุงนำ้าดีอักเสบ
  เฉียบพลัน (K81.0) หรือ ตับอ่อน
  อักเสบเฉียบพลัน (K85)
  – ให้เลือก ถุงนำ้าดีอกเสบเฉียบพลัน เป็น
                       ั
    Principal diagnosis ออกรหัส
    K81.0
วิธีการใช้หนังสือ ICD-10
1. ดู Principal diagnosis ว่าอยู่ใน
 กลุมใด
     ่
2. เปิด ICD-10 Volume 1 A หน้าที่
 III (Contents)
3. ดู Tabular list ว่ากลุมที่ตองการ
                         ่    ้
 อยู่ทหน้าใด
       ี่
     Volume 1 A จบที่ Chapter XII
4. เปิดไปที่หน้าแรกของ Chapter นั้น
วิธีการใช้หนังสือ ICD-10
6. เลือกดูว่า Principal diagnosis ตรง
  กับรหัสอะไร
7. พยายามดูให้ได้รหัสทีละเอียด หรือ
                         ่
  ตรงกับ Principal diagnosis ให้มาก
  ทีสด
    ่ ุ
8. ถ้าไม่มีชื่อโรคหรืออาการให้เลือก
  8.1 ทบทวน Principal diagnosis
  ใหม่
ICD-9-CM คืออะไร
• คำาย่อมาจาก International
  Statistical Classification of
  Disease Ninth Revision Clinical
  Modification
• ดัดแปลงจาก ICD 9 ของ WHO
  โดย Steering Committee ของ
  National Center for Health
  Statistics ของ U.S.A
ICD-9-CM

• เล่มทีนำามาใช้คอ เล่ม 3
        ่        ื
  –เล่ม 1 และ เล่ม 2 คล้ายกับ ICD
   10
• Procedures: Tabular List
  and Alphabetic Index
ใช้ ICD-9-CM ทำาอะไร
• ใช้สำาหรับลงรหัส Procedure หรือ
  หัตถการประเภทต่าง ๆ
• เพื่อให้การจัดกลุม DRG ได้ถูกต้อง
                   ่
ลักษณะของ ICD-9-CM
• มี 16 บท
• Based on anatomical system
  –จากบทที่ 1 : Operation on the
     Nervous System
  –ถึงบทที่ 15 : Operation on the
     Integumentary System
  –แถมบทที่ 16 : Miscellaneous
     Diagnosis and Therapeutic
ลักษณะของ ICD-9-CM

• Numeric only เนืองจาก
                  ่
  ดัดแปลงมาจาก ICD 9
 –01.0 Cranial puncture
 –99.98 Extraction of milk from
  lactating breast
• Two digit structure with
  two decimal digits where
การลงรหัสของ ICD-9-CM
• Sex Specific
• Corresponds with Principle
  Diagnosis
• ลง Major Procedure ก่อน
• High Resource Utilization ก่อน
ตัวอย่างการลงรหัสของ
          ICD-9-CM
• Debridement of wound, infection
  or burn
  – รหัส ICD-9-CM คือ 86.22
• Craniotomy and craniectomy
  – รหัส ICD-9-CM คือ 01.2
• Unilateral repair of inguinal hernia
  – รหัส ICD-9-CM คือ 53.0
• Lobectomy of liver
  – รหัส ICD-9-CM คือ 50.3
ตัวอย่างการลงรหัสของ
         ICD-9-CM
• Sex specific
 –ผูชายไม่ควรมี รหัส 66.0
    ้
  Salpingotomy
 –ผูหญิงไม่ควรมี รหัส 60.2
      ้
  Transurethral prostatectomy
ตัวอย่างการลงรหัสของ
         ICD-9-CM
• Corresponds with principle
  diagnosis
 –Unilateral or unspecified
  inguinal hernia, without obst
  ruction or gangrene (K40.9)
   • Unilateral repair of inguinal
     hernia (53.0)
 –Liver cell carcinoma (C22.0)
วิธการใช้หนังสือ ICD-9-CM
    ี
1. ดู Operation ว่าทำากับอวัยวะใด
2. เปิด ICD-9-CM หน้าที่ XIX
 (Contents)
3. ดู Tabular list ว่า Operation ที่
 ต้องการอยู่ทหน้าใด
               ี่
4. เปิดไปที่ Chapter นั้น ๆ
5. ไล่ตาม Operation ของอวัยวะนั้น
 ไปเรื่อย ซึ่งมักจะเริ่มต้นที่สวนบนสุด
                               ่
วิธการใช้หนังสือ ICD-9-CM
    ี

