SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 80
Baixar para ler offline
เอกสารการประยุกตการใชงานกับการกอสรางดวยโปรแกรม
SketchUp PRO2017
เอกสารการประยุกตการใชงานกับการกอสรางดวยโปรแกรม
SketchUpPRO2017
จากการใชงานจริงกับงานเฉพาะทางนํามาประยุกตใชกับงานทั่วไป
3DSKETCHUPFOR PRE-CONSTRUCTIONTHAILAND
คําแนะนํา
สําหรับเอกสารฉบับนี้จัดทําเพื่อประกอบการสอนหลักสูตรการประยุกตใชงานSketchUp กับงานกอสรางนะครับ
ซึ่งเนื้อหาจะเปนการรวบรัดเพื่อใชบรรยายและอธิบายซึ่งอาจจะทําใหเขาใจไดยากสําหรับผูที่มีพื้นฐานการใชงานในระดับเพิ่งเริ่มตนนะครับ
ดังนั้นจะตองมีประสบการณการใชงานโปรแกรมนี้พอสมควร ในลักษณะของการขึ้นโมเดลและเขาใจการใชเครื่องมือพื้นฐานบางตัวแลวทั้งใน
SketchUpและLAYOUT
เอกสารฉบับนี้จะเปนการสอนตั้งแตการเปดโปรแกรมการตั้งคากระดาษจนไปถึงการไดแบบสําหรับงานกอสราง
และการประยุกตการใชงานในเรื่องการบริหารโมเดลกอสราง ซึ่งหากมีการผิดพลาดประการใดผูแตงก็ขออภัยมาใน ณ ที่นี้ดวย
และหวังวาจะเปนประโยชนสําหรับคนที่ตองการหาความรูใหมๆกับการใชโปรแกรม SketchUp
ขอแสดงความนับถือ
นายชูพล บํารุงโชค
3D SKETCHUP FOR PRE-CONSTRUCTION THAILAND
สารบัญ
เรื่อง หนา
1 การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel 1
2 การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังSketchUp 6
3 การสรางGEO -MODELING จากSketchUp และExtension 10
4 การทําMassModelและการทําเสนContour 14
5 การทําProfile-CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ 19
6 การจัดผังบริเวณดวยXref 30
7 การใชคําสั่งOutlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ 35
8 การประยุกตใชExtensionใหเหมาะสมกับงานกอสราง 38
9 การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ 43
10 การใชงาน LAYOUTSKETCHUP 58
3D SKETCHUP FOR PRE-CONSTRUCTION THAILAND
หนาที่ 1
บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel
3DSketchUpforPre-constructionThailand
เมื่อทําการเปดโปรแกรม SketchUpPro2017
ขึ้นมาตอนเริ่มตนจะใหทําการเลือกTemplateซึ่งจะมีหนวยกํากับไวดวยนะครับ
เชน นิ้วฟุตเมตร มิลลิเมตร
เลือกตามความเหมาะสมตามมาตรฐานของงานแตละทานไดเลย
ซึ่งหนวยพวกนี้สามารถแกไขภายในไดอีกครั้งนะครับ เมื่อไดแลวก็กดที่Start
usingSketchUpตอไดเลย
หนาตางการทํางานก็จะเริ่มขึ้นเลยนะครับ ซึ่งTool
ตางของแตละคนก็อยูที่การนําเอาออกมาใชนะครับ
ซึ่งอาจจะไมเหมือนกันตามความถนัดของแตละคนไปที่คําสั่ง
View>Toolbars สามารถเลือกมาใชงานไดเลยนะครับ . ...
.^_^
การตั้งคาตําแหนงที่ตั้งของ Modelจะอยูตรงนี้นะครับ
สามารถกดดูไดเลยวาตอนนี้ตําแหนงมันอยูตรงไหน ซึ่งก็จะมีหนาตางModelinfo เปดขึ้นมา
และจะอยูในหัวขอGeo-Location
เกร็ดความรู
องศาทศนิยมเปนคาที่ไดจากการสํารวจนะครับซึ่งคาที่ไดจากกลองงานสํารวจเปนคาUTMนั้นก็คือคา X,Y
เราสามารถแปลงคาใหเปน Latitude, Longitudeไดนะครับ
ในตอนเริ่มตนนั้นเมื่อเปดโปรแกรมขึ้นมาคา GPSชุดแรกจะไดมาจากตําแหนงทาง Internetนะครับ
นั้นคือตําแหนงปจจุบันของคุณที่นั่งทํางานอยู
AddLocation≥การระบุตําแหนงจากภาพถายดาวเทียมโดยเปนขอมูลจากGoogleEarthจะครับ
ซึ่งแตละพื้นที่จะมีการอัพเดทขอมูลที่ไมเหมือนกัน
Set ManualLocation≥คือการตั้งคาตําแหนงโดยการปอนขอมูลลงไปซึ่งจะเปนในระบบ
องศาทศนิยม ยกตัวอยางเชน 19.1458N ,145.2514Eหรือ 58.3246N ,47.5487W เปนตน
ในการตั้งคาตําแหนงที่ตองของโมเดลนั้นเปนการนําคาหมุดที่ไดจากการสํารวจมาเปนจุดอางอิงนะครับซึ่งขอมูลชุดนี้ตองมีความแมนยํา ชัดเจน
และเปนที่ตกลงยอมรับกันแลววาใชเปนจุดอางอิงไดหามแกไขนะครับ
บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel
หนาที่2
3DSketchUpforPre-constructionThailand
หลังจากที่ตั้งคา Geo-locationเรียบรอยแลวนะครับ มันจะไดแตคา X,Y เทานั้นนะครับตอมาในแกน Zและมุมที่จะตองบิดนั้นอยูตรงนี้ครับ
ปรับมุมมองภาพใหเห็นทั้ง3แกนกอนนะครับ แลวClickขวา ที่แกนสีไหนก็ไดหรือจะไปเลือก
Click ที่จุด Original เลยก็ไดครับ แลว..
จะขึ้นคําสั่งPlace, Move, Reset,AlignView,Hideนะครับที่เห็นในภาพที่มันเกินออกมา 2
คําสั่งเพราะมีPluginนะครับ
Place=>เปนคําสั่งตั้งคาตําแหนงแกนแบบเลือกวางตามตําแหนงไดเลยตามซึ่งจะมีแกนตัวใหมวิ่งตามลูกศรของเรานะครับ
ซึ่งมันจะใหเรากําหนดทิศทางของแกนไดเอง ถาไดลองไปแลวอยาตกใจนะครับวาเปลี่ยนตําแหนงไปแลวอยากไดกลับคืน
ใหทําตามขึ้นตอนเริ่มตน ไปที่ Reset
Move=> เปนคําสั่งที่เราสามารถปอนคาเองไดเลยซึ่งในตัวนี้คา X,Y เราไดกําหนดผาน Geo-Locationไปแลวนะครับ
เราจะไมปอนคาเขาไปแตจะเพิ่มเพียงแคคาระดับ Zนะครับวา หมุดอางอิงเราอยูระดับที่เทาไร หรือจะกําหนดเปน0.00ก็ไดและคา
Rotateคือคาองศาของการเอียงของแกนเราจะบิดเฉพาะแกน Zอยางเดียวนะครับ
Rotateแกน Z
การRotateแกน Zโดยใชคาอะไรมาเปนตัวกําหนด. ... ... .
จากที่ไดลองผิดลองถูกมา ปรากฏงา แกนของ SketchUpในแนวแกน Yจะทํามุมกับทิศเหนือจริงเสมอนั้นก็แสดงวาGreenคือทิศเหนือRedคือ
ทิศตะวันออก(เสนทึบทั้งหมด)ซึ่งเราจึงไมจําเปนตองบิดแกนก็ไดหรือหากตองการบิดก็บิดไปตามมุมของเสนวงรอบที่ทําการคํานวณคามาเรียบรอยแลว
เพื่อใหสามารถทํางานไดสะดวก
เกร็ดความรู
Azimuthคือ
คามุมที่ไดจากการทําวงรอบภายในงานกอสรางเพื่อกําหนดขอบเขตของงานโดยเปนหมุดสํารวจที่ทําการปกไวหามรื้นถอนกอนไดรับอนุญาตินะครั
บ เพราะมันสําคัญมาก ๆสําหรับงานที่มีความละเอียดมากและมีงานสํารวจมาเกี่ยวของบอยๆ
หนาที่ 3
บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel
3DSketchUpforPre-constructionThailand
AlignView =>คือ การปรับมุมมองใหเปนระนาบเดียวกันกับแกนนะครับ
Hide≥ คือ การซอนแกนถาซอนไปแลวกดCtrl+Z ก็ไมกลับคืนมาครับตองไปที่View>
Axes แลวมันจะกลับมานะครับ
การประยุกตใชนะครับ เราจะใชกับ Extensionที่มีชื่อวา Point GadgetV2เพื่อนําเอาคา Coordinateเขามากอนแลวนํามาตั้งคาตามหมุดOriginal ที่เราตั้งคาไว
และเราสามารถนําออกไฟลใหเปนKMZ,KMLไดนะครับเพื่อเปดในGoogleEarth Pro นะครับ ซึ่งจะไดตามรูปขางลาง
ตัววนี้เปนขอมูลที่ไดจากการสํารวจในโครงการของผูเขียนเพื่อนําเสนอขอมูลแกผูบริหารนะครับวามันอยูตรงไหนขอบเขตพอกับการชงานหรือไมฯลฯ
บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel
หนาที่4
3DSketchUpforPre-constructionThailand
หรือจะเปนงานนําเสนอทางเขาระยะทาง16กิโลเมตรจาก ถนนหมายเลข13ใตของสปป.ลาว เขามายังโครงการโดยนําเสนอตอเจาแขวงคํามวนโดยในLayout
จัดรูปแบบนําเสนอ นะครับ
และการนําเขาคา Geo-LocationจากGoogleEarthจากตัวโปรแกรม SketchUpเองนะครับแลวมาทํา Contourเพื่อนําเสนอ
เกร็ดความรู
Contour คือ เสนแสดงระดับความสูงของพื้นที่นั้นๆ ซึ่งขึ้นอยูกับการกําหนดคาความชันของเสน เชน 0.2, 0.5,1 ,5,10 เมตรเปนตน
ขึ้นอยูกับการออกแบบและการตองการความละเอียดของขอมูล
หนาที่ 5
บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
บทที่2 การนําเขาขอมูลCoordinate เขามายัง SketchUp
หนาที่6
3DSketchUpforPre-constructionThailand
การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังตัวโปรแกรม SketchUpในสวนนี้ตองใชExtensionที่มีชื่อวา Point GadgetV2 เขามาเปนตัวชวยในการนําเขาขอมูลนะครับ
วิธีการก็ไมไดยากซับซอนซึ่งงายมากและจะเปนวิธีการที่การตอเนื่องจากบทที่1ซึ่งเราไดตั้งคาแกนไวเรียบรอยแลวนะครับ
UpdatePoints
ShootPoints
InputCoordinate
InspectPoints
Report Points
Converttoconstructionpoints
Importfile
ExportCVS
Createlinework
Colorbylayer
PointGadget V2 คือ Pluginที่ถูกสรางขึ้นมาเพื่อนําเขาขอมูลDataSurveyจากนามสกุลไฟล.txt และ.cvsแลวสามารถสรางโมเดลเปน Point
ตามที่ไดเก็บขอมูลมาจากกลองและการบันทึกขอมูลซึ่งจะตองเปนคาพิกัดกริด(Universal TransverseMercator) ซึ่งคาพิกัดกริดหากใครไดศึกษา
การทําสํารวจหรือใชงานนั้นจะรูดี
ซึ่งจะใชคําสั่งImportfileเขามากอนนะครับ
เมื่อกดที่คําสั่งก็จะมีการเปดหนาตางขึ้นมาและใหเราทําการกําหนดคาตามที่ขอมูลเรามีนะครับวาหนวยเปนอะไร
การกําหนดรูปแบบตารางไฟล.CSV
A≥ หมายเลขหมุดTopo
B และC≥คา E,N หรือ X,Yนั้นเอง
D ≥คาระดับความสูงในแนวแกนZ
E ≥ชื่อของหมุดซึ่งไดจากการบันทึกจากกลองวาตําแหนงนั้นคืออะไรเสาไฟ ตนไม
บอพัก เปนตน
www.Extensionsketchup.com แหลงรวบรวม ExtensionของSketchUpมีทั้งฟรีและจายเงินนะครับ
หนาที่ 7
บทที่ 2 การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังSketchUp
3DSketchUpforPre-constructionThailand
เมื่อนําเขาไฟลเรียบรอยแลวก็จะมีหมุดเกิดขึ้นตามขอมูลที่ไดมานะครับ หากหาไมเจอใหไปที่ Outlinerซึ่งอยูที่ Tray ดานขวามือ
Tray
Trays
คือหนาตางที่ทําขึ้นมาใหมสําหรับ SketchUpเรื่มมีมาตั้งแตตอน2015เพื่อใหการทํางานสะดวกขึ้นสามารถAuto Hideได
ซึ่งสวนประกอบของTrays นั้นก็จะเปนหนาตางหลักๆ ที่ใชงานเปนประจําเชนLayers,EntityInfo,Outliner, Stylesเปนตน
ครับผม ถาหาเจอแลวเรามาดูกันตอครับวายังไงตอ
หากไปดูที่Layers จะมีLayers ใหม ๆเพิ่มขึ้นมาซึ่งมันเกิดจากชื่อของหมุดที่เราเก็บขอมูลมาซึ่งในสวนของ
Outlinerก็จะแจงชื่อหมุดเชนกัน แตไมแสดงหมายเลขของหมุดอยาเพิ่งตกใจครับ . ... .มาดูกันตอ
ReportPoints
ReportPoint
เปนคําสั่งที่จะเปดขอมูลของหมุดทั้งหมดที่อยูใน SketchUpนะครับกดเลย
บทที่2 การนําเขาขอมูลCoordinate เขามายัง SketchUp
หนาที่8
3DSketchUpforPre-constructionThailand
Inspect Points
Inspectpointคือคําสั่งที่ใชตรวจดูคาCoordinate
ในโมเดลซึ่งจะแสดงขอมูลพื้นฐานของหมุดคาขึ้นมาวาอยูในพิกัดใดหมายเลขใด
ระดับเทาไรชื่อวาอยางไร
Createlinework
Createlineworkคือ คําสั่งที่จะสรางEDGEไปตามหมุดตางๆ
ตามที่เราไดสรางขึ้นและนําขอมูลเขามา ซึ่งเสนจะเชื่อมตอจากหมุดที่1ไปยังหมุดที่n
ตามจํานวนหมุดที่มีโดยแบงตามประเภทของหมุดนั้นๆ
EDGEที่ถูกสรางขึ้นเมื่อเปดคําสั่งCreatelinework
เกร็ดความรู
Createlineworkเหมาะสําหรับตองการทราบขอบเขตของการทํางานเมื่อประยุกตใชในคําสั่ง Shoot Points
ShootPoints
Shootpointsคือ คําสั่งที่จะสรางหมุดขึ้นมาเองโดยที่
เราเปนตัวกําหนดตําแหนงลงบนโมเดลไดเลยซึ่งมันจะถามหาLayers
ของหมุดดวยนะครับกอนการShootpoints
หมุดสีฟา ที่สรางขึ้นใหมจากคําสั่งShoot Points
เมื่อใชคําสั่งPoint Report ออกมาจะมีคา Coordinates,Point ,Type,Feature
แสดงผลออกมา
หนาที่ 9
บทที่ 2 การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังSketchUp
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
บทที่3 การสรางGEO-MODELINGจากSketchUpและ Extension
หนาที่10
3DSketchUpforPre-constructionThailand
หลังจากมีการนําเขาขอมูลSurveyแลวตอมาเราจะทําการสราง GeoModel จากคาที่นําเขามาโดยมีหลากหลายวิธีซึ่งผมจะนําเสนออยู2วิธีนะครับ คือ
1.การใชคําสั่งCreateLineworkแลวสราง Terrainขึ้นมา
2.การปรับหมุดโดยตรงแลวสรางTerrainขึ้นมา
ซึ่ง2วิธีนี้ขอมูลที่จะแสดงออกมาจะไมแตกตางกันมากแตวิธีการจะไมเหมือนกันซึ่งจะเริ่มเลยนะครับในวิธีที่1
เครื่องมือที่ตองใชงาน
1.Sandbox
2.PointGadget V2
เริ่มตนจากการเลือกไปที่หมุดกอนนะครับ แลวใชคําสั่งShootPoints
COPYออกมาเลยนะครับ โดยเลือกเสนที่เกิดขึ้นใหมทั้งหมดเลยมันจะเปน Groupนะครับ แลวก็
Explode แลวเลือกเสนทั้งหมดกดที่คําสั่ง FromContour
Contourที่เกิดขึ้นจากคําสั่งนี้ไมเหมาะสําหรับงานถนนนะครับ เพราะเสนมันจะวิ่งไปตามลําดับของPointที่เก็บคามา ซึ่งมันไมสวยครับ แตถาเปนเนินดิน
หรือเปนที่ราบที่สามารถเก็บเปนแนวกวางไดเรื่อยๆวิธีนี้จะใชไดดีมาก
PointGadget V2
Sandbox
ตองShootPointsใหครบทุกLayersนะครับ แลวมันจะสราง
Layerขึ้นมาใหมชื่อวา Linework
หนาที่11
บทที่ 3การสรางGEO-MODELINGจาก SketchUp และ Extension
3DSketchUpforPre-constructionThailand
วิธีที่1 ผานไปแลวมาดูอีกหนึ่งวิธีกันครับ
เครื่องมือที่ตองใชงาน
1.Sandbox
2.PointGadget V2
วิธีนี้จะแตกตางจากวิธีที่ 1อยางสิ้นเชิงเพราะเราจะทําการแกไขโมเดลหมุดที่นําเขามาโดยและสรางTerrainขึ้นมาใหม
1.เริ่มจากCopy หมุดออกมาวางไวใกลๆกันนะครับ จําระยะที่วางไวดวยนะครับ
ใหอยูในระนาบเดียวกันดวยนะครับ เพื่อไมใหระดับคลาดเคลื่อน
2. หลังจากนั้น MakeUniqueนะครับ เพื่อทําการไมใหComponent มันเชื่อมคุณสมบัติหากัน
และเราก็เริ่มแกไขกันเลยครับ
3. เริ่มจากลบเสนGuideตรงแกนกลางออก แลวลากเสนLineเขามาแทน
1.
2.
3.
4.และลบตัวหมุดออกใหเหลือแตเสนแกนที่เราสรางขึ้นใหมแลว Explodeออกทุกหมุดนะครับ
5.เมื่อExplodeออกแลวจะเหลือแตเสนนะครับที่นี้เลือกเสนทั้งหมดนะครับแลวไปที่คําสั่งForm
Contoursก็จะไดTerrainออกมานะครับ
4.
5.
6. ไดContourกันมาแลวก็ยายเขาไปใหอยูตามตําแหนงเดิมนะครับ
ซึ่งก็ถือวาไดโมเดลที่เปนลักษณะ Area แลวเหลือแตตัวVolumnซึ่งจะนําเสนอในบทตอไป
บทที่3 การสรางGEO-MODELINGจากSketchUpและ Extension
หนาที่12
3DSketchUpforPre-constructionThailand
เกร็ดความรู
โมเดลที่มีขนาดใหญยิ่งใชเวลานานมากดังนั้นเตรียมแผนดีๆในการขึ้นโมเดลGEOเพราะจะทไใหเสียเวลามากๆ
ควรแบงพื้นที่ใหล็กลงจะดีกวาเพื่อใหงายตอการทํางาน
ตัวอยางจากงานบางสวนของผูแตงเองซึ่งเปนงานที่มีขนาดใหญมาก แตสามารถใช SketchUpทํางานในลักษณะนี้
หนาที่ 13
บทที่ 3การสรางGEO-MODELINGจาก SketchUp และ Extension
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
บทที่4 การทํา Mass Model และการทําเสน Contour
หนาที่14
3DSketchUpforPre-constructionThailand
FormContour
FromScratch
Smoove
Stamp
Drape
AddDetail
Filp Edge
หลังจากที่เรานําเอาหมุดเขามาแลวนะครับ และตั้งคาแกนตําแหนงที่ตั้งเปนที่เรียบรอยแลวตอไปนี้ก็จะเปนเรื่องที่มีความสําคัญมาก ๆคือการทํา MassModelและ
Contourเพราะหลังจากนี้ไปจะเปนการประยุกตเขากับงาน ถนนและอาคารนะครับ
ซึ่งตัวอยางที่ผมจะนํามาใชเปนงานที่อยูที่สปป.ลาว นะครับงานปรับปรุงพื้นที่เพื่อทําเปนสวนเกษตรพอเพียงพื้นที่ประมาณ 20 ไรโดยเราจะเอาแตคาSurvey
ที่ไดมาทําการประยุกตใชนะครับโดยสมมุติใหวาจะมีการตัดถนนเขามายังพื้นที่และสรางอาคาร 1หลังนะครับมาดูกันเลย
กอนอื่นนะครับเราตองทําใหเปนMass Model กอนนะครับหรือจะทํา Contour
กอนก็ไดนะครับไมผิดแนนอนเพราะวิธีการในSketchUp
มันดิ้นไดเสมอครับอยูที่ความถนันของแตละบุคคล
1.โดยDoubleClick เขาไปที่Group ของ Surfaceที่เราสรางขึ้นกอนนะครับ
2.สราง faceที่ดานใตของSurfaceที่เราสรางขึ้นนะครับ เพื่อที่จะไดใชคําสั่ง Drape
ขอบเขตพื้นที่ลงไปยังFace ขางลาง
ชุดคําสั่งของSandbox
3.เมื่อ DrapeขอบเขตของSurfaceลงไปแลวอยาลืม ReverseFace
นะครับผม อันนี้สีดําตองอยูดานในสีขาวอยูดานนอกจําไวนะครับเวลาทําโมเดล
4.ใชคําสั่งPush/pullดันพื้นที่ขางลางขึ้นมาใหเกินSurfaceนะครับ
หลังจากนั้นเลือกในสวนที่เกินแลวลบออกดวยEraser
5.ก็จะไดTerrainประมาณนี้นะครับสําหรับขอมูลของผมซึ่งตอไปก็จะเปนการทํา
Contourนะครับ
1.
2.
3.
4.
5.
อยาลืมReverseFaceนะครับ
หนาที่ 15
บทที่4การทํา MassModelและการทําเสน Contour
3DSketchUpforPre-constructionThailand
6.ทําการตรวจสอบปริมาณทั้งหมดของโมเดลไดจาก Entity Infoโดยถาเปน Solidจะมี Volume
