SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
สื่อเลือกข้างผิดหลัก
จริยธรรมหรือเปล่า?
โสรั จจ์ หงศ์ ลดารมภ์
ภาควิ ชาปรั ชญา คณะอั กษรศาสตร์
จุ ฬาลงกรณ์ ม หาวิ ทยาลั ย
ประเด็นอภิปราย
• จรรยาบรรณ (code of ethics) กับจริยธรรม (ethics)
• สื่ อมีบทบาทอย่างไรในสังคมสมัยใหม่
• อะไรคื อเป้ าหมายสูงสุดของการอยู่ ร่วมกันของคนในสังคม?
• สื่ อ “เลือกข้าง” – “ข้าง” ที่ ว่ ามันเป็ นยังไง?
• ตกลงสื่ อเลือกข้างได้ม้ั ย ?
“จรรยาบรรณ” กับ “จริยธรรม”
• สองอย่างนี้ ไม่เหมือนกัน
• “จรรยาบรรณ” เป็ นประมวลกฎเกณฑ์สำาหรับคนกลุ่ มหนึ่ งปฏิบัติ
  ตาม
 • จรรยาบรรณแพทย์
 • จรรยาบรรณทนายความ
 • จรรยาบรรณสื่อมวลชน
 • จรรยาบรรณอาจารย์มหาวิทยาลัย
• “จริยธรรม” เป็ นการคิดพิจารณาว่ าอะไรถูกอะไรผิ ด อะไรควรไม่
  ควร
 • การศึกษาปั จจุบันไม่ได้ให้ความสำาคัญแก่เรื่องนี้ แต่ไปให้ความสำาคัญแก่
   การบอกหรือสั่งสอนเฉยๆว่าอะไรทำาได้ อะไรทำาไม่ได้
 • แต่จริงๆต้องมีการคิดอภิปราย ใช้เหตุผล ให้รู้ว่าที่อย่างนี้ ทำาไม่ได้ มันทำาไม่
   ได้เพราะเหตุใด
บทบาทของสื่อมวลชนในสังคมสมัยใหม่
• เรื่ องนี้ ก็เรียนมากันมาก แต่ไม่ค่อยซึมซับ
• สังคมโบราณไม่มีความจำา เป็ นต้องมี “สื่ อมวลชน” ถ้าทางการมีอะไร
  จะแจ้ งให้ประชาชน ก็ใช้ วิธีเรียกประชุ มชาวบ้าน แล้วมีอาลักษณ์มา
  อ่านประกาศหรือโองการ หรือไม่ก็ ใช้ วิธีเอาป้ ายไปปั กไว้ ตามต้นไม้
  หรือในตลาด
• ถ้าชาวบ้านจะสื่ อสารกันเอง ก็ ใช้ วิธีเดินไปบอกกั น หรือวานเด็กวิ่ ง
  ไปบอก ฯลฯ
• สิ่ งที่ เป็ นข่าวก็จะมาจากชาวบ้านบอกกันเอง หรือทางการอ่านให้ฟัง
  ดังๆ
 • (ปั จจุบันก็ยังมีอยู่ แถวบ้านผมเปิ ดวิทยุประเทศไทยทุกเช้าดังทั่วตลาด)
• ถ้าเป็ นยามสงครามก็ อาจใช้ นกพิราบ หรือสัญญาณควั น หรือ
  สัญญาณธง
• พวกนี้ ไม่ใช่ ส่ ื อมวลชน
สื่อมวลชน
• สื่ อมวลชนเป็ นปรากฏการณ์ของสังคมสมัยใหม่ล้วนๆ เป็ นผลจาก
  การพัฒนาเทคโนโลยี (แท่นพิมพ์) และสังคมที่ ขยายตัวมากกว่ า
  สังคมโบราณ
• แทนที่ จะอาศั ยการอ่านโองการให้คนจำา นวนมากๆฟั ง ก็มีการผลิต
  “ข่าว ” โดยองค์กรที่เป็ นเอกชนเพื่อการรับรู้ของคนจำานวนมาก
  ทำาให้ ภาครัฐต้ องปรับตั ว จะเห็ นได้ว่ าลักษณะสำาคัญคือภาครัฐไม่มี
  การผูกขาดการผลิตข่ าวอี กต่อไป
• ลักษณะนี้ เองที่ ส่ ื อกลายเป็ นสื่ อ มวลชน
• สื่ อมวลชนทำาให้ เกิดสิ่ งที่ เรียกว่า “มณฑลสาธารณะ ” (public
  sphere) ที่ เป็ นที่ พบปะแลกเปลี่ ยนความคิดเห็น ข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ
  ผ่านทางตัวสื่ อ (หนั งสือพิมพ์ ) อันทำาให้เกิดการผลักดัน “ความคิด