6. เลือกดูว่า Operation ตรงกับรหัสอะไร
7. พยายามดูให้ได้รหัสทีละเอียด หรือตรง
                        ่
  กับ Operation ให้มากทีสด ่ ุ
8. ถ้าไม่มีรหัสให้เลือก
  8.1 ทบทวน ชื่อ Operation ใหม่
  8.2 เลือก Operation ที่ใกล้เคียงกับ
  การทำาหัตถการให้มากทีสด ่ ุ
ผลกระทบต่อ DRG เมื่อลงรหัส
           ผิด
• ทำาให้เกิด DRG ที่ไม่มีมลค่าเช่น
                          ู
  – DRG 469 = Principal Diagnosis
    Invalid as Discharge
          Diagnosis RW = 0.0000
  – DRG 470 = Ungroupable RW =
    0.0000
ผลกระทบต่อ DRG เมื่อลงรหัส
           ผิด
• ทำาให้เกิด DRG ที่ตองถูกตรวจสอบ
                     ้
  เช่น
  – DRG 468 = Extensive OR Procedure
    Unrelated to
          Principal Diagnosis RW =
 3.6202
 – DRG 469 = Principal Diagnosis
   Invalid as Discharge
          Diagnosis RW = 0.0000
ตัวอย่างผลกระทบต่อ DRG
         เมื่อลงรหัสผิด
• ลำาไส้อักเสบ (K52.9)
  – DRG 182 - Esophagitis,
    Gastroenteritis and miscellaneous
    Digestive
          Disorder, Age Greater than 17
    without CC (RW 0.5496)
• โรคโครห์นของลำาไส้เล็กส่วนไอ
  เลียม (K50.0)
  – DRG 179 - Inflammatory Bowel
ตัวอย่างผลกระทบต่อ DRG
       เมื่อลงรหัสผิด
– Principal diagnosis ไซนัสอักเสบ
  เฉียบพลัน (J01)
– ภาวะอืน ๆ มะเร็งปากมดลูก (C53), ความ
         ่
  ดันโลหิตสูง (I10)
– การผ่าตัด ตัดมดลูกทั้งหมด (68.4)
– ถ้าเลือก ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (J01) เป็น
  Principal diagnosis
  • DRG 468 - Extensive OR Procedure
    Unrelated to principal Diagnosis
            (RW 3.6202)
– ถ้าเลือก มะเร็งปากมดลูก (C53) เป็น
ความหมายของ DRG ที่มีปัญหา
• DRG 468 = Extensive OR
  Procedure Unrelated to
         Principal Diagnosis
• DRG 469 = Principal Diagnosis
  Invalid as Discharge
          Diagnosis
• DRG 470 = Ungroupable
• DRG 474 = No Longer Valid
• DRG 476 = Prostatic OR
ความหมายของ DRG ที่มีปัญหา
• DRG 477 = Nonextensive OR
  Procedure Unrelated to
       Principal Diagnosis
รหัส ICD-10-PCS
• PCS = Procedure coding
  system
• รหัส ICD-10-PCS ใช้ตวอักษรและ
                         ั
  ตัวเลข 7 ตำาแหน่ง
• ตัวอักษรใช้ A - Z ยกเว้น O และ I
  (ป้องกัน 0 และ 1)
• ตัวเลขใช้ 0 - 9
• สามารถครอบคลุมหัตถการได้
รหัส ICD-10-PCS
• การเรียงรหัส PCS เป็น 1234567
• ตำาแหน่งที่ 1 Section
  – บอกแผนกที่ทำาหัตถการ เช่น 0 ศัลยกรรม 1
    สูตกรรม .... 9 เวชกรรมฟื้นฟู
       ิ
• ตำาแหน่งที่ 2 Body system
  – บอกระบบของร่างกาย เช่น 0 ระบบประสาท
    ส่วนกลาง ... 9 หู จมูก ไซนัส
• ตำาแหน่งที่ 3 Root
  – บอก Objective of procedure หรือ วิธีการ
    ทำาหัตถการ เช่น 0 Bypass, 1 Change, 2
    Creation, .. 9 Extraction
รหัส ICD-10-PCS
• ตำาแหน่งที่ 4-7 ขึ้นกับรหัส 3
  ตำาแหน่งแรก
• Body part
• Approach
• Device
• Qualifier
รหัส ICD-10-PCS
• ตัวอย่าง รหัส 094G1DZ
• รหัส 3 ตัวแรกคือ 094 คือการทำาผ่าตัด
  ศัลยกรรมของหู จมูก ไซนัสโดยวิธี
  Dilatation
• G = Eustachian Tube ข้างขวา (Body
  part)
• 1 = Open intraluminal (Approach)
• D = Intraluminal device (Device)
• Z = None (Qualifier)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1kridauakridathikarn
 
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Reviewภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding ReviewSakarin Habusaya
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdfnakonsitammarat
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)techno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeคู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeUtai Sukviwatsirikul
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 

Mais procurados (20)

