SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
Baixar para ler offline
คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน YouTube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาในระดับคณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคามจัดทำ�ขึ้นเพื่อนส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบันที่เข้ามามีบทบาทในด้าน
การศึกษาและมีความสำ�คัญที่จะช่วยส่งเสริมพัฒนาเพื่อคณะศึกษาศาสตร์ แต่ความต้องการในการเข้าถึงข้อมูล กิจกรรมต่างๆ
ยังไม่เพียงพอ อาเช่น กิจกรรมซ้อมรับปริญญาของคณะฯ หรือกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้นภายในคณะฯ ความต้องการในการเข้าถึง
ข้อมูลยังมีข้อจำ�กัดเรื่อง สถานที่ หรืออุปกรณ์และเวลาที่ยังมีข้อจัดกัด คณะการทำ�งานจึงได้ประชุมเพื่อนหาแนวทางการแก้ไข
จึงใช้วิธีการ Live stream เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยคุณสมบัติของการ Live Stream คือ การรับ/ส่ง สัญญาณภาพและ
เสียงบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการเข้าถึงอุปกรณ์ต่างๆโดยผู้ชมสามารถรับชมได้บน Computer, Mobile, อุปกรณ์ Tablet
และ Smart TV ซึ่งข้อดีของที่แตกต่างจากการถ่ายทอดสดบนทีวีทั่วไปคือ สามารถรับชมได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกอุปกรณ์ ที่สามารถ
ออนไลน์ได้  เนื่องจาก Live Stream มีการใช้ระบบออนไลน์เข้ามามีพื้นฐาน จึงทำ�ให้สามารถเสริมคุณสมบัติต่างๆได้ เช่น การ
ถามตอบแบบทันที  ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถชมหรือฟัง ภาพและเสียงได้ทันทีเป็นการส่งภาพและเสียงจากการถ่ายทอดสด
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงๆ โดยตรงในทนที และยังสารมารย้อนกลับมาดูได้อีกด้วย
	 ทั้งนี้บุคลากรที่ได้ศึกษาคู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน YouTube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาใน
ระดับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามฉบับนี้สามารถปฏิบัติงานได้จริง
จอมพล รัตนา
ผู้จัดทำ�
เรื่อง		 	 	 	 	 	 	 	 	 	 หน้า
	 1. การติดตั้งอุปกรณ์สำ�หรับการถ่ายทอด ........................................................................    4
	 2. การติดตั้งโปรแกรมสำ�หรับชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล
            (Capture card)  ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ ..................................................................    6
	 3. การตั้งค่าใน YouTube ................................................................................................   10
         4. การตั้งค่าโปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS)
             สำ�หรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube ............................................................................  15
         5. ตัวอย่างการถ่ายทอดกิจกรรมภายในคณะที่ผ่านมา .....................................................   26
4
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน YouTube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ในระดับคณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคามนี้เป็นการแนะนำ�ขั้นตอนการติดตั้งอุปกรณ์และตั้งค่าการถ่ายทอดกิจกรรมทาง YouTube โดยจะ
ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนดังนี้
	 1. การติดตั้งอุปกรณ์
	 2. การติดตั้งโปรแกรมสำ�หรับชุดแปลงสัญญาณ ภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงในเครื่อง		
	     คอมพิวเตอร์
	 3. การตั้งค่าใน YouTube
	 4. การตั้งค่าโปรแกรมสำ�หรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube
ขั้นตอนที่ 1 การติดตั้งอุปกรณ์
	 อุปกรณ์ที่ต้องใช้ภายในคณะศึกษาศาสตร์
	 	 1. อุปกรณ์ส่งสัญญาณภาพและเสียง (กล้องถ่ายวีดีโอ)
	 	 2. อุปกรณ์สลับสัญญาณภาพ (Switcher)
	 	 3. สายสัญญาณจากอุปกรณ์ส่งสัญญาณภาพและเสียงเช่น สาย AV, สาย SDI,
	 	    สาย Audio
	 	 4. ชุดแปลงสัญญาณ ภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ที่แปลงสัญญาณเป็น USB
	 	 5. คอมพิวเตอร์
	