  เห็ นของสาธารณชน” (public opinion)
การสร้างความคิดเห็นของคนในสังคม
• เมื่ อสื่ อเป็ นผู้ เปิ ดปริ มณฑลสาธารณะ สิ่ งที่ เกิดขึ้ นตามมาก็คือมีการ
  พยายามใช้ส่ ื อเพื่ อปรั บเปลี่ ยนกระแสความคิดเห็นของคนในสังคมให้
  เป็ นไปตามต้องการ
• ยิ่ งในปั จจุบันมีส่ ื อประเภท social media การสร้างกระแสเป็ นไปอย่าง
  กว้างขวางรุ นแรงมาก
• ทั้ งหมดนี้ เป็ นเรื่ องธรรมดาๆของสังคมประชาธิ ปไตย
• อย่างไรก็ตาม มีข้ อสังเกตว่ าในประเทศประชาธิปไตยที่ มีพัฒนาการมา
  ยาวนาน (mature democracy) เรื่ องนี้ ก็มีเป็ นปกติ แต่ไม่ฮือฮาหวื อ
  หวา คนส่วนใหญ่ไม่ตกเป็ นเหยื่ อของความพยายามเหล่านี้ และจะแยก
  ออกระหว่ างสื่ อที่ มุ่ งเสนอข่าวสารกับการวิเคราะห์ท่ี เที ยงธรรม กับสื่ อที่
  เป็ นเพียง “กระบอกเสียง” ของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง
• ที่ สำา คัญคือสื่ อที่ เป็ นกระบอกเสียงก็มีมากมาย (ไม่ผิดกฎหมาย) แต่
  ประกาศตัวชัดเจนว่ าอยู่ ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง เช่นหนั งสือพิมพ์ของพรรค
  คอมมิวนิ สต์ (ในกรณี กฎหมายยอมให้มีพรรคนี้ )
สื่อมวลชนกับประชาธิปไตย
• บทบาทการสร้ างปริ มณฑลสาธารณะของสื่ อมีความสำาคั ญมากๆในสั งคม
  ประชาธิปไตย แต่ ไม่ค่ อยมีหรื อถูกห้ามอย่างเข้มแข็ งในสั งคมเผด็จการ
• ในสังคมเผด็ จการ (ไม่ ว่ าจะเป็ นฟาสซิสต์ หรือคอมมิวนิ สต์ จะมี “ความจริง ”
  เพี ยงด้านเดียวเท่ านั้ น คื อด้านที่ มาจากภาครัฐ “ความจริง ” ที่ ว่ าอาจจะจริง
  หรือเท็จก็ได้ นั่ นไม่ สำา คั ญเท่ ากับว่ าภาครัฐมีจุ ดประสงค์อะไรจากการออกข่ าว
  ที่ มีเนื้ อหาเช่ นนั้ น เช่ นเยอรมนี สมัยฮิตเลอร์ออกข่าวยำ้ าอยู่ ตลอดว่ าชาวยิวเป็ น
  ผู้ ท่ี ต้องรับผิ ดชอบต่ อการที่ เยอรมนี แพ้สงครามโลกครั้ งที่ หนึ่ ง )
• แต่ในสั งคมประชาธิ ปไตย จำา เป็ นที่ จะต้องมีการรับรอง “เสรีภาพในการแสดง
  ความคิดเห็น” ไว้ ในรั ฐธรรมนูญ ประชาธิปไตยคือประชาชนมีอำา นาจสูงสุด แต่
  ประชาชนจะใช้ อำา นาจนี้ ได้อย่ างมีประสิ ทธิภาพก็จะต้องมีกฎหมายสูงสุดที่
  รั บรองเสรี ภาพนี้ เพื่ อไม่ให้รัฐซึ่ งมีกำา ลังอำานาจอยู่ ในมือ (ตำา รวจทหาร) มาใช้
  อำา นาจนี้ มาปิ ดปากประชาชนเสียเอง ดังนั้ น “ความจริง ” ก็จะมาจากการเปิ ด
  เผยข้อมูลต่ างๆอย่ างไม่ปิ ดบัง ซึ่ งตรงข้ามกับระบอบเผด็จการ
ตกลงสื่อเลือกข้างผิดหรือไม่ผิด?
• จริงๆแล้วเรื่ องนี้ มีหลายระดับ
• ระดับสูงสุด
 • สื่อเลือกข้างประชาธิปไตย ต่อต้านเผด็จการ ต่อสู้เพื่อคงไว้ซึ่งปริมณฑล
   สาธารณะที่เป็ นเวทีอันขาดไม่ได้ของประชาธิปไตย
