SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 96
Baixar para ler offline
£¡ª™±šª™¸™š£´²£ª¸‚ ²ž 
ª³™±š£´«²£²£ž±’™²£°ššš£´²£›¡ ¹¡´ 
ª³™±‡²™«¥±›£°±™ª¸‚ ²žÁ«h‡Š²•´ 
ª–²š±™§´ˆ±¢Á¥°ž±’™²£°ššª¸‚ ²žŠ¸¡Š™
ที่ปรึกษา : ดร.นพ.สมยศ ดีรัศมี 
นายแพทย์ชูวิทย์ ลิขิตยิ่งวรา 
นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข 
นายแพทย์วิศิษฎ์ ตั้งนภากร 
นายแพทย์ชาญวิทย์ ทระเทพ 
แพทย์หญิงอภิรมย์ เวชภูติ 
นายแพทย์นิวัฒน์ จี้กังวาฬ 
นายศุภชัย เมืองรักษ์ 
แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร 
กองบรรณาธิการ : ทันตแพทย์หญิงกันยา บุญธรรม 
นางสุนทรี อภิญญานนท์ 
นางศรีสมร นุ้ยปรี 
นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข 
นางสมสินี เกษมศิลป์ 
หนังสือ : เกณฑ์คุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
(Primary Care Award : PCA) 
ISBN : 978-616-11-0091-9 
จัดพิมพ์โดย : สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข 
พิมพ์เมื่อ : กันยายน 2552 
จำนวนพิมพ์ : 15,000 เล่ม 
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ได้มีการพัฒนาและฟื้นฟูขึ้นหลังจากการปฏิรูประบบ 
บริการสุขภาพ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งได้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจัดระบบ 
บริการปฐมภูมิ โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดให้มีศูนย์สุขภาพชุมชนขึ้น ให้มีบทบาทสำคัญในการให้ 
บริการที่ใกล้บ้านใกล้ใจ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวกและได้รับบริการขั้นพื้นฐานที่มี 
คุณภาพและได้มาตรฐาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้จัดทำมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชนขึ้น 
เพื่อให้หน่วยบริการใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาและประเมินรับรอง เพื่อให้ศูนย์สุขภาพชุมชน 
มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับและพึงพอใจของประชาชน 
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักบริหาร 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เล็งเห็น 
ความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ ในรูปแบบของเครือข่ายบริการ 
โดยมุ่งเน้นเชื่อมโยงระบบบริการ ระหว่างปัจจัยนำเข้า กระบวนการบริการ รวมทั้งการบริหาร 
จัดการซึ่งจะทำให้เกิดการจัดการเป็นระบบทั้งองค์กร โดยการนำกรอบคุณภาพของ Malcolm 
Baldrige National Quality Award มาประยุกต์ใช้เป็นกรอบในการพัฒนา และได้จัดทำเป็น 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ขึ้น โดยได้ทดลองนำร่อง 
ใน 17 จังหวัด และได้นำผลมาปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับบริบทบริการปฐมภูมิ จึงถือว่า 
เอกสารฉบับนี้เป็นมาตรฐานเล่มใหม่ที่มีการบูรณาการงานครอบคลุมทั้งกระบวนการ และ 
แนวทางการดำเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงหวังว่ามาตรฐานเล่มนี้จะใช้เป็นแนวทางพัฒนา 
คุณภาพเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิต่อไป 
ในการนี้ต้องขอขอบคุณคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานบริการปฐมภูมิ 
ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพ 
แห่งชาติที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน 
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 
กันยายน 2552 
คำนำ
หน้า 
สารบัญ 
บทที่ 1 บทนำ 1 
การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ 2 
ความเชื่อมโยงของระบบคุณภาพกับมาตรฐานด้านต่างๆ 7 
บทที่ 2 มาตรฐานคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 19 
ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร 20 
ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร 23 
หมวดที่ 1 การนำองค์กร 23 
หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 28 
หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ 33 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 36 
หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 41 
ส่วนที่ 2 ระบบงานและกระบวนการสำคัญ 47 
หมวดที่ 6 ด้านระบบบริการ 47 
ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์การดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 58 
หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 58 
บทที่ 3 ระบบการประเมินองค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพของ 63 
เครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 66 
แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 71 
ภาคผนวก 75 
แบบสอบถามการประเมินการให้บริการผู้ป่วยนอกของหน่วยบริการปฐมภูมิ 77 
คำสั่งคณะกรรมการ 81 
เอกสารอ้างอิง 86 
คำศัพท์ที่สำคัญ 88
บทที่ 1 
บทนำ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ 
แนวคิดหลัก 
หัวใจสำคัญที่เป็นคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ คือ ต้องเป็นบริการองค์รวม 
ต่อเนื่อง ผสมผสานและสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอย่างสมดุล ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ 
เป็นหลักการที่ผู้ให้บริการต้องใช้เป็นฐานในการดำเนินงานบริการในทุกด้านของหน่วยบริการ 
ปฐมภูมิ ในการดูแลประชากรแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ต้องพยายามที่จะบูรณาการด้านการส่ง 
เสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพไปพร้อมกัน และ 
กระบวนการดำเนินงานต้องคำนึงถึงมิติทางด้านจิตใจ สังคม และสภาพแวดล้อมของประชาชน 
หรือผู้รับบริการด้วย 
การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิได้นำแนวคิด CQI (Continuous Quality 
Improvement) มาใช้ ซึ่งจะเน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาระบบบริการอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ 
มาตรฐานและการประเมินตนเองเป็นเครื่องมือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ / พัฒนา ให้กับหน่วย 
บริการ 
เป้าหมาย 
เป้าหมายของระบบการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ คือการกระตุ้นให้หน่วย 
บริการปฐมภูมิ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติในหน่วยบริการปฐมภูมิ ผู้บริหาร 
และผู้เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ และเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ตลอดจนหน่วยงานที่ 
เกี่ยวข้องและชุมชน เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิให้ตอบสนองความต้องการ ความจำเป็น 
ด้านสุขภาพของประชาชน และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ชุมชนพึ่งตนเองได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
แก่นคุณค่าของการทำงานพัฒนาคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
ประกอบด้วย 
1. การนำหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิอย่างมีวิสัยทัศน์ 
2. ความรับผิดชอบต่อชุมชน และสังคม 
3. มุมมองเชิงระบบ 
4. การมุ่งเน้นอนาคต และการใช้ประโยชน์จากการคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต 
5. การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง หรือ ความเป็นเลิศที่ต้องได้มาจากการให้ความสำคัญ 
กับประชากรเป้าหมาย 
6. การทำงานเป็นทีม และมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 
ทั้งภาครัฐและเอกชน 
7. การมีความคล่องตัว 
8. การยึด “ผลสัมฤทธิ์” และ “การสร้างคุณค่า” เป็นเป้าหมายในการทำงาน 
9. การบริหารจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม 
10. การเรียนรู้ของหน่วยบริการปฐมภูมิ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ และทีมสุขภาพ 
11. การบริหารจัดการด้วยการใช้ข้อมูล และข้อเท็จจริง 
หลักคิดแก่นคุณค่าของการทำงาน 
4 
3 7 
การมีความ 
คล่องตัว 
การสร้าง 
นวัตกรรม 
Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
1 
2 
5 
6 
8 
9 
10 
11 
มุมมอง 
เชิงระบบ 
การมุ่งเน้น 
อนาคต 
รับผิดชอบ 
ต่อชุมชนและ 
สังคม 
การนำหน่วย 
บริการปฐมภูมิ 
การมอง 
ประชาชน 
เป็นศูนย์กลาง 
การยึดผลสัมฤทธิ์ 
และ 
การสร้างคุณค่า 
การเรียนรู้ 
ของ 
หน่วยบริการปฐมภูมิ 
การบริหารจัดการ 
ด้วยข้อเท็จจริง 
การทำงาน 
เป็นทีม 
และมีส่วนร่วม 
การนำองค์กร การบริหารจัดการองค์กร การปรับปรุงและพัฒนาองค์กร
เนื้อหาสำคัญของเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
ประกอบด้วย ส่วนพื้นฐาน และองค์ประกอบขององค์กร 3 ส่วน 7 หมวด คือ 
ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร 
ลักษณะองค์กร 
ความท้าทายขององค์กร 
ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร 
หมวด 1 การนำองค์กร 
1.1 การนำองค์กร 
1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 
หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 
2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 
2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 
หมวด 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
3.1 ความรู้เกี่ยวกับประชากร เป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของประชากร เป้าหมาย ชุมชน และ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
หมวด 4 การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 
4.1 การวัด วิเคราะห์และพิจารณาผลการดำเนินงานขององค์กร 
4.2 การจัดการสารสนเทศ และการจัดการความรู้ 
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 
5.1 ระบบบริหารงานบุคคลที่ก่อให้เกิดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน ตาม 
ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ 
5.2 การเรียนรู้ และการสร้างแรงจูงใจ บุคลากรในเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
ส่วนที่ 2 กระบวนการสำคัญของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
หมวด 6 ด้านระบบบริการ 
6.1 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 
6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 
ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์การดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
7.1 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านประสิทธิผล 
7.2 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านคุณภาพการให้บริการ 
7.3 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านประสิทธิภาพของกระบวนการให้บริการ 
7.4 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านการพัฒนาองค์กรเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
แผนภูมิแสดงกรอบระบบคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
ที่มา: ประยุกต์จาก กรอบระบบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award
ความเชื่อมโยงของระบบคุณภาพกับมาตรฐานด้านต่างๆ 
องค์ประกอบสำคัญที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของระบบบริการสุขภาพและกระบวนการ 
บริการ คือ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการบริการ และการบริหารจัดการ เพื่อให้ได้ผลผลิต และ 
ผลลัพธ์บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน 
ซึ่งปัจจุบันระบบของกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้กำหนด 
ให้มีมาตรฐานต่างๆ เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับและประกันคุณภาพของระบบในส่วนต่างๆ 
ดังภาพ ที่ 1 ซึ่งในแต่ละมาตรฐานมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำให้เกิดคุณภาพในจุดที่ต่างกัน 
กล่าวคือ 
1) มาตรฐานการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำที่กำหนดโดยสำนักงานหลักประกัน 
สุขภาพแห่งชาติ หรือ มาตรฐานการขึ้นทะเบียนคลินิกเอกชน เป็นส่วนที่กำกับตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่ 
เป็นปัจจัยนำเข้าที่กำหนดมาตรฐานด้านบุคลากรทั้งเชิงจำนวน และเชิงคุณภาพ มาตรฐาน 
อุปกรณ์ เครื่องมือ และเงื่อนไขระบบการจัดบริการที่เป็นมาตรฐานขั้นต่ำกว่าแต่ละหน่วยบริการ 
ต้องมีอย่างไร จึงจะขึ้นทะเบียนได้ 
2) มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) เป็นมาตรฐานของชุดกระบวนการหลายส่วน 