1 2 3
4 5
5
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
แผนผังการติดตั้งอุปกรณ์
บริเวณหน้าห้องจัดกิจกรรมหรือห้องเรียนห้องควบคุม
ภาพและเสียง
กล้อง VDO ตัวที่ 1
กล้อง VDO ตัวที่ 2
กล้อง VDO ตัวที่ 3
สาย
Audio
Out
สาย
Audio
In VDO IN
VDO
OUT
Audio
Outอุปกรณ์สลับสัญญาณ
ภาพ (Switcher)
ชุดแปลงสัญญาณภาพและ
เสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล
6
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ขั้นตอนที่ 2 การติดตั้งโปรแกรมสำ�หรับชุดแปลงสัญญาณ ภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงใน     
               เครื่องคอมพิวเตอร์
	         มีขั้นตอนดังนี้
	 	 1. เชื่อมต่ออุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลกับคอมพิวเตอร์
	 	 2. ติดตั้ง Driver video editing dvd maker 2 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://goo.gl/F6lTHw
	 	 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้เปิด Folder ที่ดาวน์โหลดเสร็จ ชื่อ Folder “Driver video editing dvd       
                        maker 2”
	 	 4. ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ “Autorun” เพื่อติดตั้ง Driver ของอุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียง
การติดตั้งโปรแกรมสาหรับชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล
(Capture card) ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
1. เชื่อมต่ออุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลกับคอมพิวเตอร์
2. ติดตั้ง Driver video editing dvd maker 2 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://goo.gl/F6lTHw
3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้เปิด Folder ที่ดาวน์โหลดเสร็จ ชื่อ Folder “Driver video editing dvd
maker 2”
4. ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ “Autorun” เพื่อติดตั้ง Driver ของอุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียง
5. โปรแกรมจะขึ้นหน้างต่าง Video Editing ให้เลือก “Quick Installation”
การติดตั้งโปรแกรมสาหรับชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล
(Capture card) ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
1. เชื่อมต่ออุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลกับคอมพิวเตอร์
2. ติดตั้ง Driver video editing dvd maker 2 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://goo.gl/F6lTHw
3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้เปิด Folder ที่ดาวน์โหลดเสร็จ ชื่อ Folder “Driver video editing dvd
maker 2”
4. ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ “Autorun” เพื่อติดตั้ง Driver ของอุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียง
5. โปรแกรมจะขึ้นหน้างต่าง Video Editing ให้เลือก “Quick Installation”5. โปรแกรมจะขึ้นหน้างต่าง Video Editing ให้เลือก “Quick Installation”
7
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 6. เชื่อมต่อ video editing dvd maker 2 กับคอมพิมเตอร์ผ่าน USB
	 	 7. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่าง Quick Installer
6. เชื่อมต่อ video editing dvd maker 2 กับคอมพิมเตอร์ผ่าน USB
7. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่าง Quick Installer
8. เลือกที่ “Custom Installation” ติกเครื่องหมายถูกที่ “Diver Installation” แล้วคลิก “Install
8
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 8. เลือกที่ “Custom Installation” ติกเครื่องหมายถูกที่ “Diver Installation” แล้วคลิก “Install”
	 	 	 9. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างให้เลือก “Start”
	 	 	 10. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ แล้วกด “OK”
8. เลือกที่ “Custom Installation” ติกเครื่องหมายถูกที่ “Diver Installation” แล้วคลิก “Install”
1
2
3
9. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างให้เลือก “Start”
10. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ แล้วกด “OK”
9. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างให้เลือก “Start”
10. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ แล้วกด “OK”
11. โปรแกรมจะให้เลือกภาษาให้เลือก ภาษา “English(United States)” แล้ว กด OK
9
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
			 11. โปรแกรมจะให้เลือกภาษาให้เลือก ภาษา “English(United States)” แล้ว กด “OK”
	 	 	 12. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จเสร็จ
	 	 	 13. เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วโปรแกรมจะให้ Restart เครื่อง ให้เลือกที่ “Finish”
                                     เป็นอันเสร็จสิ้นในการติดตั้ง Driver
11. โปรแกรมจะให้เลือกภาษาให้เลือก ภาษา “English(United States)” แล้ว กด OK
12. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จเสร็จ
13. เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วโปรแกรมจะให้ Restart เครื่อง ให้เลือกที่ “Finish” เป็นอันเสร็จสิ้นใน
การติดตั้ง Driver
12. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จเสร็จ
13. เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วโปรแกรมจะให้ Restart เครื่อง ให้เลือกที่ “Finish” เป็นอันเสร็จสิ้นใน
การติดตั้ง Driver
10
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
                                            การตั้งค่าใน YouTube
			1. เปิดเว็บไซต์ YouTube แล้วทำ�การ Login
			
	 	 	 2. คลิกเลือกเมนู “ช่องของฉัน”
การตั้งค่าใน YouTube
1. เปิดเว็บไซต์ YouTube แล้วทำกำร Login
2. คลิกเลือกเมนู “ช่องของฉัน”
การตั้งค่าใน YouTube
1. เปิดเว็บไซต์ YouTube แล้วทำกำร Login
2. คลิกเลือกเมนู “ช่องของฉัน”
11
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
			
			3. คลิกเลือกเมนู “เครื่องมือจัดการวิดีโอ”
			4. คลิกเลือกเมนู “สตรีมมิงแบบสด”
3. คลิกเลือกเมนู “เครื่องมือจัดการวิดีโอ”
4. คลิกเลือกเมนู “สตรีมมิงแบบสด”
3. คลิกเลือกเมนู “เครื่องมือจัดการวิดีโอ”
4. คลิกเลือกเมนู “สตรีมมิงแบบสด”
12
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 	 5. คลิกเลือกเมนู “เหตุการณ์” เพื่อสร้างกิจกรรม
	 	 	 6. คลิกเลือกเมนู “กิจกรรมสดใหม่”
5. คลิกเลือกเมนู “เหตุการณ์” เพื่อสร้างกิจกรรม
6. คลิกเลือกเมนู “กิจกรรมสดใหม่”
5. คลิกเลือกเมนู “เหตุการณ์” เพื่อสร้างกิจกรรม
6. คลิกเลือกเมนู “กิจกรรมสดใหม่”
13
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
			 7. กำ�หนดรายละเอียดของกิจกรรมและ คลิกที่ “สร้างกิจกรรม”
		