 • อย่างนี้ ไม่ผิด เพราะประชาธิปไตยไม่ผิด แต่เป็ นการปกครองที่เหมาะสมถูก
   ต้องที่สุด
 • สื่อที่เป็ นปากเสียงของฝ่ ายต่อต้านประชาธิปไตยจะโดนต่อต้าน และควรมี
   กฎหมายเพื่อปราบปรามสื่อแบบนี้ ไม่ให้มีโอกาสมาชักจูงประชาชนได้
   แม้ว่าประชาชนอาจจะมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะแยกแยะได้ว่าสื่อแบบนี้ ต่อ
   ต้านประชาธิปไตย แต่การไม่มีกฎหมายควบคุมก็เท่ากับว่ารัฐส่งสัญญาณ
   ว่าประชาธิปไตยไม่มีความสำาคัญเพียงพอ จะเปลี่ยนเมื่อไหร่ก็ได้ ซึ่งเป็ น
   อันตรายมาก
สื่อเลือกข้างผิดหรือไม่ผิด?
• ระดับรองลงมา
 • แต่หากเป็ นสื่อที่ยอมรับกติกาของประชาธิปไตยด้วยกัน แล้วเลือกข้างตาม
   ความคิดเห็นภายในประชาธิปไตยที่แตกต่างกัน เช่นเรื่องนโยบาย
   เศรษฐกิจ การต่างประเทศ การศึกษา ฯลฯ อย่างนี้ ไม่มีปัญหาอะไร ควร
   สนับสนุนให้มีแบบนี้ มากๆ
ปั ญหาของประเทศไทย
• อย่างไรก็ ตาม ปั ญหาของประเทศไทยก็คือว่ามีความพยายามที่ จะนำา
  เสนอแนวคิดในการปกครองที่ ไม่เป็ นประชาธิปไตย แต่ ใส่เปลือก
  ของประชาธิปไตยไว้เพื่ อสร้างการยอมรับ
• ความขัดแย้งที่ เกิดขึ้ นเป็ นผลจากปั ญหาที่ ส่ั งสมมายาวนานเป็ นสิบๆ
  ปี โดยไม่แก้ไข ทำาให้ มันเละเทะอย่างที่ เป็ นอยู่
• ความขัดแย้งมีหลายมิติ ตั้ งแต่ส่วนตัว สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
  วัฒนธรรม ฯลฯ ถึงทำาให้เรื่ องนี้ ซับซ้อนมาก
• บทบาทของสื่ อที่ ควรจะเป็ นก็คื อว่ า พยายามรักษาเป้ าหมายสูงสุด
  ของการอยูู รูวมกันของคนในสังคม เอาไว้ ไม่ทำาตัวเป็ นเครื่ องมือของ
  บุคคลใดหรือฝ่ ายใด แต่รักษาอุดมคติ ของประชาธิปไตยเอาไว้
 • เที่ยงธรรม
 • แยกข่าวสารกับความคิดเห็นให้ชัดเจน
 • ทำาตัวเป็ นเวทีให้ความคิดเห็นที่แตกต่างได้มาแข่งขันกันอย่างเป็ นธรรม
อะไรที่เป้ าหมายสูงสุดของการอยู่ร่วมกันในสังคม?
• เรามาอยู่ ร่วมกันในสังคมไปทำา ไม?
• เกื อบทุกคนเชื่ อตรงกันว่าได้แก่เสรีภาพที่ จะแสวงหาเป้ าหมายตามที่
  ตนเองปรารถนา ตราบเท่ าที่ ไม่ ไปรบกวนหรือทำา ลายเสรีภาพของคนอื่ นๆ
  ที่ จะแสวงหาเป้ าหมายของเขาในแบบเดียวกั น
 • บางคนอยากหลุดพ้นเป็ นพระอรหันต์
 • บางคนอยากเป็ นเศรษฐี
 • บางคนอยากอยู่อย่างพอเพียง
 • บางคนอยากเห็นลูกๆมีงานทำา มีเกียรติในสังคม
 • ฯลฯ
 • แต่ถาใครอยากฆ่าคนอื่น หรือขโมยของคนอื่น มันอยู่ร่วมกับคนอื่นไม่ได้
       ้
 • ระบอบการปกครองแบบเดียวที่ทำาให้เป็ นแบบนี้ ได้ คือประชาธิปไตย
• ถ้ าสื่ อเลือกข้างที่ จะส่งเสริมเป้ าหมายสูงสุดตรงนี้ ก็จะเป็ นการดี แต่ ถ้า
  เลือกข้างแบบเข้าข้างบุ คคลคนใดหรือกลุ่ มใดโดยเฉพาะก็ เป็ นการทำา ผิ ด
  แน่ นอน