และมาตรฐานงานย่อยด้านต่างๆ เช่น มาตรฐานการพยาบาลชุมชน มาตรฐานด้านสุขศึกษา 
มาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อ (IC) เป็นมาตรฐานที่กำกับ ควบคุมและส่วนที่เป็นกระบวนการ 
บริการ โดยกำหนดเกี่ยวกับลักษณะคุณภาพของกิจกรรมหรือขั้นตอนสำคัญของระบบย่อยนั้นๆ 
ว่าควรทำอย่างไร 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
การนำแผนและ 
บริหารจัดการ 
กระบวนการ 
ภาพที่ 1 
ปัจจัยนำเข้า บริการ 
มาตรฐาน 
การขึ้นทะเบียน 
มาตรฐาน HCA 
มาตรฐานงาน : 
พยาบาล การรักษา 
สุขศึกษา 
IC 
l ผลลัพธ์งาน 
ตามแผนงาน โครงการ 
ตัวชี้วัดผลงาน : P4P 
l ผลลัพธ์คุณภาพ 
มาตรฐานบริการ 
สาธารณสุข 
3) ผลผลิต ผลลัพธ์งาน นั้นมิได้ถูกกำหนดคุณภาพในลักษณะของมาตรฐาน 
แต่กำหนดเป็นเป้าหมายที่ต้อง/ควรดำเนินการให้บรรลุ ตามแผนงาน โครงการต่างๆ ทั้งส่วน 
ที่เป็นเป้าหมายผลผลิตกิจกรรม และผลลัพธ์ที่เป็นตัวชี้วัด เช่น อัตราป่วย อัตราตาย อัตราการ 
ติดเชื้อ หรือ ความครอบคลุมในการจัดการบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ ผลงานตามนโยบาย 
ที่สำนักตรวจราชการฯติดตาม รวมทั้งการกำหนดเป้าหมายที่มีผลต่อการให้งบประมาณเพิ่ม 
เมื่อมีผลลัพธ์งานที่มีปริมาณ คุณภาพตามที่พึงประสงค์ เช่น Pay for Performance (P4P) 
ที่ดำเนินการโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ให้งบแก่ CUP เป็นต้น 
4) ระบบคุณภาพที่กำหนดในลักษณะที่เป็นการประกันคุณภาพขององค์กรทั้งองค์กร 
ที่ครอบคลุมองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งส่วน (ดังภาพที่ 2) และเน้นการเชื่อมโยงระหว่างปัจจัย 
นำเข้า กระบวนการบริการ รวมทั้งการบริหารจัดการ ที่ประกันว่าจะทำให้เกิดการจัดการ 
ที่ส่งผลให้งานมีคุณภาพได้อย่างยั่งยืน ทั่วถึง เป็นระบบทั้งองค์กร มิใช่เกิดบริการคุณภาพ 
เฉพาะกับผู้ให้บริการบางคน หรือบางบริการ ระบบนี้ใช้ฐานคิดจากเรื่อง Total Quality 
Management ตัวอย่างที่ใช้ระบบนี้ได้แก่ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศ 
สหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldridge National Quality Award: MBNQA) หรือเกณฑ์รางวัล 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
ผลผลิตและ 
ผลลัพธ์ 
กรอบคุณภาพกับมาตรฐานต่างๆ
คุณภาพแห่งชาติประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) เกณฑ์คุณภาพการบริหาร 
จัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) รวมทั้งระบบการ 
รับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) และระบบคุณภาพที่พัฒนาใน 
เอกสารฉบับนี้ ในชื่อว่า เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : 
PCA) ซึ่งเป็นระบบที่ประกันคุณภาพทั้งองค์กร (ภาพที่ 2) 
กรอบคุณภาพกับมาตรฐานต่างๆ 
การนำ แผน และ 
บริหารจัดการ 
ปัจจัยนำเข้า 
กระบวนการ 
บริการ 
ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิตและ 
2. การวางแผน 
เชิงยุทธศาสตร์ 
และกลยุทธ์ 
3. การให้ความสำคัญ 
กับผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
สภาพแว1. การนำ 
องค์กร 
2. การเชิงยุทและก3. การให้กับผู้รับผู้มีส่วน4. การวัด ระบบคุณภาพ TQM : 
TQA 
HA, HPH 
PMQA 
PCA 
ปัจจัยนำเข้า ผลผลิตและ 
ผลลัพธ์ 
ฐานต่างๆ 
ลักษณะสำคัญขององค์กร 
สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 
1. การนำ 
องค์กร 
5. การมุ่งเน้น 
ทรัพยากรบุคคล 
6. การจัดการ 
กระบวนการ 
ผลลัพธ์ 
ผลผลิตและ 
ผลลัพธ์ 
7. ผลลัพธ์ 
การดำเนินการ 
ภาพที่ 2
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
10 
เกณฑ์คุณภาพในเอกสารฉบับนี้ เป็นลักษณะของการพัฒนาระบบคุณภาพทั้งระบบ 
ทั้งองค์กร ที่ครอบคลุมทั้งการบริหารจัดการ การจัดบริการ รวมทั้งการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงาน 
การกำกับติดตาม แผนดำเนินงาน การพัฒนาบุคลากร การใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผน และ 
การจัดระบบงานให้ตอบสนองต่อกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของการดำเนินงาน ลักษณะเดียวกับ 
ระบบ (ส่วนที่ 4) ที่เป็น TQM แต่เนื้อหาในส่วนกระบวนการที่เป็นหมวด 6 ของ TQA ได้ปรับให้ 
สอดคล้องกับระบบงานของหน่วยบริการปฐมภูมิ และมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) 
ซึ่งบางข้อในส่วน HCA เดิมปรับให้อยู่ในหมวด 4 ที่เป็นการวัดวิเคราะห์ การจัดการความรู้ และ 
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล รวมทั้งส่วนที่เป็นการทำแผน หากเปรียบเทียบระหว่าง 
มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) กับระบบคุณภาพที่เป็นเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
(PCA ) ดังนี้ 
รายละเอียดการเทียบเคียงมาตรฐาน 
ลำดับ 
มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) 
มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ตาม 
ระบบ PCA/TQA/PMQA 
1 
ประสานงานให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการ 
วางแผน/ทำกิจกรรมสาธารณสุขในชุมชนตนเอง 
และ สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจาก 
องค์กรชุมชน/ท้องถิ่น 
หมวด 6 ข้อ 6.1.4 
2 
ร่วมดำเนินงานกับหน่วยราชการ/องค์กรที่เกี่ยวข้อง 
เพื่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค 
สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน 
หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (3) 
หมวด 6 ข้อ 6.1.4 (3, 4) 
3 
บริการเชิงรุกเพื่อให้ชุมชนสามารถ ประเมินสภาวะ 
สุขภาพของครอบครัว และปัจจัยที่จะกระทบ 
ต่อสุขภาพ เพื่อวางแผนในการสร้างเสริมสุขภาพ 
การป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ 
หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (2, 3) 
หมวด 6 ข้อ 6.1.4 (4) 
4 
มีและใช้แฟ้มครอบครัว( Family Folder)เพื่อการ 
ดูแลสุขภาพ 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1 ,6.1.2 
ข้อมูล :หมวด 4 ข้อ 4.1 
5 
มีและใช้แฟ้มชุมชน (Community Folder) 
หมวด 6 ข้อ 6.1.3 
ข้อมูล :หมวด 4 ข้อ 4.1
11 
รายละเอียดการเทียบเคียงมาตรฐาน 
ลำดับ 
มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) 
มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ตาม 
ระบบ PCA/TQA/PMQA 
6 
มีรูปแบบบริการที่เห็นชัดเจนด้านการดูแลสุขภาพ 
แบบองค์รวม (กาย จิต สังคม) 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1,6.1.2 
7 
มีระบบข้อมูลที่สามารถสืบค้นข้อมูลกลุ่มเสี่ยง กลุ่ม 
ผู้ป่วย การติดตามและการส่งต่อได้สะดวก 
หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (1) 
หมวด 4.1 
8 
ทีมสุขภาพสามารถเชื่อมโยงข้อมูลการเจ็บป่วยของ 
ผู้มารับบริการไปสู่การป้องกันปัญหา เสริมสร้าง 
สุขภาพ (กาย จิต สังคม) ในกลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง 
ตามแนวทาง กระบวนการ มาตรฐาน คู่มือ 
หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (2,3) 
หมวด 5 
9 
มีการบริการรักษาพยาบาล ทุกกลุ่มอาการ ที่ผสม 
ผสานกับการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูสภาพ เชื่อมต่อ 
กับการบริการภายในเครือข่ายและการดูแลฉุกเฉิน 
ทั้งในและนอกเวลาราชการ 
หมวด 6 ข้อ6.1.1,6.1.2 
10 
มีการจัดบริการด้านทันตกรรมและการส่งเสริม 
ป้องกันโรคทางด้านทันตกรรม 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 
11 
มีบริการด้านการชันสูตรที่ครบตามมาตรฐาน 
หมวด 6 ข้อ 6.2 
12 
มีบริการด้านยา ทั้งด้านระบบการจัดหายา การจัด 
เก็บ การจ่ายยา การกำกับคุณภาพมาตรฐานยา 
หมวด 6 ข้อ 6.2 
13 
มีบริการการแพทย์แผนไทย/การแพทย์ทางเลือก 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 
14 
มีบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกัน 
โรคในหญิงตั้งครรภ์ และเด็กอายุ 0-5 ปี 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1 
15 
มีและใช้บันทึกสุขภาพรายบุคคล (Personal 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
Record) 
มีข้อมูล : หมวด 4 ข้อ 4.1 
ใช้ข้อมูล : หมวด 6.1.1, 6.1.2 
16 
มีการบริการให้คำปรึกษา ( Counseling) 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 
17 
มีระบบส่งต่อที่มีคุณภาพทั้งไปและกลับในกรณี 
ฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
12 
รายละเอียดการเทียบเคียงมาตรฐาน 
ลำดับ 
มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) 
มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ตาม 
ระบบ PCA/TQA/PMQA 
18 
มีการบริการเยี่ยมบ้าน เพื่อให้การบริการ รวมทั้ง 
ติดตามเยี่ยม เพื่อทำความรู้จัก สร้างความเข้าใจ 
ในการดูแลสุขภาพให้แก่ครอบครัว และการให้ 
บริการแก่ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพตามความจำเป็น 
หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 
19 
มีทีมสุขภาพให้การบริการต่อเนื่องเป็นทีมประจำ 
มาตรฐานการขึ้นทะเบียน 
และ หมวด 5 ข้อ 5.1 
20 
มีการพัฒนาบุคลากรต่อเนื่อง 
หมวด 5 ข้อ 5.2.1 
21 
บุคลากรมีความสามารถในการวางแผนแบบมุ่งเน้น 
ผลสัมฤทธิ์ 
หมวด 5 
22 
มีการพัฒนามาตรฐานบริหารจัดการที่มีคุณภาพ 
แทรกอยู่ในกระบวนต่างๆ ใน 
หมวด 1-6 
23 
มีแผนพัฒนาและติดตามประเมินผลงานทั้งด้าน 
ปริมาณและคุณภาพ 
หมวด 3, หมวด 7 
หมวด 1 ข้อ 1.1.3, 
หมวด 2 ข้อ 2.2.1, 
หมวด4 ข้อ 4.1.2 
24 
มีแนวทาง กระบวนการ มาตรฐาน คู่มือการให้ 
บริการ 
หมวด 6 
25 
มีนวัตกรรมด้านต่างๆ ในศูนย์สุขภาพชุมชน 
หมวด 4 ข้อ 4.2.2 
26 
มีการดำเนินงานวิจัยในพื้นที่ 
หมวด 4 
(จัดการความรู้)
กรอบแนวคิดการพัฒนาเกณฑ์คุณภาพชุดนี้ มิได้กำหนดรายละเอียดกิจกรรมว่าต้อง 
n แนวปฏิบัติต่างๆ มีการออกแบบ มีเหตุผลความเป็นมา และวางแผนอย่างเป็น 
ระบบที่ชัดเจนหรือไม่ หรือเป็นการทำตามสถานการณ์เฉพาะหน้า 
n แนวการทำงานด้านต่างๆ นั้นมีความสอดคล้อง เชื่อมโยงกับปัจจัย และระบบงาน 
ด้านอื่นๆ เช่น สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน คุณค่าหลัก และ 
แผนกลยุทธ์หรือไม่ แผนกลยุทธ์สอดคล้องกับบริบทและทรัพยากรบุคคลหรือไม่ 
ผลลัพธ์การทำงานขององค์กรสอดคล้องกับแผน หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ 
อย่างไร เป็นต้น 
ฉนั้นการประเมินจากบุคคลนอกองค์กรจึงมิใช่การไปบอกว่าทำถูก หรือผิดใน 
รายละเอียด แต่เน้นที่สร้างการเรียนรู้ เป็นการแลกเปลี่ยนมุมมองการพิจารณาความเชื่อมโยง 
ความสอดคล้องของระบบย่อยต่างๆ และพิจารณาในแง่ทิศทางการทำงานขององค์กรว่าทำงาน 
อย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกับบริบทหรือไม่อย่างไร ฉะนั้น บุคคลภายนอกที่จะเข้าไป 
ร่วมประเมินภายใต้เกณฑ์คุณภาพนี้ จึงควรเป็นบุคคลที่มองในภาพรวมของระบบได้ หรือ 
มองความเชื่อมโยงระหว่างระบบย่อยที่พิจารณากับระบบใหญ่ขององค์กร และเน้นการให้ 
ข้อสะท้อน เพื่อให้บุคคลภายในองค์กรนำไปพิจารณาทบทวน ปรับปรุงให้มีการพัฒนาที่ดี 
มากยิ่งขึ้น 
ข้อแนะนำสำหรับแนวทางปฏิบัติ 
แต่ละหน่วยบริการ และหน่วยบริหารระดับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับอำเภอ 
จังหวัด และประเทศ ควรทำความเข้าใจอย่างชัดเจนต่อแก่นของมาตรฐานและระบบคุณภาพ 
ทั้งหมด แล้วจัดเรียง องค์ประกอบในระบบคุณภาพที่ต่อเชื่อมกัน ทั้งในลักษณะที่เชื่อมกันในด้าน 
เนื้อหา และช่วงเวลาการดำเนินการ ตัวอย่างเช่น 
13 
ประเด็นการประเมินที่แตกต่าง 
ทำอย่างไรที่ตายตัว แต่พิจารณาว่า 
n แนวปฏิบัติดำเนินการอย่างทั่วถึงทุกคนในองค์กร หรือเป็นเฉพาะบุคคล 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
แนวทางสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย (PCU & CUP) 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
14 
1. เริ่มต้นจากการประเมินด้วยเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำและ 
หน่วยบริการปฐมภูมิ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ ทุกหน่วยบริการสุขภาพและเครือข่าย 
ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ควรได้รับการประเมินตนเอง หรือ ประเมินจาก 
ภายนอกในด้านเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ และหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อ 
พิจารณาว่าส่วนที่เป็นปัจจัยนำเข้า อันได้แก่ บุคลากร อุปกรณ์ ระบบงานพื้นฐาน ได้ตาม 
มาตรฐานหรือไม่ มีส่วนขาดอย่างไร หากมีส่วนขาดให้มีการวางแผน และการดำเนินการเพื่อ 
