SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
พ.ศ. ๒๕๕๘
การมีผลใช้บังคับ
• มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบ
วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
• วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๖ มีนาคม ๒๕๕๘
• พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อ วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๘
มาตรา ๓
• “ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่า
1 เจ้าหนี้ซึ่งเป็น - ผู้ให้สินเชื่อ
- ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค
- ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วย
การพนัน
2 เจ้าหนี้อื่นซึ่งมีสิทธิรับชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติหรือเป็น
ปกติธุระของเจ้าหนี้ ทั้งนี้ไม่ว่าหนี้ดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่กตาาม
3 และให้หมายความรวมถึง - ผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ดังกล่าว
- ผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้
- ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
- และผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
มาตรา ๓
“ผู้ให้สินเชื่อ” หมายความว่า
(๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ หรือ
(๒) บุคคลซึ่งรับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อต่อไปทุกทอด
“สินเชื่อ” หมายความว่า สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดา โดยการ
ให้กู้ยืมเงิน การให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่า
แบบลิสซิ่ง และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน
มาตรา ๓
“ลูกหนี้” หมายความว่า - ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา
- และให้หมายความรวมถึงผู้ค้าประกัน
ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาด้วย
“ธุรกิจทวงถามหนี้” หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้ไม่ว่า
โดยตรงหรือโดยอ้อมเป็นปกติธุระ แา่ไม่รวมถึง การทวงถาม
หนี้ของทนายความซึ่งกระทาแทนลูกความของตน
แบ่งออกเป็น 3 หมวด
• หมวด ๑ การทวงถามหนี้
• หมวด ๒ การกากับดูแลและตรวจสอบ
• หมวด ๓ บทกาหนดโทษ
–ส่วนที่ ๑โทษทางปกครอง
–ส่วนที่ ๒ โทษอาญา
• บทเฉพาะกาล
หมวด ๑ การทวงถามหนี้
ผู้จะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
มาารา ๕ บุคคลใดจะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ า้องจดทะเบียน
การประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต่อนายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
บุคคลซึ่งจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้อง
ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
มาารา ๓๑ ในกรณีที่นายทะเบียนมีคาสั่งไม่รับจดทะเบียนการ
ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๕ ให้ผู้ที่ยื่นขอจดทะเบียนมีสิทธิ
อุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียนา่อรัฐมนารีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่ง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ง
ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับอุทธรณ์
คาวินิจฉัยของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้เป็นที่สุด
ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความ/สนง.
มาารา ๖ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เปต น
ทนายความหรือสานักงานทนายความให้คณะกรรมการสภา
ทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความทาหน้าที่นาย
ทะเบียนรับจดทะเบียนโดยต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงและ
ประกาศตามมาตรา ๕
ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือ
สานักงานทนายความ ให้คณะกรรมการสภาทนายความตาม
กฎหมายว่าด้วยทนายความมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียน
ตามมาตรา ๓๗ ที่เป็นอานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗
...
ห้ามผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ลูกหนี้
มาารา ๘ ห้ามผู้ทวงถามหนี้าิดา่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่
ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการ
ดังกล่าว
การติดต่อกับบุคคลอื่นนอกจากบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้กระทา
ได้เพื่อวัตถุประสงค์ในการสอบถามหรือยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น
โดยผู้ทวงถามหนี้า้องปฏิบัาิดังา่อไปนี้
(๑) แจ้งให้ทราบชื่อตัว ชื่อสกุล และแสดงเจตนาว่าต้องการ
สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุ
ไว้เพื่อการทวงถามหนี้
(๒) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้เว้นแต่ในกรณีที่บุคคลอื่นนั้นเป็นสามี
ภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของลูกหนี้ และบุคคลอื่นดังกล่าวได้
สอบถามผู้ทวงถามหนี้ถึงสาเหตุของการติดต่อให้ผู้ทวงถามหนี้ชี้แจงข้อมูล
เกี่ยวกับหนี้ได้เท่าที่จาเป็นและตามความเหมาะสม
(๓) ห้ามใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถาม
หนี้บนซองจดหมายในหนังสือ หรือในสื่ออื่นใดที่ใช้ในการติดต่อสอบถาม
ซึ่งทาให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อทวงถามหนี้ของลูกหนี้
(๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิดเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่
ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้
การทวงถามหนี้
มาารา ๙ การทวงถามหนี้ให้ผู้ทวงถามหนี้ปฏิบัติดังต่อไปนี้
(๑) สถานที่าิดา่อ
- ในกรณีที่ติดต่อโดยบุคคลหรือทางไปรษณีย์ ให้ติดต่อตาม
สถานที่ที่ลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ได้
แจ้งให้เป็นสถานที่ติดต่อ
- ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าหรือสถานที่ที่ได้
แจ้งไว้ไม่สามารถาิดา่อได้ โดยผู้ทวงถามหนี้ได้พยายามติดต่อตาม
สมควรแล้ว ให้ติดต่อตามภูมิลาเนา ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่ทางานของ
บุคคลดังกล่าว หรือสถานที่อื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
การทวงถามหนี้
(๒) เวลาในการาิดา่อ การติดต่อโดยบุคคล โทรศัพท์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์
หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น
- ในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ให้ติดต่อได้ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา
๒๐.๐๐ นาฬิกา
- และในวันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๑๘.๐๐ นาฬิกา
- หากไม่สามารถติดต่อตามเวลาดังกล่าวได้หรือช่วงเวลาดังกล่าวไม่
เหมาะสม ให้ติดต่อได้ในช่วงเวลาอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
การทวงถามหนี้
(๓) จานวนครั้งที่าิดา่อ ในช่วงเวลาตาม (๒) ให้ติดต่อตามจานวนครั้งที่
เหมาะสมและคณะกรรมการอาจประกาศกาหนดจานวนครั้งด้วยก็ได้
(๔) ในกรณีที่เปตนผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ ผู้รับมอบอานาจช่วงใน
การทวงถามหนี้ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้หรือผู้รับมอบอานาจจากผู้
ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ให้ผู้ทวงถามหนี้แจ้งให้ทราบถึงชื่อตัวและชื่อ
สกุล หรือชื่อหน่วยงานของตนและของเจ้าหนี้และจานวนหนี้และถ้า
ผู้รับมอบอานาจดังกล่าวทวงถามหนี้ต่อหน้า ให้แสดงหลักฐานการมอบ
อานาจให้ทวงถามหนี้ด้วย
วิธีการชาระหนี้
มาารา ๑๐ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ขอรับชาระหนี้ ผู้ทวงถามหนี้
ต้องแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจให้รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้
หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วยและเมื่อลูกหนี้ได้
ชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้
แก่ลูกหนี้ด้วย
หากลูกหนี้ได้ชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้โดยสุจริต ให้ถือว่าเป็นการ
ชาระหนี้แก่เจ้าหนี้โดยชอบทั้งนี้ไม่ว่าผู้ทวงถามหนี้จะได้รับมอบอานาจให้
รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้หรือไม่ก็ตาม
การกระทาที่ห้ามผู้ทวงถามหนี้
มาารา ๑๑ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะ
ดังา่อไปนี้
(๑) การข่มขู่ การใช้ความรุนแรง หรือการกระทาอื่นใดที่ทาให้เกิดความ
เสียหายแก่ร่างกายชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น
(๒) การใช้วาจาหรือภาษาที่เปตนการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น
(๓) การแจ้งหรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเปตนหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่
ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้เว้นแต่ เป็นกรณีตามมาตรา ๘ วรรค
สอง (๒)
การกระทาที่ห้ามผู้ทวงถามหนี้
(๔) การาิดา่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือ
สิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่าเปตนการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณี
การบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ซึ่งเจ้าหนี้ไม่
สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกาหนด
(๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้
ทวงถามหนี้บนซองจดหมายในการติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเปตนการ
าิดา่อเพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่ชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้ไม่ได้สื่อให้
ทราบได้ว่าเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
(๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการ
ประกาศกาหนด
ความใน (๕) มิให้นามาใช้บังคับกับการทวงถามหนี้เป็นหนังสือเพื่อจะใช้
สิทธิฟ้ องคดีต่อศาล
ห้ามทวงถามหนี้ลักษณะที่เป็นเท็จ หรือทาให้เข้าใจผิด
มาารา ๑๒ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เปต น
เทตจ หรือทาให้เกิดความเข้าใจผิด ดังต่อไปนี้
(๑) การแสดงหรือการใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทา
ให้เข้าใจว่าเป็นการกระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ
(๒) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าการทวงถามหนี้เป็นการกระทาโดย
ทนายความสานักงานทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย
(๓) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึดหรือ
อายัดทรัพย์หรือเงินเดือน
(๔) การติดต่อหรือการแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัท
ข้อมูลเครดิตหรือรับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต
ห้ามทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม
มาารา ๑๓ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่
เปตนธรรม ดังต่อไปนี้
(๑) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่
คณะกรรมการประกาศกาหนด
(๒) การเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้งที่รู้อยู่ว่าลูกหนี้อยู่ในฐานะที่ไม่
สามารถชาระหนี้ได้
ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐทวงถามหนี้
มาารา ๑๔ ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการดังต่อไปนี้
(๑) ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
(๒) ทวงถามหนี้หรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ซึ่งมิใช่ของตน
เว้นแต่ ในกรณีที่เป็นหนี้ของสามีภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของตน
หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ
พนักงาน ลูกจ้างหรือผู้ปฏิบัติงานอื่นในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่
เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น
หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
มาารา ๔๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๔ ต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
หมวด ๒ การกากับดูแลและตรวจสอบ
คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้”
มาารา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า
“คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้”
คณะกรรมการฯประกอบด้วยใครบ้าง?
พิจารณา มาารา ๒๗
วรรค ๑ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด
วรรค ๒ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจา
กรุงเทพมหานคร
อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาารา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลการทวง
ถามหนี้ของผู้ทวงถามหนี้อานาจหน้าที่ดังกล่าวให้รวมถึง
(๑) ออกประกาศหรือคาสั่งเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) ออกข้อบังคับกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาวินิจฉัยเรื่อง
ร้องเรียนของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และกากับดูแลการปฏิบัติ
หน้าที่ของคณะกรรมการดังกล่าว
(๓) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครองและคาสั่งเพิก
ถอนการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๓๘
(๔) กาหนดหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบและระยะเวลาการชาระค่าปรับตาม
คาเปรียบเทียบตามมาตรา ๔๕
อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
(๕) เสนอแนะหรือให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรีในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ตลอดจนเสนอแนะคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปัญหา
หรืออุปสรรคเกี่ยวกับการประสานงานในการดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของ
คณะกรรมการ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑
มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๘ (๓) คณะกรรมการเปรียบเทียบ กรมการปกครอง
สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ทาการปกครองจังหวัด และกองบัญชาการตารวจ
นครบาล
(๖) เสนอแนะคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครองหรือ
ช่วยเหลือลูกหนี้ในด้านอื่น
(๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่มีกฎหมายกาหนดหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมายข้อบังคับ
และประกาศของคณะกรรมการนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้