แสดงอยูนะครับ หากไมมีมีแนะนําใหใช
Pluginที่ชื่อวา SolidInspector2
6.
SolidInspector2เปน Pluginที่สรางขึ้นมาเพื่อมาแกไขBUG ที่เกิดขึ้นในModel
เมื่อเราตองการทราบปริมาตรของModel ที่เราสรางขึ้น
การนํา Typical Sectionของแกนเขื่อนมาคํานวณหาปริมาณงานดินบดอัด
เกร็ดความรู
ปญหาทางดานBUGที่เกิดขึ้นสวนใหญนะครับจะเปนชองโหวจากการสรางที่ไมสมบูรณซึ่งตองแกไขดวยตัวเอง
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในโมเดล
จะมีการแจงเตือนผานหนาตาง
หาก Clickขวาจะมีคําสั่งใหเลือกดวยนะครับ
SolidInspector2
บทที่4 การทํา Mass Model และการทําเสน Contour
หนาที่16
3DSketchUpforPre-constructionThailand
การตรวจปริมาณดินขุดออกของงานคันดินชั่วคราว
การตรวจสอบปริมาณหินที่มีอยูในโครงการฯเพื่อนํามาใชผลิตคอนกรีต
หนาที่17
บทที่4การทํา MassModelและการทําเสน Contour
3DSketchUpforPre-constructionThailand
สําหรับการทําเสนชันความสูงของSketchUpนะครับ ก็จะมีรูปแบบการทําที่ไมซับซอนโดยจะใชชุดคําสั่ง IntersectFace เปนตัวชวยนะครับ
1.ซึ่งเมื่อเรา Clickขวาที่ตัวโมเดลเอง หรือที่Surface
จะมีคําสั่งขึ้นมานะครับ
2. เริ่มจากการสรางพื้นที่สี่เหลี่ยมวงกลม
หรืออะไรก็ไดที่สามารถครอบคลุมพื้นที่ของโมเดลไดทั้งหมดแลวใหทําเปน
MakeGroupนะครับ แลวก็Move>Copy วางตามที่ตองการนะครับ
3. เขาไปแกไขในGroupกอนนะครับ เลือกSurfaceแลวClickขวา
ไปที่คําสั่งIntersectface >WithModel
แลวมันจะลอกเฉพาะจุดที่ตัดกับโมเดลหลักนะครับ ซึ่งจะไดเสน Contour
ออกมานะครับ
4.ทําใหครบทุกอันนะครับตามขั้นตอนกอนหนานี้แลวจะไดตามรูปนี้เลย
1.
2.
3.
4.
เกร็ดความรู
การทํา Contour
แบบเปนขนมชั้นก็ใชวิธีนี้นะครับเพียงแตไดเสนขอบเขตแลวใชคําสั่ง
Push/Pullชวยอีกที
บทที่4 การทํา Mass Model และการทําเสน Contour
หนาที่18
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
หนาที่19
บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
การทํา Profile-Cross Sectionคือวิธีการเพื่อหาปริมาณดินในรูปแบบพื้นที่หนาตัดโดยProfileSectionจะเปนภาพตัดในแนวตามยาวสวนCrossSectionนั้น
จะเปนภาพตัดตามขวางของตัวProfileSection โดยจะใชในงานดิน ขุด-ถมกลับ เชน งานถนนงานเปดบอดิน งานระบบชลประทาน งานปรับพื้นที่เปนตน
โดยในปจจุบันเราจะใชวิธีการหาพื้นที่หนาตัดในแตละSectionคูณดวยความยาวแตละสวนแลวเฉลี่ยคาที่คํานวณไดออกมา ซึ่งเปนวิธีที่งายและเปนที่นิยม
แตวิธีการตอไปนี้เราจะทําจากSketchUp นะครับ โดยไดทั้งรูปแบบสามมิติและ สองมิติไปพรอมๆ กัน
จากบทที่4นะครับเราจะเอาขอมูลชุดนี้มาจัดทําขอมูลภาพตัดตามยาวและภาพตัดตามแนวขวาง
โดยจะตัดตามเแนวเสนสีแดงตามนี้นะครับ
ชุดคําสั่งที่ใชนะครับ คือ Section
SolidTools และ Sandbox
กอนจะเริ่มขึ้นตอนนี้นะครับหลังจากที่เราเตรียมโมเดลเรียบรอยทั้ง ContourและการจัดGroup, Component เรียบรอยไปหมดแลว
ตอมาเราก็มาเตรียมแนวเสนที่เราจะทําการตัดโดยใชชุดคําสั่งของ Sandboxที่ชื่อวาFromScratchเพื่อสรางแนว Gird ขึ้นมานะครับ สวนนี้ผมกําหนดอยูที่25x25เมตรนะครับ
และสรางกลองขึ้นมา1 กลองใหขนาดใหญกวาหรือครอบคลุมตัวชิ้นงานนะครับ
เพราะเราจะทําการตัดเปนสวนๆ ดวยนะครับ เพื่ออนาคตครับ
การตัดก็จะตัดตามแนวที่เรากําหนดไวนะครับโดยแยกออกมาตางหากนะครับ
เกร็ดความรู
โมเดลที่มีขนาดใหญจะใชเวลาในการ Trim นานมาก
ดังนั้นจึงตองแยกสวนกันออกมาเพื่อประหยัดเวลาและไมกินทรัพยากร
Hardwareมากเกินไป
บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ
หนาที่20
3DSketchUpforPre-constructionThailand
แลวก็จะไดตามรูปเลยนะครับ ทีนี้เราจะมาทํา Profile-CrossSectionตามแนวที่เราไดกําหนดไวแลวตามSta.นะครับ
ซึ่งผมจะนําเสนอในวิธีที่ไมซับซอนมากเกินไปนะครับ โดยมีวิธีการดังตอไปนี้
ถาโมเดลที่เราจะทําการตัดSectionมันเอียงไมทํามุมตามแกนหลักนะครับ
ตองมาปรับโดยใชคําสั่ง AlignViewนะครับคลิ๊กขวาที่หนา Faceนะครับ
AlignViewจะใชตอนทํา Scene นะครับ
1.ที่นี้ก็เริ่มกันเลยนะครับเราจะไปเปดที่Groupของ Terrain
ที่เราทําไวแลวก็เริ่มทํา Section Planเลยครับ ถาใชคําสั่ง HiderestofModel
ดวยจะสะดวกมากขึ้นนะครับ โดยจากภาพผมจะตัดใหตรงแนวGird
ที่สรางไวเลยนะครับก็จะไดตามนี้นะครับ
ËÅѧ¨Ò¡ Hide rest of model àÃÒ¨ÐàËç¹à©¾ÒШش·ÕèàÃÒ·íÒ§Ò¹
เกร็ดความรู
เราสามารถตัดซอนกันหลายๆ ครั้งไดใน 1Scene
หนาที่21
บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
2. ก็มาตอกันที่การทํา Sceneนะครับขั้นตอนก็คือ
AlignView>ParallelProjection>Add Scene>UpdateScene
Stepการทํา Sceneนะครับจําไวใหแมนเลย
จัดมุมภาพใหเรียบรอย>AddScene>UpdateSceneสําหรับ Sceneแรกนะครับ
และSceneN ตอไปก็แคจัดมุมมอง>Add Scene
3.ตั้ง Scene ใหครบตามที่เราตั้งแนวไวนะครับ ซึ่งก็จะได5SectionและScene
6เปนภาพมุมบนนะครับ
จะเห็นไดวาทั้งในสวนของ Faceของ Girdและเสน Contour
มันจะขวางหูขวางตาเปนที่นารําคาญมากนะครับ วิธีแกก็คือทําในสวนGird, Contourใหเปน
Componentนะครับเพื่อที่จะไดจัดการไดงายสังเกตไดจาก Outlinerนะครับ แลวก็ลบพวก
FaceออกใหหมดนะครับสําหรับในGird
การทํา Scene
นั้นเปนสวนหนึ่งเพื่อที่จะนําขอมูลสวนนี้ไปที่ Layout
และการทําวิดีโอไวนําเสนอนะครับ
ซึ่งเราจะไดทุกอยางเลยทั้งวิธีทําและการนําเสนอซึ่งอาจจะใชเวลาในส
วนนี้มากหนอยแตมันคุมคาแนนอนครับ 
ใชPluginที่ชื่อวาSelectionToy เพื่อชวยในการเลือกEdge,Face, Polygon,Group,
Componentเปนตน
บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ
หนาที่22
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ถาอยากเร็วกวานี้ก็ไปโหลดตัวนี้มาครับ SectionCutface
มันจะสรางในลักษณะนี้เชนกันแตเปนแบบ Auto นะครับ
เราสามารถเลือกสีไดและตั้งคาตางๆ ได
4.ตอมาก็มาทํา Faceกันนะครับเพื่อใหไดArea พื้นที่หนาตัด โดย
Clickเขาไปใน Groupนะครับเลือกที่SectionCutที่กําหนดไวแลว
Clickขวาไปยังคําสั่ง
Creategroup fromSlice
จะเหมือนกับโมเดลที่ผมแจกไวในเพจนะครับ วิธีการแบบเดียวกัน
5.ทํากับทุกๆ SceneนะครับดวยวิธีเดียวกันหรือจะใชPlugin
ที่ผมแนะนําก็ไดนะครับ แลวอยาลืม ตั้งคาLayersดวยนะครับ
กอนการ Update Scene
การทํา Cross -ProfileSectionสําหรับ Sketchupนั้นคอนขางจะยุงยากนิดนึงนะครับ คือตองมีใจใหกับมันเปนอยางมาก
และนี่คือการทําภาพตัดในรูปแบบหาพื้นที่ Areaนะครับที่นี้มาดูกันวาการนําเสนอในรูปแบบที่แตกตางกันออกไปเปนแบบไหน
เกร็ดความรู
การทํา Cross-ProfileSectionจองใชความอดทนมากๆ ครับ และจพมีการแกไขตลอดทั้งในSketchUpและlayoutแตรูหรือไมเราสนใจแตปริมาณ
ขุดถมกลับ ตัวเลขกลมๆ
CreateGroupfromSliceเมื่อทําการ
CopyออกมาแลวลากเสนทําใหเกิดFace
หนาที่ 23
บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ยังจําไดไหมครับในหนาที่ 19ที่ผมใหแบงชิ้นงานออกตามแนวตัดนั้นและครับ เปนวิธีการนําเสนอแบบใหมๆ
ไมใหลูกคาหรือผูที่ไดเห็นแบบเกิดความนาเบื่อและการไมเขาใจงั้นมาเริ่มกันเลยครับ การนําเสนอในรูปแบบ 3มิติ
เอาจริงจังนะครับ ถาไมติดเรื่องคําวามาตรฐาน
การจะทําเรื่องแบบสําหรับงานกอสรางไมวาจะเปนงานใดก็ตาม ถามีจินตนาการ
และคิดทีจะสื่อความหมายใหทุกคนเขาใจไดงาย
ผมวาแบบในลักษณะนี้คงจะเหมือน การตูน ... .
คือตอนนี้เรายังไมสงขอมูลไปที่Layoutนะครับซึ่งจะกลาวในบทการใชงาน
Layoutนะครับตอนนี้ก็ลองมือกันไปกอน จัดSectionตั้ง Scene
ใหคลองเลยครับ จัดกระบวนการความคิดใหม
การจําลองโมเดลเพื่อใหไดลักษณะตามที่เราตองการนะครับ อยางวิธีนี้มันสามารถไปประยุกตใชไดในหลายอยางซึ่งผมก็ใชอยูเหมือนกันเชน
การตัดโมเดลเพื่อทํารายละเอียดโดยใชLayerใหนอยที่สุดหรือการทํา Animationนะครับซึ่งมันสามารถจะเปนการประยุกตที่ดีมากๆในการนําเสนองาน
ชิ้นงานที่เตรียมไว
บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ
หนาที่24
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ทีนี้เราจะมาทํางานขุดดิน ถมกลับ กันนะครับ โดยเครื่องมือที่ใชก็ไมมีอะไรมาครับ PointGadget ,Solid Tools ,แลวก็เครื่องมือพื้นฐานทั่วไป
งั้นเราจะมาถมบอตรงนี้กันนะครับ
โดยมันมีหลากหลายวิธีเชน
1.ใชเสนContourโดยCopy มาแลวใชคําสั่ง FromContourเพื่อสรางSurface
และทําใหเปนSolid model
2.การสรางกลองขึ้นมาใหมีขนาดใหญกวาบอเล็กนอยแลวใชคําสั่งใน Solid Tools
ตัดโมเดลออกเปนชิ้นๆ
3.การคัดลอก Surfaceของโมเดลเอง
2วิธีแรกใชเวลาคอนขางนานแตวิธีที่ 3ขั้นตอนนอยกวาไดผลเร็วกวา แตในการอบรมผมจะสอนมากกวา 3วิธีนี้นะครับ แตในหนังสือเลมนี้ผมจะใชวิธี3 แลวกัน
เพราะตองอางอิงตามขอมูลหลักนะครับ
ก็มาเริ่มกันเลยนะครับ โดยสรางสี่เหลี่ยมมากอนนะครับ MakeGroup
ใหเรียบรอยโดยใหมีขนาดใหญกวา บอนะครับ
ถามันเล็กเกินไปก็ปรับไดนะครับ
ย้ําวาตองมีขนาดที่ครอบคลุมบอทั้งหมดนะครับ
ออลืมบอกไปวาระดับความสูงที่จะถมเลือกเอาเลยนะครับ
ประมาณนี้เลยนะครับ กําลังดีใชงานไดงาย
หนาที่ 25
บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ที่นี้ไปเปดเสนGeometryนะครับซึ่งอยูในคําสั่ง View
แลวเลือกบริเวณที่เราตองการที่จะถมบอนะครับ
ที่นี้ก็คําสั่งยอดฮิตรับIntersectFace>With Model
เพื่อลอกในสวนที่โมเดลและสี่เหลี่ยมมันสัมผัสกันนะครับ
แลวก็จะไดแบบนี้นะครับหากไมไดก็สามารถทําซ้ําไดนะครับเพื่อใหเลือกไดเฉพาะพื้นที่ Areaที่เราตองการ แลว
Ctrl+Cนะครับ มาทําการแกไขตอที่ขางนอกเลย
ที่นี้ก็ปดเสนตรงบริเวณใดบริเวณหนึ่งนะครับแลวก็MakeGroup มันซะแลวมันจะเปนSolidGroupนะครับจะแสดง Volume
ออกมานะครับเปนอันวาไดปริมาณดินถมคราว ๆแลวนะครับ
วิธีนี้ไมซับซอนครับงายๆและจะทําใหหลายๆทานไดเขาใจในเรื่อง Geometry
ดวยวามันสามารถดึงมาใชงานเฉพาะจุดไดนะครับสําหรับการทําโมเดลSketchUp
บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ
หนาที่26
3DSketchUpforPre-constructionThailand
หลังจากถมไปแลวเรามาขุดกันบางครับ
โดยมันมีหลากหลายวิธีเหมือนกับขั้นตอนการถมเชนกันนะครับ เชน
1.การสรางกลองขึ้นมาใหมีขนาดตามที่เราตองการตามพื้นที่ที่เราตองการขุดออกนะครับ
2. การคัดลอกSurfaceของโมเดลเองแลวมาทําเปนพื้นที่ขุด
ผมจะใชวิธีที่1
นะครับมันสะดวกกวา .. ..
แตผมจะประยุกตเอางานSurveyมาชวยดวยนะครับ
โดยใชPointGadgetดวยการShoot Point
ออกมาใหมแลวตั้งชื่อ หมุดใหมอีกรอบนะครับผมจะตั้งวา
บอน้ําแลวกันนะครับ จากหมุดสีแดงนะครับ ที่ทําแบบนี้เพราะวา
เราจะไดกําหนดขอบเขตของงานใหเสมือนการทํางานจริงๆ
นะครับ
การกําหนดขอบเขตสามารถสรางเสนไดจากCrateLinework
นะครับ
มันจะสรางเสนขึ้นมาใหเราเห็นขอบเขตของหมุดซึ่งเราจะใชเสนนี้
นะครับในการทําบอ 
เขาไปEditGroup เลยนะครับเพราะเสนมันจะไมสัมผัสกันจนหมดนะครับ เราตองไปลากเสนเพิ่มนะครับแลวมันจะไมเกิดFace
ขึ้นมานะครับแลวเพราะวาเสนมันไมไดอยูในระดับเดียวกันตองเขาใจตรงนี้ดวยนะครับ เราก็ไปกันตอเลย
หนาที่ 27
บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ตอจากนั้นนะครับ สรางBaseที่ขางลางเพื่อใชDrapeชวยนะครับ
เนื่องจากวาเสนมันไมไดอยูในระดับเดียวกันหากใชคําสั่ง Followme
มันจะไดแกไขและเสียเวลาในการทํามากนะครับ (ไมเชื่อลองดูไดครับ)
เมื่อ Drapeลงไปแลวนะครับ ใหลบเสนขางบนออกแลวMove+Copy
ขึ้นมาในระดับเดิมโดยอิงกับแกนของGroupนะครับ
สรางสามเหลี่ยมโดยกําหนดSlopeเปน 1:1นะครับ เพราะคําสั่งตอไปที่จะใชคือFollowmeนะครับ
(ตอนนี้ทุกเสนมันเปนระนาบเดียวกันแลวนะครับสามารถทําได) วนรอบ Areaที่เราทําขึ้นมา
ใหไดแบบนี้นะครับแลวปดสวนบนและสวนลางนะครับ ลบตัว Baseออกไดเลย
ลบออกเลยครับ
สรางเสนปดไดเลยทั้งบนและลาง
บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ
หนาที่28
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ก็จะไดแบบนี้นะครับเมื่อปรับ เตรียมโมเดลเรียบรอยแลว
และอางอิงตามระดับที่เราทําไวนะครับ
ตอไปก็มาใชคําสั่งSplit ในเครื่องมือSolidtools
นะครับเพื่อตัดชิ้นสวนนี้ออกไป
จะไดทราบวาปรัมาณดินขุดออกเทาใด
ไดแลวครับซึ่งจะไดขอมูลตามที่เราตองการ
โดยโมเดลจะแยกกันออกมาตามที่เราตองการนะครับ
ขอมูลในลักษณะนี้เมื่อไดมาแลวเราสามารถนําไปประยุกตใชกับProfileBuilderไดนะครับ ซึ่งจะกลาวถึงในบทการประยุกตใชProfileBuilder
นะครับ
เกร็ดความรู
การทําโมเดลงานดินขุด-ถมกลับ ตองใชเวลาพอสมควรนะครับ ยิ่งใหญยิ่งชา
สวนนี้ตองขุดออกดวย
หนาที่ 29
บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref
หนาที่30
3DSketchUpforPre-constructionThailand
การจัดการผังบริเวณดวยXrefคือ
การสงออกComponent ที่เราสรางขึ้นแลวบันทึกขอมูลชุดนี้เก็บไวใหเปนสวนหนึ่งของงาน
โดยการแยกไฟลงานออกจากตัวหลักยกตัวอยางเชนในงานอาคารจะแยกหมวดหมูออกเปน
-งานโครงสรางและแยกออกเปน
-งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก
-เสา
-คาน
-ฐานราก
-แผนพื้น
-บันได
-อื่นๆ
-งานโครงสรางหลังคาเหล็กรูปพรรณ
-สวนประกอบของหลังคา
-อื่นๆ
-งานสถาปตยกรรม
-หนาตางประตู
-กระเบื้องฝาเพดาน
-อื่นๆ
-งานระบบตางๆ
-ระบบไฟฟาแสงสวาง
-ระบบสุขาภิบาล
-ระบบสื่อสาร
-ระบบอื่นๆ
คือมันเปนการจัดระบบเก็บขอมูลของโมเดลดวยและใชโมเดลหลักเพียงแคตัวเดียว
แตมีหลายๆ สวนมาประกอบกันโดยใชจุดอางอิงเดียวกัน
และแยกการบันทึกงานออกจากกันทําใหสามารถแบงหมวดงานใหเปนระเบียบไดงายทั้
งในตัวโมเดลเองและไฟลงานเอง
หนาที่ 31
บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref
3DSketchUpforPre-constructionThailand
การจัดผังบริเวณดวยXrefนั้นไมยากนะครับแต.. .มันประยุกตใชไดเยอะมากถาคิดวิธีการใหมๆ ไดอยูเสมอ สวนวิธีทํานะครับก็ไมยากเพียงแค
สรางโมเดลขึ้นมาแลวทําใหเปนComponentแลวก็SaveAsไปยังไฟลปลายทางที่กําหนดไวครับ
จากภาพขางบนนะครับ ผมยังใชหมุดจากงานสํารวจเชนเดิมโดยหมุดที่ผมเลือกจากการเปดLayersนะครับบงบอกวาเปน เสาไฟฟาขนาด22Kv
ซึ่งผมจะแทนที่หมุดดวยเสาไฟฟา 22Kvนะครับ มาดูกัน
เมื่อเลือกหมุดไดแลวนะครับซึ่งมันจะเปนComponentทั้งหมดเลยดังนั้นเราตองmakeUniqueนะครับ
เพื่อใหมันตัดขาดความสัมพันธกับตัวอื่น
เมื่อเรียบรอยแลวนะครับก็มาเลือกหมุดเพียงแคตัวเดียวไปที่SaveAs
นะครับเก็บไวตรงไหนจําใหดีดวยนะครับ แลวก็ตามไปเปดไฟลตัวนั้นเลยนะครับ
เพราะเราตองไปแกไขมันแลวกลับมาอัพเดตขอมูลที่โมเดลหลัก
¶ŒÒ¶Ù¡µŒÍ§¨Ð໚¹áºº¹Õé¹Ð¤ÃѺ
บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref
หนาที่32
3DSketchUpforPre-constructionThailand
หลังจากนั้นก็เปด3D Warehouseเพื่อหาเสาไฟฟา22Kv
เพราะมันจะไดไมตองมาเสียเวลาสรางเอกงครับ เราโลหดมาใชงานไดเลย
และนํามาปรับปรุงเล็กนอยเทานั้นเอง
เลือกเอาแคตนเดียวพอนะครับ แลวก็กดSaveไดเลย(Ctrl+S)
แลวกลับมาที่โมเดลหลักนะครับ เลือกที่หมุดเสาไฟฟาของเรานะครับ Clickขวา ไปที่Reload จะมีหนาตางเปดขึ้นมาใหมนะครับ
จะถามหาที่ไฟลจัดเก็บไวตรงไหนชื่อวาอะไรเลือกแลวก็Openเลยครับ
เสาไฟฟามาแลวครับทั้ง4หมุดเลยตามที่เลือกไวเลย
งายนะครับ ไมมีอะไรซับซอนมันเหมาะกับการทําแยกกันระหวางโมเดลหลักนะครับ
ขั้นตอนแบบนี้ และเราสามารถไปปรับแกที่โมเดลที่เราแยกกันไดและทํา
Detailเพื่อสงออกไปยังLayoutไดเลย
เกร็ดความรู
XrefมีมานานแลวครับแตSketchUpยกเลิกแลวก็เอากลับเขามาใหมอีกที่ในรุน2017
หนาที่33
บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บางสวนในงานที่ผมรับผิดชอบนะครับ สวนใหญจะใชวิธีXrefครับสําหรับงานระบบ
บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref
หนาที่34
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
บทที่7การใชคําสั่งOutlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ
หนาที่35
3DSketchUpforPre-constructionThailand
OUTLINER เปนเครื่องมือที่มาพรอมกับโปรแกรม SketchUp โดยจะอยูที่Window> DefaultTray
ปกติเราจะใชแคTrayตัวเดียวซึ่งมันจะประกอบไปดวยLayers,Entityinfo, Materials,Componentเปนตน
และTrays ก็สามารถสรางProfile ไวใชงานไดเองซึ่งเพิ่มความหลากหลายในการทํางานโดยการแบงเปนหมวดหมู
ซึ่งก็อยูที่ความตองการของแตละคนนะครับเหมือนภาพตัวอยางขางลาง
ที่นี้ในสวนของOutlinerมันคืออะไร
ตามปกติสําหรับคนที่เริ่มเลน SketchUp ใหมๆจะไปใสใจในเรื่อง Layersเปนกันสวนมากเพราะทุกคนจะเริ่มเขียนที่ Layers0 แลวทําObject
นั้นเปนGroup หรือ Component จากนั้นก็คัดลอกกันออกไปเพื่อประกอบกันเปนชิ้นงานแลวมาตรวจสอบกันตรงที่EntityInfo
ซึ่งผมก็เคยเปนแบบนั้นมากอนเชนกัน แตมาเจอOutlinerเลยทําใหรูวามันเยี่ยมมากเลย
OutlinerเปนเสมือนหองสมุดของSketchUpเอาไวคนหาชิ้นงานภายในโมเดลที่เราสรางและไดตั้งชื่อใหมันแลว
การประยุกตเพื่อใหใชงานไดตามที่เราตองการก็คือ การแบงระดับของงานและจัดทําเปนคางวดงาน หรือ
การวางแผนงานตามลําดับขั้นตอนการกอสรางอะไรประมาณนี้นะครับ แตผมจะใหความสําคัญในเรื่องการแบงระดับงาน
และการจัดทําเปนคางวดงานเพื่อเบิกคาจางเนื่องจากมันสามารถเอาไปใชตอไดงายกวาและไมซับซอนนะครับ
ตัวอยางงานโครงสรางของอาคารเมื่อทําการแยกประเภทของโครงสราง
ตามลําดับของการกอสรางซึ่งการแบงก็ขึ้นอยูกับตัวเราเองนะครับวาจ
ะจัดรูปแบบไหนดีคือจะเขาตามหมวดงานไหมหรือ
จะจัดเขาตามแผนงาน
ซึ่งก็แลวแตตามที่เราตองการวาอยากตอยอดไปในทิศทางใด
บทที่7การใชคําสั่งOutlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ
หนาที่36
3DSketchUpforPre-constructionThailand
เมื่อนํามาประยุกตใชกับProfileBuilderแค1Click ราคา ปริมาณวัสดุก็ออกมาแลวครับ
หรือจะเปนการหาปริมาณเหล็กเสริมคอนกรีตในฐานรากและทําใหผูรวมงานเขาใจดวยวา เหล็กฐานรากตองขึ้นแบบนี้เอง
เกร็ดความรู
สวนใหญคนสวนมากจะใสใจกับการใชLayers จนมีLayersPanelและตั้งเปนหมวดหมูงาน จนลืมวามีOutlinerซึ่งทําไดดีกวาแนนอน
เพราะวาLayersPanelมัน BUGเยอะครับ
ในสวนของOUTLINER เองจะมี Filter
ซึ่งจะชวยใหคุณคนหาขอมูลโมเดลที่คุณไดสรางและจําแนกไวตามชื่อของวัตถุนั้น
ๆซึ่งเมื่อลองคนหาดูก็จะพบวามันจะแสดงเฉพาะสิ่งที่เราคนหา
และสามารถนําขอมูลที่ไดมา GenerateReportไดอีกหรือจะใชPB2
ในการสรุปปริมาณวัสดุไดเลยนะครับ
แตในสวนหนึ่งหากใชOUTLINER
เปนประจําเราก็จะพบวามันทําใหเราสามารถจัดรูปแบบการทํางานของเราเองได
และเปนการบริหารพื้นที่ของไฟลไปในตัวอีกดวยทําใหโมเดลที่มีขนาดใหญมาก
มีขนาดไฟลที่เล็กลงและงายตอการจัดการ
หนาที่ 37
บทที่7การใชคําสั่ง Outlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
บทที่8 การประยุกตใชExtension ใหเหมาะสมกับงานกอสราง
หนาที่38
3DSketchUpforPre-constructionThailand
จากการใชงานมานะครับ Extensionหลายตัวก็มีบางตัวที่โอเคและก็ไมโอเคเหมือนกันแตตัวที่ผมจะแนะนํานั้นเหมาะสําหรับงานกอสรางการถอดปริมาณวัสดุ
หรือการจัดระเบียบโมเดล
โดยงานสวนใหญที่พบเห็นไดบอยที่สุดนั้นก็คืองานอาคารบานทั่วไปโรงงานโกดังซึ่งเริ่มใชSketchUp
เขามาชวยใชงานในสวนของการมองภาพใหออกการติดตอประสานงานซึ่งก็ขึ้นอยูกับผูใชงานนะครับ
วาตองการใหเครื่องมือนี้ทําอะไรบางแตในระหวางที่ทําโมเดลนะครับเราก็มีตัวชวยเพื่อใหงานเราสะดวกมากขึ้น เรามากขึ้น
ประหยัดเวลาฯลฯและก็มีดังตอไปนี้นะครับ
ซึ่งเราสามารถDownloadไดที่www.Extensionwarehouse.comนะครับที่เปนตัวหลักสําหรับ
ExtensionของSketchUp ซึ่งจะมีทั้งจายเงินและฟรีปนกันไปนะครับ
และตัวแรกที่ผมจะแนะนํากอนเลยนะครับ คือ
T2H BUILDING STRUCTURE
T2HBUILDING STRUCTURE
เปน Extension ที่ถูกสรางขึ้นมาคลายกับProfileBuilderแตมันจะมีLibraryเปนของตัวเอง โดยมีเหล็กตามมาตรฐานของญี่ปุนอังกฤษและสหรัฐอเมริกา และวัสดุอื่นๆ เชนงานคอนกรีต
และนอกจากจะยึดตามมาตรฐานขนาดเหล็กตามขางตนแลว
เราสามารถสรางหนาตัดเหล็กขึ้นมาเองไดเชนกันโดยนะครับ
ซึ่งเราสามารถปอนคาหนาตัดเหล็กที่ตองการไดเลย(ตามที่Extensionเคามีใหนะครับ)
ซึ่งก็ทําใหเราทํางานไดเร็วขึ้นโดยไมตองมาวาดเองปนโมเดลเองนะครับ
มันทําใหเราทํางานไดเร็วขึ้นนะครับนอกจากนี้ยังสามารถถอดปริมาณวัสดุไดดวยนะครับ
เกร็ดความรู
นอกจาก Extensionwarehouse แลวยังมีsketchucationครับที่เปนที่เก็บ Extension
หนาที่ 39
บทที่8 การประยุกตใชExtensionใหเหมาะสมกับงานกอสราง
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ความพิเศษของT2H นะครับ คือโมเดลที่ถูกสรางออกมาแลวจะมี IFCติดมาดวยสําหรับทางตัว เชน งานคอนกรีตจําพวกเสาคาน ฐานราก พื้น
จะมีการแยกTypeอยางชัดเจนเลย
ซึ่งเราสามารถ Exportใหเปนไฟลนามสกุล.IFCไดเลยเพื่อนําไปเปดในTEKLABIMSIGHTเพื่อตรวจสอบCashDetectionไดนะครับ
สําหรับ Extensionตัวนี้ผมมีไวเพื่อสรางหนาตัดเหล็กที่เราตองการนะครับ และเกี่ยวกับการทํา .IFCมันจะคลายๆกับ ProfileBuilder นะครับ
UpdatePoints
ShootPoints
Input Coordinate
InspectPoints
Report Points
Converttoconstructionpoints
Importfile
ExportCVS
Createlinework
Colorbylayer
PointGadget V2คือ Pluginที่ถูกสรางขึ้นมาเพื่อนําเขาขอมูลDataSurveyจากนามสกุลไฟล.txtและ.cvsแลวสามารถสรางโมเดลเปน Point
ตามที่ไดเก็บขอมูลมาจากกลองและการบันทึกขอมูลซึ่งจะตองเปนคาพิกัดกริด(Universal TransverseMercator) ซึ่งคาพิกัดกริดหากใครไดศึกษา
การทําสํารวจหรือใชงานนั้นจะรูดี
PointgadgetV2
ซึ่งมันจะใชในงานสํารวจนะครับ ผมใชบอยเพื่อทํางานเกี่ยวกับงานดิน การคิดหาปริมาณการทํางานเกี่ยวSurveyเปนตน ซึ่งการใชงานไดอธิบายไปแลวในบทแรกๆ
แตก็สามารถประยุกตใชไดเยอะมากๆ
Renameby Layer
เปน Extension ที่เขามาชวยในเรื่องการตั้งชื่อใหกับวัตถุนั้นๆโดยวัตถุนั้นตองมีการคา Layerแลว หรือไมตองก็ไดนะครับ
ทําใหประหยัดเวลาในการตั้งชื่อไดนะครับและยังเปนตัวชวยในการเรียงจํานวนวัสดุไดดวยนะครับ
นอกจากการนําเขาคาCoordinate
เขามาไดแลวยังสามารถนําออกไดดวยนะครับ
ตามที่เราสรางหมุดใหมขึ้นมาและสามารถReportหมุดแบบ
RealTimeไดดวยนะครับ
บทที่8 การประยุกตใชExtension ใหเหมาะสมกับงานกอสราง
หนาที่40
3DSketchUpforPre-constructionThailand
SKALP
ตัวนี้จะชวยในเรื่องของการสรางHatch นะครับ เวลาที่เราทําการตัดSectionPlan
ซึ่งมันจะปดชองวางที่เกิดขึ้นใหเหมือนเปน Solid
ไปเลยตัวนี้เปนแบบมีคาใชจายนะครับแตสามารถโลหดมาทดลองใชไดเหมาะสําหรับคนที่ทํา
Shopแลวตองการความรวดเร็วในการทํางานนะครับ จะไดไมตองไปเสียเวลาที่
LAYOUTนะครับคือจบตั้งแตตนทางเลย
SELECTION TOY
ทุกคนนาจะรูจักดีนะครับสําหรับตัวนี้ SelectionToy
ใชสําหรับการเลือกและไมเลือกสําหรับสิ่งที่เราไมตองการหรือตองการเชน
เลือกเฉพาะ Faceหรือ เลือกเฉพาะEdgeนะครับ
Solid Inspector2
ตัวนี้สําคัญมากๆ ถาใครชอบทําการหาปริมาตรงานตางๆ ที่มีการใชSolid Tools
ชวยเพราะมันจะแกปญหาในเรื่องของBUG ไดเยอะมากนะครับทําใหคา Volume
กลับคาคืนมาได
หนาที่41
บทที่8 การประยุกตใชExtensionใหเหมาะสมกับงานกอสราง
3DSketchUpforPre-constructionThailand
3SKENG
คือExtensionที่ถือไดวาเปนที่สุดของงาน MEPเลยก็วาไดงานทองานเหล็กงานระบบระบายอากาศหรือ งานรายละเอียดตางๆ 3Skeng
จะมีใหทุกทานไดใชงานแนนอน แตเปน Extensionที่มีคาใชจายนะครับนอกจากจะสรางโมเดลและมีคลังอุปกรณเปนของตัวเองแลว
ยังสามารถถอดปริมาณวัสดุไดอยางแมนยําดวยนะครับและสามารถแกไขโมเดลแนวทอไดอยางรวดเร็ว
ProfileBuilder2
Extensionราคาเบา ๆแตคุมสุดที่เคยใชมามันสามารถประยุกตใชรวมกับ Extensionตัวอื่นไดสบายๆอยาง 3Skeng นอกจากจะคิดประมาณการราคาแลว
ยังสามารถสรางโมเดลทําคลังวัสดุเองไดดวยนะครับซึ่งรอดูในบทตอไปซึ่งผมจะอธิบายการทํางานของPBอยางคราวๆ
บทที่8 การประยุกตใชExtension ใหเหมาะสมกับงานกอสราง
หนาที่42
3DSketchUpforPre-constructionThailand
บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
หนาที่43
บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ProfileBuilder
คือ Extensionที่มีความสามารถในการคํานวณหาปริมาณ จํานวนวัสดุการสรางขอมูลชิ้นงานผาน Facearea
และสามารถสรางโมเดลจากการรวบรวมขอมูลทั้งหมดมาเปนชุดเดียวกันดวยคําสั่ง Assemblerและยังสามารถเก็บขอมูลตางๆผาน Layers
ไดดวยนะครับซึ่งหลายทานที่กําลังหัดใชงานอยู
หรือใชงานเปนประจําเพื่อถอดแบบทํารายการประมาณราคาและวัสดุจะทราบดีวามันทํางานอยางไรไดบางนะครับ
แตสําหรับในที่นี้ผมจะเจาะจงเขาไปใหลึกมากกวาการทําราคาการถอดแบบออกมาใชงาน
แตจะใหหลักการวาทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพซึ่งสามารถนําไปตอยอดตามงานของแตละคนไดเลย
เครื่องมือก็จะมีดังตอไปนี้นะครับ
1.ProfileBuilder Dialog
2.AssemblerDialog
3.Smart pathSelect
4.Extendtools
5.TrimtoSolid
6. Trimtoface
7.Edit path ofactive toprofilememberor Assembly
8.Quantifier
Profile Builder Dialog
ProfileBuilderDialog
เปนหนาตางเพื่อเพิ่มในสวนที่เปน Profileจากการสราง Face ที่SketchUp
และยังสามารถจัดเก็บ บันทึกคาของFaceไดในรูปแบบไฟล.Skp
ซึ่งเราก็ยังสามารถตามไปแกไขรูปรางนี้ไดเชนกัน จากภาพนะครับ
ในสวนนี้ยังมือเครื่องมืออื่น ๆอีกดวยซึ่งไดแก
1.Build
2. Build alongpath (Followme)
3.RevolveProfile
4.Edit memberproperties
5.Select memberby attributes
6. StampProfile
7.Getattributes
1-3จะเปนการสรางโมเดนะครับ
4-5จะเปนการเลือกและแกไข
6-7การเอารูปแบบ Profileมาใชงาน
จํางายๆเลยครับ
1-3
จะเปนการสรางโมเดลตามProfileที่เราสรางไว
แตละตัวจะสรางไมเหมือนกันนะครับ โดย
1.Build จะสรางแบบตามเราตองการจากทั้งการปอนคา หรือลากไปเรื่อยๆ
ตามตําแหนงที่ตองการ
2. Build alongpath จะสรางโมเดลโดยยึดตามตําแหนงเสนอางอิง
คือเราตองสรางเสนอางอิงขึ้นมาเองนะครับ
แลวมันจะสรางโมเดลตามเสนอางอิง
3.RevolveProfileจะสรางโมลเดลในลักษณะที่หมุนรอบตัวเองนะครับ
Build
Build along path
Revolve Profile
1 2 3 4 5 6 7 8
1
2 3 4 5
6 7
บทที่9การประยุกตใช PROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
หนาที่44
3DSketchUpforPre-constructionThailand
4.Editmemberproperties
5.Select memberby attributes
2คําสั่งนี้จะใชรวมกันนะครับ โดยจะใชGet attributesเปนตัวเลือกเอา Profile
ตัวใดตัวหนึ่งกอนนะครับ แลวใชคําสั่ง Select memberbyattributes
เปนตัวเจาะจงรายละเอียดของProfileนั้นอีกที
เกร็ดความรู
กอนที่ยังไมมีProfileBuilderเขามาสิธีการแรกๆ เลยคือการเขียนสูตรเขาไปใชใน Component
แนนอนมันยากมากและซับซอนแตมันก็เปนพื้นฐานที่ทําใหเกิดเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูง
ใชGetattributes เลือกที่ตัว โมเดลกอนนะครับมันจะโชวProfileใหดู
ตกนี้ครับMemberProperties
เลือกรายละเอียดตามที่ตองการนะครับ
มันจะเลือกตามที่เราตั้งคานะครับ
หนาที่45
บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
เรายังสามารถแกไขมันไดดวยโดยการเ
ลือก Profile
ตัวใหมเขามาแลวเลือกการตั้งคานะครั
บจากนั้นก็กดไปที่Apply
ก็จะไดตามที่เราตองการเชนกัน
และนี่ก็เปนเพียงแคบางสวนในProfileBuilderที่เราจะเอาความสามารถในลักษณะแบบนี้มาใชงานนะครับโดยการสรางอาคารมาสักหนึ่งหลังเริ่มจากงานฐานรากไปจนถึงโครงหลังคาเลยนะครับ
เริ่มตนนะครับสราง Layers
ขึ้นมากอนเลยตามที่เราคิดไวแลวนะครับวาจะสรางอะไรบาง
ตามดวยฐานรากคอนกรีตนะครับ ขนาด
1.5x1.5x0.25ม.
ใชคําสั่งExtend tools นะครับเพื่อทําเปนโมเดล
แลวใชคําสั่งGetAttributes
นะครับเพื่อมาปรับใหโมเดลยายไปอยูLayers
ที่เราตองการ
เพราะวาการการคํานวณทํารายการประมาณราค
าของPBนั้นจะใชlayers เปนตัวกําหนดนะครับ
บทที่9การประยุกตใช PROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
หนาที่46
3DSketchUpforPre-constructionThailand
อยาลืมนะครับตองใชMemberProperties
ชวยนะครับ ถึงจะเปลี่ยนlayer
ไดและโมเดลก็จะมีชื่อติดไปดวย
ตอมาก็จัดแนวฐานรากนะครับ
แลวเราก็จากตามดวยเสาขนาด
0.25x0.25x3.5เมตร
โดยการตั้งคาจากตรงนี้ไดเลยนะครับ
หรือจะกลับไปใชวิธีเริ่มตนก็ไดนะครับ
ตามแตที่สะดวก
ถาเรากดCtrl ไปที่โมเดลกอนการทํา Build
มันจะมีเสนอางอิงตามศูนยกลางของโมเดลปรากฏขึ้นมานะค
รับทําใหเรางายตอการทํางาน
เมื่อกดCtrl
แกชื่อ
แกไขขนาด
แกไข layer
หนาที่ 47
บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ตอไปก็คานคอนกรีตนะครับ ผมสมมุติให
ขนาดอยู0.25x0.50เมตร
นะครับสําหรับหนาตัดคานBeamB1
ทําไมผมถึงใชวิธีนี้คือในกรณีที่รูปรางของวัตถุเปนสี่เหลี่ยม วงกลม เราสามารถแกไขผานProfileDialogไดเลย
และเราเพียงคามาตั้งคา layersและตั้งชื่อเทานั้นเองนะครับ ซึ่งผมจะไมทําการSaveProfileที่สรางขึ้นมานะครับ
และBeamB2ผมสมมุติใหขนาดอยู0.25x0.50เมตร
เชนกันนะครับ
และBeamRBผมสมมุติใหขนาดอยู0.25x0.40 เมตร
สําหรับคานหลังคานะครับเอารอบอาคารเลย
การกําหนดวัตถุขึ้นมาใหมทั้งหมดจะใชเฉพาะตัวนี้นะครับ
บทที่9การประยุกตใช PROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
หนาที่48
3DSketchUpforPre-constructionThailand
ปรับความสูงเสาคอนกรีตดวยExtendtools
นะครับ แลวก็ขยับคานขึ้นอีกเล็กนอย
สรางแผนเพลทที่หัวเสานะครับขนาดใหพอดีกับเสาเลยนะ
ครับ250x250x10 มิลลิเมตร
ที่นี้เราจะมาทําโครงหลังคากันนะครับซึ่งโดยวิธีการทําของผมนั้นจะเนนจากการสรางเสนกอนนะครับ
แลวเราคอยมาเลือกเหล็กใหวิ่งไปตามเสนนะครับมาดูกันดีกวา ไมยากครับงายมากเลย
กอนอื่นนะครับเนื่องจากเราใชPBทํางาน
เราจะตองสรางขอบเขตพื้นที่หลังคาซะกอนโดยเริ่มจาก
สี่เหลี่ยมนะครับ คลุมพื้นที่ทั้งหมดของอาคารและ
Offsetออกมานะครับ
หนาที่ 49
บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ
3DSketchUpforPre-constructionThailand
แลวก็มาเริ่มกันเลยนะครับผมเอาทรงหลังคาที่ยากๆ
แลวกันนะครับ
เพื่อใหงานสะดวกมากยิ่งขึ้นนะครับ แนะนําวาทําใหเปน
Groupนะครับเพื่อไมใหไปมีปญหากับเนื้องานชิ้นอื่น
ตอจากนั้นเราจะมาสรางFace
นะครับเพื่อมาทํารายละเอียดของเหล็กที่พาดกันไปมาบนหลังคา ซึ่งก็ไดแกระแนง
อะเส สันตะเขหรืออะไรก็ตามแตที่เรากําหนดรูปแบบหลังคาขึ้นมานะครับ
ซึ่งผมจะใชคุณสมบัติในสวนของIntersect face>With context
เขามาชวยในการสรางเสนที่เราตองการเพื่อใหเราสามารถใชคําสั่ง Build along
pathของ PB ไดนะครับ พอจะนึกออกนะครับ
วิธีนี้ใชแกปญหาเรื่องการใชคําสั่งRotateและMove
เพราะบางคนเวลาประกอบงานโครงหลังคาอาจจะเสียเวลาไปเปนวันเลยนะครับ
แลวก็ลบเสนที่ไมจําเปนออกไปนะครับ
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8Kru ChaTree
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentการทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentSKETCHUP HOME
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างSKETCHUP HOME
 
เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paint
เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paintเครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paint
เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม PaintBenjapeon Jantakhot
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upChainarong Maharak
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015วิชา อาคม
 
คู่มือ Sketchup.8
คู่มือ Sketchup.8คู่มือ Sketchup.8
คู่มือ Sketchup.8ssuserb63d9f
 
เครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม PaintBenjapeon Jantakhot
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintkungkunk
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม PaintBenjapeon Jantakhot
 
เอกสารประกอบการบรรยาย Blender
เอกสารประกอบการบรรยาย Blenderเอกสารประกอบการบรรยาย Blender
เอกสารประกอบการบรรยาย Blenderkulachai
 

Mais procurados (20)

คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
คู่มือการใช้โปรแกรม google sketchup 8
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentการทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
 
เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paint
เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paintเครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paint
เครื่องมือต่างๆ ในโปรแกรม Paint
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 20151.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
1.2 ส่วนต่างๆของหน้าจอของโปรแกรม sketch up 2015
 
คู่มือ Sketchup.8
คู่มือ Sketchup.8คู่มือ Sketchup.8
คู่มือ Sketchup.8
 
เครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้ลงสีในโปรแกรม Paint
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
บทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paintบทเรียน โปรแกรม Paint
บทเรียน โปรแกรม Paint
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
ข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch upข้อสอบSketch up
ข้อสอบSketch up
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบทการออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
การออกแบบตัวละครเพื่อการเขียนบท
 
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paintเครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
เครื่องมือที่ใช้วาดภาพในโปรแกรม Paint
 
เอกสารประกอบการบรรยาย Blender
เอกสารประกอบการบรรยาย Blenderเอกสารประกอบการบรรยาย Blender
เอกสารประกอบการบรรยาย Blender
 

Destaque

Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine   Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine nathjza
 
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonThe innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonTimothy Wooi
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...SKETCHUP HOME
 