	 	 8. จะปรากฏหน้าต่างให้เลือก Bitrate ที่ต้องการ
	 	    การเลือก Bitrate ที่สูงมีผลต่อความคมชัด และการกระตุกของการชมถ่ายทอด ดังนั้นควรเลือกให้เหมาะสม	
	 	    ความเร็วอินเตอร์เน็ทมีส่วนต่อการถ่ายทอด (แนะนำ�ให้เลือกที่ 1500Kbps – 4000Kbps(720p) )
7. กำหนดรำยละเอียดของกิจกรรมและ คลิกที่ “สร้ำงกิจกรรม”
8. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือก Bitrate ที่ต้องกำร
กำรเลือก Bitrate ที่สูงมีผลต่อควำมคมชัด และกำรกระตุกของกำรชมถ่ำยทอด
ดังนั้นควรเลือกให้เหมำะสมควำมเร็วอินเตอร์เน็ทมีส่วนต่อกำรถ่ำยทอด (แนะนำให้เลือกที่
1500Kbps – 4000Kbps(720p) )
1. ชื่อกิจกรรม
2. กำหนดวันที่และเวลำ
3. รำยละเอียดกิจกรรม
4. กำหนดแท็ก
5. คลิกเพื่อสร้ำงกิจกรรม
7. กำหนดรำยละเอียดของกิจกรรมและ คลิกที่ “สร้ำงกิจกรรม”
8. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือก Bitrate ที่ต้องกำร
กำรเลือก Bitrate ที่สูงมีผลต่อควำมคมชัด และกำรกระตุกของกำรชมถ่ำยทอด
ดังนั้นควรเลือกให้เหมำะสมควำมเร็วอินเตอร์เน็ทมีส่วนต่อกำรถ่ำยทอด (แนะนำให้เลือกที่
1500Kbps – 4000Kbps(720p) )
1. ชื่อกิจกรรม
2. กำหนดวันที่และเวลำ
3. รำยละเอียดกิจกรรม
4. กำหนดแท็ก
5. คลิกเพื่อสร้ำงกิจกรรม
14
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 9. กำ�หนดการเข้ารหัสคลิกเลือกที่ “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ”
	 	 	 - เมื่อคลิกเลือกเมนู  “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ” จะได้
	 	 	 - ชื่อสตรีม “jsu0-p203-159j-9v2s”
	 	 	 - URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก “rtmp://a.rtmp.youtube.com/live2”
	 	 	   จะนำ�ค่าไปกรอกค่าใส่ในโปรแกรม OBS ในขั้นตอนตอนไป
	 	 10. คลิก “บันทึกการเปลี่ยนแปลง” เพื่อเสร็จสิ้นการตั้งค่า
9. กำหนดกำรเข้ำรหัสคลิกเลือกที่ “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ”
- เมื่อคลิกเลือกเมนู “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ” จะได้
- ชื่อสตรีม “jsu0-p203-159j-9v2s”
- URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก “rtmp://a.rtmp.youtube.com/live2”
จะนำค่ำไปกรอกค่ำใส่ในโปรแกรม OBS ในขั้นตอนตอนไป
10. คลิก “บันทึกกำรเปลี่ยนแปลง” เพื่อเสร็จสิ้นกำรตั้งค่ำ
10. คลิก “บันทึกการเปลี่ยนแปลง” เพื่อเสร็จสิ้นการตั้งค่า
การตั้งค่าโปรแกรมสาหรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube
โปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงไปยัง YouTube คือ โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS
Classic) เป็นโปรแกรมที่มีหน้าที่เอาไว้ใช้ในการแชร์หน้าจอ ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ YouTube, ด้วย
15
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
การตั้งค่าโปรแกรมสำ�หรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube
	 โปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงไปยัง YouTube คือ โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS Classic) เป็นโปรแกรม
ที่มีหน้าที่เอาไว้ใช้ในการแชร์หน้าจอ ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ YouTube, ด้วยความสามารถของผ่านการถ่ายทอดสด (Live Broad-
cast) เพื่อให้คนอื่น เช่น นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้ฝึกอบรม ที่อยู่ที่อื่น ได้สามารถเห็นในกิจกรรมที่เกิดขึ้น เหมาะอย่างยิ่งแก่
การทำ�การศึกษาทางไกล ผู้จัดทำ�จึงได้นำ�มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมภายในคณะ เพียงแค่มีโปรแกรมนี้ มีอินเทอร์เน็ต
ความเร็วสูง ที่เพียงพอต่อการอัพโหลด หรือ ส่งข้อมูลออกไปก็สามารถทำ�การถ่ายทอดสด (Live Broadcast)ได้
	 สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ https://obsproject.com/download โดยมีวิธีติดตั้งและการใช้งานเบื้องต้นดังนี้
	 	 1. เข้าไปที่เว็บไชต์ https://obsproject.com/download  แล้วเลื่อนไปที่หัวข้อ OBS Classic
	 	 2. คลิกที่ “Download Installer” เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งโปรแกรม
การตั้งค่าโปรแกรมสาหรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube
โปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงไปยัง YouTube คือ โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS
Classic) เป็นโปรแกรมที่มีหน้าที่เอาไว้ใช้ในการแชร์หน้าจอ ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ YouTube, ด้วย
ความสามารถของผ่านการถ่ายทอดสด (Live Broadcast) เพื่อให้คนอื่น เช่น นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้
ฝึกอบรม ที่อยู่ที่อื่น ได้สามารถเห็นในกิจกรรมที่เกิดขึ้น เหมาะอย่างยิ่งแก่การทาการศึกษาทางไกล ผู้จัดทาจึง
ได้นามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมภายในคณะ เพียงแค่มีโปรแกรมนี้ มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่เพียงพอ
ต่อการอัพโหลด หรือ ส่งข้อมูลออกไปก็สามารถทาการถ่ายทอดสด (Live Broadcast)ได้
สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ https://obsproject.com/download โดยมีวิธีติดตั้งและการใช้
งานเบื้องต้นดังนี้
1. เข้าไปที่เว็บไชต์ https://obsproject.com/download แล้วเลื่อนไปที่หัวข้อ OBS Classic
2. คลิกที่ “Download Installer” เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งโปรแกรม
3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ที่ ชื่อ “OBS_0_659b_With_Browser_Installer”
ให้ทาการดับเบิ้ลคลิกเพื่อติดตั้งโปรแกรม
16
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ที่ ชื่อ “OBS_0_659b_With_Browser_Installer”
	 	    ให้ทำ�การดับเบิ้ลคลิกเพื่อติดตั้งโปรแกรม
	 	 4. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “Next”
3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ที่ ชื่อ “OBS_0_659b_With_Browser_Installer”
ให้ทาการดับเบิ้ลคลิกเพื่อติดตั้งโปรแกรม
4. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “Next”
5. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “I Agree”
17
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 5. ปรากฏหน้าต่างให้กด “I Agree”
	 	 6. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งสำ�เสร็จ แล้วกด “Finish”
5. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “I Agree”
6. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งสาเสร็จ แล้วกด “Finish”
7. เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้ว โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา
18
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 7. เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้ว โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา
	 	 8. ไปที่ตั้งค่า “ตั้งค่า” เลือกตั้งค่า
7. เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้ว โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา
8. ไปที่ตั้งค่า “ตั้งค่า” เลือกตั้งค่า
19
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 9. เลือกที่ “ตั้งค่าการออกอากาศ”
	 	 10. ตั้งค่าดังนี้   
	 	 	 - Streaming Service: กำ�หนดเป็น Custom
	 	 	 - FMS URL : นำ�ค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก” มาใส่
	 	 	 - Play Path/Stream Key (if any) : นำ�ค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “ชื่อสตรีม” มาใส่
  	 	 	   แล้วคลิกที่ “นำ�ไปใช้”
9. เลือกที่ “ตั้งค่าการออกอากาศ”
10.ตั้งค่าดังนี้
- Streaming Service: กาหนดเป็น Custom
- FMS URL : นาค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก” มาใส่
- Play Path/Stream Key (if any) : นาค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “ชื่อสตรีม” มาใส่
แล้วคลิกที่ “นำไปใช้”
Custom
rtmp://a.rtmp.
youtube.com/live2
jsu0-p203-159j-9v2s
20
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
		