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
 
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Reviewภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
ภาพรวมเรื่องการให้รหัส icd10 ในสถานบริการ Medical Record & Coding Review
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ปวด (คุณอำไพ)
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag codeคู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
คู่มือการวินิจฉัยโรค Manual diag code
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 

Destaque

Basic icd 9
Basic icd 9Basic icd 9
Basic icd 9swlhos
 
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มกลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มRose Sansai
 
ComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 PositioningComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 PositioningCurtis Palmer
 
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มการบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 

Destaque (12)

Basic icd 9
Basic icd 9Basic icd 9
Basic icd 9
 
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้มกลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
กลเม็ด เคล็ดลับ การบันทึกข้อมูล 21 แฟ้ม
 
ComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 PositioningComplyMD ICD-10 Positioning
ComplyMD ICD-10 Positioning
 
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้มการบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
การบันทึกข้อมูลใน hostxp/hosxp_pcu ประเภท PP เพื่อส่งออก 50 แฟ้ม
 
Icd10
Icd10Icd10
Icd10
 
Ha
HaHa
Ha
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
 
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
1 system setting&กำหนดรหัสมาตรฐาน
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Trauma scoring
Trauma scoringTrauma scoring
Trauma scoring
 

Icd10

  • 1. ICD 10 คืออะไร • คูมือในการแปลงชือโรคและ ่ ่ หัตถการมาเป็น รหัสเพื่อใช้ใน กิจการทางการแพทย์และ สาธารณสุข –เช่น Plasmodium falciparum malaria = B50 –Acute appendicitis with generalized peritonitis =
  • 2. ICD 10 คืออะไร • บัญชีจำาแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10 – ปรับปรุงทุก 10 ปี • คำาย่อมาจาก International Statistical Classification of Disease and Related Health Problems Tenth Revision
  • 3. ICD 10 คืออะไร • คือข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยว กับ –การจำาแนกโรค –การให้บริการสาธารณสุข • เพื่อให้เกิดมาตรฐานเดียวกันใน การ –รายงาน –ตรวจสอบ
  • 4. ลักษณะทั่วไปของ ICD 10 • เป็นหนังสือ 3 เล่ม –เล่มที่ 1 เป็นรายละเอียดการ จำาแนกโรค มีเนือหามากทีสุด (ใช้ ้ ่ บ่อย) –เล่มที่ 2 เป็นคูมอการใช้งาน ่ ื –เล่มที่ 3 เป็นดรรชนีค้นหาคำา (Alphabetical Index)
  • 5. ลักษณะทั่วไปของ ICD 10 • ใช้ หนึงตัวอักษรและสี่ตวเลข เริม ่ ั ่ จาก A00.00 ถึง Z99.99 • ยกเว้นตัวอักษร U ยังไม่ถูกใช้ • แบ่งเป็น 21 บท • มีหลักเกณฑ์ Inclusion และ Exclusion ในทุกส่วน • บางโรคมีระบบเข้ารหัสคู่ (Dual Classification) เพื่อเพิ่มราย ละเอียด