แก้ไข ให้แล้วเสร็จตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณ และหากเป็นส่วนขาดที่ต้องแก้ไขระยะยาว เช่น 
การขาดแคลนบุคลากร ควรวางแผนว่าจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดยการจ้าง หรือ การประสาน 
ให้บุคลากรในหน่วยอื่นมาช่วยอย่างไร และจะแก้ปัญหาระยะยาวในการสรรหาบุคลากรมา 
เพิ่มใหม่ให้ได้ตามมาตรฐานในช่วงเวลากี่ปี ในส่วนที่เป็นหน่วยบริหารระดับอำเภอ จังหวัด 
ควรประเมินจุดขาดของทุกหน่วยงาน และทำเป็นแผนการพัฒนาที่ชัดเจน 
2. ทุกหน่วยบริการนำแนวทางปฏิบัติตามมาตรฐานย่อยของระบบงานต่างๆ มา 
ทบทวน เนื่องจากงานบริการปฐมภูมิประกอบด้วยงานย่อยๆ อีกหลายงาน ซึ่งแต่ละงาน 
ก็มีมาตรฐานคุณภาพของงานที่กำหนดโดยหน่วยงานเจ้าของเรื่องต่างๆ ฉะนั้นจึงควรนำเอา 
มาตรฐานงานแต่ละงานมาทบทวนว่าหน่วยบริการได้ดำเนินการปฏิบัติตามมาตรฐานเหมาะสม 
แล้วหรือไม่ หากยังไม่ได้ตามมาตรฐานก็ควรปรับปรุง และวางแผนการปรับปรุงให้ชัดเจน 
3. นำระบบคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (PCA) ในส่วนที่เป็นโครงสร้าง 
องค์กร และระบบในหมวด 3 มาดำเนินการ 
โดยที่ CUP เป็นตัวหลักในการทำ ประสานและร่วมทบทวนกับหน่วยบริการปฐมภูมิ 
CUP ควรเริ่มจากการสร้างความเข้าใจระบบคุณภาพแบบต่างๆ ให้แก่หน่วยบริการปฐมภูมิ 
และผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาล และเป็นผู้เขียน unit profile ในภาพรวมของ CUP เมื่อ 
หน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการชี้แจงให้เข้าใจแล้ว จึงนำระบบ PCA เข้ามาดำเนินการ แต่ 
ไม่จำเป็นต้องดำเนินการทุกเรื่อง ทุกหมวดพร้อมกัน ให้เริ่มจากหน่วยบริการทบทวนเขียน 
โครงสร้างองค์กร (unit profile) และทบทวนหมวด 3 (การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ก่อน เพื่อทบทวนองค์กรในด้านบริบท สภาพการเปลี่ยนแปลงของบริบทที่ 
เกี่ยวข้อง ทบทวนต้นทุนขององค์กรที่มีในปัจจุบัน (ซึ่งอาจใช้ผลประเมินการขึ้นทะเบียนในข้อ 1 
มาพิจารณาประกอบ) และทำความเข้าใจว่าประชาชน ผู้รับบริการต้องการอะไรจากองค์กร
หน่วยงานและหุ้นส่วนต่างๆ จะมีส่วนเข้ามาร่วมมือกับองค์กรอย่างไร รวมทั้งนำแผน นโยบาย 
ระดับจังหวัด อำเภอมาพิจารณาว่ามีทิศทางอย่างไร แล้วนำข้อมูลทั้งหมดมากำหนดทิศทางการ 
ดำเนินงาน และกลยุทธ์การทำงานขององค์กรให้ชัดเจนมากขึ้น 
4. ขยายเรื่องการทบทวนตามระบบ PCA ไปสู่หมวด 6 และหมวดอื่นๆ เมื่อเข้าใจ 
สถานการณ์องค์กรตนเอง และบริบทรอบข้างในข้อ 3 แล้ว จึงนำทิศทางที่ได้มาใช้เป็นกรอบใน 
การทบทวนระบบงานในหมวดอื่นๆ ต่อไป รวมทั้งนำผลการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพอื่นๆ 
ในข้อ 2 มาพิจารณาร่วมกันว่าระบบการทำงานในส่วนต่างๆ มีความสอดคล้องกันและเสริมการ 
ทำงานตามทิศทางที่ต้องการ และได้ผลงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ โดยพิจารณาว่าส่วนใดที่ 
เป็นจุดอ่อนสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนาอย่างเร่งด่วน วางแผนแก้ไขระยะยาว เพื่อเป็นรากฐานของ 
การพัฒนางานส่วนอื่นๆ เป็นต้น จากนั้นกำหนดแผนปฏิบัติงาน บุคคลรับผิดชอบ และจัดสรร 
งบประมาณเพื่อรองรับการทำงานตามแผนที่ตั้งไว้อย่างชัดเจน 
5. ใช้แนวทางจากหมวด 4 มาวางระบบจัดการข้อมูลและติดตาม ประเมินผลงาน 
เพื่อให้รู้ถึงความก้าวหน้า และปัญหาอุปสรรคต่างๆ ควรมีการจัดการเก็บบันทึกข้อมูล เพื่อ 
ติดตาม ประเมินผลว่างานเป็นไปตามแผนงาน และเป้าหมายหรือไม่ โดยใช้แนวทางในหมวด 4 
เป็นตัวช่วย มีการสรุปผลความคืบหน้าการดำเนินงานเป็นระยะอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ในการ 
จัดการข้อมูลและติดตามประเมินผล จะต้องดำเนินการทั้งในระดับ PCU และระดับ CUP โดยที่ 
CUP ทำหน้าที่เป็นผู้ประสาน และวิเคราะห์ในภาพรวมของอำเภอ 
6. ทบทวน และวิเคราะห์ข้อมูลตามหมวด 7 และทุกหมวด เมื่อครบรอบปี ให้ทบทวน 
ผลลัพธ์งานตามหมวด 7 และวงจรทั้งหมดข้างต้นอีกรอบเพื่อทำแผนปฏิบัติการประจำปี และ 
ทบทวนใหญ่เมื่อครบรอบ 3 ปี เพื่อวางแผนกลยุทธ์สำคัญขององค์กร 
15 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
แนวทางสำหรับผู้รับผิดชอบงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
16 
1. ให้มีการปรับแนวคิดแบบตรวจสอบ เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือ 
เป็นพี่เลี้ยง ทบทวน และทำความเข้าใจต่อระบบคุณภาพทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับหน่วยบริการ 
ปฐมภูมิ แสดงความเชื่อมโยงของเกณฑ์คุณภาพทั้งหมดให้แก่ผู้ปฏิบัติ ผู้บริหาร และผู้นิเทศ 
ทราบ 
2. กระบวนการพัฒนาคุณภาพในระบบ PCA นี้ ควรใช้แนวทางของคำถาม หรือ 
เกณฑ์คุณภาพเป็นเครื่องมือของการพูดคุย เพื่อตรวจสอบจุดแข็งและโอกาสการพัฒนาร่วมกัน 
ไม่ควรทำโดยการตอบแบบสอบถามทีละข้อโดยไม่ได้พุดคุยกัน และควรเน้นให้เป็น 
กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันมากกว่าการตรวจสอบจับผิดกัน 
3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ควรสร้างทีมพี่เลี้ยงในระดับจังหวัด ที่ดูแลการพัฒนา 
คุณภาพอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาทักษะของพี่เลี้ยงให้เป็นผู้สะท้อนภาพแบบสร้างสรรค์ สร้าง 
กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มากกว่าการตรวจสอบแบบ check list ให้มีลักษณะของรับฟังข้อมูล 
ความรู้สึก อุปสรรค ช่วยพิจารณาเรื่องความเป็นไปได้ในสถานการณ์จริง และร่วมกันหาทาง 
พัฒนามากกว่าการตำหนิ 
องค์ประกอบของทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดนี้ ไม่จำเป็นต้องเป็นบุคลากรจาก 
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด ควรมีผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหารที่มีประสบการณ์การทำงานใน 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายร่วมด้วย มีการจัดการเพื่อให้ทีมนี้สามารถทำงานได้ รวมทั้ง 
มีการพัฒนาให้เป็นทีมผู้เชี่ยวชาญในด้านนี้อย่างต่อเนื่อง 
4. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรประสานการดำเนินงานของจังหวัดในฝ่ายต่างๆ 
ให้เป็นไปในแนวเดียวกันก่อนถ่ายทอดไปให้อำเภอ 
5. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรสนับสนุนให้มีการสร้างทีมพี่เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ 
ในระดับอำเภอ สร้างความเข้าใจต่อแนวทางการพัฒนาให้แก่ CUP รวมทั้งทีมพี่เลี้ยงระดับ 
จังหวัดควรเข้าไปร่วมเป็นทีมพี่เลี้ยงในระดับอำเภอ ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อการ 
พัฒนาคุณภาพด้วย เพื่อปรับความเข้าใจและแนวทางดำเนินการร่วมกัน รวมทั้งเข้าไปรับรู้ 
สถานการณ์ของพื้นที่ด้วย
ขั้นตอนการทำงานโดยรวมของระบบประกันคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ และ 
เครือข่าย ในระดับประเทศ 
ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 
ส่วนที่หนึ่ง เป็นเกณฑ์คุณภาพขั้นต่ำของคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย 
โดยเน้นการทบทวน ประเมินและพัฒนา ในหมวด 6 ที่เป็นระบบปฏิบัติการของหน่วยบริการ 
ส่วนนี้เป็นส่วนที่ต้องดำเนินการในทุกหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานหลักประกัน 
สุขภาพแห่งชาติ และทุกหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 
ส่วนที่สอง เป็นการพัฒนาให้ได้คุณภาพขั้นสูงของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ คือ ระบบ 
PCA (Primary Care Award) ที่มีกรอบการทบทวน ประเมิน และพัฒนาทั้งระบบ รวมทั้ง 
ระบบการนำ การบริหารจัดการ (หมวด 1-5) ระบบปฏิบัติการ (หมวด6) และผลลัพธ์งาน 
(หมวด 7) ซึ่งกระบวนการพัฒนาในส่วนที่สองนั้นจะมีขั้นตอนการพัฒนาที่หน่วยบริการแต่ละแห่ง 
มีการทบทวนประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพทั้งหมด และมีกระบวนการประเมิน ทบทวน 
ภายใน หรือทบทวนโดยพี่เลี้ยง เพื่อให้มีการพัฒนาให้สมบูรณ์มากขึ้น 
ส่วนที่สาม หน่วยบริการที่มีคุณภาพในระดับสูงที่ควรได้รับรางวัล (Award) ให้สมัคร 
เข้ามาที่ส่วนกลาง เพื่อให้ทีมประเมินภายนอกไปพิจารณาระบบ และผลงาน ว่าได้ระดับคุณภาพ 
ตามเกณฑ์หรือไม่ ซึ่งรางวัลคุณภาพนี้เป็นคุณภาพของระบบทุกด้าน หรือเป็นรางวัลคุณภาพ 
ในบางด้านหรือบางระบบ ที่จะมีการกำหนดในรายละเอียดต่อไป ฉนั้นระบบนี้จึงเป็นระบบสมัครใจ 
ยังไม่เป็นระบบที่บังคับถ้วนหน้า แต่เป็นการกระตุ้นให้มีการพัฒนามีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 
17 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
18
บทที่ 2 
เกณฑ์คุณภาพของเครือข่าย 
บริการปฐมภูมิ 
19 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
20 
ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร 
หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร 
ส่วนนี้เป็นส่วนสำคัญมากที่องค์กรต้องเข้าใจตนเองว่ามีพันธกิจอะไร สภาพแวดล้อม 
เป็นอย่างไร ความท้าทายต่อการพัฒนาคืออะไร เพื่อให้รู้ว่าประเด็นสำคัญที่องค์กรต้องให้ 
ความสนใจที่จำเพาะกับบริบทขององค์กรเป็นเรื่องอะไร 
ส่วนนี้ถือว่าเป็นการประเมินตนเองเบื้องต้น หากโครงร่างองค์กรยังขาดข้อมูลสำคัญใน 
บางเรื่อง หรือขัดแย้งกันเอง ก็ควรต้องพัฒนาส่วนนี้ให้สมบูรณ์ก่อนที่จะประเมินตนเองในราย 
ละเอียดส่วนอื่นต่อไป 
1. ลักษณะสำคัญขององค์กร 
ให้พิจารณา และวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิ 
และความสัมพันธ์ที่สำคัญกับประชาชน ผู้รับบริการ ภาคีเครือข่ายสุขภาพ 
1.1 ลักษณะพื้นฐานของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ มีทิศทาง แนวทางการให้ 
บริการ บุคลากร เทคโนโลยี กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่สำคัญ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร 
ที่สามารถตรวจสอบได้ ดังต่อไปนี้ 
ก. พันธกิจหรือบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย รวมถึง วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ 
วัฒนธรรม และค่านิยมขององค์กร 
ข. สภาพโดยรวมที่สำคัญของทีมสุขภาพ เช่น ระดับการศึกษา อายุ สายงาน 
ระดับตำแหน่ง รวมถึงข้อกำหนดพิเศษในการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นองค์ประกอบในการพิจารณา 
คัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม 
ค. เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกที่สำคัญในการให้บริการและการ 
ปฏิบัติงานขององค์กรที่เหมาะสม และปลอดภัย 
ง. กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่ใช้และเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
1.2 ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการ 
ให้พิจารณา และทบทวนประเด็นต่อไปนี้ 
ก. โครงสร้างขององค์กร รวมทั้งระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี สายการบังคับบัญชา 
ข. กลุ่มเป้าหมายรับผลงาน ทั้งที่เป็นผู้รับบริการประเภทต่างๆ กลุ่มผู้มีส่วนได้ 
ส่วนเสียในพื้นที่ ทั้งที่เป็นรัฐ เอกชน ชุมชน ท้องถิ่น ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการ 
และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มบริการ และความแตกต่างของความคาดหวัง 
ค. บทบาทของผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ ผู้จัดการสนับสนุนทรัพยากรในการ 
ง. แนวทางและวิธีการสื่อสารกับภาคีเครือข่ายสุขภาพและกลุ่มผู้รับบริการ 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ต้องวิเคราะห์สถานการณ์ สภาพ 
การแข่งขัน และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เปรียบเทียบกับพันธกิจ กำหนดประเด็นท้าทายที่สำคัญ 
ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ เพื่อใช้ในการพัฒนา และการปรับปรุงผลการดำเนินการที่สำคัญใน 
การยกระดับองค์กร ดังต่อไปนี้ 
2.1 การเปรียบเทียบเพื่อการพัฒนา 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ต้องมีการวิเคราะห์สถานการณ์ 
พิจารณาว่าองค์กรอยู่ที่ลำดับใดในการแข่งขัน หรือมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาสุขภาพของ 
ประชาชนในพื้นที่มากน้อยเพียงใด และแนวโน้มเป็นอย่างไร มีปัจจัยสำคัญอะไรที่เกี่ยวข้อง 
หน่วยงาน/บุคคลอื่นที่มีผลต่อบริการสุขภาพเป็นอย่างไร และกำหนดประเด็นสำคัญที่จะ 
ปรับปรุง โดยเปรียบเทียบกับภารกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
หรือจัดระดับเทียบเคียง (Benchmarking) กับหน่วยงานที่มีลักษณะบริการคล้ายคลึงกัน 