	 	 11. จากนั้นให้เลือกที่เมนูวีดีโอ แล้วกำ�หนดค่าที่หัวข้อ Base Resolotion > กำ�หนดเอง > ใส่ค่า 1280x720 	
	 	      กด “นำ�ไปใช้” แล้วกด “ตกลง”
	 	 12. คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่ “Sources”
11.จากนั้นให้เลือกที่เมนูวีดีโอ แล้วกาหนดค่าที่หัวข้อ Base Resolotion > กำหนดเอง >
ใส่ค่ำ 1280x720 กด “นำไปใช้” แล้วกด “ตกลง”
12.คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่ “Sources”
1280x720
11.จากนั้นให้เลือกที่เมนูวีดีโอ แล้วกาหนดค่าที่หัวข้อ Base Resolotion > กำหนดเอง >
ใส่ค่ำ 1280x720 กด “นำไปใช้” แล้วกด “ตกลง”
12.คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่ “Sources”
1280x720
21
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 13. เลือก > เพิ่ม > อุปกรณ์จับภาพวีดีโอ
		
	 	 14. โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อ ตั้งชื่ออะไรก็ได้ในที่นี้ขอกำ�หนดว่า “VDO1” จากนั่นกด “ตกลง”
13.เลือก > เพิ่ม > อุปกรณ์จับภาพวีดีโอ
14.โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อ ตั้งชื่ออะไรก็ได้ในที่นี้ขอกำหนดว่ำ “VDO1” จำกนั่นกด “ตกลง”
13.เลือก > เพิ่ม > อุปกรณ์จับภาพวีดีโอ
14.โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อ ตั้งชื่ออะไรก็ได้ในที่นี้ขอกำหนดว่ำ “VDO1” จำกนั่นกด “ตกลง”
22
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 15. จากนั่นโปรแกรมจะให้เลือกอุปการณ์เชื่อมต่อ ให้เลือกเป็น “USB2020x Device” แล้วกด “ตกลง”
	 	 16. จากนั่นกด “แสดงตัวอย่างสตรีมมิง” เพื่อดูภาพจากกล้องวีดีโอ และกด “หยุดแสดงตัวอย่าง” เพื่อหยุด	
                          การแสดงตัวอย่างสตรีมมิง
15.จากนั่นโปรแกรมจะให้เลือกอุปการณ์เชื่อมต่อ ให้เลือกเป็น “USB2020x Device” แล้ว
กด “ตกลง”
16.จากนั่นกด “แสดงตัวอย่างสตรีมมิง” เพื่อดูภาพจากกล้องวีดีโอ และกด “หยุดแสดง
ตัวอย่าง” เพื่อหยุดการแสดงตัวอย่างสตรีมมิง
17.จากนั่น กด “เริ่มสตรีมมิ่ง” เพื่อทาการถ่ายทอดสด
ภาพตัวอย่างตัวอย่างสตรีมมิง
23
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 17. จากนั่น กด “เริ่มสตรีมมิ่ง” เพื่อทำ�การถ่ายทอดสด
	 	 18. จากนั่นกลับที่เว็บ YouTube คลิกที่ “ห้องควบคุมการแพร่ภาพสด”
	 	 19. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “ตัวอย่าง”
17.จากนั่น กด “เริ่มสตรีมมิ่ง” เพื่อทาการถ่ายทอดสด
สังเกตสัญลักษณ์สีเขียว บริเวณด้านล่างของโปรแกรม
แสดงว่าการสรีตมสาเสร็จ
18.จากนั่นกลับที่เว็บ YouTube คลิกที่ “ห้องควบคุมการแพร่ภาพสด”
19.จะปรากฏหน้าต่างให้กด “ตัวอย่าง”
18.จากนั่นกลับที่เว็บ YouTube คลิกที่ “ห้องควบคุมการแพร่ภาพสด”
19.จะปรากฏหน้าต่างให้กด “ตัวอย่าง”
24
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 20. รอจนกว่าปุ่ม เริ่มสตรีมจะทำ�งาน
	 	 21. กด “เริ่มสตรีม” เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
		
	 	 22. เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
20. รอจนกว่าปุ่ม เริ่มสตรีมจะทางาน
21. กด “เริ่มสตรีม” เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
22.เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
21. กด “เริ่มสตรีม” เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
22.เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
25
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 	 23. สามารนำ�ลิงค์ที่ได้จากการถ่ายทอดสดไปเผยแพร่ได้ กดที่มุมบนขวามือของวีดีโอ
	 	 24. สามารถนำ�ลิงค์ไปเผยแพร่ได้
23. สามารนาลิงค์ที่ได้จากการถ่ายทอดสดไปเผยแพร่ได้ กดที่มุมบนขวามือของวีดีโอ
24.สามารถนาลิงค์ไปเผยแพร่ได้
23. สามารนาลิงค์ที่ได้จากการถ่ายทอดสดไปเผยแพร่ได้ กดที่มุมบนขวามือของวีดีโอ
24.สามารถนาลิงค์ไปเผยแพร่ได้
26
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตัวอย่างการถ่ายทอดกิจกรรมภายในคณะที่ผ่านมา
27
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศึกษาศาสตร์ (ซ้อมย่อย)
วันที่ 10 ธันวาคม 2559
เสวนาวิชาการ เรื่อง Education 4.0
วันที่ 16 กันยายน 2559
28
จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา
นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โครงการอบรมหลักสูตรการสร้างความตระหนักในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ
วันที่ 11 สิงหาคม 2559
โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่” โดย
รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน You tube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาในระดับคณะศึกษาศาสตร์

คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
 คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์photnew
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์xavi2536
 
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่ายคู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่ายNorasit Plengrudsamee
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมBurin Narin
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSomsak Kaeosijan
 
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tubeการสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tubeApisit Chayapat
 
การติดตั้ง android studio
การติดตั้ง android studioการติดตั้ง android studio
การติดตั้ง android studioWorawith Sangkatip
 
เอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอ
เอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอเอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอ
เอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอSaipanyarangsit School
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Etl ZIone
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Chayanis
 
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33Prayat Saibut
 

Semelhante a คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน You tube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาในระดับคณะศึกษาศาสตร์ (20)

คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
 คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
คู่มือการใช้งาน ห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
videospin
videospinvideospin
videospin
 
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่ายคู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
คู่มือโปรแกรม Articulate storyline อย่างง่าย
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
เอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรมเอกสารประกอบการอบรม
เอกสารประกอบการอบรม
 
Window mm
Window mmWindow mm
Window mm
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
การใช้งาน Any video converter
การใช้งาน Any video converterการใช้งาน Any video converter
การใช้งาน Any video converter
 