  • 6. ตัวอย่าง ICD 10 • หนึ่งตัวอักษรและสี่ตวเลข เริ่มจาก ั A00.00 ถึง Z99.99 – A00.0 = Cholera due to Vibrio Cholerae 01, biovar cholerae • Classical cholera – Z99.9 = Dependence on unspecified enabling machine an d device
  • 7. ตัวอย่าง ICD 10 • แบ่งเป็น 21 บท – Chapter 1: Certain infectious and parasitic disease – Chapter 2: Neoplasm – Chapter 3: Disease of the blood and blood-forming organs and certain disorder involving the immune mechanism – ……. – Chapter 21: Factor influencing
  • 8. ตัวอย่าง ICD 10 • บางโรคมีระบบเข้ารหัสคู่ (Dual Classification) เพื่อเพิ่มราย ละเอียดในการบอก Etiology and Manifestation – ใช้สัญญลักษณ์ Dagger and Asterisk – A18.7+ = Tuberculosis of adrenal glands (E35.1*)
  • 9. ICD 10 ประกอบไปด้วย • การวินิจฉัยโรค • อาการแสดง • ความผิดปกติทตรวจพบทางห้อง ี่ ทดลอง • การบาดเจ็บและเป็นพิษ • สาเหตุภายนอกของการป่วยและการ ตาย
  • 10. ตัวอย่าง ICD 10 • การวินจฉัยโรค ิ –Nontoxic single thyroid nodule = E04.0 • อาการแสดง –Fever, unspecified = R50.9 • ความผิดปกติทตรวจพบทางห้อง ี่ ทดลอง
  • 11. ตัวอย่าง ICD 10 • การบาดเจ็บและเป็นพิษ –Toxic effect of Benzene = T52.1 • สาเหตุภายนอกของการป่วยและ การตาย –Fall on and from ladder = W11
  • 12. ความพยายามใน ICD 10 • การตั้งชือโรคให้เป็นมาตรฐาน ่ –J61 Pneumoconiosis due to asbestosis and other mineral fibres • Asbestosis • คงบางชือที่ยงนิยมใช้กัน เช่น ่ ั –G20 Parkinsonism
  • 13. ความพยายามใน ICD 10 • เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยทำา สถิติ –สาเหตุการป่วย –สาเหตุการตาย –การบาดเจ็บ –และสถิตอื่น ๆ ิ • เป็นรหัสสากลที่ทกประเทศทัว ุ ่
  • 14. หลักการจัดกลุ่มใน ICD 10 • แบ่งกลุม โดยอาศัยสาเหตุของ ่ โรคเป็นหลักก่อน • ถัดมาจึงใช้ระบบอวัยวะทีเป็นโรค ่ • แล้วจึงค่อยจำาแนกตามอาการ
  • 15. หลักการจัดกลุ่มใน ICD 10 • 21 บท แบ่งได้เป็น 5 กลุ่มหลัก –โรคทางระบาดวิทยา –โรคทั่วไป –โรคเฉพาะตำาแหน่ง หรือส่วนของ ร่างกาย –Development disease –Injuries
  • 16. วัตถุประสงค์ของ ICD 10 • เพื่อการเปรียบเทียบระหว่าง ประเทศ –ใช้รหัส 3 ตัวอักษร • A00 = Cholera • การใช้ทาง Clinic –รหัสตัวที่ 4 เพื่อจำาแนกย่อยลงไป ให้ละเอียด • A00.1 = Cholera due to Vibrio
  • 17. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การลง รหัสโรค ควรจำาเพาะ และ มีรายละเอียดให้มากที่สด ุ –Acute appendicitis with perforation (K35.0) –Malignant neoplasm of stomach, fundus (C16.1) –Third-degree burn of wrist and hand (T23.3)
  • 18. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • ทำาไม ไม่ควรใช้ รหัส .8 หรือ .9 – .8 หมายถึง โรคอื่นๆ ซึ่งไม่ specific • E56.8 Deficiency of other vitamins – .9 หมายถึง ภาวะที่ไม่ระบุเฉพาะซึ่ง อาจไม่สื่อความหมายตามที่ต้องการ • E 61.9 Deficiency of nutrient element, unspecified
  • 19. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การเจ็บป่วย ที่มีหลายโรค –ให้ลงโรค ที่มผลรุนแรง และ ใช้ ี ทรัพยากรมากที่สุด –ใช้คำารวมที่อธิบายได้ครอบคลุม ทุกโรค เช่น Multiple Fractures
  • 20. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • โรคทีเกิดจากสาเหตุภายนอก ่ –ควร บรรยายสาเหตุไว้ดวย เช่น ้ •Fracture neck of femur จาก การหกล้มบนพื้นลื่น •ได้รบสารพิษจาก อุบัตเหตุดื่มยา ั ิ ฆ่าเชื้อ จากการคิดว่าเป็นเครื่อง ดืม ่ •อุณหภูมตำ่ากว่าปกติ จากการ ิ