เพื่อการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้สอดคล้องทันต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้ 
การเปรียบเทียบดังกล่าวต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นจริง สามารถแสดงได้อย่างชัดเจน 
21 
ปฐมภูมิ รวมทั้งภาคีเครือข่ายสุขภาพ (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) 
ดำเนินงานประเภทต่างๆ และผลกระทบต่อการจัดบริการขององค์กร 
ที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์ และความร่วมมือที่ดีในการปฏิบัติงาน 
2. ความท้าทายที่สำคัญของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
22 
2.2 ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ จัดระดับประเด็นความสำคัญ 
ของการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร มากำหนดเป็นความท้าทายเชิงกลยุทธ์ เป้าหมาย และระยะ 
เวลาในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับ 3 องค์ประกอบดังนี้ 
ก. ความท้าทายเพื่อให้บรรลุผลตามพันธกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือ 
ข่ายบริการปฐมภูมิ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
ข. ความท้าทายด้านปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาภายในองค์กรและ 
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน 
ค. ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้มีสมรรถนะที่เหมาะสม 
กับการให้บริการตามพันธกิจ และสถานการณ์ด้านทรัพยากรบุคคล 
2.3 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ พิจารณาและทบทวนถึง 
แนวทางที่องค์กรประเมินผลการดำเนินงานที่ตอบสนองต่อพันธกิจ แผนการดำเนินงาน การ 
เรียนรู้องค์กรอย่างต่อเนื่องอย่างไร และมีแนวทางอย่างไรในการนำผลการประเมินมาปรับปรุง 
ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน สร้างกระบวนการเรียนรู้ในองค์กร เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการ 
พัฒนาและยกระดับองค์กร
ทีมนำขององค์กร กำหนดทิศทาง แนวทางการกำกับดูแลตนเองที่ดี ถ่ายทอดสื่อสาร 
ทิศทางและแผนไปสู่การปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร และกำหนดวิธีการทบทวนผลการดำเนินการของ 
หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อให้บรรลุพันธกิจขององค์กร อย่าง 
ต่อเนื่องและยั่งยืน 
องค์ประกอบ 
1.1.1 การกำหนดและถ่ายทอดทิศทางของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 
1.1.2 การกำกับดูแลตนเองที่ดีของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ (Organizational 
ข้อกำหนดโดยรวม 
ทีมนำสุขภาพชี้นำองค์กร กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว และ 
ผลการดำเนินการที่คาดหวังของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ รวมทั้งการถ่ายทอดสื่อสารและ 
สร้างบรรยากาศให้บุคลากรในเครือข่ายมุ่งมั่นนำไปปฏิบัติ เกิดผลการดำเนินงานที่ดี 
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
1. ทีมนำสุขภาพร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว 
และกลยุทธ์หลัก โดยต้องคำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของประชาชน ชุมชน สังคม 
และผู้ได้รับผลกระทบในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จุดอ่อน และจุดแข็งขององค์กร เช่นวิสัยทัศน์ และ 
23 
ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร 
หมวด 1 การนำองค์กร 
เกณฑ์คุณภาพที่ 1.1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร 
ข้อกำหนดโดยรวม 
Governance) 
1.1.3 การทบทวนผลการดำเนินการของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 
1.1.1 การกำหนดและถ่ายทอดทิศทางของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เป้าประสงค์ อาจกล่าวถึงผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประชาชนหรือรูปแบบบริการที่ปรารถนาใน 
อนาคต 3-5 ปี ซึ่งอาจใช้ SWOT เป็นเครื่องมือหนึ่ง ในการช่วยกำหนดทิศทางดังกล่าว 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
24 
2. ทีมนำสุขภาพ ดำเนินการสื่อสารสองทาง สร้างบรรยากาศที่ดี ในทุกรูปแบบที่ 
สามารถดำเนินการได้ กระตุ้นให้บุคลากรในองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบและเข้าใจถึง 
เจตนารมณ์ของทิศทางดังกล่าวร่วมกัน สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความ 
ผาสุก 
1.1.2 การกำกับดูแลตนเองที่ดี ( Organizational Governance) 
ข้อกำหนดโดยรวม 
ทีมนำสุขภาพจัดการให้มีการควบคุมกำกับและตรวจสอบผลการดำเนินการของ 
เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อสร้างหลักประกันในด้านความรับผิดชอบ และโปร่งใส 
ในการดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
การควบคุมกำกับและตรวจสอบ หมายรวมถึง การกำกับด้านผลลัพธ์ของงาน การเงิน 
และการป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ จัดระบบให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการและ 
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนรับรู้ และมีส่วนร่วม ตรวจสอบได้ซึ่งอาจออกมาในรูปแบบของ 
- โครงสร้างการบริหาร 
- ระเบียบปฏิบัติ การกำกับดูแลตนเอง 
- มาตรฐานหรืออื่น ๆ ที่สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหาร 
- กฎระเบียบ หรือนโยบายที่เกี่ยวข้อง 
- แนวทางการตรวจสอบประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 
1.1.3 การทบทวนผลการดำเนินการของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 
ข้อกำหนดโดยรวม 
ทีมนำสุขภาพกำหนดวิธีการในการดำเนินการทบทวนผลการดำเนินการของเครือข่าย 
หน่วยบริการปฐมภูมิที่ต่อเนื่อง และนำผลการประเมินมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อให้เกิด 
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและก้าวกระโดด
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
1. ทีมนำสุขภาพร่วมคิด วางแผนและทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยยึด 
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง เช่น การบริหารงาน การจัดระบบสนับสนุนบริการ การให้บริการ 
การพัฒนาด้านวิชาการ การเรียนรู้และสร้างแรงจูงใจ ระบบประเมินผลงาน อาจรวมถึง 
การจัดทีมนำสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาของพื้นที่ โดยการจัดลำดับความสำคัญของ 
ประเด็น ที่ได้จากการทบทวน และค้นหาโอกาสในการพัฒนา 
2. ทีมนำสุขภาพนำผลการประเมินมาจัดทำแผนการปรับปรุงทั้งอย่างต่อเนื่องและ 
อย่างก้าวกระโดด อีกทั้งอาจใช้เป็นข้อมูลในการสร้างนวัตกรรมที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา 
สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ 
25 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เกณฑ์คุณภาพที่ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 
ข้อกำหนดโดยรวม 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
26 
ทีมนำสุขภาพดำเนินการอย่างมีส่วนร่วมที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมี 
จริยธรรมและเป็นองค์กรที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการและ 
ความคาดหวังของสังคม 
องค์ประกอบ 
1.2.1 ความรับผิดชอบต่อสังคม 
1.2.2 การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม 
1.2.3 การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ 
1.2.1 ความรับผิดชอบต่อสังคม 
ข้อกำหนดโดยรวม 
ทีมนำสุขภาพดำเนินการแสดงความรับผิดชอบ และจัดการในกรณีที่การบริการ และ 
การปฏิบัติงานมีผลกระทบในทางลบหรือคาดการณ์ว่าจะเกิดผลกระทบทางลบต่อสังคม 
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
ทีมนำสุขภาพวิเคราะห์ผลกระทบของการบริการ และการปฏิบัติงานในทางลบต่อ 
สังคม เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยง แล้วนำมากำหนดใน กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 
และเป้าหมายในการวางแผนยุทธศาสตร์ของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เช่น ความเชื่อ ค่านิยม 
วัฒนธรรม ประเพณี อาจรวมถึงเศรษฐกิจความเป็นอยู่แบบพอเพียงที่ดีในปัจจุบัน เช่น 
การมีพันธกิจหรือภารกิจที่แสดงถึงความรับผิดชอบผลกระทบของการบริการอันก่อให้เกิด 
ความเสียหายทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ของบุคคล ชุมชน และสังคม
ข้อกำหนดโดยรวม 
ทีมนำสุขภาพมีการจัดการ ตัดสินใจการปฏิบัติการ และการปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ 
ส่วนเสีย เป็นไปตามมโนธรรมและหลักการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิและควรสอดคล้องกับกฎ 
ระเบียบข้อบังคับ รวมทั้งเป็นพื้นฐานของค่านิยมและวัฒนธรรมของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ซึ่ง 
จะตัดสิน “ความถูกต้อง” และ “ความผิด” ของการกระทำใด ๆ เพื่อเป็นการพิทักษ์สิทธิ์ของ 
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
1. ทีมนำสุขภาพมีการตัดสินใจในการปฏิบัติการที่อาศัยหลักมโนธรรม สอดคล้องกับ 
กฎระเบียบข้อบังคับ กำหนดเป็นค่านิยมและวัฒนธรรมในการทำงานของบุคลากรในเครือข่าย 
บริการปฐมภูมิ 
2. ทีมนำสุขภาพตัดสินความถูกต้องและความผิด ของการกระทำใดๆ ของเครือข่าย 
ข้อกำหนดโดยรวม 
การกำหนดชุมชนที่สำคัญและสิ่งที่จะให้การสนับสนุน ทีมนำสุขภาพให้การสนับสนุน 
และมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมร่วมกับชุมชนนอกเหนือหน้าที่ที่รับผิดชอบ 
โดยตรง หรือ เป็นส่วนขยายของงานในหน้าที่ของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ 
ที่ดีต่อชุมชน 
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
ทีมนำสุขภาพอาจเป็นเจ้าภาพร่วมกิจกรรมทางศาสนากับชุมชน หรือ อาจส่งเสริมหรือ 
สนับสนุนการตั้งชมรมอาสาสมัครสอนหนังสือเด็กร่วมกับ อสม.,อบต. ให้กับเด็กด้อยโอกาส 
เป็นต้น 
27 
1.2.2 การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม 
บริการปฐมภูมิเป็นไปเพื่อการพิทักษ์สิทธิ์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
1.2.3 การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ 
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 
28 
หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 
องค์กรมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ โดยใช้ข้อมูลสถานการณ์องค์กร ร่วมกับสภาพปัจจัย 
ภายนอก ในการกำหนดยุทธศาสตร์ระยะสั้น ระยะยาว และกลยุทธ์การดำเนินงานให้เป็นไปตาม 
พันธกิจ และวิสัยทัศน์ขององค์กร รวมทั้งการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และมีการวัดผลความ 
ก้าวหน้า 
เกณฑ์คุณภาพที่ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 
ข้อกำหนดโดยรวม 
เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีวิธีการกำหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์การ 
ดำเนินงาน รวมทั้งการยกระดับความสามารถในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งตอบสนองต่อ 
ความท้าทายขององค์กร และกำหนดเป้าหมายผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จในการ 
ดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ต้องการในอนาคต 
ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 
1. สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน 
2. ตอบสนองต่อพันธกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 
3. การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
4. ความต่อเนื่องของการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ (ความท้าทายในการดำเนินงาน) 
องค์ประกอบ 
2.1.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 
2.1.2 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 
2.1.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 
ข้อกำหนดโดยรวม 
เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีวิธีการวางแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ เพื่อนำไปสู่ 
ความสำเร็จของเครือข่ายบริการปฐมภูมิทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ได้แก่ แผนปฏิบัติงาน 4 ปี 
แผนปฏิบัติงาน 1 ปี รวมถึงกรอบเวลาที่ใช้ในการวางแผน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดในการจัดทำแผน
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้า