การผลิตวีดิโอคลิปเพื่อการศึกษา
การผลิตวีดิโอคลิปเพื่อการศึกษา การผลิตวีดิโอคลิปเพื่อการศึกษา
การผลิตวีดิโอคลิปเพื่อการศึกษา
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tubeการสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
การสตรีมมิ่งถ่ายทอดสดผ่าน You tube
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
การติดตั้ง android studio
การติดตั้ง android studioการติดตั้ง android studio
การติดตั้ง android studio
 
เอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอ
เอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอเอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอ
เอกสารประกอบการอบรมการตัดต่อวิดีโอ
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
คู่มือการใช้งาน movie maker สพม.33
 

คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน You tube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาในระดับคณะศึกษาศาสตร์

  • 1.
  • 2. คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน YouTube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาในระดับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามจัดทำ�ขึ้นเพื่อนส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในปัจจุบันที่เข้ามามีบทบาทในด้าน การศึกษาและมีความสำ�คัญที่จะช่วยส่งเสริมพัฒนาเพื่อคณะศึกษาศาสตร์ แต่ความต้องการในการเข้าถึงข้อมูล กิจกรรมต่างๆ ยังไม่เพียงพอ อาเช่น กิจกรรมซ้อมรับปริญญาของคณะฯ หรือกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้นภายในคณะฯ ความต้องการในการเข้าถึง ข้อมูลยังมีข้อจำ�กัดเรื่อง สถานที่ หรืออุปกรณ์และเวลาที่ยังมีข้อจัดกัด คณะการทำ�งานจึงได้ประชุมเพื่อนหาแนวทางการแก้ไข จึงใช้วิธีการ Live stream เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยคุณสมบัติของการ Live Stream คือ การรับ/ส่ง สัญญาณภาพและ เสียงบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในการเข้าถึงอุปกรณ์ต่างๆโดยผู้ชมสามารถรับชมได้บน Computer, Mobile, อุปกรณ์ Tablet และ Smart TV ซึ่งข้อดีของที่แตกต่างจากการถ่ายทอดสดบนทีวีทั่วไปคือ สามารถรับชมได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกอุปกรณ์ ที่สามารถ ออนไลน์ได้ เนื่องจาก Live Stream มีการใช้ระบบออนไลน์เข้ามามีพื้นฐาน จึงทำ�ให้สามารถเสริมคุณสมบัติต่างๆได้ เช่น การ ถามตอบแบบทันที ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถชมหรือฟัง ภาพและเสียงได้ทันทีเป็นการส่งภาพและเสียงจากการถ่ายทอดสด เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงๆ โดยตรงในทนที และยังสารมารย้อนกลับมาดูได้อีกด้วย ทั้งนี้บุคลากรที่ได้ศึกษาคู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน YouTube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษาใน ระดับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามฉบับนี้สามารถปฏิบัติงานได้จริง จอมพล รัตนา ผู้จัดทำ�
  • 3. เรื่อง หน้า 1. การติดตั้งอุปกรณ์สำ�หรับการถ่ายทอด ........................................................................ 4 2. การติดตั้งโปรแกรมสำ�หรับชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ .................................................................. 6 3. การตั้งค่าใน YouTube ................................................................................................ 10 4. การตั้งค่าโปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS) สำ�หรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube ............................................................................ 15 5. ตัวอย่างการถ่ายทอดกิจกรรมภายในคณะที่ผ่านมา ..................................................... 26
  • 4. 4 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือติดตั้งและใช้งานการถ่ายทอดสดผ่าน YouTube เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ในระดับคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามนี้เป็นการแนะนำ�ขั้นตอนการติดตั้งอุปกรณ์และตั้งค่าการถ่ายทอดกิจกรรมทาง YouTube โดยจะ ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. การติดตั้งอุปกรณ์ 2. การติดตั้งโปรแกรมสำ�หรับชุดแปลงสัญญาณ ภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงในเครื่อง คอมพิวเตอร์ 3. การตั้งค่าใน YouTube 4. การตั้งค่าโปรแกรมสำ�หรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube ขั้นตอนที่ 1 การติดตั้งอุปกรณ์ อุปกรณ์ที่ต้องใช้ภายในคณะศึกษาศาสตร์ 1. อุปกรณ์ส่งสัญญาณภาพและเสียง (กล้องถ่ายวีดีโอ) 2. อุปกรณ์สลับสัญญาณภาพ (Switcher) 3. สายสัญญาณจากอุปกรณ์ส่งสัญญาณภาพและเสียงเช่น สาย AV, สาย SDI, สาย Audio 4. ชุดแปลงสัญญาณ ภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ที่แปลงสัญญาณเป็น USB 5. คอมพิวเตอร์ 1 2 3 4 5
  • 5. 5 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แผนผังการติดตั้งอุปกรณ์ บริเวณหน้าห้องจัดกิจกรรมหรือห้องเรียนห้องควบคุม ภาพและเสียง กล้อง VDO ตัวที่ 1 กล้อง VDO ตัวที่ 2 กล้อง VDO ตัวที่ 3 สาย Audio Out สาย Audio In VDO IN VDO OUT Audio Outอุปกรณ์สลับสัญญาณ ภาพ (Switcher) ชุดแปลงสัญญาณภาพและ เสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล
  • 6. 6 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ขั้นตอนที่ 2 การติดตั้งโปรแกรมสำ�หรับชุดแปลงสัญญาณ ภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงใน เครื่องคอมพิวเตอร์ มีขั้นตอนดังนี้ 1. เชื่อมต่ออุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลกับคอมพิวเตอร์ 2. ติดตั้ง Driver video editing dvd maker 2 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://goo.gl/F6lTHw 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้เปิด Folder ที่ดาวน์โหลดเสร็จ ชื่อ Folder “Driver video editing dvd maker 2” 4. ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ “Autorun” เพื่อติดตั้ง Driver ของอุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียง การติดตั้งโปรแกรมสาหรับชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ 1. เชื่อมต่ออุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลกับคอมพิวเตอร์ 2. ติดตั้ง Driver video editing dvd maker 2 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://goo.gl/F6lTHw 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้เปิด Folder ที่ดาวน์โหลดเสร็จ ชื่อ Folder “Driver video editing dvd maker 2” 4. ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ “Autorun” เพื่อติดตั้ง Driver ของอุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียง 5. โปรแกรมจะขึ้นหน้างต่าง Video Editing ให้เลือก “Quick Installation” การติดตั้งโปรแกรมสาหรับชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอล (Capture card) ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ 1. เชื่อมต่ออุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียงเป็นสัญญาณดิจิตอลกับคอมพิวเตอร์ 2. ติดตั้ง Driver video editing dvd maker 2 สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://goo.gl/F6lTHw 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วให้เปิด Folder ที่ดาวน์โหลดเสร็จ ชื่อ Folder “Driver video editing dvd maker 2” 4. ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ “Autorun” เพื่อติดตั้ง Driver ของอุปกรณ์ชุดแปลงสัญญาณภาพและเสียง 5. โปรแกรมจะขึ้นหน้างต่าง Video Editing ให้เลือก “Quick Installation”5. โปรแกรมจะขึ้นหน้างต่าง Video Editing ให้เลือก “Quick Installation”
  • 7. 7 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 6. เชื่อมต่อ video editing dvd maker 2 กับคอมพิมเตอร์ผ่าน USB 7. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่าง Quick Installer 6. เชื่อมต่อ video editing dvd maker 2 กับคอมพิมเตอร์ผ่าน USB 7. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่าง Quick Installer 8. เลือกที่ “Custom Installation” ติกเครื่องหมายถูกที่ “Diver Installation” แล้วคลิก “Install
  • 8. 8 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 8. เลือกที่ “Custom Installation” ติกเครื่องหมายถูกที่ “Diver Installation” แล้วคลิก “Install” 9. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างให้เลือก “Start” 10. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ แล้วกด “OK” 8. เลือกที่ “Custom Installation” ติกเครื่องหมายถูกที่ “Diver Installation” แล้วคลิก “Install” 1 2 3 9. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างให้เลือก “Start” 10. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ แล้วกด “OK” 9. โปรแกรมจะขึ้นหน้าต่างให้เลือก “Start” 10. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จ แล้วกด “OK” 11. โปรแกรมจะให้เลือกภาษาให้เลือก ภาษา “English(United States)” แล้ว กด OK
  • 9. 9 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 11. โปรแกรมจะให้เลือกภาษาให้เลือก ภาษา “English(United States)” แล้ว กด “OK” 12. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จเสร็จ 13. เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วโปรแกรมจะให้ Restart เครื่อง ให้เลือกที่ “Finish” เป็นอันเสร็จสิ้นในการติดตั้ง Driver 11. โปรแกรมจะให้เลือกภาษาให้เลือก ภาษา “English(United States)” แล้ว กด OK 12. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จเสร็จ 13. เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วโปรแกรมจะให้ Restart เครื่อง ให้เลือกที่ “Finish” เป็นอันเสร็จสิ้นใน การติดตั้ง Driver 12. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งเสร็จเสร็จ 13. เมื่อโปรแกรมติดตั้งเสร็จแล้วโปรแกรมจะให้ Restart เครื่อง ให้เลือกที่ “Finish” เป็นอันเสร็จสิ้นใน การติดตั้ง Driver
  • 10. 10 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตั้งค่าใน YouTube 1. เปิดเว็บไซต์ YouTube แล้วทำ�การ Login 2. คลิกเลือกเมนู “ช่องของฉัน” การตั้งค่าใน YouTube 1. เปิดเว็บไซต์ YouTube แล้วทำกำร Login 2. คลิกเลือกเมนู “ช่องของฉัน” การตั้งค่าใน YouTube 1. เปิดเว็บไซต์ YouTube แล้วทำกำร Login 2. คลิกเลือกเมนู “ช่องของฉัน”
  • 11. 11 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. คลิกเลือกเมนู “เครื่องมือจัดการวิดีโอ” 4. คลิกเลือกเมนู “สตรีมมิงแบบสด” 3. คลิกเลือกเมนู “เครื่องมือจัดการวิดีโอ” 4. คลิกเลือกเมนู “สตรีมมิงแบบสด” 3. คลิกเลือกเมนู “เครื่องมือจัดการวิดีโอ” 4. คลิกเลือกเมนู “สตรีมมิงแบบสด”
  • 12. 12 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5. คลิกเลือกเมนู “เหตุการณ์” เพื่อสร้างกิจกรรม 6. คลิกเลือกเมนู “กิจกรรมสดใหม่” 5. คลิกเลือกเมนู “เหตุการณ์” เพื่อสร้างกิจกรรม 6. คลิกเลือกเมนู “กิจกรรมสดใหม่” 5. คลิกเลือกเมนู “เหตุการณ์” เพื่อสร้างกิจกรรม 6. คลิกเลือกเมนู “กิจกรรมสดใหม่”