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า

Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยPoramate Minsiri
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
Free speech vs_hate_speech-2
Free speech vs_hate_speech-2Free speech vs_hate_speech-2
Free speech vs_hate_speech-2Soraj Hongladarom
 
Free speech vs Hate Speech by Soraj Hongladarom
Free speech vs Hate Speech by Soraj HongladaromFree speech vs Hate Speech by Soraj Hongladarom
Free speech vs Hate Speech by Soraj HongladaromThai Netizen Network
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยPoramate Minsiri
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...Thongkum Virut
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
อ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
อ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุลอ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
อ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุลYui Nawaporn
 

Semelhante a สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า (20)

Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทยTeam thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
Team thailand ร่วมออกแบบประเทศไทย
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
Free speech vs_hate_speech-2
Free speech vs_hate_speech-2Free speech vs_hate_speech-2
Free speech vs_hate_speech-2
 
Free speech vs Hate Speech by Soraj Hongladarom
Free speech vs Hate Speech by Soraj HongladaromFree speech vs Hate Speech by Soraj Hongladarom
Free speech vs Hate Speech by Soraj Hongladarom
 
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทยเครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
เครือข่ายพลังบวก ปลุกพลังบวก เปลี่ยนประเทศไทย
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
เอกสารศึกษาการสร้างการสร้างประชาธิปไตยทำอย่างไร จึงจะถูกต้องตามหลักวิชาที่แท้...
 
Dsw alther media present 2011
Dsw alther media present 2011Dsw alther media present 2011
Dsw alther media present 2011
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
S mbuyer 110
S mbuyer 110S mbuyer 110
S mbuyer 110
 
Citizen Media
Citizen MediaCitizen Media
Citizen Media
 
อ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
อ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุลอ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
อ.วีรบูรณ์ วิสารทสกุล
 

Mais de Soraj Hongladarom

Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsEthical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsSoraj Hongladarom
 
Relations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsRelations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsSoraj Hongladarom
 
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesPromoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesSoraj Hongladarom
 