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานTaraya Srivilas
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 

Mais procurados (20)

Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
11_ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 

Destaque

การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาAuamporn Junthong
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10Dr.Suradet Chawadet
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA AppreciationDr.Suradet Chawadet
 
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3Auamporn Junthong
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านAimmary
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพเกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพKraisee PS
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
DHML นพ ทวีเกียรติ
DHML  นพ ทวีเกียรติDHML  นพ ทวีเกียรติ
DHML นพ ทวีเกียรติDr.Suradet Chawadet
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sssDr.Suradet Chawadet
 

Destaque (20)

การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
 
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
ทีมหมอครอบครัว(Fct)พิมพ์ครั้งที่3
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพเกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
เกณศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
 
แบบบันทึกการนิเทศภายใน
แบบบันทึกการนิเทศภายในแบบบันทึกการนิเทศภายใน
แบบบันทึกการนิเทศภายใน
 
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
คู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐานคู่มือ15มาตรฐาน
คู่มือ15มาตรฐาน
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
DHML นพ ทวีเกียรติ
DHML  นพ ทวีเกียรติDHML  นพ ทวีเกียรติ
DHML นพ ทวีเกียรติ
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 

Semelhante a คู่มือ PCA เล่มฟ้า

พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยDMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยguestd1493f
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอUtai Sukviwatsirikul
 
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิหนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัวปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัวApichai Khuneepong
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 

Semelhante a คู่มือ PCA เล่มฟ้า (20)

พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Integrated care
Integrated careIntegrated care
Integrated care
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
 
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิหนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
หนังสือ เสริมคุณค่าปฐมภูมิ
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัวปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของ อสม.ในทีมหมอครอบครัว
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53) Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
Service Profile Anest. KKU 2553 (sent 7 June 53)
 

Mais de Dr.Suradet Chawadet

การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...Dr.Suradet Chawadet
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนDr.Suradet Chawadet
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.Dr.Suradet Chawadet
 
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10Dr.Suradet Chawadet
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวDr.Suradet Chawadet
 
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8Dr.Suradet Chawadet
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...Dr.Suradet Chawadet
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDODr.Suradet Chawadet
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมDr.Suradet Chawadet
 

Mais de Dr.Suradet Chawadet (10)

AI for primary healthcare
AI for primary healthcareAI for primary healthcare
AI for primary healthcare
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
 
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
 
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
R8 way เขตบริการสุขภาพที่ 8
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
 
โรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรมโรงพยาบาลคุณธรรม
โรงพยาบาลคุณธรรม
 