Honda cbr600 f history of the marque uk models
Honda cbr600 f history of the marque   uk modelsHonda cbr600 f history of the marque   uk models
Honda cbr600 f history of the marque uk modelsnathjza
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นchupol bamrungchok
 
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยการพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยSKETCHUP HOME
 
Fm model by SketchUp
Fm model by SketchUpFm model by SketchUp
Fm model by SketchUpSKETCHUP HOME
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2Peerapong Veluwanaruk
 
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติPeerapong Veluwanaruk
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบPeerapong Veluwanaruk
 

Destaque (12)

Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine   Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine
 
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonThe innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
 
Honda cbr600 f history of the marque uk models
Honda cbr600 f history of the marque   uk modelsHonda cbr600 f history of the marque   uk models
Honda cbr600 f history of the marque uk models
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้น
 
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยการพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
 
Fm model by SketchUp
Fm model by SketchUpFm model by SketchUp
Fm model by SketchUp
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
 
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
 
welding
weldingwelding
welding
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 

Semelhante a แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง

Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectTatpicha
 
Computer project reallll
Computer project reallllComputer project reallll
Computer project reallllTatpicha
 
Autodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proAutodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proFon Kanyawat
 
Autodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proAutodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proFon Kanyawat
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5JoyCe Zii Zii
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectppchanoknan
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32
นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32
นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.325422010240
 
ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”พลอย พลอย ฮัลโหล
 

Semelhante a แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง (20)

Sketch up 8
Sketch up 8 Sketch up 8
Sketch up 8
 
หน่วยที่ 1.2
หน่วยที่ 1.2หน่วยที่ 1.2
หน่วยที่ 1.2
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Computer project reallll
Computer project reallllComputer project reallll
Computer project reallll
 
Autodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proAutodesk sketch book pro
Autodesk sketch book pro
 
Autodesk sketch book pro
Autodesk sketch book proAutodesk sketch book pro
Autodesk sketch book pro
 
Sketchup1
Sketchup1Sketchup1
Sketchup1
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
Prodesktop
ProdesktopProdesktop
Prodesktop
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32
นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32
นางสาวเขมจิรา เม่นทอง เลขที่ 21 ชบ.32
 
ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
ตัวอย่างโครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 

แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง

  • 2.
  • 3. คําแนะนํา สําหรับเอกสารฉบับนี้จัดทําเพื่อประกอบการสอนหลักสูตรการประยุกตใชงานSketchUp กับงานกอสรางนะครับ ซึ่งเนื้อหาจะเปนการรวบรัดเพื่อใชบรรยายและอธิบายซึ่งอาจจะทําใหเขาใจไดยากสําหรับผูที่มีพื้นฐานการใชงานในระดับเพิ่งเริ่มตนนะครับ ดังนั้นจะตองมีประสบการณการใชงานโปรแกรมนี้พอสมควร ในลักษณะของการขึ้นโมเดลและเขาใจการใชเครื่องมือพื้นฐานบางตัวแลวทั้งใน SketchUpและLAYOUT เอกสารฉบับนี้จะเปนการสอนตั้งแตการเปดโปรแกรมการตั้งคากระดาษจนไปถึงการไดแบบสําหรับงานกอสราง และการประยุกตการใชงานในเรื่องการบริหารโมเดลกอสราง ซึ่งหากมีการผิดพลาดประการใดผูแตงก็ขออภัยมาใน ณ ที่นี้ดวย และหวังวาจะเปนประโยชนสําหรับคนที่ตองการหาความรูใหมๆกับการใชโปรแกรม SketchUp ขอแสดงความนับถือ นายชูพล บํารุงโชค 3D SKETCHUP FOR PRE-CONSTRUCTION THAILAND
  • 4. สารบัญ เรื่อง หนา 1 การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel 1 2 การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังSketchUp 6 3 การสรางGEO -MODELING จากSketchUp และExtension 10 4 การทําMassModelและการทําเสนContour 14 5 การทําProfile-CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ 19 6 การจัดผังบริเวณดวยXref 30 7 การใชคําสั่งOutlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ 35 8 การประยุกตใชExtensionใหเหมาะสมกับงานกอสราง 38 9 การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ 43 10 การใชงาน LAYOUTSKETCHUP 58 3D SKETCHUP FOR PRE-CONSTRUCTION THAILAND
  • 5.
  • 6. หนาที่ 1 บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel 3DSketchUpforPre-constructionThailand เมื่อทําการเปดโปรแกรม SketchUpPro2017 ขึ้นมาตอนเริ่มตนจะใหทําการเลือกTemplateซึ่งจะมีหนวยกํากับไวดวยนะครับ เชน นิ้วฟุตเมตร มิลลิเมตร เลือกตามความเหมาะสมตามมาตรฐานของงานแตละทานไดเลย ซึ่งหนวยพวกนี้สามารถแกไขภายในไดอีกครั้งนะครับ เมื่อไดแลวก็กดที่Start usingSketchUpตอไดเลย หนาตางการทํางานก็จะเริ่มขึ้นเลยนะครับ ซึ่งTool ตางของแตละคนก็อยูที่การนําเอาออกมาใชนะครับ ซึ่งอาจจะไมเหมือนกันตามความถนัดของแตละคนไปที่คําสั่ง View>Toolbars สามารถเลือกมาใชงานไดเลยนะครับ . ... .^_^ การตั้งคาตําแหนงที่ตั้งของ Modelจะอยูตรงนี้นะครับ สามารถกดดูไดเลยวาตอนนี้ตําแหนงมันอยูตรงไหน ซึ่งก็จะมีหนาตางModelinfo เปดขึ้นมา และจะอยูในหัวขอGeo-Location เกร็ดความรู องศาทศนิยมเปนคาที่ไดจากการสํารวจนะครับซึ่งคาที่ไดจากกลองงานสํารวจเปนคาUTMนั้นก็คือคา X,Y เราสามารถแปลงคาใหเปน Latitude, Longitudeไดนะครับ ในตอนเริ่มตนนั้นเมื่อเปดโปรแกรมขึ้นมาคา GPSชุดแรกจะไดมาจากตําแหนงทาง Internetนะครับ นั้นคือตําแหนงปจจุบันของคุณที่นั่งทํางานอยู AddLocation≥การระบุตําแหนงจากภาพถายดาวเทียมโดยเปนขอมูลจากGoogleEarthจะครับ ซึ่งแตละพื้นที่จะมีการอัพเดทขอมูลที่ไมเหมือนกัน Set ManualLocation≥คือการตั้งคาตําแหนงโดยการปอนขอมูลลงไปซึ่งจะเปนในระบบ องศาทศนิยม ยกตัวอยางเชน 19.1458N ,145.2514Eหรือ 58.3246N ,47.5487W เปนตน ในการตั้งคาตําแหนงที่ตองของโมเดลนั้นเปนการนําคาหมุดที่ไดจากการสํารวจมาเปนจุดอางอิงนะครับซึ่งขอมูลชุดนี้ตองมีความแมนยํา ชัดเจน และเปนที่ตกลงยอมรับกันแลววาใชเปนจุดอางอิงไดหามแกไขนะครับ
  • 7. บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel หนาที่2 3DSketchUpforPre-constructionThailand หลังจากที่ตั้งคา Geo-locationเรียบรอยแลวนะครับ มันจะไดแตคา X,Y เทานั้นนะครับตอมาในแกน Zและมุมที่จะตองบิดนั้นอยูตรงนี้ครับ ปรับมุมมองภาพใหเห็นทั้ง3แกนกอนนะครับ แลวClickขวา ที่แกนสีไหนก็ไดหรือจะไปเลือก Click ที่จุด Original เลยก็ไดครับ แลว.. จะขึ้นคําสั่งPlace, Move, Reset,AlignView,Hideนะครับที่เห็นในภาพที่มันเกินออกมา 2 คําสั่งเพราะมีPluginนะครับ Place=>เปนคําสั่งตั้งคาตําแหนงแกนแบบเลือกวางตามตําแหนงไดเลยตามซึ่งจะมีแกนตัวใหมวิ่งตามลูกศรของเรานะครับ ซึ่งมันจะใหเรากําหนดทิศทางของแกนไดเอง ถาไดลองไปแลวอยาตกใจนะครับวาเปลี่ยนตําแหนงไปแลวอยากไดกลับคืน ใหทําตามขึ้นตอนเริ่มตน ไปที่ Reset Move=> เปนคําสั่งที่เราสามารถปอนคาเองไดเลยซึ่งในตัวนี้คา X,Y เราไดกําหนดผาน Geo-Locationไปแลวนะครับ เราจะไมปอนคาเขาไปแตจะเพิ่มเพียงแคคาระดับ Zนะครับวา หมุดอางอิงเราอยูระดับที่เทาไร หรือจะกําหนดเปน0.00ก็ไดและคา Rotateคือคาองศาของการเอียงของแกนเราจะบิดเฉพาะแกน Zอยางเดียวนะครับ Rotateแกน Z การRotateแกน Zโดยใชคาอะไรมาเปนตัวกําหนด. ... ... . จากที่ไดลองผิดลองถูกมา ปรากฏงา แกนของ SketchUpในแนวแกน Yจะทํามุมกับทิศเหนือจริงเสมอนั้นก็แสดงวาGreenคือทิศเหนือRedคือ ทิศตะวันออก(เสนทึบทั้งหมด)ซึ่งเราจึงไมจําเปนตองบิดแกนก็ไดหรือหากตองการบิดก็บิดไปตามมุมของเสนวงรอบที่ทําการคํานวณคามาเรียบรอยแลว เพื่อใหสามารถทํางานไดสะดวก เกร็ดความรู Azimuthคือ คามุมที่ไดจากการทําวงรอบภายในงานกอสรางเพื่อกําหนดขอบเขตของงานโดยเปนหมุดสํารวจที่ทําการปกไวหามรื้นถอนกอนไดรับอนุญาตินะครั บ เพราะมันสําคัญมาก ๆสําหรับงานที่มีความละเอียดมากและมีงานสํารวจมาเกี่ยวของบอยๆ
  • 8. หนาที่ 3 บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel 3DSketchUpforPre-constructionThailand AlignView =>คือ การปรับมุมมองใหเปนระนาบเดียวกันกับแกนนะครับ Hide≥ คือ การซอนแกนถาซอนไปแลวกดCtrl+Z ก็ไมกลับคืนมาครับตองไปที่View> Axes แลวมันจะกลับมานะครับ การประยุกตใชนะครับ เราจะใชกับ Extensionที่มีชื่อวา Point GadgetV2เพื่อนําเอาคา Coordinateเขามากอนแลวนํามาตั้งคาตามหมุดOriginal ที่เราตั้งคาไว และเราสามารถนําออกไฟลใหเปนKMZ,KMLไดนะครับเพื่อเปดในGoogleEarth Pro นะครับ ซึ่งจะไดตามรูปขางลาง ตัววนี้เปนขอมูลที่ไดจากการสํารวจในโครงการของผูเขียนเพื่อนําเสนอขอมูลแกผูบริหารนะครับวามันอยูตรงไหนขอบเขตพอกับการชงานหรือไมฯลฯ
  • 9. บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel หนาที่4 3DSketchUpforPre-constructionThailand หรือจะเปนงานนําเสนอทางเขาระยะทาง16กิโลเมตรจาก ถนนหมายเลข13ใตของสปป.ลาว เขามายังโครงการโดยนําเสนอตอเจาแขวงคํามวนโดยในLayout จัดรูปแบบนําเสนอ นะครับ และการนําเขาคา Geo-LocationจากGoogleEarthจากตัวโปรแกรม SketchUpเองนะครับแลวมาทํา Contourเพื่อนําเสนอ เกร็ดความรู Contour คือ เสนแสดงระดับความสูงของพื้นที่นั้นๆ ซึ่งขึ้นอยูกับการกําหนดคาความชันของเสน เชน 0.2, 0.5,1 ,5,10 เมตรเปนตน ขึ้นอยูกับการออกแบบและการตองการความละเอียดของขอมูล
  • 10. หนาที่ 5 บทที่1การจัดการหนาแบบฟอรม 3DModeling และการตั้งคาตําแหนงModel 3DSketchUpforPre-constructionThailand บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
  • 11. บทที่2 การนําเขาขอมูลCoordinate เขามายัง SketchUp หนาที่6 3DSketchUpforPre-constructionThailand การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังตัวโปรแกรม SketchUpในสวนนี้ตองใชExtensionที่มีชื่อวา Point GadgetV2 เขามาเปนตัวชวยในการนําเขาขอมูลนะครับ วิธีการก็ไมไดยากซับซอนซึ่งงายมากและจะเปนวิธีการที่การตอเนื่องจากบทที่1ซึ่งเราไดตั้งคาแกนไวเรียบรอยแลวนะครับ UpdatePoints ShootPoints InputCoordinate InspectPoints Report Points Converttoconstructionpoints Importfile ExportCVS Createlinework Colorbylayer PointGadget V2 คือ Pluginที่ถูกสรางขึ้นมาเพื่อนําเขาขอมูลDataSurveyจากนามสกุลไฟล.txt และ.cvsแลวสามารถสรางโมเดลเปน Point ตามที่ไดเก็บขอมูลมาจากกลองและการบันทึกขอมูลซึ่งจะตองเปนคาพิกัดกริด(Universal TransverseMercator) ซึ่งคาพิกัดกริดหากใครไดศึกษา การทําสํารวจหรือใชงานนั้นจะรูดี ซึ่งจะใชคําสั่งImportfileเขามากอนนะครับ เมื่อกดที่คําสั่งก็จะมีการเปดหนาตางขึ้นมาและใหเราทําการกําหนดคาตามที่ขอมูลเรามีนะครับวาหนวยเปนอะไร การกําหนดรูปแบบตารางไฟล.CSV A≥ หมายเลขหมุดTopo B และC≥คา E,N หรือ X,Yนั้นเอง D ≥คาระดับความสูงในแนวแกนZ E ≥ชื่อของหมุดซึ่งไดจากการบันทึกจากกลองวาตําแหนงนั้นคืออะไรเสาไฟ ตนไม บอพัก เปนตน www.Extensionsketchup.com แหลงรวบรวม ExtensionของSketchUpมีทั้งฟรีและจายเงินนะครับ
  • 12. หนาที่ 7 บทที่ 2 การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังSketchUp 3DSketchUpforPre-constructionThailand เมื่อนําเขาไฟลเรียบรอยแลวก็จะมีหมุดเกิดขึ้นตามขอมูลที่ไดมานะครับ หากหาไมเจอใหไปที่ Outlinerซึ่งอยูที่ Tray ดานขวามือ Tray Trays คือหนาตางที่ทําขึ้นมาใหมสําหรับ SketchUpเรื่มมีมาตั้งแตตอน2015เพื่อใหการทํางานสะดวกขึ้นสามารถAuto Hideได ซึ่งสวนประกอบของTrays นั้นก็จะเปนหนาตางหลักๆ ที่ใชงานเปนประจําเชนLayers,EntityInfo,Outliner, Stylesเปนตน ครับผม ถาหาเจอแลวเรามาดูกันตอครับวายังไงตอ หากไปดูที่Layers จะมีLayers ใหม ๆเพิ่มขึ้นมาซึ่งมันเกิดจากชื่อของหมุดที่เราเก็บขอมูลมาซึ่งในสวนของ Outlinerก็จะแจงชื่อหมุดเชนกัน แตไมแสดงหมายเลขของหมุดอยาเพิ่งตกใจครับ . ... .มาดูกันตอ ReportPoints ReportPoint เปนคําสั่งที่จะเปดขอมูลของหมุดทั้งหมดที่อยูใน SketchUpนะครับกดเลย
  • 13. บทที่2 การนําเขาขอมูลCoordinate เขามายัง SketchUp หนาที่8 3DSketchUpforPre-constructionThailand Inspect Points Inspectpointคือคําสั่งที่ใชตรวจดูคาCoordinate ในโมเดลซึ่งจะแสดงขอมูลพื้นฐานของหมุดคาขึ้นมาวาอยูในพิกัดใดหมายเลขใด ระดับเทาไรชื่อวาอยางไร Createlinework Createlineworkคือ คําสั่งที่จะสรางEDGEไปตามหมุดตางๆ ตามที่เราไดสรางขึ้นและนําขอมูลเขามา ซึ่งเสนจะเชื่อมตอจากหมุดที่1ไปยังหมุดที่n ตามจํานวนหมุดที่มีโดยแบงตามประเภทของหมุดนั้นๆ EDGEที่ถูกสรางขึ้นเมื่อเปดคําสั่งCreatelinework เกร็ดความรู Createlineworkเหมาะสําหรับตองการทราบขอบเขตของการทํางานเมื่อประยุกตใชในคําสั่ง Shoot Points ShootPoints Shootpointsคือ คําสั่งที่จะสรางหมุดขึ้นมาเองโดยที่ เราเปนตัวกําหนดตําแหนงลงบนโมเดลไดเลยซึ่งมันจะถามหาLayers ของหมุดดวยนะครับกอนการShootpoints หมุดสีฟา ที่สรางขึ้นใหมจากคําสั่งShoot Points เมื่อใชคําสั่งPoint Report ออกมาจะมีคา Coordinates,Point ,Type,Feature แสดงผลออกมา
  • 14. หนาที่ 9 บทที่ 2 การนําเขาขอมูลCoordinateเขามายังSketchUp 3DSketchUpforPre-constructionThailand บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
  • 15. บทที่3 การสรางGEO-MODELINGจากSketchUpและ Extension หนาที่10 3DSketchUpforPre-constructionThailand หลังจากมีการนําเขาขอมูลSurveyแลวตอมาเราจะทําการสราง GeoModel จากคาที่นําเขามาโดยมีหลากหลายวิธีซึ่งผมจะนําเสนออยู2วิธีนะครับ คือ 1.การใชคําสั่งCreateLineworkแลวสราง Terrainขึ้นมา 2.การปรับหมุดโดยตรงแลวสรางTerrainขึ้นมา ซึ่ง2วิธีนี้ขอมูลที่จะแสดงออกมาจะไมแตกตางกันมากแตวิธีการจะไมเหมือนกันซึ่งจะเริ่มเลยนะครับในวิธีที่1 เครื่องมือที่ตองใชงาน 1.Sandbox 2.PointGadget V2 เริ่มตนจากการเลือกไปที่หมุดกอนนะครับ แลวใชคําสั่งShootPoints COPYออกมาเลยนะครับ โดยเลือกเสนที่เกิดขึ้นใหมทั้งหมดเลยมันจะเปน Groupนะครับ แลวก็ Explode แลวเลือกเสนทั้งหมดกดที่คําสั่ง FromContour Contourที่เกิดขึ้นจากคําสั่งนี้ไมเหมาะสําหรับงานถนนนะครับ เพราะเสนมันจะวิ่งไปตามลําดับของPointที่เก็บคามา ซึ่งมันไมสวยครับ แตถาเปนเนินดิน หรือเปนที่ราบที่สามารถเก็บเปนแนวกวางไดเรื่อยๆวิธีนี้จะใชไดดีมาก PointGadget V2 Sandbox ตองShootPointsใหครบทุกLayersนะครับ แลวมันจะสราง Layerขึ้นมาใหมชื่อวา Linework
  • 16. หนาที่11 บทที่ 3การสรางGEO-MODELINGจาก SketchUp และ Extension 3DSketchUpforPre-constructionThailand วิธีที่1 ผานไปแลวมาดูอีกหนึ่งวิธีกันครับ เครื่องมือที่ตองใชงาน 1.Sandbox 2.PointGadget V2 วิธีนี้จะแตกตางจากวิธีที่ 1อยางสิ้นเชิงเพราะเราจะทําการแกไขโมเดลหมุดที่นําเขามาโดยและสรางTerrainขึ้นมาใหม 1.เริ่มจากCopy หมุดออกมาวางไวใกลๆกันนะครับ จําระยะที่วางไวดวยนะครับ ใหอยูในระนาบเดียวกันดวยนะครับ เพื่อไมใหระดับคลาดเคลื่อน 2. หลังจากนั้น MakeUniqueนะครับ เพื่อทําการไมใหComponent มันเชื่อมคุณสมบัติหากัน และเราก็เริ่มแกไขกันเลยครับ 3. เริ่มจากลบเสนGuideตรงแกนกลางออก แลวลากเสนLineเขามาแทน 1. 2. 3. 4.และลบตัวหมุดออกใหเหลือแตเสนแกนที่เราสรางขึ้นใหมแลว Explodeออกทุกหมุดนะครับ 5.เมื่อExplodeออกแลวจะเหลือแตเสนนะครับที่นี้เลือกเสนทั้งหมดนะครับแลวไปที่คําสั่งForm Contoursก็จะไดTerrainออกมานะครับ 4. 5. 6. ไดContourกันมาแลวก็ยายเขาไปใหอยูตามตําแหนงเดิมนะครับ ซึ่งก็ถือวาไดโมเดลที่เปนลักษณะ Area แลวเหลือแตตัวVolumnซึ่งจะนําเสนอในบทตอไป
  • 17. บทที่3 การสรางGEO-MODELINGจากSketchUpและ Extension หนาที่12 3DSketchUpforPre-constructionThailand เกร็ดความรู โมเดลที่มีขนาดใหญยิ่งใชเวลานานมากดังนั้นเตรียมแผนดีๆในการขึ้นโมเดลGEOเพราะจะทไใหเสียเวลามากๆ ควรแบงพื้นที่ใหล็กลงจะดีกวาเพื่อใหงายตอการทํางาน ตัวอยางจากงานบางสวนของผูแตงเองซึ่งเปนงานที่มีขนาดใหญมาก แตสามารถใช SketchUpทํางานในลักษณะนี้
  • 18. หนาที่ 13 บทที่ 3การสรางGEO-MODELINGจาก SketchUp และ Extension 3DSketchUpforPre-constructionThailand บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
  • 19. บทที่4 การทํา Mass Model และการทําเสน Contour หนาที่14 3DSketchUpforPre-constructionThailand FormContour FromScratch Smoove Stamp Drape AddDetail Filp Edge หลังจากที่เรานําเอาหมุดเขามาแลวนะครับ และตั้งคาแกนตําแหนงที่ตั้งเปนที่เรียบรอยแลวตอไปนี้ก็จะเปนเรื่องที่มีความสําคัญมาก ๆคือการทํา MassModelและ Contourเพราะหลังจากนี้ไปจะเปนการประยุกตเขากับงาน ถนนและอาคารนะครับ ซึ่งตัวอยางที่ผมจะนํามาใชเปนงานที่อยูที่สปป.ลาว นะครับงานปรับปรุงพื้นที่เพื่อทําเปนสวนเกษตรพอเพียงพื้นที่ประมาณ 20 ไรโดยเราจะเอาแตคาSurvey ที่ไดมาทําการประยุกตใชนะครับโดยสมมุติใหวาจะมีการตัดถนนเขามายังพื้นที่และสรางอาคาร 1หลังนะครับมาดูกันเลย กอนอื่นนะครับเราตองทําใหเปนMass Model กอนนะครับหรือจะทํา Contour กอนก็ไดนะครับไมผิดแนนอนเพราะวิธีการในSketchUp มันดิ้นไดเสมอครับอยูที่ความถนันของแตละบุคคล 1.โดยDoubleClick เขาไปที่Group ของ Surfaceที่เราสรางขึ้นกอนนะครับ 2.สราง faceที่ดานใตของSurfaceที่เราสรางขึ้นนะครับ เพื่อที่จะไดใชคําสั่ง Drape ขอบเขตพื้นที่ลงไปยังFace ขางลาง ชุดคําสั่งของSandbox 3.เมื่อ DrapeขอบเขตของSurfaceลงไปแลวอยาลืม ReverseFace นะครับผม อันนี้สีดําตองอยูดานในสีขาวอยูดานนอกจําไวนะครับเวลาทําโมเดล 4.ใชคําสั่งPush/pullดันพื้นที่ขางลางขึ้นมาใหเกินSurfaceนะครับ หลังจากนั้นเลือกในสวนที่เกินแลวลบออกดวยEraser 5.ก็จะไดTerrainประมาณนี้นะครับสําหรับขอมูลของผมซึ่งตอไปก็จะเปนการทํา Contourนะครับ 1. 2. 3. 4. 5. อยาลืมReverseFaceนะครับ