  • 21. ตัวอย่างการลงรหัสโรคใน ICD 10 • ถ้าเป็นการรักษาความพิการที่ หลงเหลือ –สันจมูกคด - จากการมีจมูกหัก เมือเป็นเด็ก ่ –เป็นหมันจากท่อรังไข่อุดตัน เนื่องจากเคยเป็นวัณโรค
  • 22. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • หลักการในการออกรหัส “Main condition” และ “ภาวะอื่นๆ” –แพทย์มหน้าที่กำาหนด Main ี condition หรือ Principal diagnosis ให้ถกต้อง ู –และควรมีการบันทึก ”ภาวะอื่นๆ (other condition)” ที่เกี่ยวข้อง กับการมารับบริการของผู้ป่วยใน
  • 23. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การออกรหัส suspect, ruled out, อาการ และภาวะที่ไม่เจ็บ ป่วย –ไม่ควรเลือกใช้ ยกเว้น ใน กรณีทไม่สามารถได้การ ี่ วินจฉัยที่ชดเจนจริงๆ ก็อนุโลม ิ ั ให้ใช้ได้ ซึ่ง Coder จะตัดคำา
  • 24. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การออกรหัส multiple disease –เมือมีโรคหลายโรคเป็นพร้อมกัน ่ และไม่มโรคใดโดดเด่นเป็นพิเศษ ี ให้ดรหัสโรคในหมวด “Multiple ู …” และการออกรหัสเสริมสำาหรับ ภาวะต่างๆเพิ่มเติม –การออกรหัสแบบนี้ มักพบในผู้ ป่วย HIV , บาดเจ็บ และ พิการ
  • 25. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การออกรหัสรวมโรค –ICD มีหมวดที่ประกอบไปด้วยโร คหลายๆโรคที่นำามา code รวมกัน โดยใช้รหัสเดียวได้ หมวดรหัส รวมนี้ ควรนำามาใช้เป็น Principal diagnosis ในกรณีที่มข้อมูลที่ ี ชัดเจนว่า โรคที่นำามารวมนั้น เกี่ยวข้องกัน
  • 26. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การออกรหัสสาเหตุภายนอกของ ความเจ็บป่วย –ในกรณีของการบาดเจ็บ ที่เกิด จากเหตุภายนอกมากระทำา ควร ได้รับการออกรหัสทั้งสภาพของ โรค และ สภาวะการทีทำาให้เกิด ่ โรค ซึงเป็นรหัสที่พบในบทที่ 19 ่ (Injury) ส่วนสาเหตุของโรค
  • 27. ตัวอย่างการลงรหัสสาเหตุ ภายนอกของความเจ็บป่วย • Principal diagnosis: Fracture of neck of femur จากการหกล้มตกจากพื้นต่าง ระดับ • ภาวะอื่น ๆ ข้อศอกและแขน ฟกชำ้า –ให้ใช้รหัส Fracture of neck of femur (S72.0) เป็น Principal
  • 28. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การให้รหัส Sequelae of disease หรือผลตามมาของโรค –เช่น พูดไม่ชัด เนื่องจากเคยเป็น สมองขาดเลือดไปเลี้ยง • ใช้รหัส พูดไม่ชัด (R47.0) เป็น Principal diagnosis • ส่วนรหัส การเคยเป็นโรคสมองขาด เลือดไปเลี้ยง (I69.3) ใช้เป็นรหัส
  • 29. การให้รหัส Sequelae หรือผล ตามมาของโรค • เช่น พูดไม่ชัด เนื่องจากเคยเป็น สมองขาดเลือดไปเลี้ยง –ใช้รหัส พูดไม่ชัด (R47.0) เป็น Principal diagnosis –ส่วนรหัส การเคยเป็นโรคสมอง ขาดเลือดไปเลียง (I69.3) อาจนำา ้ มาใช้เป็นรหัสเสริม
  • 30. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การออกรหัสโรคระยะเฉียบพลัน และเรื้อรัง –ถ้า Principal diagnosis เป็นโรค ระยะเฉียบพลัน (หรือกึ่ง เฉียบพลัน) และเรือรัง รวมทั้ง ้ ตรวจพบว่า โรคนัน ๆ มีปรากฏ ้ แยกกันอยู่ ในหมวดใดหมวดหนึ่ง ของ ICD ก็ตามให้ใช้โรคระยะ
  • 31. ตัวอย่างการออกรหัสโรคระยะ เฉียบพลันและเรื้อรัง • ถุงนำ้าดีอักเสบเฉียบพลันและ เรือรัง ้ – ใช้รหัส ถุงนำ้าดีอักเสบเฉียบพลัน (K81.0) เป็น Principal diagnosis – ส่วนรหัส ถุงนำ้าดีอักเสบเรื้อรัง (K81.1) อาจนำามาใช้เป็นรหัสเสริม
  • 32. หลักการลงรหัสโรคใน ICD 10 • การออกรหัส สภาวะหลังการผ่าตัด และโรคแทรกซ้อน – ให้ใช้โรคหรือ สภาวะนั้นเป็น “Main condition” – อาจใช้รหัสเสริมในกลุ่ม Y83-Y84 ร่วมด้วยเพื่อให้เห็นที่มาที่ไปชัดขึ้น