คู่มือ PCA เล่มฟ้า

  • 2. ที่ปรึกษา : ดร.นพ.สมยศ ดีรัศมี นายแพทย์ชูวิทย์ ลิขิตยิ่งวรา นายแพทย์บุญชัย สมบูรณ์สุข นายแพทย์วิศิษฎ์ ตั้งนภากร นายแพทย์ชาญวิทย์ ทระเทพ แพทย์หญิงอภิรมย์ เวชภูติ นายแพทย์นิวัฒน์ จี้กังวาฬ นายศุภชัย เมืองรักษ์ แพทย์หญิงสุพัตรา ศรีวณิชชากร กองบรรณาธิการ : ทันตแพทย์หญิงกันยา บุญธรรม นางสุนทรี อภิญญานนท์ นางศรีสมร นุ้ยปรี นางเกวลิน ชื่นเจริญสุข นางสมสินี เกษมศิลป์ หนังสือ : เกณฑ์คุณภาพ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ISBN : 978-616-11-0091-9 จัดพิมพ์โดย : สำนักพัฒนาระบบบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พิมพ์เมื่อ : กันยายน 2552 จำนวนพิมพ์ : 15,000 เล่ม พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
  • 3. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ ได้มีการพัฒนาและฟื้นฟูขึ้นหลังจากการปฏิรูประบบ บริการสุขภาพ ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ซึ่งได้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจัดระบบ บริการปฐมภูมิ โดยเริ่มตั้งแต่การกำหนดให้มีศูนย์สุขภาพชุมชนขึ้น ให้มีบทบาทสำคัญในการให้ บริการที่ใกล้บ้านใกล้ใจ ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวกและได้รับบริการขั้นพื้นฐานที่มี คุณภาพและได้มาตรฐาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ได้จัดทำมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชนขึ้น เพื่อให้หน่วยบริการใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาและประเมินรับรอง เพื่อให้ศูนย์สุขภาพชุมชน มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับและพึงพอใจของประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักบริหาร การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เล็งเห็น ความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ ในรูปแบบของเครือข่ายบริการ โดยมุ่งเน้นเชื่อมโยงระบบบริการ ระหว่างปัจจัยนำเข้า กระบวนการบริการ รวมทั้งการบริหาร จัดการซึ่งจะทำให้เกิดการจัดการเป็นระบบทั้งองค์กร โดยการนำกรอบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award มาประยุกต์ใช้เป็นกรอบในการพัฒนา และได้จัดทำเป็น เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ขึ้น โดยได้ทดลองนำร่อง ใน 17 จังหวัด และได้นำผลมาปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับบริบทบริการปฐมภูมิ จึงถือว่า เอกสารฉบับนี้เป็นมาตรฐานเล่มใหม่ที่มีการบูรณาการงานครอบคลุมทั้งกระบวนการ และ แนวทางการดำเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง จึงหวังว่ามาตรฐานเล่มนี้จะใช้เป็นแนวทางพัฒนา คุณภาพเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิต่อไป ในการนี้ต้องขอขอบคุณคณะกรรมการและผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานบริการปฐมภูมิ ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำนักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กันยายน 2552 คำนำ
  • 4. หน้า สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1 การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ 2 ความเชื่อมโยงของระบบคุณภาพกับมาตรฐานด้านต่างๆ 7 บทที่ 2 มาตรฐานคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 19 ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร 20 ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร 23 หมวดที่ 1 การนำองค์กร 23 หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 28 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และ 33 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 36 หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 41 ส่วนที่ 2 ระบบงานและกระบวนการสำคัญ 47 หมวดที่ 6 ด้านระบบบริการ 47 ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์การดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 58 หมวดที่ 7 ผลลัพธ์การดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 58 บทที่ 3 ระบบการประเมินองค์กรตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพของ 63 เครือข่ายบริการปฐมภูมิ แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 66 แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 71 ภาคผนวก 75 แบบสอบถามการประเมินการให้บริการผู้ป่วยนอกของหน่วยบริการปฐมภูมิ 77 คำสั่งคณะกรรมการ 81 เอกสารอ้างอิง 86 คำศัพท์ที่สำคัญ 88
  • 5. บทที่ 1 บทนำ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 6. การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ แนวคิดหลัก หัวใจสำคัญที่เป็นคุณภาพของหน่วยบริการปฐมภูมิ คือ ต้องเป็นบริการองค์รวม ต่อเนื่อง ผสมผสานและสนับสนุนการพึ่งตนเองของประชาชนอย่างสมดุล ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้ เป็นหลักการที่ผู้ให้บริการต้องใช้เป็นฐานในการดำเนินงานบริการในทุกด้านของหน่วยบริการ ปฐมภูมิ ในการดูแลประชากรแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ต้องพยายามที่จะบูรณาการด้านการส่ง เสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพไปพร้อมกัน และ กระบวนการดำเนินงานต้องคำนึงถึงมิติทางด้านจิตใจ สังคม และสภาพแวดล้อมของประชาชน หรือผู้รับบริการด้วย การพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิได้นำแนวคิด CQI (Continuous Quality Improvement) มาใช้ ซึ่งจะเน้นการประเมินเพื่อการพัฒนาระบบบริการอย่างต่อเนื่อง โดยใช้ มาตรฐานและการประเมินตนเองเป็นเครื่องมือให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ / พัฒนา ให้กับหน่วย บริการ เป้าหมาย เป้าหมายของระบบการพัฒนาคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ คือการกระตุ้นให้หน่วย บริการปฐมภูมิ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติในหน่วยบริการปฐมภูมิ ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องในระดับอำเภอ และเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (CUP) ตลอดจนหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องและชุมชน เพื่อพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิให้ตอบสนองความต้องการ ความจำเป็น ด้านสุขภาพของประชาชน และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ชุมชนพึ่งตนเองได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 7. แก่นคุณค่าของการทำงานพัฒนาคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย 1. การนำหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิอย่างมีวิสัยทัศน์ 2. ความรับผิดชอบต่อชุมชน และสังคม 3. มุมมองเชิงระบบ 4. การมุ่งเน้นอนาคต และการใช้ประโยชน์จากการคาดการณ์แนวโน้มในอนาคต 5. การมองประชาชนเป็นศูนย์กลาง หรือ ความเป็นเลิศที่ต้องได้มาจากการให้ความสำคัญ กับประชากรเป้าหมาย 6. การทำงานเป็นทีม และมีส่วนร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน 7. การมีความคล่องตัว 8. การยึด “ผลสัมฤทธิ์” และ “การสร้างคุณค่า” เป็นเป้าหมายในการทำงาน 9. การบริหารจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม 10. การเรียนรู้ของหน่วยบริการปฐมภูมิ เครือข่ายบริการปฐมภูมิ และทีมสุขภาพ 11. การบริหารจัดการด้วยการใช้ข้อมูล และข้อเท็จจริง หลักคิดแก่นคุณค่าของการทำงาน 4 3 7 การมีความ คล่องตัว การสร้าง นวัตกรรม Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 1 2 5 6 8 9 10 11 มุมมอง เชิงระบบ การมุ่งเน้น อนาคต รับผิดชอบ ต่อชุมชนและ สังคม การนำหน่วย บริการปฐมภูมิ การมอง ประชาชน เป็นศูนย์กลาง การยึดผลสัมฤทธิ์ และ การสร้างคุณค่า การเรียนรู้ ของ หน่วยบริการปฐมภูมิ การบริหารจัดการ ด้วยข้อเท็จจริง การทำงาน เป็นทีม และมีส่วนร่วม การนำองค์กร การบริหารจัดการองค์กร การปรับปรุงและพัฒนาองค์กร
  • 8. เนื้อหาสำคัญของเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย ส่วนพื้นฐาน และองค์ประกอบขององค์กร 3 ส่วน 7 หมวด คือ ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร ลักษณะองค์กร ความท้าทายขององค์กร ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.2 การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ หมวด 3 การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับประชากร เป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของประชากร เป้าหมาย ชุมชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หมวด 4 การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1 การวัด วิเคราะห์และพิจารณาผลการดำเนินงานขององค์กร 4.2 การจัดการสารสนเทศ และการจัดการความรู้ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบบริหารงานบุคคลที่ก่อให้เกิดการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงาน ตาม ภาระหน้าที่ความรับผิดชอบ 5.2 การเรียนรู้ และการสร้างแรงจูงใจ บุคลากรในเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 5.3 การสร้างความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 9. ส่วนที่ 2 กระบวนการสำคัญของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ หมวด 6 ด้านระบบบริการ 6.1 กระบวนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 6.2 กระบวนการสนับสนุนการให้บริการที่สร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ ส่วนที่ 3 ผลลัพธ์การดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 7.1 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านประสิทธิผล 7.2 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านคุณภาพการให้บริการ 7.3 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านประสิทธิภาพของกระบวนการให้บริการ 7.4 ผลลัพธ์การดำเนินการด้านการพัฒนาองค์กรเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 10. เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) แผนภูมิแสดงกรอบระบบคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ที่มา: ประยุกต์จาก กรอบระบบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award
  • 11. ความเชื่อมโยงของระบบคุณภาพกับมาตรฐานด้านต่างๆ องค์ประกอบสำคัญที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของระบบบริการสุขภาพและกระบวนการ บริการ คือ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการบริการ และการบริหารจัดการ เพื่อให้ได้ผลผลิต และ ผลลัพธ์บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองความต้องการและความจำเป็นด้านสุขภาพของประชาชน ซึ่งปัจจุบันระบบของกระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้กำหนด ให้มีมาตรฐานต่างๆ เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับและประกันคุณภาพของระบบในส่วนต่างๆ ดังภาพ ที่ 1 ซึ่งในแต่ละมาตรฐานมีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำให้เกิดคุณภาพในจุดที่ต่างกัน กล่าวคือ 1) มาตรฐานการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำที่กำหนดโดยสำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ หรือ มาตรฐานการขึ้นทะเบียนคลินิกเอกชน เป็นส่วนที่กำกับตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่ เป็นปัจจัยนำเข้าที่กำหนดมาตรฐานด้านบุคลากรทั้งเชิงจำนวน และเชิงคุณภาพ มาตรฐาน อุปกรณ์ เครื่องมือ และเงื่อนไขระบบการจัดบริการที่เป็นมาตรฐานขั้นต่ำกว่าแต่ละหน่วยบริการ ต้องมีอย่างไร จึงจะขึ้นทะเบียนได้ 2) มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) เป็นมาตรฐานของชุดกระบวนการหลายส่วน และมาตรฐานงานย่อยด้านต่างๆ เช่น มาตรฐานการพยาบาลชุมชน มาตรฐานด้านสุขศึกษา มาตรฐานการป้องกันการติดเชื้อ (IC) เป็นมาตรฐานที่กำกับ ควบคุมและส่วนที่เป็นกระบวนการ บริการ โดยกำหนดเกี่ยวกับลักษณะคุณภาพของกิจกรรมหรือขั้นตอนสำคัญของระบบย่อยนั้นๆ ว่าควรทำอย่างไร เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 12. การนำแผนและ บริหารจัดการ กระบวนการ ภาพที่ 1 ปัจจัยนำเข้า บริการ มาตรฐาน การขึ้นทะเบียน มาตรฐาน HCA มาตรฐานงาน : พยาบาล การรักษา สุขศึกษา IC l ผลลัพธ์งาน ตามแผนงาน โครงการ ตัวชี้วัดผลงาน : P4P l ผลลัพธ์คุณภาพ มาตรฐานบริการ สาธารณสุข 3) ผลผลิต ผลลัพธ์งาน นั้นมิได้ถูกกำหนดคุณภาพในลักษณะของมาตรฐาน แต่กำหนดเป็นเป้าหมายที่ต้อง/ควรดำเนินการให้บรรลุ ตามแผนงาน โครงการต่างๆ ทั้งส่วน ที่เป็นเป้าหมายผลผลิตกิจกรรม และผลลัพธ์ที่เป็นตัวชี้วัด เช่น อัตราป่วย อัตราตาย อัตราการ ติดเชื้อ หรือ ความครอบคลุมในการจัดการบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ ผลงานตามนโยบาย ที่สำนักตรวจราชการฯติดตาม รวมทั้งการกำหนดเป้าหมายที่มีผลต่อการให้งบประมาณเพิ่ม เมื่อมีผลลัพธ์งานที่มีปริมาณ คุณภาพตามที่พึงประสงค์ เช่น Pay for Performance (P4P) ที่ดำเนินการโดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่ให้งบแก่ CUP เป็นต้น 4) ระบบคุณภาพที่กำหนดในลักษณะที่เป็นการประกันคุณภาพขององค์กรทั้งองค์กร ที่ครอบคลุมองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งส่วน (ดังภาพที่ 2) และเน้นการเชื่อมโยงระหว่างปัจจัย นำเข้า กระบวนการบริการ รวมทั้งการบริหารจัดการ ที่ประกันว่าจะทำให้เกิดการจัดการ ที่ส่งผลให้งานมีคุณภาพได้อย่างยั่งยืน ทั่วถึง เป็นระบบทั้งองค์กร มิใช่เกิดบริการคุณภาพ เฉพาะกับผู้ให้บริการบางคน หรือบางบริการ ระบบนี้ใช้ฐานคิดจากเรื่อง Total Quality Management ตัวอย่างที่ใช้ระบบนี้ได้แก่ เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศ สหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldridge National Quality Award: MBNQA) หรือเกณฑ์รางวัล เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ผลผลิตและ ผลลัพธ์ กรอบคุณภาพกับมาตรฐานต่างๆ
  • 13. คุณภาพแห่งชาติประเทศไทย (Thailand Quality Award : TQA) เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) รวมทั้งระบบการ รับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) และระบบคุณภาพที่พัฒนาใน เอกสารฉบับนี้ ในชื่อว่า เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) ซึ่งเป็นระบบที่ประกันคุณภาพทั้งองค์กร (ภาพที่ 2) กรอบคุณภาพกับมาตรฐานต่างๆ การนำ แผน และ บริหารจัดการ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ บริการ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลผลิตและ 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) สภาพแว1. การนำ องค์กร 2. การเชิงยุทและก3. การให้กับผู้รับผู้มีส่วน4. การวัด ระบบคุณภาพ TQM : TQA HA, HPH PMQA PCA ปัจจัยนำเข้า ผลผลิตและ ผลลัพธ์ ฐานต่างๆ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 1. การนำ องค์กร 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ ผลลัพธ์ ผลผลิตและ ผลลัพธ์ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ ภาพที่ 2