บังคับได้
อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ
มาารา ๒๘ ให้คณะกรรมการาามมาารา ๒๗ มีอานาจหน้าที่ภายในเขา
พื้นที่ที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัตินี้
(๒) สั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๓๗
(๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ตามที่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มอบหมาย
(๔) รายงานการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อ
คณะกรรมการทุกสามเดือน
(๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
การประชุมคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง
(๓) ให้นามาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
คาสั่งเรียกของคณะกรรมการ
มาารา ๒๔ ในการดาเนินงานตามพระราชบัญญัตินี้
คณะกรรมการ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และ
คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ และมาตรา
๒๘ (๓) มีอานาจสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้
ข้อเทตจจริง หรือส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ
การทวงถามหนี้มาเพื่อประกอบการพิจารณาได้
มาารา ๔๓ บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งตามมาตรา ๒๔ ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่น
บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
คาสั่งเรียกของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาารา ๓๒ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่มีอานาจสั่งให้ผู้ทวงถามหนี้หรือกรรมการ ผู้จัดการ
ผู้มีอานาจในการจัดการ หรือพนักงานของผู้ทวงถามหนี้ในกรณี
ผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล มาให้ถ้อยคา แสดงข้อมูลหรือส่ง
สมุดบัญชี เอกสาร ดวงตรา หรือสิ่งอื่นอันเกี่ยวกับกิจการ
สินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ทวงถามหนี้และบุคคลดังกล่าวข้างต้น
มาารา ๔๓ บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งตามมาตรา ๓๒ ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท
หรือทั้งจาทั้งปรับ
หมวด ๓ บทกาหนดโทษ
ส่วนที่ ๑ โทษทางปกครอง
ส่วนที่ ๑ โทษทางปกครอง
มาารา ๓๔ ในกรณีที่ปรากฏแก่คณะกรรมการตามมาตรา
๒๗ ว่าผู้ทวงถามหนี้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘ วรรคสอง
(๑) หรือ (๔) มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๑ (๖)หรือ
มาตรา ๑๓ (๑) ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจสั่งให้
ระงับการกระทาที่ฝ่าฝืนหรือปฏิบัาิให้ถูกา้องหรือเหมาะสม
ภายในระยะเวลาที่กาหนด
หากผู้ทวงถามหนี้ไม่ปฏิบัาิาามคาสั่งของคณะกรรมการ
ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ พิจารณามีคาสั่ง
ลงโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท
การไม่ชาระค่าปรับทางปกครอง
มาารา ๓๕ ในการพิจารณาออกคาสั่งลงโทษปรับทางปกครอง ให้
คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ คานึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่
กระทาผิด
ในกรณีที่ผู้ถูกลงโทษปรับทางปกครองไม่ยอมชาระค่าปรับทาง
ปกครอง ให้นาบทบัญญัติเกี่ยวกับการบังคับทางปกครองาาม
กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัาิราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดย
อนุโลม และ
ในกรณีที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ดาเนินการบังคับตามคาสั่ง หรือมีแต่ไม่
สามารถดาเนินการบังคับทางปกครองได้ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗
มีอานาจฟ้ องคดีา่อศาลปกครองเพื่อบังคับชาระค่าปรับ ในการนี้ถ้า
ศาลปกครองเห็นว่าคาสั่งให้ชาระค่าปรับนั้นชอบด้วยกฎหมาย ให้ศาล
ปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาและบังคับให้มีการยึดหรืออายัด
ทรัพย์สินขายทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับได้
ผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคลต้องรับโทษปรับทางปกครอง
มาารา ๓๖ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลต้องรับโทษ
ปรับทางปกครอง ถ้าการกระทาความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิด
จากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทาการหรือไม่กระทา
การอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มี
อานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าวต้องรับ
โทษปรับทางปกครองตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ
ด้วย
การเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
มาารา ๓๗ ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจสั่งเพิก
ถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ได้ เมื่อ
ปรากฏว่าผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
(๑) เคยถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้าอีกจาก
การกระทาความผิดอย่างเดียวกัน
(๒) กระทาการอันเป็นการฝ่ าฝื นบทบัญญัาิที่มีโทษทางอาญา
ตามพระราชบัญญัตินี้
สิทธิอุทธรณ์คาสั่ง มาตรา ๓๘
ผู้ทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทาง
ปกครองตามมาตรา ๓๔ วรรคสองหรือผู้ประกอบธุรกิจทวง
ถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนตาม
มาตรา ๓๗ ต่อคณะกรรมการได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่
ได้รับแจ้งคาสั่ง
คณะกรรมการต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้แล้ว
เสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับอุทธรณ์
คาวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด
หมวด ๓ บทกาหนดโทษ
ส่วนที่ ๒ โทษอาญา
นิติบุคคลต้องรับโทษอาญา
มาารา ๔๔ ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดซึ่งต้องรับโทษอาญาตาม
พระราชบัญญัตินี้เป็นนิติบุคคล ถ้าการกระทาความผิดของนิติบุคคลนั้น
เกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทาการหรือไม่กระทาการ
อันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการ
จัดการแทนนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าวต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้
สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
บทเฉพาะกาล
บทเฉพาะกาล
มาารา ๔๖ บุคคลใดประกอบธุรกิจทวงถามหนี้หรือกิจการอื่นใน
ลักษณะทานองเดียวกันตามพระราชบัญญัตินี้อยู่ในวันก่อนวันที่
พระราชบัญญัาินี้ใช้บังคับ หากประสงค์จะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
ต่อไป ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง หรือตามมาตรา ๖
วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณีภายในเก้าสิบวันนับแา่วันที่พระราชบัญญัาินี้
ใช้บังคับ
ในระหว่างการยื่นคาขอจดทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ให้บุคคลนั้น
ประกอบธุรกิจดังกล่าวต่อไปได้จนกว่าจะได้รับแจ้งการไม่รับจดทะเบียน
จากนายทะเบียน
จบการนาเสนอ
ขอบคุณ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
bnongluk
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
Theerawat Duangsin
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
thanakit553
 