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีSoraj Hongladarom
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นSoraj Hongladarom
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandSoraj Hongladarom
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economySoraj Hongladarom
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsSoraj Hongladarom
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยSoraj Hongladarom
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาSoraj Hongladarom
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนSoraj Hongladarom
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์Soraj Hongladarom
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacySoraj Hongladarom
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนSoraj Hongladarom
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการSoraj Hongladarom
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningSoraj Hongladarom
 

Mais de Soraj Hongladarom (20)

Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of DrugsEthical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
Ethical Issues in Compulsory Licensing of Drugs
 
Relations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human RightsRelations between Human Dignity and Human Rights
Relations between Human Dignity and Human Rights
 
Pittsburgh-info-ethics.pptx
Pittsburgh-info-ethics.pptxPittsburgh-info-ethics.pptx
Pittsburgh-info-ethics.pptx
 
PAAL-Presentation.ppt.ppt
PAAL-Presentation.ppt.pptPAAL-Presentation.ppt.ppt
PAAL-Presentation.ppt.ppt
 
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universitiesPromoting research integrity - a mission for Thai universities
Promoting research integrity - a mission for Thai universities
 
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนีฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
ฮิตเลอร์กับการเลือกตั้งในเยอรมนี
 
Introduction to Bioethics
Introduction to BioethicsIntroduction to Bioethics
Introduction to Bioethics
 
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้นชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
ชีวจริยศาสตร์เบื้องต้น
 
New law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailandNew law on surrogacy in thailand
New law on surrogacy in thailand
 
Big data and the sharing economy
Big data and the sharing economyBig data and the sharing economy
Big data and the sharing economy
 
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care RobotsEthical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
Ethical and Legal Dimensions of Elderly Care Robots
 
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
 
ปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษาปรัชญาภาษา
ปรัชญาภาษา
 
Human dignity
Human dignityHuman dignity
Human dignity
 
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียนประชาธิปไตยในโรงเรียน
ประชาธิปไตยในโรงเรียน
 
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
การเรียนการสอนกับความคิดเชิงวิจารณ์
 
Ethics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational SurrogacyEthics of Gestational Surrogacy
Ethics of Gestational Surrogacy
 
ความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียนความดีในแบบเรียน
ความดีในแบบเรียน
 
เขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการเขียนงานวิชาการ
เขียนงานวิชาการ
 
Ethical issues in e-learning
Ethical issues in e-learningEthical issues in e-learning
Ethical issues in e-learning
 