  • 33. การออกรหัส สภาวะหลังการ ผ่าตัดและโรคแทรกซ้อน • ต่อมธัยรอยด์ ทำางานได้นอยกว่า ้ ปกติ หลังการผ่าตัดธัยรอยด์ 1 ปี – ใช้รหัส ต่อมธัยรอยด์ ทำางานได้น้อย กว่าปกติ หลังการ ผ่าตัด (E89.0) เป็น Principal diagnosis
  • 34. การออกรหัส สภาวะหลังการ ผ่าตัดและโรคแทรกซ้อน • โรคจิตหลังการทำาผ่าตัด ศัลยกรรมตกแต่ง – ใช้รหัสโรคจิต (F09) เป็น Principal diagnosis – เสริมโดยรหัส (Y83.8) (การทำาผ่าตัด ทีทำาให้เกิดผลผิดปกติต่อผู้ป่วย) ่ เป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ต่อการ ทำาผ่าตัด
  • 35. กฎในการเลือกเมือบันทึก Main ่ condition ไม่ถูกต้อง • Ruled morbidity 1. กรณีมการี บันทึกโรคเล็กน้อยเป็น Principal diagnosis และบันทึกโรคสำาคัญกว่า เป็นภาวะอื่น ๆ – เมื่อใดก็ตามทีแพทย์ลงบันทึกโรคเล็ก ่ น้อย เป็น Principal diagnosis แต่ บันทึกโรครุนแรงหรือสำาคัญกว่าทีนำาผู้ ่ ป่วยมารักษาตามสาขาที่เกี่ยวข้องเป็น ภาวะอื่นๆ ให้ทำาการเลือกใหม่ โดยใช้
  • 36. ตัวอย่างกฎ MB1. ของ ICD 10 –Principal diagnosis ไซนัสอักเสบ เฉียบพลัน (J01) – ภาวะอื่น ๆ มะเร็งปากมดลูก (C53), ความดันโลหิตสูง (I10) – การผ่าตัด ตัดมดลูกทั้งหมด (68.4) – ให้เลือก มะเร็งปากมดลูก เป็น Principal diagnosis ออกรหัส C53
  • 37. กฎในการเลือกเมือบันทึก Main ่ condition ไม่ถูกต้อง • Ruled morbidity 2. กรณี บันทึก โรคหลายโรคเป็น Principal diagnosis – ถ้าแพทย์ทำาการบันทึกโรคหลายโรคไว้ เป็น Principal diagnosis ทั้งหมด โดยที่โรคเหล่านั้นไม่สามารถออกรหัส รวมกันได้ ให้พิจารณาดูว่าโรคใดน่า จะเป็นโรคทีสำาคัญมากที่สุด แล้วเลือก ่ โรคนั้นเป็น Principal diagnosis ถ้าไม่สามารถระบุได้ว่าโรคใดสำาคัญ
  • 38. ตัวอย่าง กฎ MB2. ของ ICD 10 • Principal diagnosis ต้อกระจก (H25), เยื่อหุ้มสมองอักเสบจาก การติดเชือ สแตฟฟีโลคอคคัส (G0 ้ 0.3), กล้ามเนือหัวใจขาดเลือด (I2 ้ 5.1) – ผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาล 5 สัปดาห์ สาขา ประสาทวิทยา – ให้เลือก เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากการ
  • 39. ตัวอย่างกฎ MB2. ของ ICD 10 • Principal diagnosis โรค หลอดลมอักเสบอุดตันเรือรัง(J44), ้ ต่อมลูกหมากโต (N40), โรคผิวหนัง โซเรียซิส วัลการิส (L40.0) – เป็นผู้ป่วยนอกแผนกโรคผิวหนัง – ให้เลือก โรคผิวหนังโซเรียซิส วัลการิส เป็น Principal diagnosis ออกรหัส L40.0
  • 40. กฎในการเลือกเมือบันทึก Main ่ condition ไม่ถูกต้อง • Ruled morbidity 3. กรณีทบันทึก ี่ อาการของโรคที่รับการตรวจรักษา เป็น Principal diagnosis – ถ้ามีการบันทึก Symptom and signs (ซึ่งตามปกติอยู่ใน บทที่ 18) หรือ ปัญหาต่างๆที่จำาแนกไว้ในบทที่ 21 เหล่านี้เป็น Principal diagnosis และเห็นได้ชัดว่าแท้จริงแล้วเป็น อาการ อาการแสดงหรือปัญหาของ โรคหนึ่ง ที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษา
  • 41. ตัวอย่าง กฎ MB3. ของ ICD 10 • Principal diagnosis ปัสสาวะ เป็นเลือด (R31), ภาวะอื่น ๆ เส้นเลือดขอดที่ขา (I83), เนืองอก ้ แปปิโลมาทีผนังด้านหลังของ ่ กระเพาะปัสสาวะ (C67.4) – การรักษาใช้ความร้อนตัดเนื้องอกแปปิ โลมาออก (57.49) – สาขาศัลยกรรมทางเดินปัสสาวะ – ให้เลือก เนื้องอกแปปิโลมาที่ผนังด้าน
  • 42. กฎในการเลือกเมือบันทึก Main ่ condition ไม่ถูกต้อง • Ruled morbidity 4. ความจำาเพาะ – ถ้า Principal diagnosis ที่บันทึก ไว้แต่แรกเป็นภาวะที่ครอบคลุมกว้าง ขวาง (Non specific) แล้วมีคำาอธิบาย หรือภาวะอื่นที่ระบุไว้จำาเพาะเจาะจง กว่า ให้เลือกภาวะที่จำาเพาะกว่านั้น เป็น Principal diagnosis