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
ssuser04a0ab
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
korakate
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
Yosiri
 

Mais procurados (20)

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
Demand and supply
Demand and supplyDemand and supply
Demand and supply
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
ใบงานวิทย์-ม.2-เทอม2
 
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
1สอนเสริมแพ่ง 2 ภาคสองปีการศึกษา2560 รับช่วงสิทธิ.pdf
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune systemชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
ชีววิทยาเรื่องระบบภูมิคุ้มกัน Immune system
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 

Destaque

Образ солнца и огня у Бальмонта
Образ солнца и огня у БальмонтаОбраз солнца и огня у Бальмонта
Образ солнца и огня у Бальмонта
kro00
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ปล่อยใจ ตามสบาย
 

Destaque (8)

Образ солнца и огня у Бальмонта
Образ солнца и огня у БальмонтаОбраз солнца и огня у Бальмонта
Образ солнца и огня у Бальмонта
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหารแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ การบริหาร
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ การบริหาร
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 

Semelhante a บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้

การจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินการจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สิน
FiNe' ANakkawee
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
ple2516
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
praphol
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
chwalit
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
praphol
 
ความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษีความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษี
juree10
 
ความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษีความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษี
juree10
 

Semelhante a บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ (10)

การจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินการจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สิน
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)
ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)
ข้อสอบกระบวนวิชา Law 1003 (la 103) (lw 203)
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษีความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษี
 
ความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษีความรู้เรื่องภาษี
ความรู้เรื่องภาษี
 
สถานธนานุบาลเทศบาลนครรังสิต
สถานธนานุบาลเทศบาลนครรังสิตสถานธนานุบาลเทศบาลนครรังสิต
สถานธนานุบาลเทศบาลนครรังสิต
 

บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้

  • 2. การมีผลใช้บังคับ • มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบ วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป • วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ๖ มีนาคม ๒๕๕๘ • พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อ วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๘
  • 3. มาตรา ๓ • “ผู้ทวงถามหนี้” หมายความว่า 1 เจ้าหนี้ซึ่งเป็น - ผู้ให้สินเชื่อ - ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค - ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วย การพนัน 2 เจ้าหนี้อื่นซึ่งมีสิทธิรับชาระหนี้อันเกิดจากการกระทาที่เป็นทางการค้าปกติหรือเป็น ปกติธุระของเจ้าหนี้ ทั้งนี้ไม่ว่าหนี้ดังกล่าวจะชอบด้วยกฎหมายหรือไม่กตาาม 3 และให้หมายความรวมถึง - ผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ดังกล่าว - ผู้รับมอบอานาจช่วงในการทวงถามหนี้ - ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ - และผู้รับมอบอานาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้
  • 4. มาตรา ๓ “ผู้ให้สินเชื่อ” หมายความว่า (๑) บุคคลซึ่งให้สินเชื่อเป็นทางการค้าปกติ หรือ (๒) บุคคลซึ่งรับซื้อหรือรับโอนสินเชื่อต่อไปทุกทอด “สินเชื่อ” หมายความว่า สินเชื่อที่ให้แก่บุคคลธรรมดา โดยการ ให้กู้ยืมเงิน การให้บริการบัตรเครดิต การให้เช่าซื้อ การให้เช่า แบบลิสซิ่ง และสินเชื่อในรูปแบบอื่นที่มีลักษณะทานองเดียวกัน
  • 5. มาตรา ๓ “ลูกหนี้” หมายความว่า - ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา - และให้หมายความรวมถึงผู้ค้าประกัน ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาด้วย “ธุรกิจทวงถามหนี้” หมายความว่า การรับจ้างทวงถามหนี้ไม่ว่า โดยตรงหรือโดยอ้อมเป็นปกติธุระ แา่ไม่รวมถึง การทวงถาม หนี้ของทนายความซึ่งกระทาแทนลูกความของตน
  • 6. แบ่งออกเป็น 3 หมวด • หมวด ๑ การทวงถามหนี้ • หมวด ๒ การกากับดูแลและตรวจสอบ • หมวด ๓ บทกาหนดโทษ –ส่วนที่ ๑โทษทางปกครอง –ส่วนที่ ๒ โทษอาญา • บทเฉพาะกาล
  • 8. ผู้จะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ มาารา ๕ บุคคลใดจะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ า้องจดทะเบียน การประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ต่อนายทะเบียน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง บุคคลซึ่งจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามวรรคหนึ่งแล้ว ต้อง ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกาหนด มาารา ๓๑ ในกรณีที่นายทะเบียนมีคาสั่งไม่รับจดทะเบียนการ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๕ ให้ผู้ที่ยื่นขอจดทะเบียนมีสิทธิ อุทธรณ์คาสั่งไม่รับจดทะเบียนา่อรัฐมนารีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคาสั่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่ง ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยให้เป็นที่สุด
  • 9. ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความ/สนง. มาารา ๖ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เปต น ทนายความหรือสานักงานทนายความให้คณะกรรมการสภา ทนายความตามกฎหมายว่าด้วยทนายความทาหน้าที่นาย ทะเบียนรับจดทะเบียนโดยต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงและ ประกาศตามมาตรา ๕ ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้เป็นทนายความหรือ สานักงานทนายความ ให้คณะกรรมการสภาทนายความตาม กฎหมายว่าด้วยทนายความมีอานาจสั่งเพิกถอนการจดทะเบียน ตามมาตรา ๓๗ ที่เป็นอานาจของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ ...
  • 10. ห้ามผู้ทวงถามหนี้ติดต่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ลูกหนี้ มาารา ๘ ห้ามผู้ทวงถามหนี้าิดา่อกับบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ ลูกหนี้เพื่อการทวงถามหนี้เว้นแต่บุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการ ดังกล่าว การติดต่อกับบุคคลอื่นนอกจากบุคคลตามวรรคหนึ่ง ให้กระทา ได้เพื่อวัตถุประสงค์ในการสอบถามหรือยืนยันข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้เท่านั้น โดยผู้ทวงถามหนี้า้องปฏิบัาิดังา่อไปนี้ (๑) แจ้งให้ทราบชื่อตัว ชื่อสกุล และแสดงเจตนาว่าต้องการ สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุ ไว้เพื่อการทวงถามหนี้
  • 11. (๒) ห้ามแจ้งถึงความเป็นหนี้ของลูกหนี้เว้นแต่ในกรณีที่บุคคลอื่นนั้นเป็นสามี ภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของลูกหนี้ และบุคคลอื่นดังกล่าวได้ สอบถามผู้ทวงถามหนี้ถึงสาเหตุของการติดต่อให้ผู้ทวงถามหนี้ชี้แจงข้อมูล เกี่ยวกับหนี้ได้เท่าที่จาเป็นและตามความเหมาะสม (๓) ห้ามใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถาม หนี้บนซองจดหมายในหนังสือ หรือในสื่ออื่นใดที่ใช้ในการติดต่อสอบถาม ซึ่งทาให้เข้าใจได้ว่าเป็นการติดต่อเพื่อทวงถามหนี้ของลูกหนี้ (๔) ห้ามติดต่อหรือแสดงตนที่ทาให้เข้าใจผิดเพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ ติดต่อลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้