สื่อเลือกข้างผิดหลักจริยธรรมหรือเปล่า

  • 1. สื่อเลือกข้างผิดหลัก จริยธรรมหรือเปล่า? โสรั จจ์ หงศ์ ลดารมภ์ ภาควิ ชาปรั ชญา คณะอั กษรศาสตร์ จุ ฬาลงกรณ์ ม หาวิ ทยาลั ย
  • 2. ประเด็นอภิปราย • จรรยาบรรณ (code of ethics) กับจริยธรรม (ethics) • สื่ อมีบทบาทอย่างไรในสังคมสมัยใหม่ • อะไรคื อเป้ าหมายสูงสุดของการอยู่ ร่วมกันของคนในสังคม? • สื่ อ “เลือกข้าง” – “ข้าง” ที่ ว่ ามันเป็ นยังไง? • ตกลงสื่ อเลือกข้างได้ม้ั ย ?
  • 3. “จรรยาบรรณ” กับ “จริยธรรม” • สองอย่างนี้ ไม่เหมือนกัน • “จรรยาบรรณ” เป็ นประมวลกฎเกณฑ์สำาหรับคนกลุ่ มหนึ่ งปฏิบัติ ตาม • จรรยาบรรณแพทย์ • จรรยาบรรณทนายความ • จรรยาบรรณสื่อมวลชน • จรรยาบรรณอาจารย์มหาวิทยาลัย • “จริยธรรม” เป็ นการคิดพิจารณาว่ าอะไรถูกอะไรผิ ด อะไรควรไม่ ควร • การศึกษาปั จจุบันไม่ได้ให้ความสำาคัญแก่เรื่องนี้ แต่ไปให้ความสำาคัญแก่ การบอกหรือสั่งสอนเฉยๆว่าอะไรทำาได้ อะไรทำาไม่ได้ • แต่จริงๆต้องมีการคิดอภิปราย ใช้เหตุผล ให้รู้ว่าที่อย่างนี้ ทำาไม่ได้ มันทำาไม่ ได้เพราะเหตุใด
  • 4. บทบาทของสื่อมวลชนในสังคมสมัยใหม่ • เรื่ องนี้ ก็เรียนมากันมาก แต่ไม่ค่อยซึมซับ • สังคมโบราณไม่มีความจำา เป็ นต้องมี “สื่ อมวลชน” ถ้าทางการมีอะไร จะแจ้ งให้ประชาชน ก็ใช้ วิธีเรียกประชุ มชาวบ้าน แล้วมีอาลักษณ์มา อ่านประกาศหรือโองการ หรือไม่ก็ ใช้ วิธีเอาป้ ายไปปั กไว้ ตามต้นไม้ หรือในตลาด • ถ้าชาวบ้านจะสื่ อสารกันเอง ก็ ใช้ วิธีเดินไปบอกกั น หรือวานเด็กวิ่ ง ไปบอก ฯลฯ • สิ่ งที่ เป็ นข่าวก็จะมาจากชาวบ้านบอกกันเอง หรือทางการอ่านให้ฟัง ดังๆ • (ปั จจุบันก็ยังมีอยู่ แถวบ้านผมเปิ ดวิทยุประเทศไทยทุกเช้าดังทั่วตลาด) • ถ้าเป็ นยามสงครามก็ อาจใช้ นกพิราบ หรือสัญญาณควั น หรือ สัญญาณธง • พวกนี้ ไม่ใช่ ส่ ื อมวลชน
  • 5. สื่อมวลชน • สื่ อมวลชนเป็ นปรากฏการณ์ของสังคมสมัยใหม่ล้วนๆ เป็ นผลจาก การพัฒนาเทคโนโลยี (แท่นพิมพ์) และสังคมที่ ขยายตัวมากกว่ า สังคมโบราณ • แทนที่ จะอาศั ยการอ่านโองการให้คนจำา นวนมากๆฟั ง ก็มีการผลิต “ข่าว ” โดยองค์กรที่เป็ นเอกชนเพื่อการรับรู้ของคนจำานวนมาก ทำาให้ ภาครัฐต้ องปรับตั ว จะเห็ นได้ว่ าลักษณะสำาคัญคือภาครัฐไม่มี การผูกขาดการผลิตข่ าวอี กต่อไป • ลักษณะนี้ เองที่ ส่ ื อกลายเป็ นสื่ อ มวลชน • สื่ อมวลชนทำาให้ เกิดสิ่ งที่ เรียกว่า “มณฑลสาธารณะ ” (public sphere) ที่ เป็ นที่ พบปะแลกเปลี่ ยนความคิดเห็น ข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ ผ่านทางตัวสื่ อ (หนั งสือพิมพ์ ) อันทำาให้เกิดการผลักดัน “ความคิด เห็ นของสาธารณชน” (public opinion)