  • 43. ตัวอย่าง กฎ MB4. ของ ICD 10 • Principal diagnosis ลำาไส้ อักเสบ (K52.9) – ภาวะอื่น ๆ โรคโครห์นของลำาไส้เล็ก ส่วนไอเลียม (K50.0) – ให้เลือก โรคโครห์นของลำาไส้เล็กส่วน ไอเลียมเป็น Principal diagnosis ออกรหัส K50.0
  • 44. กฎในการเลือกเมือบันทึก Main ่ condition ไม่ถูกต้อง • Ruled morbidity 5. การเปลี่ยน Principal diagnosis – ถ้าแพทย์บันทึกอาการหรืออาการ แสดงของโรคเป็น Principal diagnosis โดยที่อาการนั้น ๆ อาจ เกิดจากโรคใดโรคหนึ่งที่บันทึกไว้รวม ่ กัน ให้ใช้อาการนั้นเป็น Principal di agnosis หรือ ถ้ามีการวินิจฉัยแยก
  • 45. ตัวอย่าง กฎ MB5. ของ ICD 10 • ปวดท้องจาก ถุงนำ้าดีอักเสบ เฉียบพลัน (K81.0) หรือ ตับอ่อน อักเสบเฉียบพลัน (K85) – ให้เลือก ถุงนำ้าดีอกเสบเฉียบพลัน เป็น ั Principal diagnosis ออกรหัส K81.0
  • 46. วิธีการใช้หนังสือ ICD-10 1. ดู Principal diagnosis ว่าอยู่ใน กลุมใด ่ 2. เปิด ICD-10 Volume 1 A หน้าที่ III (Contents) 3. ดู Tabular list ว่ากลุมที่ตองการ ่ ้ อยู่ทหน้าใด ี่ Volume 1 A จบที่ Chapter XII 4. เปิดไปที่หน้าแรกของ Chapter นั้น
  • 47. วิธีการใช้หนังสือ ICD-10 6. เลือกดูว่า Principal diagnosis ตรง กับรหัสอะไร 7. พยายามดูให้ได้รหัสทีละเอียด หรือ ่ ตรงกับ Principal diagnosis ให้มาก ทีสด ่ ุ 8. ถ้าไม่มีชื่อโรคหรืออาการให้เลือก 8.1 ทบทวน Principal diagnosis ใหม่
  • 48. ICD-9-CM คืออะไร • คำาย่อมาจาก International Statistical Classification of Disease Ninth Revision Clinical Modification • ดัดแปลงจาก ICD 9 ของ WHO โดย Steering Committee ของ National Center for Health Statistics ของ U.S.A
  • 49. ICD-9-CM • เล่มทีนำามาใช้คอ เล่ม 3 ่ ื –เล่ม 1 และ เล่ม 2 คล้ายกับ ICD 10 • Procedures: Tabular List and Alphabetic Index
  • 50. ใช้ ICD-9-CM ทำาอะไร • ใช้สำาหรับลงรหัส Procedure หรือ หัตถการประเภทต่าง ๆ • เพื่อให้การจัดกลุม DRG ได้ถูกต้อง ่
  • 51. ลักษณะของ ICD-9-CM • มี 16 บท • Based on anatomical system –จากบทที่ 1 : Operation on the Nervous System –ถึงบทที่ 15 : Operation on the Integumentary System –แถมบทที่ 16 : Miscellaneous Diagnosis and Therapeutic
  • 52. ลักษณะของ ICD-9-CM • Numeric only เนืองจาก ่ ดัดแปลงมาจาก ICD 9 –01.0 Cranial puncture –99.98 Extraction of milk from lactating breast • Two digit structure with two decimal digits where
  • 53. การลงรหัสของ ICD-9-CM • Sex Specific • Corresponds with Principle Diagnosis • ลง Major Procedure ก่อน • High Resource Utilization ก่อน
  • 54. ตัวอย่างการลงรหัสของ ICD-9-CM • Debridement of wound, infection or burn – รหัส ICD-9-CM คือ 86.22 • Craniotomy and craniectomy – รหัส ICD-9-CM คือ 01.2 • Unilateral repair of inguinal hernia – รหัส ICD-9-CM คือ 53.0 • Lobectomy of liver – รหัส ICD-9-CM คือ 50.3
  • 55. ตัวอย่างการลงรหัสของ ICD-9-CM • Sex specific –ผูชายไม่ควรมี รหัส 66.0 ้ Salpingotomy –ผูหญิงไม่ควรมี รหัส 60.2 ้ Transurethral prostatectomy
  • 56. ตัวอย่างการลงรหัสของ ICD-9-CM • Corresponds with principle diagnosis –Unilateral or unspecified inguinal hernia, without obst ruction or gangrene (K40.9) • Unilateral repair of inguinal hernia (53.0) –Liver cell carcinoma (C22.0)