  • 12. การทวงถามหนี้ มาารา ๙ การทวงถามหนี้ให้ผู้ทวงถามหนี้ปฏิบัติดังต่อไปนี้ (๑) สถานที่าิดา่อ - ในกรณีที่ติดต่อโดยบุคคลหรือทางไปรษณีย์ ให้ติดต่อตาม สถานที่ที่ลูกหนี้หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ได้ แจ้งให้เป็นสถานที่ติดต่อ - ในกรณีที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้แจ้งไว้ล่วงหน้าหรือสถานที่ที่ได้ แจ้งไว้ไม่สามารถาิดา่อได้ โดยผู้ทวงถามหนี้ได้พยายามติดต่อตาม สมควรแล้ว ให้ติดต่อตามภูมิลาเนา ถิ่นที่อยู่ หรือสถานที่ทางานของ บุคคลดังกล่าว หรือสถานที่อื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
  • 13. การทวงถามหนี้ (๒) เวลาในการาิดา่อ การติดต่อโดยบุคคล โทรศัพท์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่น - ในวันจันทร์ถึงวันศุกร์ ให้ติดต่อได้ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๒๐.๐๐ นาฬิกา - และในวันหยุดราชการ เวลา ๐๘.๐๐ นาฬิกา ถึงเวลา ๑๘.๐๐ นาฬิกา - หากไม่สามารถติดต่อตามเวลาดังกล่าวได้หรือช่วงเวลาดังกล่าวไม่ เหมาะสม ให้ติดต่อได้ในช่วงเวลาอื่นตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
  • 14. การทวงถามหนี้ (๓) จานวนครั้งที่าิดา่อ ในช่วงเวลาตาม (๒) ให้ติดต่อตามจานวนครั้งที่ เหมาะสมและคณะกรรมการอาจประกาศกาหนดจานวนครั้งด้วยก็ได้ (๔) ในกรณีที่เปตนผู้รับมอบอานาจจากเจ้าหนี้ ผู้รับมอบอานาจช่วงใน การทวงถามหนี้ผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้หรือผู้รับมอบอานาจจากผู้ ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ให้ผู้ทวงถามหนี้แจ้งให้ทราบถึงชื่อตัวและชื่อ สกุล หรือชื่อหน่วยงานของตนและของเจ้าหนี้และจานวนหนี้และถ้า ผู้รับมอบอานาจดังกล่าวทวงถามหนี้ต่อหน้า ให้แสดงหลักฐานการมอบ อานาจให้ทวงถามหนี้ด้วย
  • 15. วิธีการชาระหนี้ มาารา ๑๐ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ขอรับชาระหนี้ ผู้ทวงถามหนี้ ต้องแสดงหลักฐานการรับมอบอานาจให้รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้ต่อลูกหนี้ หรือบุคคลซึ่งลูกหนี้ได้ระบุไว้เพื่อการทวงถามหนี้ด้วยและเมื่อลูกหนี้ได้ ชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้แล้ว ให้ผู้ทวงถามหนี้ออกหลักฐานการชาระหนี้ แก่ลูกหนี้ด้วย หากลูกหนี้ได้ชาระหนี้แก่ผู้ทวงถามหนี้โดยสุจริต ให้ถือว่าเป็นการ ชาระหนี้แก่เจ้าหนี้โดยชอบทั้งนี้ไม่ว่าผู้ทวงถามหนี้จะได้รับมอบอานาจให้ รับชาระหนี้จากเจ้าหนี้หรือไม่ก็ตาม
  • 16. การกระทาที่ห้ามผู้ทวงถามหนี้ มาารา ๑๑ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะ ดังา่อไปนี้ (๑) การข่มขู่ การใช้ความรุนแรง หรือการกระทาอื่นใดที่ทาให้เกิดความ เสียหายแก่ร่างกายชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของลูกหนี้หรือผู้อื่น (๒) การใช้วาจาหรือภาษาที่เปตนการดูหมิ่นลูกหนี้หรือผู้อื่น (๓) การแจ้งหรือเปิดเผยเกี่ยวกับความเปตนหนี้ของลูกหนี้ให้แก่ผู้อื่นที่ ไม่เกี่ยวข้องกับการทวงถามหนี้เว้นแต่ เป็นกรณีตามมาตรา ๘ วรรค สอง (๒)
  • 17. การกระทาที่ห้ามผู้ทวงถามหนี้ (๔) การาิดา่อลูกหนี้โดยไปรษณียบัตร เอกสารเปิดผนึก โทรสาร หรือ สิ่งอื่นใดที่สื่อให้ทราบว่าเปตนการทวงถามหนี้อย่างชัดเจน เว้นแต่กรณี การบอกกล่าวบังคับจานองด้วยวิธีการประกาศหนังสือพิมพ์ซึ่งเจ้าหนี้ไม่ สามารถติดต่อลูกหนี้โดยวิธีการอื่น หรือกรณีอื่นใดตามที่คณะกรรมการ ประกาศกาหนด (๕) การใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือชื่อทางธุรกิจของผู้ ทวงถามหนี้บนซองจดหมายในการติดต่อลูกหนี้ที่ทาให้เข้าใจได้ว่าเปตนการ าิดา่อเพื่อการทวงถามหนี้ เว้นแต่ชื่อทางธุรกิจของผู้ทวงถามหนี้ไม่ได้สื่อให้ ทราบได้ว่าเป็นผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๖) การทวงถามหนี้ที่ไม่เหมาะสมในลักษณะอื่นตามที่คณะกรรมการ ประกาศกาหนด ความใน (๕) มิให้นามาใช้บังคับกับการทวงถามหนี้เป็นหนังสือเพื่อจะใช้ สิทธิฟ้ องคดีต่อศาล
  • 18. ห้ามทวงถามหนี้ลักษณะที่เป็นเท็จ หรือทาให้เข้าใจผิด มาารา ๑๒ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่เปต น เทตจ หรือทาให้เกิดความเข้าใจผิด ดังต่อไปนี้ (๑) การแสดงหรือการใช้ข้อความ เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือเครื่องแบบที่ทา ให้เข้าใจว่าเป็นการกระทาของศาล เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ (๒) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าการทวงถามหนี้เป็นการกระทาโดย ทนายความสานักงานทนายความ หรือสานักงานกฎหมาย (๓) การแสดงหรือมีข้อความที่ทาให้เชื่อว่าจะถูกดาเนินคดี หรือจะถูกยึดหรือ อายัดทรัพย์หรือเงินเดือน (๔) การติดต่อหรือการแสดงตนให้เชื่อว่าผู้ทวงถามหนี้ดาเนินการให้แก่บริษัท ข้อมูลเครดิตหรือรับจ้างบริษัทข้อมูลเครดิต
  • 19. ห้ามทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่เป็นธรรม มาารา ๑๓ ห้ามผู้ทวงถามหนี้กระทาการทวงถามหนี้ในลักษณะที่ไม่ เปตนธรรม ดังต่อไปนี้ (๑) การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมหรือค่าใช้จ่ายใด ๆ เกินกว่าอัตราที่ คณะกรรมการประกาศกาหนด (๒) การเสนอหรือจูงใจให้ลูกหนี้ออกเช็คทั้งที่รู้อยู่ว่าลูกหนี้อยู่ในฐานะที่ไม่ สามารถชาระหนี้ได้