  • 14. เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 10 เกณฑ์คุณภาพในเอกสารฉบับนี้ เป็นลักษณะของการพัฒนาระบบคุณภาพทั้งระบบ ทั้งองค์กร ที่ครอบคลุมทั้งการบริหารจัดการ การจัดบริการ รวมทั้งการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงาน การกำกับติดตาม แผนดำเนินงาน การพัฒนาบุคลากร การใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผน และ การจัดระบบงานให้ตอบสนองต่อกลยุทธ์และเป้าประสงค์ของการดำเนินงาน ลักษณะเดียวกับ ระบบ (ส่วนที่ 4) ที่เป็น TQM แต่เนื้อหาในส่วนกระบวนการที่เป็นหมวด 6 ของ TQA ได้ปรับให้ สอดคล้องกับระบบงานของหน่วยบริการปฐมภูมิ และมาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) ซึ่งบางข้อในส่วน HCA เดิมปรับให้อยู่ในหมวด 4 ที่เป็นการวัดวิเคราะห์ การจัดการความรู้ และ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล รวมทั้งส่วนที่เป็นการทำแผน หากเปรียบเทียบระหว่าง มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) กับระบบคุณภาพที่เป็นเกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (PCA ) ดังนี้ รายละเอียดการเทียบเคียงมาตรฐาน ลำดับ มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ตาม ระบบ PCA/TQA/PMQA 1 ประสานงานให้ประชาชนมีส่วนร่วม ในการ วางแผน/ทำกิจกรรมสาธารณสุขในชุมชนตนเอง และ สนับสนุนการจัดกิจกรรมสุขภาพที่ริเริ่มจาก องค์กรชุมชน/ท้องถิ่น หมวด 6 ข้อ 6.1.4 2 ร่วมดำเนินงานกับหน่วยราชการ/องค์กรที่เกี่ยวข้อง เพื่อการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (3) หมวด 6 ข้อ 6.1.4 (3, 4) 3 บริการเชิงรุกเพื่อให้ชุมชนสามารถ ประเมินสภาวะ สุขภาพของครอบครัว และปัจจัยที่จะกระทบ ต่อสุขภาพ เพื่อวางแผนในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (2, 3) หมวด 6 ข้อ 6.1.4 (4) 4 มีและใช้แฟ้มครอบครัว( Family Folder)เพื่อการ ดูแลสุขภาพ หมวด 6 ข้อ 6.1.1 ,6.1.2 ข้อมูล :หมวด 4 ข้อ 4.1 5 มีและใช้แฟ้มชุมชน (Community Folder) หมวด 6 ข้อ 6.1.3 ข้อมูล :หมวด 4 ข้อ 4.1
  • 15. 11 รายละเอียดการเทียบเคียงมาตรฐาน ลำดับ มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ตาม ระบบ PCA/TQA/PMQA 6 มีรูปแบบบริการที่เห็นชัดเจนด้านการดูแลสุขภาพ แบบองค์รวม (กาย จิต สังคม) หมวด 6 ข้อ 6.1.1,6.1.2 7 มีระบบข้อมูลที่สามารถสืบค้นข้อมูลกลุ่มเสี่ยง กลุ่ม ผู้ป่วย การติดตามและการส่งต่อได้สะดวก หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (1) หมวด 4.1 8 ทีมสุขภาพสามารถเชื่อมโยงข้อมูลการเจ็บป่วยของ ผู้มารับบริการไปสู่การป้องกันปัญหา เสริมสร้าง สุขภาพ (กาย จิต สังคม) ในกลุ่มเสี่ยงได้อย่างถูกต้อง ตามแนวทาง กระบวนการ มาตรฐาน คู่มือ หมวด 6 ข้อ 6.1.3 (2,3) หมวด 5 9 มีการบริการรักษาพยาบาล ทุกกลุ่มอาการ ที่ผสม ผสานกับการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูสภาพ เชื่อมต่อ กับการบริการภายในเครือข่ายและการดูแลฉุกเฉิน ทั้งในและนอกเวลาราชการ หมวด 6 ข้อ6.1.1,6.1.2 10 มีการจัดบริการด้านทันตกรรมและการส่งเสริม ป้องกันโรคทางด้านทันตกรรม หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 11 มีบริการด้านการชันสูตรที่ครบตามมาตรฐาน หมวด 6 ข้อ 6.2 12 มีบริการด้านยา ทั้งด้านระบบการจัดหายา การจัด เก็บ การจ่ายยา การกำกับคุณภาพมาตรฐานยา หมวด 6 ข้อ 6.2 13 มีบริการการแพทย์แผนไทย/การแพทย์ทางเลือก หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 14 มีบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกัน โรคในหญิงตั้งครรภ์ และเด็กอายุ 0-5 ปี หมวด 6 ข้อ 6.1.1 15 มีและใช้บันทึกสุขภาพรายบุคคล (Personal เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) Record) มีข้อมูล : หมวด 4 ข้อ 4.1 ใช้ข้อมูล : หมวด 6.1.1, 6.1.2 16 มีการบริการให้คำปรึกษา ( Counseling) หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 17 มีระบบส่งต่อที่มีคุณภาพทั้งไปและกลับในกรณี ฉุกเฉินได้อย่างรวดเร็ว หมวด 6 ข้อ 6.1.1
  • 16. เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 12 รายละเอียดการเทียบเคียงมาตรฐาน ลำดับ มาตรฐานศูนย์สุขภาพชุมชน (HCA) มาตรฐานที่ปรับปรุงใหม่ตาม ระบบ PCA/TQA/PMQA 18 มีการบริการเยี่ยมบ้าน เพื่อให้การบริการ รวมทั้ง ติดตามเยี่ยม เพื่อทำความรู้จัก สร้างความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพให้แก่ครอบครัว และการให้ บริการแก่ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพตามความจำเป็น หมวด 6 ข้อ 6.1.1, 6.1.2 19 มีทีมสุขภาพให้การบริการต่อเนื่องเป็นทีมประจำ มาตรฐานการขึ้นทะเบียน และ หมวด 5 ข้อ 5.1 20 มีการพัฒนาบุคลากรต่อเนื่อง หมวด 5 ข้อ 5.2.1 21 บุคลากรมีความสามารถในการวางแผนแบบมุ่งเน้น ผลสัมฤทธิ์ หมวด 5 22 มีการพัฒนามาตรฐานบริหารจัดการที่มีคุณภาพ แทรกอยู่ในกระบวนต่างๆ ใน หมวด 1-6 23 มีแผนพัฒนาและติดตามประเมินผลงานทั้งด้าน ปริมาณและคุณภาพ หมวด 3, หมวด 7 หมวด 1 ข้อ 1.1.3, หมวด 2 ข้อ 2.2.1, หมวด4 ข้อ 4.1.2 24 มีแนวทาง กระบวนการ มาตรฐาน คู่มือการให้ บริการ หมวด 6 25 มีนวัตกรรมด้านต่างๆ ในศูนย์สุขภาพชุมชน หมวด 4 ข้อ 4.2.2 26 มีการดำเนินงานวิจัยในพื้นที่ หมวด 4 (จัดการความรู้)
  • 17. กรอบแนวคิดการพัฒนาเกณฑ์คุณภาพชุดนี้ มิได้กำหนดรายละเอียดกิจกรรมว่าต้อง n แนวปฏิบัติต่างๆ มีการออกแบบ มีเหตุผลความเป็นมา และวางแผนอย่างเป็น ระบบที่ชัดเจนหรือไม่ หรือเป็นการทำตามสถานการณ์เฉพาะหน้า n แนวการทำงานด้านต่างๆ นั้นมีความสอดคล้อง เชื่อมโยงกับปัจจัย และระบบงาน ด้านอื่นๆ เช่น สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจของหน่วยงาน คุณค่าหลัก และ แผนกลยุทธ์หรือไม่ แผนกลยุทธ์สอดคล้องกับบริบทและทรัพยากรบุคคลหรือไม่ ผลลัพธ์การทำงานขององค์กรสอดคล้องกับแผน หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ อย่างไร เป็นต้น ฉนั้นการประเมินจากบุคคลนอกองค์กรจึงมิใช่การไปบอกว่าทำถูก หรือผิดใน รายละเอียด แต่เน้นที่สร้างการเรียนรู้ เป็นการแลกเปลี่ยนมุมมองการพิจารณาความเชื่อมโยง ความสอดคล้องของระบบย่อยต่างๆ และพิจารณาในแง่ทิศทางการทำงานขององค์กรว่าทำงาน อย่างเป็นระบบ และสอดคล้องกับบริบทหรือไม่อย่างไร ฉะนั้น บุคคลภายนอกที่จะเข้าไป ร่วมประเมินภายใต้เกณฑ์คุณภาพนี้ จึงควรเป็นบุคคลที่มองในภาพรวมของระบบได้ หรือ มองความเชื่อมโยงระหว่างระบบย่อยที่พิจารณากับระบบใหญ่ขององค์กร และเน้นการให้ ข้อสะท้อน เพื่อให้บุคคลภายในองค์กรนำไปพิจารณาทบทวน ปรับปรุงให้มีการพัฒนาที่ดี มากยิ่งขึ้น ข้อแนะนำสำหรับแนวทางปฏิบัติ แต่ละหน่วยบริการ และหน่วยบริหารระดับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระดับอำเภอ จังหวัด และประเทศ ควรทำความเข้าใจอย่างชัดเจนต่อแก่นของมาตรฐานและระบบคุณภาพ ทั้งหมด แล้วจัดเรียง องค์ประกอบในระบบคุณภาพที่ต่อเชื่อมกัน ทั้งในลักษณะที่เชื่อมกันในด้าน เนื้อหา และช่วงเวลาการดำเนินการ ตัวอย่างเช่น 13 ประเด็นการประเมินที่แตกต่าง ทำอย่างไรที่ตายตัว แต่พิจารณาว่า n แนวปฏิบัติดำเนินการอย่างทั่วถึงทุกคนในองค์กร หรือเป็นเฉพาะบุคคล เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 18. แนวทางสำหรับหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย (PCU & CUP) เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 14 1. เริ่มต้นจากการประเมินด้วยเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำและ หน่วยบริการปฐมภูมิ ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ ทุกหน่วยบริการสุขภาพและเครือข่าย ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ควรได้รับการประเมินตนเอง หรือ ประเมินจาก ภายนอกในด้านเกณฑ์การขึ้นทะเบียนหน่วยบริการประจำ และหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อ พิจารณาว่าส่วนที่เป็นปัจจัยนำเข้า อันได้แก่ บุคลากร อุปกรณ์ ระบบงานพื้นฐาน ได้ตาม มาตรฐานหรือไม่ มีส่วนขาดอย่างไร หากมีส่วนขาดให้มีการวางแผน และการดำเนินการเพื่อ แก้ไข ให้แล้วเสร็จตั้งแต่เริ่มต้นปีงบประมาณ และหากเป็นส่วนขาดที่ต้องแก้ไขระยะยาว เช่น การขาดแคลนบุคลากร ควรวางแผนว่าจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดยการจ้าง หรือ การประสาน ให้บุคลากรในหน่วยอื่นมาช่วยอย่างไร และจะแก้ปัญหาระยะยาวในการสรรหาบุคลากรมา เพิ่มใหม่ให้ได้ตามมาตรฐานในช่วงเวลากี่ปี ในส่วนที่เป็นหน่วยบริหารระดับอำเภอ จังหวัด ควรประเมินจุดขาดของทุกหน่วยงาน และทำเป็นแผนการพัฒนาที่ชัดเจน 2. ทุกหน่วยบริการนำแนวทางปฏิบัติตามมาตรฐานย่อยของระบบงานต่างๆ มา ทบทวน เนื่องจากงานบริการปฐมภูมิประกอบด้วยงานย่อยๆ อีกหลายงาน ซึ่งแต่ละงาน ก็มีมาตรฐานคุณภาพของงานที่กำหนดโดยหน่วยงานเจ้าของเรื่องต่างๆ ฉะนั้นจึงควรนำเอา มาตรฐานงานแต่ละงานมาทบทวนว่าหน่วยบริการได้ดำเนินการปฏิบัติตามมาตรฐานเหมาะสม แล้วหรือไม่ หากยังไม่ได้ตามมาตรฐานก็ควรปรับปรุง และวางแผนการปรับปรุงให้ชัดเจน 3. นำระบบคุณภาพของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (PCA) ในส่วนที่เป็นโครงสร้าง องค์กร และระบบในหมวด 3 มาดำเนินการ โดยที่ CUP เป็นตัวหลักในการทำ ประสานและร่วมทบทวนกับหน่วยบริการปฐมภูมิ CUP ควรเริ่มจากการสร้างความเข้าใจระบบคุณภาพแบบต่างๆ ให้แก่หน่วยบริการปฐมภูมิ และผู้เกี่ยวข้องในโรงพยาบาล และเป็นผู้เขียน unit profile ในภาพรวมของ CUP เมื่อ หน่วยบริการปฐมภูมิได้รับการชี้แจงให้เข้าใจแล้ว จึงนำระบบ PCA เข้ามาดำเนินการ แต่ ไม่จำเป็นต้องดำเนินการทุกเรื่อง ทุกหมวดพร้อมกัน ให้เริ่มจากหน่วยบริการทบทวนเขียน โครงสร้างองค์กร (unit profile) และทบทวนหมวด 3 (การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ก่อน เพื่อทบทวนองค์กรในด้านบริบท สภาพการเปลี่ยนแปลงของบริบทที่ เกี่ยวข้อง ทบทวนต้นทุนขององค์กรที่มีในปัจจุบัน (ซึ่งอาจใช้ผลประเมินการขึ้นทะเบียนในข้อ 1 มาพิจารณาประกอบ) และทำความเข้าใจว่าประชาชน ผู้รับบริการต้องการอะไรจากองค์กร
  • 19. หน่วยงานและหุ้นส่วนต่างๆ จะมีส่วนเข้ามาร่วมมือกับองค์กรอย่างไร รวมทั้งนำแผน นโยบาย ระดับจังหวัด อำเภอมาพิจารณาว่ามีทิศทางอย่างไร แล้วนำข้อมูลทั้งหมดมากำหนดทิศทางการ ดำเนินงาน และกลยุทธ์การทำงานขององค์กรให้ชัดเจนมากขึ้น 4. ขยายเรื่องการทบทวนตามระบบ PCA ไปสู่หมวด 6 และหมวดอื่นๆ เมื่อเข้าใจ สถานการณ์องค์กรตนเอง และบริบทรอบข้างในข้อ 3 แล้ว จึงนำทิศทางที่ได้มาใช้เป็นกรอบใน การทบทวนระบบงานในหมวดอื่นๆ ต่อไป รวมทั้งนำผลการดำเนินงานตามเกณฑ์คุณภาพอื่นๆ ในข้อ 2 มาพิจารณาร่วมกันว่าระบบการทำงานในส่วนต่างๆ มีความสอดคล้องกันและเสริมการ ทำงานตามทิศทางที่ต้องการ และได้ผลงานตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ โดยพิจารณาว่าส่วนใดที่ เป็นจุดอ่อนสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนาอย่างเร่งด่วน วางแผนแก้ไขระยะยาว เพื่อเป็นรากฐานของ การพัฒนางานส่วนอื่นๆ เป็นต้น จากนั้นกำหนดแผนปฏิบัติงาน บุคคลรับผิดชอบ และจัดสรร งบประมาณเพื่อรองรับการทำงานตามแผนที่ตั้งไว้อย่างชัดเจน 5. ใช้แนวทางจากหมวด 4 มาวางระบบจัดการข้อมูลและติดตาม ประเมินผลงาน เพื่อให้รู้ถึงความก้าวหน้า และปัญหาอุปสรรคต่างๆ ควรมีการจัดการเก็บบันทึกข้อมูล เพื่อ ติดตาม ประเมินผลว่างานเป็นไปตามแผนงาน และเป้าหมายหรือไม่ โดยใช้แนวทางในหมวด 4 เป็นตัวช่วย มีการสรุปผลความคืบหน้าการดำเนินงานเป็นระยะอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ในการ จัดการข้อมูลและติดตามประเมินผล จะต้องดำเนินการทั้งในระดับ PCU และระดับ CUP โดยที่ CUP ทำหน้าที่เป็นผู้ประสาน และวิเคราะห์ในภาพรวมของอำเภอ 6. ทบทวน และวิเคราะห์ข้อมูลตามหมวด 7 และทุกหมวด เมื่อครบรอบปี ให้ทบทวน ผลลัพธ์งานตามหมวด 7 และวงจรทั้งหมดข้างต้นอีกรอบเพื่อทำแผนปฏิบัติการประจำปี และ ทบทวนใหญ่เมื่อครบรอบ 3 ปี เพื่อวางแผนกลยุทธ์สำคัญขององค์กร 15 เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 20. แนวทางสำหรับผู้รับผิดชอบงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 16 1. ให้มีการปรับแนวคิดแบบตรวจสอบ เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือ เป็นพี่เลี้ยง ทบทวน และทำความเข้าใจต่อระบบคุณภาพทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับหน่วยบริการ ปฐมภูมิ แสดงความเชื่อมโยงของเกณฑ์คุณภาพทั้งหมดให้แก่ผู้ปฏิบัติ ผู้บริหาร และผู้นิเทศ ทราบ 2. กระบวนการพัฒนาคุณภาพในระบบ PCA นี้ ควรใช้แนวทางของคำถาม หรือ เกณฑ์คุณภาพเป็นเครื่องมือของการพูดคุย เพื่อตรวจสอบจุดแข็งและโอกาสการพัฒนาร่วมกัน ไม่ควรทำโดยการตอบแบบสอบถามทีละข้อโดยไม่ได้พุดคุยกัน และควรเน้นให้เป็น กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันมากกว่าการตรวจสอบจับผิดกัน 3. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ควรสร้างทีมพี่เลี้ยงในระดับจังหวัด ที่ดูแลการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาทักษะของพี่เลี้ยงให้เป็นผู้สะท้อนภาพแบบสร้างสรรค์ สร้าง กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มากกว่าการตรวจสอบแบบ check list ให้มีลักษณะของรับฟังข้อมูล ความรู้สึก อุปสรรค ช่วยพิจารณาเรื่องความเป็นไปได้ในสถานการณ์จริง และร่วมกันหาทาง พัฒนามากกว่าการตำหนิ องค์ประกอบของทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดนี้ ไม่จำเป็นต้องเป็นบุคลากรจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั้งหมด ควรมีผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหารที่มีประสบการณ์การทำงานใน หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายร่วมด้วย มีการจัดการเพื่อให้ทีมนี้สามารถทำงานได้ รวมทั้ง มีการพัฒนาให้เป็นทีมผู้เชี่ยวชาญในด้านนี้อย่างต่อเนื่อง 4. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรประสานการดำเนินงานของจังหวัดในฝ่ายต่างๆ ให้เป็นไปในแนวเดียวกันก่อนถ่ายทอดไปให้อำเภอ 5. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดควรสนับสนุนให้มีการสร้างทีมพี่เลี้ยงพัฒนาคุณภาพ ในระดับอำเภอ สร้างความเข้าใจต่อแนวทางการพัฒนาให้แก่ CUP รวมทั้งทีมพี่เลี้ยงระดับ จังหวัดควรเข้าไปร่วมเป็นทีมพี่เลี้ยงในระดับอำเภอ ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อการ พัฒนาคุณภาพด้วย เพื่อปรับความเข้าใจและแนวทางดำเนินการร่วมกัน รวมทั้งเข้าไปรับรู้ สถานการณ์ของพื้นที่ด้วย
  • 21. ขั้นตอนการทำงานโดยรวมของระบบประกันคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิ และ เครือข่าย ในระดับประเทศ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่ง เป็นเกณฑ์คุณภาพขั้นต่ำของคุณภาพหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่าย โดยเน้นการทบทวน ประเมินและพัฒนา ในหมวด 6 ที่เป็นระบบปฏิบัติการของหน่วยบริการ ส่วนนี้เป็นส่วนที่ต้องดำเนินการในทุกหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ และทุกหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ส่วนที่สอง เป็นการพัฒนาให้ได้คุณภาพขั้นสูงของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ คือ ระบบ PCA (Primary Care Award) ที่มีกรอบการทบทวน ประเมิน และพัฒนาทั้งระบบ รวมทั้ง ระบบการนำ การบริหารจัดการ (หมวด 1-5) ระบบปฏิบัติการ (หมวด6) และผลลัพธ์งาน (หมวด 7) ซึ่งกระบวนการพัฒนาในส่วนที่สองนั้นจะมีขั้นตอนการพัฒนาที่หน่วยบริการแต่ละแห่ง มีการทบทวนประเมินตนเองตามเกณฑ์คุณภาพทั้งหมด และมีกระบวนการประเมิน ทบทวน ภายใน หรือทบทวนโดยพี่เลี้ยง เพื่อให้มีการพัฒนาให้สมบูรณ์มากขึ้น ส่วนที่สาม หน่วยบริการที่มีคุณภาพในระดับสูงที่ควรได้รับรางวัล (Award) ให้สมัคร เข้ามาที่ส่วนกลาง เพื่อให้ทีมประเมินภายนอกไปพิจารณาระบบ และผลงาน ว่าได้ระดับคุณภาพ ตามเกณฑ์หรือไม่ ซึ่งรางวัลคุณภาพนี้เป็นคุณภาพของระบบทุกด้าน หรือเป็นรางวัลคุณภาพ ในบางด้านหรือบางระบบ ที่จะมีการกำหนดในรายละเอียดต่อไป ฉนั้นระบบนี้จึงเป็นระบบสมัครใจ ยังไม่เป็นระบบที่บังคับถ้วนหน้า แต่เป็นการกระตุ้นให้มีการพัฒนามีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 17 เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 23. บทที่ 2 เกณฑ์คุณภาพของเครือข่าย บริการปฐมภูมิ 19 เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 24. เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 20 ส่วนพื้นฐาน ลักษณะสำคัญขององค์กร หมวด P ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนนี้เป็นส่วนสำคัญมากที่องค์กรต้องเข้าใจตนเองว่ามีพันธกิจอะไร สภาพแวดล้อม เป็นอย่างไร ความท้าทายต่อการพัฒนาคืออะไร เพื่อให้รู้ว่าประเด็นสำคัญที่องค์กรต้องให้ ความสนใจที่จำเพาะกับบริบทขององค์กรเป็นเรื่องอะไร ส่วนนี้ถือว่าเป็นการประเมินตนเองเบื้องต้น หากโครงร่างองค์กรยังขาดข้อมูลสำคัญใน บางเรื่อง หรือขัดแย้งกันเอง ก็ควรต้องพัฒนาส่วนนี้ให้สมบูรณ์ก่อนที่จะประเมินตนเองในราย ละเอียดส่วนอื่นต่อไป 1. ลักษณะสำคัญขององค์กร ให้พิจารณา และวิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติภารกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิ และความสัมพันธ์ที่สำคัญกับประชาชน ผู้รับบริการ ภาคีเครือข่ายสุขภาพ 1.1 ลักษณะพื้นฐานของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ มีทิศทาง แนวทางการให้ บริการ บุคลากร เทคโนโลยี กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่สำคัญ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ที่สามารถตรวจสอบได้ ดังต่อไปนี้ ก. พันธกิจหรือบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย รวมถึง วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ วัฒนธรรม และค่านิยมขององค์กร ข. สภาพโดยรวมที่สำคัญของทีมสุขภาพ เช่น ระดับการศึกษา อายุ สายงาน ระดับตำแหน่ง รวมถึงข้อกำหนดพิเศษในการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นองค์ประกอบในการพิจารณา คัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม ค. เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวกที่สำคัญในการให้บริการและการ ปฏิบัติงานขององค์กรที่เหมาะสม และปลอดภัย ง. กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่ใช้และเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