  • 6. การสร้างความคิดเห็นของคนในสังคม • เมื่ อสื่ อเป็ นผู้ เปิ ดปริ มณฑลสาธารณะ สิ่ งที่ เกิดขึ้ นตามมาก็คือมีการ พยายามใช้ส่ ื อเพื่ อปรั บเปลี่ ยนกระแสความคิดเห็นของคนในสังคมให้ เป็ นไปตามต้องการ • ยิ่ งในปั จจุบันมีส่ ื อประเภท social media การสร้างกระแสเป็ นไปอย่าง กว้างขวางรุ นแรงมาก • ทั้ งหมดนี้ เป็ นเรื่ องธรรมดาๆของสังคมประชาธิ ปไตย • อย่างไรก็ตาม มีข้ อสังเกตว่ าในประเทศประชาธิปไตยที่ มีพัฒนาการมา ยาวนาน (mature democracy) เรื่ องนี้ ก็มีเป็ นปกติ แต่ไม่ฮือฮาหวื อ หวา คนส่วนใหญ่ไม่ตกเป็ นเหยื่ อของความพยายามเหล่านี้ และจะแยก ออกระหว่ างสื่ อที่ มุ่ งเสนอข่าวสารกับการวิเคราะห์ท่ี เที ยงธรรม กับสื่ อที่ เป็ นเพียง “กระบอกเสียง” ของฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง • ที่ สำา คัญคือสื่ อที่ เป็ นกระบอกเสียงก็มีมากมาย (ไม่ผิดกฎหมาย) แต่ ประกาศตัวชัดเจนว่ าอยู่ ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ ง เช่นหนั งสือพิมพ์ของพรรค คอมมิวนิ สต์ (ในกรณี กฎหมายยอมให้มีพรรคนี้ )
  • 7. สื่อมวลชนกับประชาธิปไตย • บทบาทการสร้ างปริ มณฑลสาธารณะของสื่ อมีความสำาคั ญมากๆในสั งคม ประชาธิปไตย แต่ ไม่ค่ อยมีหรื อถูกห้ามอย่างเข้มแข็ งในสั งคมเผด็จการ • ในสังคมเผด็ จการ (ไม่ ว่ าจะเป็ นฟาสซิสต์ หรือคอมมิวนิ สต์ จะมี “ความจริง ” เพี ยงด้านเดียวเท่ านั้ น คื อด้านที่ มาจากภาครัฐ “ความจริง ” ที่ ว่ าอาจจะจริง หรือเท็จก็ได้ นั่ นไม่ สำา คั ญเท่ ากับว่ าภาครัฐมีจุ ดประสงค์อะไรจากการออกข่ าว ที่ มีเนื้ อหาเช่ นนั้ น เช่ นเยอรมนี สมัยฮิตเลอร์ออกข่าวยำ้ าอยู่ ตลอดว่ าชาวยิวเป็ น ผู้ ท่ี ต้องรับผิ ดชอบต่ อการที่ เยอรมนี แพ้สงครามโลกครั้ งที่ หนึ่ ง ) • แต่ในสั งคมประชาธิ ปไตย จำา เป็ นที่ จะต้องมีการรับรอง “เสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น” ไว้ ในรั ฐธรรมนูญ ประชาธิปไตยคือประชาชนมีอำา นาจสูงสุด แต่ ประชาชนจะใช้ อำา นาจนี้ ได้อย่ างมีประสิ ทธิภาพก็จะต้องมีกฎหมายสูงสุดที่ รั บรองเสรี ภาพนี้ เพื่ อไม่ให้รัฐซึ่ งมีกำา ลังอำานาจอยู่ ในมือ (ตำา รวจทหาร) มาใช้ อำา นาจนี้ มาปิ ดปากประชาชนเสียเอง ดังนั้ น “ความจริง ” ก็จะมาจากการเปิ ด เผยข้อมูลต่ างๆอย่ างไม่ปิ ดบัง ซึ่ งตรงข้ามกับระบอบเผด็จการ