  • 20. ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐทวงถามหนี้ มาารา ๑๔ ห้ามเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทาการดังต่อไปนี้ (๑) ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๒) ทวงถามหนี้หรือสนับสนุนการทวงถามหนี้ซึ่งมิใช่ของตน เว้นแต่ ในกรณีที่เป็นหนี้ของสามีภริยา บุพการี หรือผู้สืบสันดานของตน หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นมีอานาจกระทาได้ตามกฎหมาย เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างหรือผู้ปฏิบัติงานอื่นในกระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่ เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรมราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ มาารา ๔๒ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๑๔ ต้องระวางโทษจาคุก ไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 22. คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้” มาารา ๑๕ ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้” คณะกรรมการฯประกอบด้วยใครบ้าง? พิจารณา มาารา ๒๗ วรรค ๑ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจาจังหวัด วรรค ๒ คณะกรรมการกากับการทวงถามหนี้ประจา กรุงเทพมหานคร
  • 23. อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ มาารา ๑๖ ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลการทวง ถามหนี้ของผู้ทวงถามหนี้อานาจหน้าที่ดังกล่าวให้รวมถึง (๑) ออกประกาศหรือคาสั่งเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ออกข้อบังคับกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาวินิจฉัยเรื่อง ร้องเรียนของคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และกากับดูแลการปฏิบัติ หน้าที่ของคณะกรรมการดังกล่าว (๓) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทางปกครองและคาสั่งเพิก ถอนการจดทะเบียนการประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๓๘ (๔) กาหนดหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบและระยะเวลาการชาระค่าปรับตาม คาเปรียบเทียบตามมาตรา ๔๕
  • 24. อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ (๕) เสนอแนะหรือให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรีในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตลอดจนเสนอแนะคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการในกรณีมีปัญหา หรืออุปสรรคเกี่ยวกับการประสานงานในการดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของ คณะกรรมการ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๘ (๓) คณะกรรมการเปรียบเทียบ กรมการปกครอง สานักงานเศรษฐกิจการคลัง ที่ทาการปกครองจังหวัด และกองบัญชาการตารวจ นครบาล (๖) เสนอแนะคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครองหรือ ช่วยเหลือลูกหนี้ในด้านอื่น (๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่มีกฎหมายกาหนดหรือตามที่รัฐมนตรีมอบหมายข้อบังคับ และประกาศของคณะกรรมการนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้ บังคับได้
  • 25. อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ มาารา ๒๘ ให้คณะกรรมการาามมาารา ๒๗ มีอานาจหน้าที่ภายในเขา พื้นที่ที่รับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (๑) พิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องเรียนตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) สั่งเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ตามมาตรา ๓๗ (๓) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาหรือปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มอบหมาย (๔) รายงานการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อ คณะกรรมการทุกสามเดือน (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่คณะกรรมการมอบหมาย การประชุมคณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และคณะอนุกรรมการตามวรรคหนึ่ง (๓) ให้นามาตรา ๒๐ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
  • 26. คาสั่งเรียกของคณะกรรมการ มาารา ๒๔ ในการดาเนินงานตามพระราชบัญญัตินี้ คณะกรรมการ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ และ คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ และมาตรา ๒๘ (๓) มีอานาจสั่งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาให้ ข้อเทตจจริง หรือส่งเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับ การทวงถามหนี้มาเพื่อประกอบการพิจารณาได้ มาารา ๔๓ บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งตามมาตรา ๒๔ ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่น บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 27. คาสั่งเรียกของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาารา ๓๒ ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงาน เจ้าหน้าที่มีอานาจสั่งให้ผู้ทวงถามหนี้หรือกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอานาจในการจัดการ หรือพนักงานของผู้ทวงถามหนี้ในกรณี ผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคล มาให้ถ้อยคา แสดงข้อมูลหรือส่ง สมุดบัญชี เอกสาร ดวงตรา หรือสิ่งอื่นอันเกี่ยวกับกิจการ สินทรัพย์ และหนี้สินของผู้ทวงถามหนี้และบุคคลดังกล่าวข้างต้น มาารา ๔๓ บุคคลใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งตามมาตรา ๓๒ ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