  • 25. 1.2 ความสัมพันธ์ภายในและภายนอกหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการ ให้พิจารณา และทบทวนประเด็นต่อไปนี้ ก. โครงสร้างขององค์กร รวมทั้งระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี สายการบังคับบัญชา ข. กลุ่มเป้าหมายรับผลงาน ทั้งที่เป็นผู้รับบริการประเภทต่างๆ กลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในพื้นที่ ทั้งที่เป็นรัฐ เอกชน ชุมชน ท้องถิ่น ความต้องการ ความคาดหวังของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มบริการ และความแตกต่างของความคาดหวัง ค. บทบาทของผู้ส่งมอบ คู่ความร่วมมือ ผู้จัดการสนับสนุนทรัพยากรในการ ง. แนวทางและวิธีการสื่อสารกับภาคีเครือข่ายสุขภาพและกลุ่มผู้รับบริการ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ต้องวิเคราะห์สถานการณ์ สภาพ การแข่งขัน และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น เปรียบเทียบกับพันธกิจ กำหนดประเด็นท้าทายที่สำคัญ ความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ เพื่อใช้ในการพัฒนา และการปรับปรุงผลการดำเนินการที่สำคัญใน การยกระดับองค์กร ดังต่อไปนี้ 2.1 การเปรียบเทียบเพื่อการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ต้องมีการวิเคราะห์สถานการณ์ พิจารณาว่าองค์กรอยู่ที่ลำดับใดในการแข่งขัน หรือมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่มากน้อยเพียงใด และแนวโน้มเป็นอย่างไร มีปัจจัยสำคัญอะไรที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน/บุคคลอื่นที่มีผลต่อบริการสุขภาพเป็นอย่างไร และกำหนดประเด็นสำคัญที่จะ ปรับปรุง โดยเปรียบเทียบกับภารกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ หรือจัดระดับเทียบเคียง (Benchmarking) กับหน่วยงานที่มีลักษณะบริการคล้ายคลึงกัน เพื่อการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้สอดคล้องทันต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้ การเปรียบเทียบดังกล่าวต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง เป็นจริง สามารถแสดงได้อย่างชัดเจน 21 ปฐมภูมิ รวมทั้งภาคีเครือข่ายสุขภาพ (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) ดำเนินงานประเภทต่างๆ และผลกระทบต่อการจัดบริการขององค์กร ที่ทำให้เกิดความสัมพันธ์ และความร่วมมือที่ดีในการปฏิบัติงาน 2. ความท้าทายที่สำคัญของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 26. เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 22 2.2 ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ จัดระดับประเด็นความสำคัญ ของการปรับปรุงและพัฒนาองค์กร มากำหนดเป็นความท้าทายเชิงกลยุทธ์ เป้าหมาย และระยะ เวลาในการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ที่สอดคล้องกับ 3 องค์ประกอบดังนี้ ก. ความท้าทายเพื่อให้บรรลุผลตามพันธกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือ ข่ายบริการปฐมภูมิ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. ความท้าทายด้านปฏิบัติการ เพื่อให้เกิดกระบวนการพัฒนาภายในองค์กรและ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ค. ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล เพื่อพัฒนาบุคลากร ให้มีสมรรถนะที่เหมาะสม กับการให้บริการตามพันธกิจ และสถานการณ์ด้านทรัพยากรบุคคล 2.3 ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายบริการปฐมภูมิ พิจารณาและทบทวนถึง แนวทางที่องค์กรประเมินผลการดำเนินงานที่ตอบสนองต่อพันธกิจ แผนการดำเนินงาน การ เรียนรู้องค์กรอย่างต่อเนื่องอย่างไร และมีแนวทางอย่างไรในการนำผลการประเมินมาปรับปรุง ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน สร้างกระบวนการเรียนรู้ในองค์กร เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของการ พัฒนาและยกระดับองค์กร
  • 27. ทีมนำขององค์กร กำหนดทิศทาง แนวทางการกำกับดูแลตนเองที่ดี ถ่ายทอดสื่อสาร ทิศทางและแผนไปสู่การปฏิบัติทั่วทั้งองค์กร และกำหนดวิธีการทบทวนผลการดำเนินการของ หน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อให้บรรลุพันธกิจขององค์กร อย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน องค์ประกอบ 1.1.1 การกำหนดและถ่ายทอดทิศทางของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 1.1.2 การกำกับดูแลตนเองที่ดีของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ (Organizational ข้อกำหนดโดยรวม ทีมนำสุขภาพชี้นำองค์กร กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว และ ผลการดำเนินการที่คาดหวังของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ รวมทั้งการถ่ายทอดสื่อสารและ สร้างบรรยากาศให้บุคลากรในเครือข่ายมุ่งมั่นนำไปปฏิบัติ เกิดผลการดำเนินงานที่ดี ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 1. ทีมนำสุขภาพร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว และกลยุทธ์หลัก โดยต้องคำนึงถึงความต้องการหรือผลประโยชน์ของประชาชน ชุมชน สังคม และผู้ได้รับผลกระทบในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จุดอ่อน และจุดแข็งขององค์กร เช่นวิสัยทัศน์ และ 23 ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร หมวด 1 การนำองค์กร เกณฑ์คุณภาพที่ 1.1 ภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กร ข้อกำหนดโดยรวม Governance) 1.1.3 การทบทวนผลการดำเนินการของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 1.1.1 การกำหนดและถ่ายทอดทิศทางของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 28. เป้าประสงค์ อาจกล่าวถึงผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประชาชนหรือรูปแบบบริการที่ปรารถนาใน อนาคต 3-5 ปี ซึ่งอาจใช้ SWOT เป็นเครื่องมือหนึ่ง ในการช่วยกำหนดทิศทางดังกล่าว เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 24 2. ทีมนำสุขภาพ ดำเนินการสื่อสารสองทาง สร้างบรรยากาศที่ดี ในทุกรูปแบบที่ สามารถดำเนินการได้ กระตุ้นให้บุคลากรในองค์กร ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รับทราบและเข้าใจถึง เจตนารมณ์ของทิศทางดังกล่าวร่วมกัน สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความ ผาสุก 1.1.2 การกำกับดูแลตนเองที่ดี ( Organizational Governance) ข้อกำหนดโดยรวม ทีมนำสุขภาพจัดการให้มีการควบคุมกำกับและตรวจสอบผลการดำเนินการของ เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อสร้างหลักประกันในด้านความรับผิดชอบ และโปร่งใส ในการดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ การควบคุมกำกับและตรวจสอบ หมายรวมถึง การกำกับด้านผลลัพธ์ของงาน การเงิน และการป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ จัดระบบให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีส่วนรับรู้ และมีส่วนร่วม ตรวจสอบได้ซึ่งอาจออกมาในรูปแบบของ - โครงสร้างการบริหาร - ระเบียบปฏิบัติ การกำกับดูแลตนเอง - มาตรฐานหรืออื่น ๆ ที่สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหาร - กฎระเบียบ หรือนโยบายที่เกี่ยวข้อง - แนวทางการตรวจสอบประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ 1.1.3 การทบทวนผลการดำเนินการของเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ข้อกำหนดโดยรวม ทีมนำสุขภาพกำหนดวิธีการในการดำเนินการทบทวนผลการดำเนินการของเครือข่าย หน่วยบริการปฐมภูมิที่ต่อเนื่อง และนำผลการประเมินมาจัดลำดับความสำคัญ เพื่อให้เกิด การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและก้าวกระโดด
  • 29. ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 1. ทีมนำสุขภาพร่วมคิด วางแผนและทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยยึด ประชาชนเป็นศูนย์กลาง เช่น การบริหารงาน การจัดระบบสนับสนุนบริการ การให้บริการ การพัฒนาด้านวิชาการ การเรียนรู้และสร้างแรงจูงใจ ระบบประเมินผลงาน อาจรวมถึง การจัดทีมนำสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาของพื้นที่ โดยการจัดลำดับความสำคัญของ ประเด็น ที่ได้จากการทบทวน และค้นหาโอกาสในการพัฒนา 2. ทีมนำสุขภาพนำผลการประเมินมาจัดทำแผนการปรับปรุงทั้งอย่างต่อเนื่องและ อย่างก้าวกระโดด อีกทั้งอาจใช้เป็นข้อมูลในการสร้างนวัตกรรมที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา สุขภาพของประชาชนในพื้นที่ 25 เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 30. เกณฑ์คุณภาพที่ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ข้อกำหนดโดยรวม เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 26 ทีมนำสุขภาพดำเนินการอย่างมีส่วนร่วมที่แสดงความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมี จริยธรรมและเป็นองค์กรที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการและ ความคาดหวังของสังคม องค์ประกอบ 1.2.1 ความรับผิดชอบต่อสังคม 1.2.2 การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม 1.2.3 การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ 1.2.1 ความรับผิดชอบต่อสังคม ข้อกำหนดโดยรวม ทีมนำสุขภาพดำเนินการแสดงความรับผิดชอบ และจัดการในกรณีที่การบริการ และ การปฏิบัติงานมีผลกระทบในทางลบหรือคาดการณ์ว่าจะเกิดผลกระทบทางลบต่อสังคม ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ ทีมนำสุขภาพวิเคราะห์ผลกระทบของการบริการ และการปฏิบัติงานในทางลบต่อ สังคม เพื่อป้องกัน ลดความเสี่ยง แล้วนำมากำหนดใน กระบวนการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด และเป้าหมายในการวางแผนยุทธศาสตร์ของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เช่น ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี อาจรวมถึงเศรษฐกิจความเป็นอยู่แบบพอเพียงที่ดีในปัจจุบัน เช่น การมีพันธกิจหรือภารกิจที่แสดงถึงความรับผิดชอบผลกระทบของการบริการอันก่อให้เกิด ความเสียหายทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ของบุคคล ชุมชน และสังคม
  • 31. ข้อกำหนดโดยรวม ทีมนำสุขภาพมีการจัดการ ตัดสินใจการปฏิบัติการ และการปฏิสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เป็นไปตามมโนธรรมและหลักการของเครือข่ายบริการปฐมภูมิและควรสอดคล้องกับกฎ ระเบียบข้อบังคับ รวมทั้งเป็นพื้นฐานของค่านิยมและวัฒนธรรมของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ ซึ่ง จะตัดสิน “ความถูกต้อง” และ “ความผิด” ของการกระทำใด ๆ เพื่อเป็นการพิทักษ์สิทธิ์ของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 1. ทีมนำสุขภาพมีการตัดสินใจในการปฏิบัติการที่อาศัยหลักมโนธรรม สอดคล้องกับ กฎระเบียบข้อบังคับ กำหนดเป็นค่านิยมและวัฒนธรรมในการทำงานของบุคลากรในเครือข่าย บริการปฐมภูมิ 2. ทีมนำสุขภาพตัดสินความถูกต้องและความผิด ของการกระทำใดๆ ของเครือข่าย ข้อกำหนดโดยรวม การกำหนดชุมชนที่สำคัญและสิ่งที่จะให้การสนับสนุน ทีมนำสุขภาพให้การสนับสนุน และมีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมร่วมกับชุมชนนอกเหนือหน้าที่ที่รับผิดชอบ โดยตรง หรือ เป็นส่วนขยายของงานในหน้าที่ของเครือข่ายบริการปฐมภูมิ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ ที่ดีต่อชุมชน ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ ทีมนำสุขภาพอาจเป็นเจ้าภาพร่วมกิจกรรมทางศาสนากับชุมชน หรือ อาจส่งเสริมหรือ สนับสนุนการตั้งชมรมอาสาสมัครสอนหนังสือเด็กร่วมกับ อสม.,อบต. ให้กับเด็กด้อยโอกาส เป็นต้น 27 1.2.2 การดำเนินการอย่างมีจริยธรรม บริการปฐมภูมิเป็นไปเพื่อการพิทักษ์สิทธิ์ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.2.3 การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)
  • 32. เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA) 28 หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ องค์กรมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ โดยใช้ข้อมูลสถานการณ์องค์กร ร่วมกับสภาพปัจจัย ภายนอก ในการกำหนดยุทธศาสตร์ระยะสั้น ระยะยาว และกลยุทธ์การดำเนินงานให้เป็นไปตาม พันธกิจ และวิสัยทัศน์ขององค์กร รวมทั้งการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ และมีการวัดผลความ ก้าวหน้า เกณฑ์คุณภาพที่ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ข้อกำหนดโดยรวม เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีวิธีการกำหนดเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์การ ดำเนินงาน รวมทั้งการยกระดับความสามารถในการดำเนินงานขององค์กร ซึ่งตอบสนองต่อ ความท้าทายขององค์กร และกำหนดเป้าหมายผลการดำเนินงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จในการ ดำเนินงานของเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่ต้องการในอนาคต ข้อกำหนดรายละเอียดคุณภาพ 1. สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน 2. ตอบสนองต่อพันธกิจของหน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3. การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. ความต่อเนื่องของการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์ (ความท้าทายในการดำเนินงาน) องค์ประกอบ 2.1.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1.2 เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ 2.1.1 การจัดทำยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ข้อกำหนดโดยรวม เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีวิธีการวางแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติการ เพื่อนำไปสู่ ความสำเร็จของเครือข่ายบริการปฐมภูมิทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ได้แก่ แผนปฏิบัติงาน 4 ปี แผนปฏิบัติงาน 1 ปี รวมถึงกรอบเวลาที่ใช้ในการวางแผน ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงสิ้นสุดในการจัดทำแผน