  • 57. วิธการใช้หนังสือ ICD-9-CM ี 1. ดู Operation ว่าทำากับอวัยวะใด 2. เปิด ICD-9-CM หน้าที่ XIX (Contents) 3. ดู Tabular list ว่า Operation ที่ ต้องการอยู่ทหน้าใด ี่ 4. เปิดไปที่ Chapter นั้น ๆ 5. ไล่ตาม Operation ของอวัยวะนั้น ไปเรื่อย ซึ่งมักจะเริ่มต้นที่สวนบนสุด ่
  • 58. วิธการใช้หนังสือ ICD-9-CM ี 6. เลือกดูว่า Operation ตรงกับรหัสอะไร 7. พยายามดูให้ได้รหัสทีละเอียด หรือตรง ่ กับ Operation ให้มากทีสด ่ ุ 8. ถ้าไม่มีรหัสให้เลือก 8.1 ทบทวน ชื่อ Operation ใหม่ 8.2 เลือก Operation ที่ใกล้เคียงกับ การทำาหัตถการให้มากทีสด ่ ุ
  • 59. ผลกระทบต่อ DRG เมื่อลงรหัส ผิด • ทำาให้เกิด DRG ที่ไม่มีมลค่าเช่น ู – DRG 469 = Principal Diagnosis Invalid as Discharge Diagnosis RW = 0.0000 – DRG 470 = Ungroupable RW = 0.0000
  • 60. ผลกระทบต่อ DRG เมื่อลงรหัส ผิด • ทำาให้เกิด DRG ที่ตองถูกตรวจสอบ ้ เช่น – DRG 468 = Extensive OR Procedure Unrelated to Principal Diagnosis RW = 3.6202 – DRG 469 = Principal Diagnosis Invalid as Discharge Diagnosis RW = 0.0000
  • 61. ตัวอย่างผลกระทบต่อ DRG เมื่อลงรหัสผิด • ลำาไส้อักเสบ (K52.9) – DRG 182 - Esophagitis, Gastroenteritis and miscellaneous Digestive Disorder, Age Greater than 17 without CC (RW 0.5496) • โรคโครห์นของลำาไส้เล็กส่วนไอ เลียม (K50.0) – DRG 179 - Inflammatory Bowel
  • 62. ตัวอย่างผลกระทบต่อ DRG เมื่อลงรหัสผิด – Principal diagnosis ไซนัสอักเสบ เฉียบพลัน (J01) – ภาวะอืน ๆ มะเร็งปากมดลูก (C53), ความ ่ ดันโลหิตสูง (I10) – การผ่าตัด ตัดมดลูกทั้งหมด (68.4) – ถ้าเลือก ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน (J01) เป็น Principal diagnosis • DRG 468 - Extensive OR Procedure Unrelated to principal Diagnosis (RW 3.6202) – ถ้าเลือก มะเร็งปากมดลูก (C53) เป็น
  • 63. ความหมายของ DRG ที่มีปัญหา • DRG 468 = Extensive OR Procedure Unrelated to Principal Diagnosis • DRG 469 = Principal Diagnosis Invalid as Discharge Diagnosis • DRG 470 = Ungroupable • DRG 474 = No Longer Valid • DRG 476 = Prostatic OR
  • 64. ความหมายของ DRG ที่มีปัญหา • DRG 477 = Nonextensive OR Procedure Unrelated to Principal Diagnosis
  • 65. รหัส ICD-10-PCS • PCS = Procedure coding system • รหัส ICD-10-PCS ใช้ตวอักษรและ ั ตัวเลข 7 ตำาแหน่ง • ตัวอักษรใช้ A - Z ยกเว้น O และ I (ป้องกัน 0 และ 1) • ตัวเลขใช้ 0 - 9 • สามารถครอบคลุมหัตถการได้
  • 66. รหัส ICD-10-PCS • การเรียงรหัส PCS เป็น 1234567 • ตำาแหน่งที่ 1 Section – บอกแผนกที่ทำาหัตถการ เช่น 0 ศัลยกรรม 1 สูตกรรม .... 9 เวชกรรมฟื้นฟู ิ • ตำาแหน่งที่ 2 Body system – บอกระบบของร่างกาย เช่น 0 ระบบประสาท ส่วนกลาง ... 9 หู จมูก ไซนัส • ตำาแหน่งที่ 3 Root – บอก Objective of procedure หรือ วิธีการ ทำาหัตถการ เช่น 0 Bypass, 1 Change, 2 Creation, .. 9 Extraction
  • 67. รหัส ICD-10-PCS • ตำาแหน่งที่ 4-7 ขึ้นกับรหัส 3 ตำาแหน่งแรก • Body part • Approach • Device • Qualifier
  • 68. รหัส ICD-10-PCS • ตัวอย่าง รหัส 094G1DZ • รหัส 3 ตัวแรกคือ 094 คือการทำาผ่าตัด ศัลยกรรมของหู จมูก ไซนัสโดยวิธี Dilatation • G = Eustachian Tube ข้างขวา (Body part) • 1 = Open intraluminal (Approach) • D = Intraluminal device (Device) • Z = None (Qualifier)