  • 20. หนาที่ 15 บทที่4การทํา MassModelและการทําเสน Contour 3DSketchUpforPre-constructionThailand 6.ทําการตรวจสอบปริมาณทั้งหมดของโมเดลไดจาก Entity Infoโดยถาเปน Solidจะมี Volume แสดงอยูนะครับ หากไมมีมีแนะนําใหใช Pluginที่ชื่อวา SolidInspector2 6. SolidInspector2เปน Pluginที่สรางขึ้นมาเพื่อมาแกไขBUG ที่เกิดขึ้นในModel เมื่อเราตองการทราบปริมาตรของModel ที่เราสรางขึ้น การนํา Typical Sectionของแกนเขื่อนมาคํานวณหาปริมาณงานดินบดอัด เกร็ดความรู ปญหาทางดานBUGที่เกิดขึ้นสวนใหญนะครับจะเปนชองโหวจากการสรางที่ไมสมบูรณซึ่งตองแกไขดวยตัวเอง ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในโมเดล จะมีการแจงเตือนผานหนาตาง หาก Clickขวาจะมีคําสั่งใหเลือกดวยนะครับ SolidInspector2
  • 21. บทที่4 การทํา Mass Model และการทําเสน Contour หนาที่16 3DSketchUpforPre-constructionThailand การตรวจปริมาณดินขุดออกของงานคันดินชั่วคราว การตรวจสอบปริมาณหินที่มีอยูในโครงการฯเพื่อนํามาใชผลิตคอนกรีต
  • 22. หนาที่17 บทที่4การทํา MassModelและการทําเสน Contour 3DSketchUpforPre-constructionThailand สําหรับการทําเสนชันความสูงของSketchUpนะครับ ก็จะมีรูปแบบการทําที่ไมซับซอนโดยจะใชชุดคําสั่ง IntersectFace เปนตัวชวยนะครับ 1.ซึ่งเมื่อเรา Clickขวาที่ตัวโมเดลเอง หรือที่Surface จะมีคําสั่งขึ้นมานะครับ 2. เริ่มจากการสรางพื้นที่สี่เหลี่ยมวงกลม หรืออะไรก็ไดที่สามารถครอบคลุมพื้นที่ของโมเดลไดทั้งหมดแลวใหทําเปน MakeGroupนะครับ แลวก็Move>Copy วางตามที่ตองการนะครับ 3. เขาไปแกไขในGroupกอนนะครับ เลือกSurfaceแลวClickขวา ไปที่คําสั่งIntersectface >WithModel แลวมันจะลอกเฉพาะจุดที่ตัดกับโมเดลหลักนะครับ ซึ่งจะไดเสน Contour ออกมานะครับ 4.ทําใหครบทุกอันนะครับตามขั้นตอนกอนหนานี้แลวจะไดตามรูปนี้เลย 1. 2. 3. 4. เกร็ดความรู การทํา Contour แบบเปนขนมชั้นก็ใชวิธีนี้นะครับเพียงแตไดเสนขอบเขตแลวใชคําสั่ง Push/Pullชวยอีกที
  • 23. บทที่4 การทํา Mass Model และการทําเสน Contour หนาที่18 3DSketchUpforPre-constructionThailand บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
  • 24. หนาที่19 บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ 3DSketchUpforPre-constructionThailand การทํา Profile-Cross Sectionคือวิธีการเพื่อหาปริมาณดินในรูปแบบพื้นที่หนาตัดโดยProfileSectionจะเปนภาพตัดในแนวตามยาวสวนCrossSectionนั้น จะเปนภาพตัดตามขวางของตัวProfileSection โดยจะใชในงานดิน ขุด-ถมกลับ เชน งานถนนงานเปดบอดิน งานระบบชลประทาน งานปรับพื้นที่เปนตน โดยในปจจุบันเราจะใชวิธีการหาพื้นที่หนาตัดในแตละSectionคูณดวยความยาวแตละสวนแลวเฉลี่ยคาที่คํานวณไดออกมา ซึ่งเปนวิธีที่งายและเปนที่นิยม แตวิธีการตอไปนี้เราจะทําจากSketchUp นะครับ โดยไดทั้งรูปแบบสามมิติและ สองมิติไปพรอมๆ กัน จากบทที่4นะครับเราจะเอาขอมูลชุดนี้มาจัดทําขอมูลภาพตัดตามยาวและภาพตัดตามแนวขวาง โดยจะตัดตามเแนวเสนสีแดงตามนี้นะครับ ชุดคําสั่งที่ใชนะครับ คือ Section SolidTools และ Sandbox กอนจะเริ่มขึ้นตอนนี้นะครับหลังจากที่เราเตรียมโมเดลเรียบรอยทั้ง ContourและการจัดGroup, Component เรียบรอยไปหมดแลว ตอมาเราก็มาเตรียมแนวเสนที่เราจะทําการตัดโดยใชชุดคําสั่งของ Sandboxที่ชื่อวาFromScratchเพื่อสรางแนว Gird ขึ้นมานะครับ สวนนี้ผมกําหนดอยูที่25x25เมตรนะครับ และสรางกลองขึ้นมา1 กลองใหขนาดใหญกวาหรือครอบคลุมตัวชิ้นงานนะครับ เพราะเราจะทําการตัดเปนสวนๆ ดวยนะครับ เพื่ออนาคตครับ การตัดก็จะตัดตามแนวที่เรากําหนดไวนะครับโดยแยกออกมาตางหากนะครับ เกร็ดความรู โมเดลที่มีขนาดใหญจะใชเวลาในการ Trim นานมาก ดังนั้นจึงตองแยกสวนกันออกมาเพื่อประหยัดเวลาและไมกินทรัพยากร Hardwareมากเกินไป
  • 25. บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ หนาที่20 3DSketchUpforPre-constructionThailand แลวก็จะไดตามรูปเลยนะครับ ทีนี้เราจะมาทํา Profile-CrossSectionตามแนวที่เราไดกําหนดไวแลวตามSta.นะครับ ซึ่งผมจะนําเสนอในวิธีที่ไมซับซอนมากเกินไปนะครับ โดยมีวิธีการดังตอไปนี้ ถาโมเดลที่เราจะทําการตัดSectionมันเอียงไมทํามุมตามแกนหลักนะครับ ตองมาปรับโดยใชคําสั่ง AlignViewนะครับคลิ๊กขวาที่หนา Faceนะครับ AlignViewจะใชตอนทํา Scene นะครับ 1.ที่นี้ก็เริ่มกันเลยนะครับเราจะไปเปดที่Groupของ Terrain ที่เราทําไวแลวก็เริ่มทํา Section Planเลยครับ ถาใชคําสั่ง HiderestofModel ดวยจะสะดวกมากขึ้นนะครับ โดยจากภาพผมจะตัดใหตรงแนวGird ที่สรางไวเลยนะครับก็จะไดตามนี้นะครับ ËÅѧ¨Ò¡ Hide rest of model àÃÒ¨ÐàËç¹à©¾ÒШش·ÕèàÃÒ·íÒ§Ò¹ เกร็ดความรู เราสามารถตัดซอนกันหลายๆ ครั้งไดใน 1Scene
  • 26. หนาที่21 บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ 3DSketchUpforPre-constructionThailand 2. ก็มาตอกันที่การทํา Sceneนะครับขั้นตอนก็คือ AlignView>ParallelProjection>Add Scene>UpdateScene Stepการทํา Sceneนะครับจําไวใหแมนเลย จัดมุมภาพใหเรียบรอย>AddScene>UpdateSceneสําหรับ Sceneแรกนะครับ และSceneN ตอไปก็แคจัดมุมมอง>Add Scene 3.ตั้ง Scene ใหครบตามที่เราตั้งแนวไวนะครับ ซึ่งก็จะได5SectionและScene 6เปนภาพมุมบนนะครับ จะเห็นไดวาทั้งในสวนของ Faceของ Girdและเสน Contour มันจะขวางหูขวางตาเปนที่นารําคาญมากนะครับ วิธีแกก็คือทําในสวนGird, Contourใหเปน Componentนะครับเพื่อที่จะไดจัดการไดงายสังเกตไดจาก Outlinerนะครับ แลวก็ลบพวก FaceออกใหหมดนะครับสําหรับในGird การทํา Scene นั้นเปนสวนหนึ่งเพื่อที่จะนําขอมูลสวนนี้ไปที่ Layout และการทําวิดีโอไวนําเสนอนะครับ ซึ่งเราจะไดทุกอยางเลยทั้งวิธีทําและการนําเสนอซึ่งอาจจะใชเวลาในส วนนี้มากหนอยแตมันคุมคาแนนอนครับ  ใชPluginที่ชื่อวาSelectionToy เพื่อชวยในการเลือกEdge,Face, Polygon,Group, Componentเปนตน
  • 27. บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ หนาที่22 3DSketchUpforPre-constructionThailand ถาอยากเร็วกวานี้ก็ไปโหลดตัวนี้มาครับ SectionCutface มันจะสรางในลักษณะนี้เชนกันแตเปนแบบ Auto นะครับ เราสามารถเลือกสีไดและตั้งคาตางๆ ได 4.ตอมาก็มาทํา Faceกันนะครับเพื่อใหไดArea พื้นที่หนาตัด โดย Clickเขาไปใน Groupนะครับเลือกที่SectionCutที่กําหนดไวแลว Clickขวาไปยังคําสั่ง Creategroup fromSlice จะเหมือนกับโมเดลที่ผมแจกไวในเพจนะครับ วิธีการแบบเดียวกัน 5.ทํากับทุกๆ SceneนะครับดวยวิธีเดียวกันหรือจะใชPlugin ที่ผมแนะนําก็ไดนะครับ แลวอยาลืม ตั้งคาLayersดวยนะครับ กอนการ Update Scene การทํา Cross -ProfileSectionสําหรับ Sketchupนั้นคอนขางจะยุงยากนิดนึงนะครับ คือตองมีใจใหกับมันเปนอยางมาก และนี่คือการทําภาพตัดในรูปแบบหาพื้นที่ Areaนะครับที่นี้มาดูกันวาการนําเสนอในรูปแบบที่แตกตางกันออกไปเปนแบบไหน เกร็ดความรู การทํา Cross-ProfileSectionจองใชความอดทนมากๆ ครับ และจพมีการแกไขตลอดทั้งในSketchUpและlayoutแตรูหรือไมเราสนใจแตปริมาณ ขุดถมกลับ ตัวเลขกลมๆ CreateGroupfromSliceเมื่อทําการ CopyออกมาแลวลากเสนทําใหเกิดFace
  • 28. หนาที่ 23 บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ 3DSketchUpforPre-constructionThailand ยังจําไดไหมครับในหนาที่ 19ที่ผมใหแบงชิ้นงานออกตามแนวตัดนั้นและครับ เปนวิธีการนําเสนอแบบใหมๆ ไมใหลูกคาหรือผูที่ไดเห็นแบบเกิดความนาเบื่อและการไมเขาใจงั้นมาเริ่มกันเลยครับ การนําเสนอในรูปแบบ 3มิติ เอาจริงจังนะครับ ถาไมติดเรื่องคําวามาตรฐาน การจะทําเรื่องแบบสําหรับงานกอสรางไมวาจะเปนงานใดก็ตาม ถามีจินตนาการ และคิดทีจะสื่อความหมายใหทุกคนเขาใจไดงาย ผมวาแบบในลักษณะนี้คงจะเหมือน การตูน ... . คือตอนนี้เรายังไมสงขอมูลไปที่Layoutนะครับซึ่งจะกลาวในบทการใชงาน Layoutนะครับตอนนี้ก็ลองมือกันไปกอน จัดSectionตั้ง Scene ใหคลองเลยครับ จัดกระบวนการความคิดใหม การจําลองโมเดลเพื่อใหไดลักษณะตามที่เราตองการนะครับ อยางวิธีนี้มันสามารถไปประยุกตใชไดในหลายอยางซึ่งผมก็ใชอยูเหมือนกันเชน การตัดโมเดลเพื่อทํารายละเอียดโดยใชLayerใหนอยที่สุดหรือการทํา Animationนะครับซึ่งมันสามารถจะเปนการประยุกตที่ดีมากๆในการนําเสนองาน ชิ้นงานที่เตรียมไว
  • 29. บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ หนาที่24 3DSketchUpforPre-constructionThailand ทีนี้เราจะมาทํางานขุดดิน ถมกลับ กันนะครับ โดยเครื่องมือที่ใชก็ไมมีอะไรมาครับ PointGadget ,Solid Tools ,แลวก็เครื่องมือพื้นฐานทั่วไป งั้นเราจะมาถมบอตรงนี้กันนะครับ โดยมันมีหลากหลายวิธีเชน 1.ใชเสนContourโดยCopy มาแลวใชคําสั่ง FromContourเพื่อสรางSurface และทําใหเปนSolid model 2.การสรางกลองขึ้นมาใหมีขนาดใหญกวาบอเล็กนอยแลวใชคําสั่งใน Solid Tools ตัดโมเดลออกเปนชิ้นๆ 3.การคัดลอก Surfaceของโมเดลเอง 2วิธีแรกใชเวลาคอนขางนานแตวิธีที่ 3ขั้นตอนนอยกวาไดผลเร็วกวา แตในการอบรมผมจะสอนมากกวา 3วิธีนี้นะครับ แตในหนังสือเลมนี้ผมจะใชวิธี3 แลวกัน เพราะตองอางอิงตามขอมูลหลักนะครับ ก็มาเริ่มกันเลยนะครับ โดยสรางสี่เหลี่ยมมากอนนะครับ MakeGroup ใหเรียบรอยโดยใหมีขนาดใหญกวา บอนะครับ ถามันเล็กเกินไปก็ปรับไดนะครับ ย้ําวาตองมีขนาดที่ครอบคลุมบอทั้งหมดนะครับ ออลืมบอกไปวาระดับความสูงที่จะถมเลือกเอาเลยนะครับ ประมาณนี้เลยนะครับ กําลังดีใชงานไดงาย
  • 30. หนาที่ 25 บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ 3DSketchUpforPre-constructionThailand ที่นี้ไปเปดเสนGeometryนะครับซึ่งอยูในคําสั่ง View แลวเลือกบริเวณที่เราตองการที่จะถมบอนะครับ ที่นี้ก็คําสั่งยอดฮิตรับIntersectFace>With Model เพื่อลอกในสวนที่โมเดลและสี่เหลี่ยมมันสัมผัสกันนะครับ แลวก็จะไดแบบนี้นะครับหากไมไดก็สามารถทําซ้ําไดนะครับเพื่อใหเลือกไดเฉพาะพื้นที่ Areaที่เราตองการ แลว Ctrl+Cนะครับ มาทําการแกไขตอที่ขางนอกเลย ที่นี้ก็ปดเสนตรงบริเวณใดบริเวณหนึ่งนะครับแลวก็MakeGroup มันซะแลวมันจะเปนSolidGroupนะครับจะแสดง Volume ออกมานะครับเปนอันวาไดปริมาณดินถมคราว ๆแลวนะครับ วิธีนี้ไมซับซอนครับงายๆและจะทําใหหลายๆทานไดเขาใจในเรื่อง Geometry ดวยวามันสามารถดึงมาใชงานเฉพาะจุดไดนะครับสําหรับการทําโมเดลSketchUp
  • 31. บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ หนาที่26 3DSketchUpforPre-constructionThailand หลังจากถมไปแลวเรามาขุดกันบางครับ โดยมันมีหลากหลายวิธีเหมือนกับขั้นตอนการถมเชนกันนะครับ เชน 1.การสรางกลองขึ้นมาใหมีขนาดตามที่เราตองการตามพื้นที่ที่เราตองการขุดออกนะครับ 2. การคัดลอกSurfaceของโมเดลเองแลวมาทําเปนพื้นที่ขุด ผมจะใชวิธีที่1 นะครับมันสะดวกกวา .. .. แตผมจะประยุกตเอางานSurveyมาชวยดวยนะครับ โดยใชPointGadgetดวยการShoot Point ออกมาใหมแลวตั้งชื่อ หมุดใหมอีกรอบนะครับผมจะตั้งวา บอน้ําแลวกันนะครับ จากหมุดสีแดงนะครับ ที่ทําแบบนี้เพราะวา เราจะไดกําหนดขอบเขตของงานใหเสมือนการทํางานจริงๆ นะครับ การกําหนดขอบเขตสามารถสรางเสนไดจากCrateLinework นะครับ มันจะสรางเสนขึ้นมาใหเราเห็นขอบเขตของหมุดซึ่งเราจะใชเสนนี้ นะครับในการทําบอ  เขาไปEditGroup เลยนะครับเพราะเสนมันจะไมสัมผัสกันจนหมดนะครับ เราตองไปลากเสนเพิ่มนะครับแลวมันจะไมเกิดFace ขึ้นมานะครับแลวเพราะวาเสนมันไมไดอยูในระดับเดียวกันตองเขาใจตรงนี้ดวยนะครับ เราก็ไปกันตอเลย
  • 32. หนาที่ 27 บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ 3DSketchUpforPre-constructionThailand ตอจากนั้นนะครับ สรางBaseที่ขางลางเพื่อใชDrapeชวยนะครับ เนื่องจากวาเสนมันไมไดอยูในระดับเดียวกันหากใชคําสั่ง Followme มันจะไดแกไขและเสียเวลาในการทํามากนะครับ (ไมเชื่อลองดูไดครับ) เมื่อ Drapeลงไปแลวนะครับ ใหลบเสนขางบนออกแลวMove+Copy ขึ้นมาในระดับเดิมโดยอิงกับแกนของGroupนะครับ สรางสามเหลี่ยมโดยกําหนดSlopeเปน 1:1นะครับ เพราะคําสั่งตอไปที่จะใชคือFollowmeนะครับ (ตอนนี้ทุกเสนมันเปนระนาบเดียวกันแลวนะครับสามารถทําได) วนรอบ Areaที่เราทําขึ้นมา ใหไดแบบนี้นะครับแลวปดสวนบนและสวนลางนะครับ ลบตัว Baseออกไดเลย ลบออกเลยครับ สรางเสนปดไดเลยทั้งบนและลาง
  • 33. บทที่5 การทํา Profile- CrossSectionงานดิน ขุด-ถมกลับ หนาที่28 3DSketchUpforPre-constructionThailand ก็จะไดแบบนี้นะครับเมื่อปรับ เตรียมโมเดลเรียบรอยแลว และอางอิงตามระดับที่เราทําไวนะครับ ตอไปก็มาใชคําสั่งSplit ในเครื่องมือSolidtools นะครับเพื่อตัดชิ้นสวนนี้ออกไป จะไดทราบวาปรัมาณดินขุดออกเทาใด ไดแลวครับซึ่งจะไดขอมูลตามที่เราตองการ โดยโมเดลจะแยกกันออกมาตามที่เราตองการนะครับ ขอมูลในลักษณะนี้เมื่อไดมาแลวเราสามารถนําไปประยุกตใชกับProfileBuilderไดนะครับ ซึ่งจะกลาวถึงในบทการประยุกตใชProfileBuilder นะครับ เกร็ดความรู การทําโมเดลงานดินขุด-ถมกลับ ตองใชเวลาพอสมควรนะครับ ยิ่งใหญยิ่งชา สวนนี้ตองขุดออกดวย
  • 34. หนาที่ 29 บทที่5การทํา Profile- CrossSectionงานดินขุด-ถมกลับ 3DSketchUpforPre-constructionThailand บันทึกชวยจํา จําไดไมหมดก็จดไวนะครับ
  • 35. บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref หนาที่30 3DSketchUpforPre-constructionThailand การจัดการผังบริเวณดวยXrefคือ การสงออกComponent ที่เราสรางขึ้นแลวบันทึกขอมูลชุดนี้เก็บไวใหเปนสวนหนึ่งของงาน โดยการแยกไฟลงานออกจากตัวหลักยกตัวอยางเชนในงานอาคารจะแยกหมวดหมูออกเปน -งานโครงสรางและแยกออกเปน -งานโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก -เสา -คาน -ฐานราก -แผนพื้น -บันได -อื่นๆ -งานโครงสรางหลังคาเหล็กรูปพรรณ -สวนประกอบของหลังคา -อื่นๆ -งานสถาปตยกรรม -หนาตางประตู -กระเบื้องฝาเพดาน -อื่นๆ -งานระบบตางๆ -ระบบไฟฟาแสงสวาง -ระบบสุขาภิบาล -ระบบสื่อสาร -ระบบอื่นๆ คือมันเปนการจัดระบบเก็บขอมูลของโมเดลดวยและใชโมเดลหลักเพียงแคตัวเดียว แตมีหลายๆ สวนมาประกอบกันโดยใชจุดอางอิงเดียวกัน และแยกการบันทึกงานออกจากกันทําใหสามารถแบงหมวดงานใหเปนระเบียบไดงายทั้ งในตัวโมเดลเองและไฟลงานเอง
  • 36. หนาที่ 31 บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref 3DSketchUpforPre-constructionThailand การจัดผังบริเวณดวยXrefนั้นไมยากนะครับแต.. .มันประยุกตใชไดเยอะมากถาคิดวิธีการใหมๆ ไดอยูเสมอ สวนวิธีทํานะครับก็ไมยากเพียงแค สรางโมเดลขึ้นมาแลวทําใหเปนComponentแลวก็SaveAsไปยังไฟลปลายทางที่กําหนดไวครับ จากภาพขางบนนะครับ ผมยังใชหมุดจากงานสํารวจเชนเดิมโดยหมุดที่ผมเลือกจากการเปดLayersนะครับบงบอกวาเปน เสาไฟฟาขนาด22Kv ซึ่งผมจะแทนที่หมุดดวยเสาไฟฟา 22Kvนะครับ มาดูกัน เมื่อเลือกหมุดไดแลวนะครับซึ่งมันจะเปนComponentทั้งหมดเลยดังนั้นเราตองmakeUniqueนะครับ เพื่อใหมันตัดขาดความสัมพันธกับตัวอื่น เมื่อเรียบรอยแลวนะครับก็มาเลือกหมุดเพียงแคตัวเดียวไปที่SaveAs นะครับเก็บไวตรงไหนจําใหดีดวยนะครับ แลวก็ตามไปเปดไฟลตัวนั้นเลยนะครับ เพราะเราตองไปแกไขมันแลวกลับมาอัพเดตขอมูลที่โมเดลหลัก ¶ŒÒ¶Ù¡µŒÍ§¨Ð໚¹áºº¹Õé¹Ð¤ÃѺ