  • 13. 13 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7. กำ�หนดรายละเอียดของกิจกรรมและ คลิกที่ “สร้างกิจกรรม” 8. จะปรากฏหน้าต่างให้เลือก Bitrate ที่ต้องการ การเลือก Bitrate ที่สูงมีผลต่อความคมชัด และการกระตุกของการชมถ่ายทอด ดังนั้นควรเลือกให้เหมาะสม ความเร็วอินเตอร์เน็ทมีส่วนต่อการถ่ายทอด (แนะนำ�ให้เลือกที่ 1500Kbps – 4000Kbps(720p) ) 7. กำหนดรำยละเอียดของกิจกรรมและ คลิกที่ “สร้ำงกิจกรรม” 8. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือก Bitrate ที่ต้องกำร กำรเลือก Bitrate ที่สูงมีผลต่อควำมคมชัด และกำรกระตุกของกำรชมถ่ำยทอด ดังนั้นควรเลือกให้เหมำะสมควำมเร็วอินเตอร์เน็ทมีส่วนต่อกำรถ่ำยทอด (แนะนำให้เลือกที่ 1500Kbps – 4000Kbps(720p) ) 1. ชื่อกิจกรรม 2. กำหนดวันที่และเวลำ 3. รำยละเอียดกิจกรรม 4. กำหนดแท็ก 5. คลิกเพื่อสร้ำงกิจกรรม 7. กำหนดรำยละเอียดของกิจกรรมและ คลิกที่ “สร้ำงกิจกรรม” 8. จะปรำกฏหน้ำต่ำงให้เลือก Bitrate ที่ต้องกำร กำรเลือก Bitrate ที่สูงมีผลต่อควำมคมชัด และกำรกระตุกของกำรชมถ่ำยทอด ดังนั้นควรเลือกให้เหมำะสมควำมเร็วอินเตอร์เน็ทมีส่วนต่อกำรถ่ำยทอด (แนะนำให้เลือกที่ 1500Kbps – 4000Kbps(720p) ) 1. ชื่อกิจกรรม 2. กำหนดวันที่และเวลำ 3. รำยละเอียดกิจกรรม 4. กำหนดแท็ก 5. คลิกเพื่อสร้ำงกิจกรรม
  • 14. 14 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 9. กำ�หนดการเข้ารหัสคลิกเลือกที่ “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ” - เมื่อคลิกเลือกเมนู “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ” จะได้ - ชื่อสตรีม “jsu0-p203-159j-9v2s” - URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก “rtmp://a.rtmp.youtube.com/live2” จะนำ�ค่าไปกรอกค่าใส่ในโปรแกรม OBS ในขั้นตอนตอนไป 10. คลิก “บันทึกการเปลี่ยนแปลง” เพื่อเสร็จสิ้นการตั้งค่า 9. กำหนดกำรเข้ำรหัสคลิกเลือกที่ “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ” - เมื่อคลิกเลือกเมนู “โปรแกรมเปลี่ยนไฟล์อื่นๆ” จะได้ - ชื่อสตรีม “jsu0-p203-159j-9v2s” - URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก “rtmp://a.rtmp.youtube.com/live2” จะนำค่ำไปกรอกค่ำใส่ในโปรแกรม OBS ในขั้นตอนตอนไป 10. คลิก “บันทึกกำรเปลี่ยนแปลง” เพื่อเสร็จสิ้นกำรตั้งค่ำ 10. คลิก “บันทึกการเปลี่ยนแปลง” เพื่อเสร็จสิ้นการตั้งค่า การตั้งค่าโปรแกรมสาหรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube โปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงไปยัง YouTube คือ โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS Classic) เป็นโปรแกรมที่มีหน้าที่เอาไว้ใช้ในการแชร์หน้าจอ ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ YouTube, ด้วย
  • 15. 15 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การตั้งค่าโปรแกรมสำ�หรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube โปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงไปยัง YouTube คือ โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS Classic) เป็นโปรแกรม ที่มีหน้าที่เอาไว้ใช้ในการแชร์หน้าจอ ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ YouTube, ด้วยความสามารถของผ่านการถ่ายทอดสด (Live Broad- cast) เพื่อให้คนอื่น เช่น นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้ฝึกอบรม ที่อยู่ที่อื่น ได้สามารถเห็นในกิจกรรมที่เกิดขึ้น เหมาะอย่างยิ่งแก่ การทำ�การศึกษาทางไกล ผู้จัดทำ�จึงได้นำ�มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมภายในคณะ เพียงแค่มีโปรแกรมนี้ มีอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง ที่เพียงพอต่อการอัพโหลด หรือ ส่งข้อมูลออกไปก็สามารถทำ�การถ่ายทอดสด (Live Broadcast)ได้ สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ https://obsproject.com/download โดยมีวิธีติดตั้งและการใช้งานเบื้องต้นดังนี้ 1. เข้าไปที่เว็บไชต์ https://obsproject.com/download แล้วเลื่อนไปที่หัวข้อ OBS Classic 2. คลิกที่ “Download Installer” เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งโปรแกรม การตั้งค่าโปรแกรมสาหรับการเชื่อมโยงไปยัง YouTube โปรแกรมที่ใช้เชื่อมโยงไปยัง YouTube คือ โปรแกรม Open Broadcaster Software (OBS Classic) เป็นโปรแกรมที่มีหน้าที่เอาไว้ใช้ในการแชร์หน้าจอ ถ่ายทอดสดผ่านเว็บ YouTube, ด้วย ความสามารถของผ่านการถ่ายทอดสด (Live Broadcast) เพื่อให้คนอื่น เช่น นักเรียน นิสิต นักศึกษา ผู้ ฝึกอบรม ที่อยู่ที่อื่น ได้สามารถเห็นในกิจกรรมที่เกิดขึ้น เหมาะอย่างยิ่งแก่การทาการศึกษาทางไกล ผู้จัดทาจึง ได้นามาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมภายในคณะ เพียงแค่มีโปรแกรมนี้ มีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ที่เพียงพอ ต่อการอัพโหลด หรือ ส่งข้อมูลออกไปก็สามารถทาการถ่ายทอดสด (Live Broadcast)ได้ สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ https://obsproject.com/download โดยมีวิธีติดตั้งและการใช้ งานเบื้องต้นดังนี้ 1. เข้าไปที่เว็บไชต์ https://obsproject.com/download แล้วเลื่อนไปที่หัวข้อ OBS Classic 2. คลิกที่ “Download Installer” เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ติดตั้งโปรแกรม 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ที่ ชื่อ “OBS_0_659b_With_Browser_Installer” ให้ทาการดับเบิ้ลคลิกเพื่อติดตั้งโปรแกรม
  • 16. 16 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ที่ ชื่อ “OBS_0_659b_With_Browser_Installer” ให้ทำ�การดับเบิ้ลคลิกเพื่อติดตั้งโปรแกรม 4. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “Next” 3. เมื่อดาวน์โหลดเสร็จแล้วจะได้ไฟล์ที่ ชื่อ “OBS_0_659b_With_Browser_Installer” ให้ทาการดับเบิ้ลคลิกเพื่อติดตั้งโปรแกรม 4. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “Next” 5. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “I Agree”
  • 17. 17 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 5. ปรากฏหน้าต่างให้กด “I Agree” 6. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งสำ�เสร็จ แล้วกด “Finish” 5. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “I Agree” 6. รอจนกว่าโปรแกรมจะติดตั้งสาเสร็จ แล้วกด “Finish” 7. เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้ว โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา
  • 18. 18 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 7. เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้ว โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา 8. ไปที่ตั้งค่า “ตั้งค่า” เลือกตั้งค่า 7. เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จแล้ว โปรแกรมจะเปิดหน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา 8. ไปที่ตั้งค่า “ตั้งค่า” เลือกตั้งค่า
  • 19. 19 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 9. เลือกที่ “ตั้งค่าการออกอากาศ” 10. ตั้งค่าดังนี้ - Streaming Service: กำ�หนดเป็น Custom - FMS URL : นำ�ค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก” มาใส่ - Play Path/Stream Key (if any) : นำ�ค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “ชื่อสตรีม” มาใส่ แล้วคลิกที่ “นำ�ไปใช้” 9. เลือกที่ “ตั้งค่าการออกอากาศ” 10.ตั้งค่าดังนี้ - Streaming Service: กาหนดเป็น Custom - FMS URL : นาค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “URL ของเซิร์ฟเวอร์หลัก” มาใส่ - Play Path/Stream Key (if any) : นาค่าที่ได้จากเว็บ Youtube ในหัวข้อ “ชื่อสตรีม” มาใส่ แล้วคลิกที่ “นำไปใช้” Custom rtmp://a.rtmp. youtube.com/live2 jsu0-p203-159j-9v2s
  • 20. 20 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 11. จากนั้นให้เลือกที่เมนูวีดีโอ แล้วกำ�หนดค่าที่หัวข้อ Base Resolotion > กำ�หนดเอง > ใส่ค่า 1280x720 กด “นำ�ไปใช้” แล้วกด “ตกลง” 12. คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่ “Sources” 11.จากนั้นให้เลือกที่เมนูวีดีโอ แล้วกาหนดค่าที่หัวข้อ Base Resolotion > กำหนดเอง > ใส่ค่ำ 1280x720 กด “นำไปใช้” แล้วกด “ตกลง” 12.คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่ “Sources” 1280x720 11.จากนั้นให้เลือกที่เมนูวีดีโอ แล้วกาหนดค่าที่หัวข้อ Base Resolotion > กำหนดเอง > ใส่ค่ำ 1280x720 กด “นำไปใช้” แล้วกด “ตกลง” 12.คลิกขวาที่บริเวณพื้นที่ “Sources” 1280x720
  • 21. 21 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 13. เลือก > เพิ่ม > อุปกรณ์จับภาพวีดีโอ 14. โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อ ตั้งชื่ออะไรก็ได้ในที่นี้ขอกำ�หนดว่า “VDO1” จากนั่นกด “ตกลง” 13.เลือก > เพิ่ม > อุปกรณ์จับภาพวีดีโอ 14.โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อ ตั้งชื่ออะไรก็ได้ในที่นี้ขอกำหนดว่ำ “VDO1” จำกนั่นกด “ตกลง” 13.เลือก > เพิ่ม > อุปกรณ์จับภาพวีดีโอ 14.โปรแกรมจะให้ตั้งชื่อ ตั้งชื่ออะไรก็ได้ในที่นี้ขอกำหนดว่ำ “VDO1” จำกนั่นกด “ตกลง”
  • 22. 22 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 15. จากนั่นโปรแกรมจะให้เลือกอุปการณ์เชื่อมต่อ ให้เลือกเป็น “USB2020x Device” แล้วกด “ตกลง” 16. จากนั่นกด “แสดงตัวอย่างสตรีมมิง” เพื่อดูภาพจากกล้องวีดีโอ และกด “หยุดแสดงตัวอย่าง” เพื่อหยุด การแสดงตัวอย่างสตรีมมิง 15.จากนั่นโปรแกรมจะให้เลือกอุปการณ์เชื่อมต่อ ให้เลือกเป็น “USB2020x Device” แล้ว กด “ตกลง” 16.จากนั่นกด “แสดงตัวอย่างสตรีมมิง” เพื่อดูภาพจากกล้องวีดีโอ และกด “หยุดแสดง ตัวอย่าง” เพื่อหยุดการแสดงตัวอย่างสตรีมมิง 17.จากนั่น กด “เริ่มสตรีมมิ่ง” เพื่อทาการถ่ายทอดสด ภาพตัวอย่างตัวอย่างสตรีมมิง
  • 23. 23 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 17. จากนั่น กด “เริ่มสตรีมมิ่ง” เพื่อทำ�การถ่ายทอดสด 18. จากนั่นกลับที่เว็บ YouTube คลิกที่ “ห้องควบคุมการแพร่ภาพสด” 19. จะปรากฏหน้าต่างให้กด “ตัวอย่าง” 17.จากนั่น กด “เริ่มสตรีมมิ่ง” เพื่อทาการถ่ายทอดสด สังเกตสัญลักษณ์สีเขียว บริเวณด้านล่างของโปรแกรม แสดงว่าการสรีตมสาเสร็จ 18.จากนั่นกลับที่เว็บ YouTube คลิกที่ “ห้องควบคุมการแพร่ภาพสด” 19.จะปรากฏหน้าต่างให้กด “ตัวอย่าง” 18.จากนั่นกลับที่เว็บ YouTube คลิกที่ “ห้องควบคุมการแพร่ภาพสด” 19.จะปรากฏหน้าต่างให้กด “ตัวอย่าง”
  • 24. 24 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 20. รอจนกว่าปุ่ม เริ่มสตรีมจะทำ�งาน 21. กด “เริ่มสตรีม” เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด 22. เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด 20. รอจนกว่าปุ่ม เริ่มสตรีมจะทางาน 21. กด “เริ่มสตรีม” เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด 22.เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด 21. กด “เริ่มสตรีม” เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด 22.เป็นอันเสร็จสิ้นในขั้นตอนการถ่ายทอดสด
  • 25. 25 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 23. สามารนำ�ลิงค์ที่ได้จากการถ่ายทอดสดไปเผยแพร่ได้ กดที่มุมบนขวามือของวีดีโอ 24. สามารถนำ�ลิงค์ไปเผยแพร่ได้ 23. สามารนาลิงค์ที่ได้จากการถ่ายทอดสดไปเผยแพร่ได้ กดที่มุมบนขวามือของวีดีโอ 24.สามารถนาลิงค์ไปเผยแพร่ได้ 23. สามารนาลิงค์ที่ได้จากการถ่ายทอดสดไปเผยแพร่ได้ กดที่มุมบนขวามือของวีดีโอ 24.สามารถนาลิงค์ไปเผยแพร่ได้
  • 26. 26 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตัวอย่างการถ่ายทอดกิจกรรมภายในคณะที่ผ่านมา
  • 27. 27 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะศึกษาศาสตร์ (ซ้อมย่อย) วันที่ 10 ธันวาคม 2559 เสวนาวิชาการ เรื่อง Education 4.0 วันที่ 16 กันยายน 2559
  • 28. 28 จัดทำ�โดย นายจอมพล รัตนา นักวิชาการคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โครงการอบรมหลักสูตรการสร้างความตระหนักในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ วันที่ 11 สิงหาคม 2559 โครงการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.บุญชม ศรีสะอาด