  • 8. ตกลงสื่อเลือกข้างผิดหรือไม่ผิด? • จริงๆแล้วเรื่ องนี้ มีหลายระดับ • ระดับสูงสุด • สื่อเลือกข้างประชาธิปไตย ต่อต้านเผด็จการ ต่อสู้เพื่อคงไว้ซึ่งปริมณฑล สาธารณะที่เป็ นเวทีอันขาดไม่ได้ของประชาธิปไตย • อย่างนี้ ไม่ผิด เพราะประชาธิปไตยไม่ผิด แต่เป็ นการปกครองที่เหมาะสมถูก ต้องที่สุด • สื่อที่เป็ นปากเสียงของฝ่ ายต่อต้านประชาธิปไตยจะโดนต่อต้าน และควรมี กฎหมายเพื่อปราบปรามสื่อแบบนี้ ไม่ให้มีโอกาสมาชักจูงประชาชนได้ แม้ว่าประชาชนอาจจะมีวุฒิภาวะเพียงพอที่จะแยกแยะได้ว่าสื่อแบบนี้ ต่อ ต้านประชาธิปไตย แต่การไม่มีกฎหมายควบคุมก็เท่ากับว่ารัฐส่งสัญญาณ ว่าประชาธิปไตยไม่มีความสำาคัญเพียงพอ จะเปลี่ยนเมื่อไหร่ก็ได้ ซึ่งเป็ น อันตรายมาก
  • 9. สื่อเลือกข้างผิดหรือไม่ผิด? • ระดับรองลงมา • แต่หากเป็ นสื่อที่ยอมรับกติกาของประชาธิปไตยด้วยกัน แล้วเลือกข้างตาม ความคิดเห็นภายในประชาธิปไตยที่แตกต่างกัน เช่นเรื่องนโยบาย เศรษฐกิจ การต่างประเทศ การศึกษา ฯลฯ อย่างนี้ ไม่มีปัญหาอะไร ควร สนับสนุนให้มีแบบนี้ มากๆ
  • 10. ปั ญหาของประเทศไทย • อย่างไรก็ ตาม ปั ญหาของประเทศไทยก็คือว่ามีความพยายามที่ จะนำา เสนอแนวคิดในการปกครองที่ ไม่เป็ นประชาธิปไตย แต่ ใส่เปลือก ของประชาธิปไตยไว้เพื่ อสร้างการยอมรับ • ความขัดแย้งที่ เกิดขึ้ นเป็ นผลจากปั ญหาที่ ส่ั งสมมายาวนานเป็ นสิบๆ ปี โดยไม่แก้ไข ทำาให้ มันเละเทะอย่างที่ เป็ นอยู่ • ความขัดแย้งมีหลายมิติ ตั้ งแต่ส่วนตัว สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ฯลฯ ถึงทำาให้เรื่ องนี้ ซับซ้อนมาก • บทบาทของสื่ อที่ ควรจะเป็ นก็คื อว่ า พยายามรักษาเป้ าหมายสูงสุด ของการอยูู รูวมกันของคนในสังคม เอาไว้ ไม่ทำาตัวเป็ นเครื่ องมือของ บุคคลใดหรือฝ่ ายใด แต่รักษาอุดมคติ ของประชาธิปไตยเอาไว้ • เที่ยงธรรม • แยกข่าวสารกับความคิดเห็นให้ชัดเจน • ทำาตัวเป็ นเวทีให้ความคิดเห็นที่แตกต่างได้มาแข่งขันกันอย่างเป็ นธรรม
  • 11. อะไรที่เป้ าหมายสูงสุดของการอยู่ร่วมกันในสังคม? • เรามาอยู่ ร่วมกันในสังคมไปทำา ไม? • เกื อบทุกคนเชื่ อตรงกันว่าได้แก่เสรีภาพที่ จะแสวงหาเป้ าหมายตามที่ ตนเองปรารถนา ตราบเท่ าที่ ไม่ ไปรบกวนหรือทำา ลายเสรีภาพของคนอื่ นๆ ที่ จะแสวงหาเป้ าหมายของเขาในแบบเดียวกั น • บางคนอยากหลุดพ้นเป็ นพระอรหันต์ • บางคนอยากเป็ นเศรษฐี • บางคนอยากอยู่อย่างพอเพียง • บางคนอยากเห็นลูกๆมีงานทำา มีเกียรติในสังคม • ฯลฯ • แต่ถาใครอยากฆ่าคนอื่น หรือขโมยของคนอื่น มันอยู่ร่วมกับคนอื่นไม่ได้ ้ • ระบอบการปกครองแบบเดียวที่ทำาให้เป็ นแบบนี้ ได้ คือประชาธิปไตย • ถ้ าสื่ อเลือกข้างที่ จะส่งเสริมเป้ าหมายสูงสุดตรงนี้ ก็จะเป็ นการดี แต่ ถ้า เลือกข้างแบบเข้าข้างบุ คคลคนใดหรือกลุ่ มใดโดยเฉพาะก็ เป็ นการทำา ผิ ด แน่ นอน