  • 37. บทที่6 การจัดผังบริเวณดวยXref หนาที่32 3DSketchUpforPre-constructionThailand หลังจากนั้นก็เปด3D Warehouseเพื่อหาเสาไฟฟา22Kv เพราะมันจะไดไมตองมาเสียเวลาสรางเอกงครับ เราโลหดมาใชงานไดเลย และนํามาปรับปรุงเล็กนอยเทานั้นเอง เลือกเอาแคตนเดียวพอนะครับ แลวก็กดSaveไดเลย(Ctrl+S) แลวกลับมาที่โมเดลหลักนะครับ เลือกที่หมุดเสาไฟฟาของเรานะครับ Clickขวา ไปที่Reload จะมีหนาตางเปดขึ้นมาใหมนะครับ จะถามหาที่ไฟลจัดเก็บไวตรงไหนชื่อวาอะไรเลือกแลวก็Openเลยครับ เสาไฟฟามาแลวครับทั้ง4หมุดเลยตามที่เลือกไวเลย งายนะครับ ไมมีอะไรซับซอนมันเหมาะกับการทําแยกกันระหวางโมเดลหลักนะครับ ขั้นตอนแบบนี้ และเราสามารถไปปรับแกที่โมเดลที่เราแยกกันไดและทํา Detailเพื่อสงออกไปยังLayoutไดเลย เกร็ดความรู XrefมีมานานแลวครับแตSketchUpยกเลิกแลวก็เอากลับเขามาใหมอีกที่ในรุน2017
  • 40. บทที่7การใชคําสั่งOutlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ หนาที่35 3DSketchUpforPre-constructionThailand OUTLINER เปนเครื่องมือที่มาพรอมกับโปรแกรม SketchUp โดยจะอยูที่Window> DefaultTray ปกติเราจะใชแคTrayตัวเดียวซึ่งมันจะประกอบไปดวยLayers,Entityinfo, Materials,Componentเปนตน และTrays ก็สามารถสรางProfile ไวใชงานไดเองซึ่งเพิ่มความหลากหลายในการทํางานโดยการแบงเปนหมวดหมู ซึ่งก็อยูที่ความตองการของแตละคนนะครับเหมือนภาพตัวอยางขางลาง ที่นี้ในสวนของOutlinerมันคืออะไร ตามปกติสําหรับคนที่เริ่มเลน SketchUp ใหมๆจะไปใสใจในเรื่อง Layersเปนกันสวนมากเพราะทุกคนจะเริ่มเขียนที่ Layers0 แลวทําObject นั้นเปนGroup หรือ Component จากนั้นก็คัดลอกกันออกไปเพื่อประกอบกันเปนชิ้นงานแลวมาตรวจสอบกันตรงที่EntityInfo ซึ่งผมก็เคยเปนแบบนั้นมากอนเชนกัน แตมาเจอOutlinerเลยทําใหรูวามันเยี่ยมมากเลย OutlinerเปนเสมือนหองสมุดของSketchUpเอาไวคนหาชิ้นงานภายในโมเดลที่เราสรางและไดตั้งชื่อใหมันแลว การประยุกตเพื่อใหใชงานไดตามที่เราตองการก็คือ การแบงระดับของงานและจัดทําเปนคางวดงาน หรือ การวางแผนงานตามลําดับขั้นตอนการกอสรางอะไรประมาณนี้นะครับ แตผมจะใหความสําคัญในเรื่องการแบงระดับงาน และการจัดทําเปนคางวดงานเพื่อเบิกคาจางเนื่องจากมันสามารถเอาไปใชตอไดงายกวาและไมซับซอนนะครับ ตัวอยางงานโครงสรางของอาคารเมื่อทําการแยกประเภทของโครงสราง ตามลําดับของการกอสรางซึ่งการแบงก็ขึ้นอยูกับตัวเราเองนะครับวาจ ะจัดรูปแบบไหนดีคือจะเขาตามหมวดงานไหมหรือ จะจัดเขาตามแผนงาน ซึ่งก็แลวแตตามที่เราตองการวาอยากตอยอดไปในทิศทางใด
  • 41. บทที่7การใชคําสั่งOutlineเพื่อจัดการขอมูลภายในโมเดลสามมิติ หนาที่36 3DSketchUpforPre-constructionThailand เมื่อนํามาประยุกตใชกับProfileBuilderแค1Click ราคา ปริมาณวัสดุก็ออกมาแลวครับ หรือจะเปนการหาปริมาณเหล็กเสริมคอนกรีตในฐานรากและทําใหผูรวมงานเขาใจดวยวา เหล็กฐานรากตองขึ้นแบบนี้เอง เกร็ดความรู สวนใหญคนสวนมากจะใสใจกับการใชLayers จนมีLayersPanelและตั้งเปนหมวดหมูงาน จนลืมวามีOutlinerซึ่งทําไดดีกวาแนนอน เพราะวาLayersPanelมัน BUGเยอะครับ ในสวนของOUTLINER เองจะมี Filter ซึ่งจะชวยใหคุณคนหาขอมูลโมเดลที่คุณไดสรางและจําแนกไวตามชื่อของวัตถุนั้น ๆซึ่งเมื่อลองคนหาดูก็จะพบวามันจะแสดงเฉพาะสิ่งที่เราคนหา และสามารถนําขอมูลที่ไดมา GenerateReportไดอีกหรือจะใชPB2 ในการสรุปปริมาณวัสดุไดเลยนะครับ แตในสวนหนึ่งหากใชOUTLINER เปนประจําเราก็จะพบวามันทําใหเราสามารถจัดรูปแบบการทํางานของเราเองได และเปนการบริหารพื้นที่ของไฟลไปในตัวอีกดวยทําใหโมเดลที่มีขนาดใหญมาก มีขนาดไฟลที่เล็กลงและงายตอการจัดการ
  • 43. บทที่8 การประยุกตใชExtension ใหเหมาะสมกับงานกอสราง หนาที่38 3DSketchUpforPre-constructionThailand จากการใชงานมานะครับ Extensionหลายตัวก็มีบางตัวที่โอเคและก็ไมโอเคเหมือนกันแตตัวที่ผมจะแนะนํานั้นเหมาะสําหรับงานกอสรางการถอดปริมาณวัสดุ หรือการจัดระเบียบโมเดล โดยงานสวนใหญที่พบเห็นไดบอยที่สุดนั้นก็คืองานอาคารบานทั่วไปโรงงานโกดังซึ่งเริ่มใชSketchUp เขามาชวยใชงานในสวนของการมองภาพใหออกการติดตอประสานงานซึ่งก็ขึ้นอยูกับผูใชงานนะครับ วาตองการใหเครื่องมือนี้ทําอะไรบางแตในระหวางที่ทําโมเดลนะครับเราก็มีตัวชวยเพื่อใหงานเราสะดวกมากขึ้น เรามากขึ้น ประหยัดเวลาฯลฯและก็มีดังตอไปนี้นะครับ ซึ่งเราสามารถDownloadไดที่www.Extensionwarehouse.comนะครับที่เปนตัวหลักสําหรับ ExtensionของSketchUp ซึ่งจะมีทั้งจายเงินและฟรีปนกันไปนะครับ และตัวแรกที่ผมจะแนะนํากอนเลยนะครับ คือ T2H BUILDING STRUCTURE T2HBUILDING STRUCTURE เปน Extension ที่ถูกสรางขึ้นมาคลายกับProfileBuilderแตมันจะมีLibraryเปนของตัวเอง โดยมีเหล็กตามมาตรฐานของญี่ปุนอังกฤษและสหรัฐอเมริกา และวัสดุอื่นๆ เชนงานคอนกรีต และนอกจากจะยึดตามมาตรฐานขนาดเหล็กตามขางตนแลว เราสามารถสรางหนาตัดเหล็กขึ้นมาเองไดเชนกันโดยนะครับ ซึ่งเราสามารถปอนคาหนาตัดเหล็กที่ตองการไดเลย(ตามที่Extensionเคามีใหนะครับ) ซึ่งก็ทําใหเราทํางานไดเร็วขึ้นโดยไมตองมาวาดเองปนโมเดลเองนะครับ มันทําใหเราทํางานไดเร็วขึ้นนะครับนอกจากนี้ยังสามารถถอดปริมาณวัสดุไดดวยนะครับ เกร็ดความรู นอกจาก Extensionwarehouse แลวยังมีsketchucationครับที่เปนที่เก็บ Extension
  • 44. หนาที่ 39 บทที่8 การประยุกตใชExtensionใหเหมาะสมกับงานกอสราง 3DSketchUpforPre-constructionThailand ความพิเศษของT2H นะครับ คือโมเดลที่ถูกสรางออกมาแลวจะมี IFCติดมาดวยสําหรับทางตัว เชน งานคอนกรีตจําพวกเสาคาน ฐานราก พื้น จะมีการแยกTypeอยางชัดเจนเลย ซึ่งเราสามารถ Exportใหเปนไฟลนามสกุล.IFCไดเลยเพื่อนําไปเปดในTEKLABIMSIGHTเพื่อตรวจสอบCashDetectionไดนะครับ สําหรับ Extensionตัวนี้ผมมีไวเพื่อสรางหนาตัดเหล็กที่เราตองการนะครับ และเกี่ยวกับการทํา .IFCมันจะคลายๆกับ ProfileBuilder นะครับ UpdatePoints ShootPoints Input Coordinate InspectPoints Report Points Converttoconstructionpoints Importfile ExportCVS Createlinework Colorbylayer PointGadget V2คือ Pluginที่ถูกสรางขึ้นมาเพื่อนําเขาขอมูลDataSurveyจากนามสกุลไฟล.txtและ.cvsแลวสามารถสรางโมเดลเปน Point ตามที่ไดเก็บขอมูลมาจากกลองและการบันทึกขอมูลซึ่งจะตองเปนคาพิกัดกริด(Universal TransverseMercator) ซึ่งคาพิกัดกริดหากใครไดศึกษา การทําสํารวจหรือใชงานนั้นจะรูดี PointgadgetV2 ซึ่งมันจะใชในงานสํารวจนะครับ ผมใชบอยเพื่อทํางานเกี่ยวกับงานดิน การคิดหาปริมาณการทํางานเกี่ยวSurveyเปนตน ซึ่งการใชงานไดอธิบายไปแลวในบทแรกๆ แตก็สามารถประยุกตใชไดเยอะมากๆ Renameby Layer เปน Extension ที่เขามาชวยในเรื่องการตั้งชื่อใหกับวัตถุนั้นๆโดยวัตถุนั้นตองมีการคา Layerแลว หรือไมตองก็ไดนะครับ ทําใหประหยัดเวลาในการตั้งชื่อไดนะครับและยังเปนตัวชวยในการเรียงจํานวนวัสดุไดดวยนะครับ นอกจากการนําเขาคาCoordinate เขามาไดแลวยังสามารถนําออกไดดวยนะครับ ตามที่เราสรางหมุดใหมขึ้นมาและสามารถReportหมุดแบบ RealTimeไดดวยนะครับ
  • 45. บทที่8 การประยุกตใชExtension ใหเหมาะสมกับงานกอสราง หนาที่40 3DSketchUpforPre-constructionThailand SKALP ตัวนี้จะชวยในเรื่องของการสรางHatch นะครับ เวลาที่เราทําการตัดSectionPlan ซึ่งมันจะปดชองวางที่เกิดขึ้นใหเหมือนเปน Solid ไปเลยตัวนี้เปนแบบมีคาใชจายนะครับแตสามารถโลหดมาทดลองใชไดเหมาะสําหรับคนที่ทํา Shopแลวตองการความรวดเร็วในการทํางานนะครับ จะไดไมตองไปเสียเวลาที่ LAYOUTนะครับคือจบตั้งแตตนทางเลย SELECTION TOY ทุกคนนาจะรูจักดีนะครับสําหรับตัวนี้ SelectionToy ใชสําหรับการเลือกและไมเลือกสําหรับสิ่งที่เราไมตองการหรือตองการเชน เลือกเฉพาะ Faceหรือ เลือกเฉพาะEdgeนะครับ Solid Inspector2 ตัวนี้สําคัญมากๆ ถาใครชอบทําการหาปริมาตรงานตางๆ ที่มีการใชSolid Tools ชวยเพราะมันจะแกปญหาในเรื่องของBUG ไดเยอะมากนะครับทําใหคา Volume กลับคาคืนมาได
  • 46. หนาที่41 บทที่8 การประยุกตใชExtensionใหเหมาะสมกับงานกอสราง 3DSketchUpforPre-constructionThailand 3SKENG คือExtensionที่ถือไดวาเปนที่สุดของงาน MEPเลยก็วาไดงานทองานเหล็กงานระบบระบายอากาศหรือ งานรายละเอียดตางๆ 3Skeng จะมีใหทุกทานไดใชงานแนนอน แตเปน Extensionที่มีคาใชจายนะครับนอกจากจะสรางโมเดลและมีคลังอุปกรณเปนของตัวเองแลว ยังสามารถถอดปริมาณวัสดุไดอยางแมนยําดวยนะครับและสามารถแกไขโมเดลแนวทอไดอยางรวดเร็ว ProfileBuilder2 Extensionราคาเบา ๆแตคุมสุดที่เคยใชมามันสามารถประยุกตใชรวมกับ Extensionตัวอื่นไดสบายๆอยาง 3Skeng นอกจากจะคิดประมาณการราคาแลว ยังสามารถสรางโมเดลทําคลังวัสดุเองไดดวยนะครับซึ่งรอดูในบทตอไปซึ่งผมจะอธิบายการทํางานของPBอยางคราวๆ
  • 48. หนาที่43 บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ 3DSketchUpforPre-constructionThailand ProfileBuilder คือ Extensionที่มีความสามารถในการคํานวณหาปริมาณ จํานวนวัสดุการสรางขอมูลชิ้นงานผาน Facearea และสามารถสรางโมเดลจากการรวบรวมขอมูลทั้งหมดมาเปนชุดเดียวกันดวยคําสั่ง Assemblerและยังสามารถเก็บขอมูลตางๆผาน Layers ไดดวยนะครับซึ่งหลายทานที่กําลังหัดใชงานอยู หรือใชงานเปนประจําเพื่อถอดแบบทํารายการประมาณราคาและวัสดุจะทราบดีวามันทํางานอยางไรไดบางนะครับ แตสําหรับในที่นี้ผมจะเจาะจงเขาไปใหลึกมากกวาการทําราคาการถอดแบบออกมาใชงาน แตจะใหหลักการวาทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพซึ่งสามารถนําไปตอยอดตามงานของแตละคนไดเลย เครื่องมือก็จะมีดังตอไปนี้นะครับ 1.ProfileBuilder Dialog 2.AssemblerDialog 3.Smart pathSelect 4.Extendtools 5.TrimtoSolid 6. Trimtoface 7.Edit path ofactive toprofilememberor Assembly 8.Quantifier Profile Builder Dialog ProfileBuilderDialog เปนหนาตางเพื่อเพิ่มในสวนที่เปน Profileจากการสราง Face ที่SketchUp และยังสามารถจัดเก็บ บันทึกคาของFaceไดในรูปแบบไฟล.Skp ซึ่งเราก็ยังสามารถตามไปแกไขรูปรางนี้ไดเชนกัน จากภาพนะครับ ในสวนนี้ยังมือเครื่องมืออื่น ๆอีกดวยซึ่งไดแก 1.Build 2. Build alongpath (Followme) 3.RevolveProfile 4.Edit memberproperties 5.Select memberby attributes 6. StampProfile 7.Getattributes 1-3จะเปนการสรางโมเดนะครับ 4-5จะเปนการเลือกและแกไข 6-7การเอารูปแบบ Profileมาใชงาน จํางายๆเลยครับ 1-3 จะเปนการสรางโมเดลตามProfileที่เราสรางไว แตละตัวจะสรางไมเหมือนกันนะครับ โดย 1.Build จะสรางแบบตามเราตองการจากทั้งการปอนคา หรือลากไปเรื่อยๆ ตามตําแหนงที่ตองการ 2. Build alongpath จะสรางโมเดลโดยยึดตามตําแหนงเสนอางอิง คือเราตองสรางเสนอางอิงขึ้นมาเองนะครับ แลวมันจะสรางโมเดลตามเสนอางอิง 3.RevolveProfileจะสรางโมลเดลในลักษณะที่หมุนรอบตัวเองนะครับ Build Build along path Revolve Profile 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 7
  • 49. บทที่9การประยุกตใช PROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ หนาที่44 3DSketchUpforPre-constructionThailand 4.Editmemberproperties 5.Select memberby attributes 2คําสั่งนี้จะใชรวมกันนะครับ โดยจะใชGet attributesเปนตัวเลือกเอา Profile ตัวใดตัวหนึ่งกอนนะครับ แลวใชคําสั่ง Select memberbyattributes เปนตัวเจาะจงรายละเอียดของProfileนั้นอีกที เกร็ดความรู กอนที่ยังไมมีProfileBuilderเขามาสิธีการแรกๆ เลยคือการเขียนสูตรเขาไปใชใน Component แนนอนมันยากมากและซับซอนแตมันก็เปนพื้นฐานที่ทําใหเกิดเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูง ใชGetattributes เลือกที่ตัว โมเดลกอนนะครับมันจะโชวProfileใหดู ตกนี้ครับMemberProperties เลือกรายละเอียดตามที่ตองการนะครับ มันจะเลือกตามที่เราตั้งคานะครับ
  • 50. หนาที่45 บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ 3DSketchUpforPre-constructionThailand เรายังสามารถแกไขมันไดดวยโดยการเ ลือก Profile ตัวใหมเขามาแลวเลือกการตั้งคานะครั บจากนั้นก็กดไปที่Apply ก็จะไดตามที่เราตองการเชนกัน และนี่ก็เปนเพียงแคบางสวนในProfileBuilderที่เราจะเอาความสามารถในลักษณะแบบนี้มาใชงานนะครับโดยการสรางอาคารมาสักหนึ่งหลังเริ่มจากงานฐานรากไปจนถึงโครงหลังคาเลยนะครับ เริ่มตนนะครับสราง Layers ขึ้นมากอนเลยตามที่เราคิดไวแลวนะครับวาจะสรางอะไรบาง ตามดวยฐานรากคอนกรีตนะครับ ขนาด 1.5x1.5x0.25ม. ใชคําสั่งExtend tools นะครับเพื่อทําเปนโมเดล แลวใชคําสั่งGetAttributes นะครับเพื่อมาปรับใหโมเดลยายไปอยูLayers ที่เราตองการ เพราะวาการการคํานวณทํารายการประมาณราค าของPBนั้นจะใชlayers เปนตัวกําหนดนะครับ
  • 51. บทที่9การประยุกตใช PROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ หนาที่46 3DSketchUpforPre-constructionThailand อยาลืมนะครับตองใชMemberProperties ชวยนะครับ ถึงจะเปลี่ยนlayer ไดและโมเดลก็จะมีชื่อติดไปดวย ตอมาก็จัดแนวฐานรากนะครับ แลวเราก็จากตามดวยเสาขนาด 0.25x0.25x3.5เมตร โดยการตั้งคาจากตรงนี้ไดเลยนะครับ หรือจะกลับไปใชวิธีเริ่มตนก็ไดนะครับ ตามแตที่สะดวก ถาเรากดCtrl ไปที่โมเดลกอนการทํา Build มันจะมีเสนอางอิงตามศูนยกลางของโมเดลปรากฏขึ้นมานะค รับทําใหเรางายตอการทํางาน เมื่อกดCtrl แกชื่อ แกไขขนาด แกไข layer
  • 52. หนาที่ 47 บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ 3DSketchUpforPre-constructionThailand ตอไปก็คานคอนกรีตนะครับ ผมสมมุติให ขนาดอยู0.25x0.50เมตร นะครับสําหรับหนาตัดคานBeamB1 ทําไมผมถึงใชวิธีนี้คือในกรณีที่รูปรางของวัตถุเปนสี่เหลี่ยม วงกลม เราสามารถแกไขผานProfileDialogไดเลย และเราเพียงคามาตั้งคา layersและตั้งชื่อเทานั้นเองนะครับ ซึ่งผมจะไมทําการSaveProfileที่สรางขึ้นมานะครับ และBeamB2ผมสมมุติใหขนาดอยู0.25x0.50เมตร เชนกันนะครับ และBeamRBผมสมมุติใหขนาดอยู0.25x0.40 เมตร สําหรับคานหลังคานะครับเอารอบอาคารเลย การกําหนดวัตถุขึ้นมาใหมทั้งหมดจะใชเฉพาะตัวนี้นะครับ
  • 53. บทที่9การประยุกตใช PROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ หนาที่48 3DSketchUpforPre-constructionThailand ปรับความสูงเสาคอนกรีตดวยExtendtools นะครับ แลวก็ขยับคานขึ้นอีกเล็กนอย สรางแผนเพลทที่หัวเสานะครับขนาดใหพอดีกับเสาเลยนะ ครับ250x250x10 มิลลิเมตร ที่นี้เราจะมาทําโครงหลังคากันนะครับซึ่งโดยวิธีการทําของผมนั้นจะเนนจากการสรางเสนกอนนะครับ แลวเราคอยมาเลือกเหล็กใหวิ่งไปตามเสนนะครับมาดูกันดีกวา ไมยากครับงายมากเลย กอนอื่นนะครับเนื่องจากเราใชPBทํางาน เราจะตองสรางขอบเขตพื้นที่หลังคาซะกอนโดยเริ่มจาก สี่เหลี่ยมนะครับ คลุมพื้นที่ทั้งหมดของอาคารและ Offsetออกมานะครับ
  • 54. หนาที่ 49 บทที่9การประยุกตใชPROFILEBUILDERทํางานอยางไรใหเร็วและมีประสิทธิภาพ 3DSketchUpforPre-constructionThailand แลวก็มาเริ่มกันเลยนะครับผมเอาทรงหลังคาที่ยากๆ แลวกันนะครับ เพื่อใหงานสะดวกมากยิ่งขึ้นนะครับ แนะนําวาทําใหเปน Groupนะครับเพื่อไมใหไปมีปญหากับเนื้องานชิ้นอื่น ตอจากนั้นเราจะมาสรางFace นะครับเพื่อมาทํารายละเอียดของเหล็กที่พาดกันไปมาบนหลังคา ซึ่งก็ไดแกระแนง อะเส สันตะเขหรืออะไรก็ตามแตที่เรากําหนดรูปแบบหลังคาขึ้นมานะครับ ซึ่งผมจะใชคุณสมบัติในสวนของIntersect face>With context เขามาชวยในการสรางเสนที่เราตองการเพื่อใหเราสามารถใชคําสั่ง Build along pathของ PB ไดนะครับ พอจะนึกออกนะครับ วิธีนี้ใชแกปญหาเรื่องการใชคําสั่งRotateและMove เพราะบางคนเวลาประกอบงานโครงหลังคาอาจจะเสียเวลาไปเปนวันเลยนะครับ แลวก็ลบเสนที่ไมจําเปนออกไปนะครับ