  • 29. ส่วนที่ ๑ โทษทางปกครอง มาารา ๓๔ ในกรณีที่ปรากฏแก่คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ ว่าผู้ทวงถามหนี้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๘ วรรคสอง (๑) หรือ (๔) มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๑ (๖)หรือ มาตรา ๑๓ (๑) ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจสั่งให้ ระงับการกระทาที่ฝ่าฝืนหรือปฏิบัาิให้ถูกา้องหรือเหมาะสม ภายในระยะเวลาที่กาหนด หากผู้ทวงถามหนี้ไม่ปฏิบัาิาามคาสั่งของคณะกรรมการ ตามวรรคหนึ่ง ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ พิจารณามีคาสั่ง ลงโทษปรับทางปกครองไม่เกินหนึ่งแสนบาท
  • 30. การไม่ชาระค่าปรับทางปกครอง มาารา ๓๕ ในการพิจารณาออกคาสั่งลงโทษปรับทางปกครอง ให้ คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ คานึงถึงความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่ กระทาผิด ในกรณีที่ผู้ถูกลงโทษปรับทางปกครองไม่ยอมชาระค่าปรับทาง ปกครอง ให้นาบทบัญญัติเกี่ยวกับการบังคับทางปกครองาาม กฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัาิราชการทางปกครองมาใช้บังคับโดย อนุโลม และ ในกรณีที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ดาเนินการบังคับตามคาสั่ง หรือมีแต่ไม่ สามารถดาเนินการบังคับทางปกครองได้ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจฟ้ องคดีา่อศาลปกครองเพื่อบังคับชาระค่าปรับ ในการนี้ถ้า ศาลปกครองเห็นว่าคาสั่งให้ชาระค่าปรับนั้นชอบด้วยกฎหมาย ให้ศาล ปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาและบังคับให้มีการยึดหรืออายัด ทรัพย์สินขายทอดตลาดเพื่อชาระค่าปรับได้
  • 31. ผู้ทวงถามหนี้เป็นนิติบุคคลต้องรับโทษปรับทางปกครอง มาารา ๓๖ ในกรณีที่ผู้ทวงถามหนี้ซึ่งเป็นนิติบุคคลต้องรับโทษ ปรับทางปกครอง ถ้าการกระทาความผิดของนิติบุคคลนั้นเกิด จากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทาการหรือไม่กระทา การอันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มี อานาจในการจัดการแทนนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าวต้องรับ โทษปรับทางปกครองตามที่บัญญัติไว้สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
  • 32. การเพิกถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ มาารา ๓๗ ให้คณะกรรมการตามมาตรา ๒๗ มีอานาจสั่งเพิก ถอนการจดทะเบียนของผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ได้ เมื่อ ปรากฏว่าผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ (๑) เคยถูกลงโทษปรับทางปกครองและถูกลงโทษซ้าอีกจาก การกระทาความผิดอย่างเดียวกัน (๒) กระทาการอันเป็นการฝ่ าฝื นบทบัญญัาิที่มีโทษทางอาญา ตามพระราชบัญญัตินี้
  • 33. สิทธิอุทธรณ์คาสั่ง มาตรา ๓๘ ผู้ทวงถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งให้ชาระค่าปรับทาง ปกครองตามมาตรา ๓๔ วรรคสองหรือผู้ประกอบธุรกิจทวง ถามหนี้มีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งเพิกถอนการจดทะเบียนตาม มาตรา ๓๗ ต่อคณะกรรมการได้ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ ได้รับแจ้งคาสั่ง คณะกรรมการต้องวินิจฉัยอุทธรณ์ตามวรรคหนึ่งให้แล้ว เสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันได้รับอุทธรณ์ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการให้เป็นที่สุด
  • 35. นิติบุคคลต้องรับโทษอาญา มาารา ๔๔ ในกรณีที่ผู้กระทาความผิดซึ่งต้องรับโทษอาญาตาม พระราชบัญญัตินี้เป็นนิติบุคคล ถ้าการกระทาความผิดของนิติบุคคลนั้น เกิดจากการสั่งการหรือไม่สั่งการ หรือการกระทาการหรือไม่กระทาการ อันเป็นหน้าที่ที่ต้องกระทาของกรรมการ ผู้จัดการ หรือผู้มีอานาจในการ จัดการแทนนิติบุคคลนั้น บุคคลดังกล่าวต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้ สาหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
  • 37. บทเฉพาะกาล มาารา ๔๖ บุคคลใดประกอบธุรกิจทวงถามหนี้หรือกิจการอื่นใน ลักษณะทานองเดียวกันตามพระราชบัญญัตินี้อยู่ในวันก่อนวันที่ พระราชบัญญัาินี้ใช้บังคับ หากประสงค์จะประกอบธุรกิจทวงถามหนี้ ต่อไป ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง หรือตามมาตรา ๖ วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณีภายในเก้าสิบวันนับแา่วันที่พระราชบัญญัาินี้ ใช้บังคับ ในระหว่างการยื่นคาขอจดทะเบียนตามวรรคหนึ่ง ให้บุคคลนั้น ประกอบธุรกิจดังกล่าวต่อไปได้จนกว่าจะได้รับแจ้งการไม่รับจดทะเบียน จากนายทะเบียน