SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
Baixar para ler offline
ใคร(ควร)กำกับอินเทอร์เน็ต?
สฤณี อาชวานันทกุล
มูลนิธิอินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง
กรกฎาคม 2558
2
3
4
5
6
7
8
9
ที่มำ: Fujitsu
10
ปัจจัยที่จำเป็นต่อกำรสร้ำงธุรกิจบริกำรดิจิทัล
ที่มา: BCG, Delivering Digital Infrastructure, Advancing the Internet Economy, World
Economic Forum, 2014
11
12
กำรอภิบำล
อินเทอร์เน็ต
ประเด็นผลักดันเวทีอภิบำลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance)
ควำมสำคัญ
ของเน็ต (สังคม
เศรษฐกิจ)
ช่องว่ำงดิจิทัล
(digital divide)
ควำมไว้วำงใจ
ในรัฐเสื่อมถอย
ควำมตื่น
ตระหนกทำง
ศีลธรรม
นโยบำยที่ทำให้
คนบำงกลุ่มเข้ำ
ไม่ถึง/ถูกกีดกัน
กฎเกณฑ์และ
กฎหมำย
ระดับชำติ
13
นิยำม “กำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต”
“การอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet governance) หมายถึงการ
พัฒนาและลงมือปฏิบัติตามหลักการ ปทัสถาน กฎระเบียบ
กระบวนการตัดสินใจ และโครงการที่ตกลงร่วมกันระหว่าง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งส่งผลต่อวิวัฒนาการ
และการใช้อินเทอร์เน็ต”
- การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World
Summit on Information Society: WSIS), 2003
14
ประวัติศำสตร์ฉบับย่อของกำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต
• ปลายทศวรรษ 1960: อเมริกาพัฒนา DARPA, โปรโตคอล TCP/IP
• กฎเกณฑ์การกากับดูแลชุดแรก: Internet Engineering Task Force
(IETF) กาหนดมาตรฐานทางเทคนิค กากับโดยการหาฉันทามติ
• กลางทศวรรษ 1990: “สงครามโดเมนเนม (Domain Name
System: DNS)” เมื่อบริษัทเอกชนกระโดดเข้าร่วมวงไพบูลย์
• 1998: ก่อตั้ง Internet Corporation for Assigned Names &
Numbers (ICANN) เพื่อกากับ DNS
• 2003: การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World
Summit on Information Society: WSIS) ครั้งแรกในกรุงเจนีวา
15
ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ)
• 2003-2005: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
(NECTEC) ศึกษาประเด็นสืบเนื่องจาก WSIS1 และจัดทา
ข้อเสนอแนะแนวทางการวางกรอบนโยบายสาหรับการอภิบาล
อินเทอร์เน็ตในไทยในอนาคต
• 2005: การประชุม WSIS ครั้งที่สอง กรุงตูนิส ตูนีเซีย เกิดความ
ขัดแย้งเรื่องทิศทางและรูปแบบการอภิบาลอินเทอร์เน็ตที่ควรเป็น
• 2006: NECTEC ร่วมกับกระทรวงไอซีที กระทรวงวิทยาศาสตร์ ร่วม
จัด Internet Governance Workshop มีวิทยากรจาก ITU, UNDP,
UNESCAP ร่วมบรรยาย
• 2006: การประชุมอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance
Forum: IGF) ระดับโลกครั้งแรก ในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ
16
ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ)
2012: ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เครือข่าย
พลเมืองเน็ต และ Freedom House
สนับสนุนโดย TRUE Digital Park
และมูลนิธิ Heinrich Boll จัดเวทีการ
มีส่วนร่วมระยะไกลสดกับ Internet
Governance Forum 2012 จากอา
เซอร์ไบจัน ที่TRUE Digital Park,
Digital Gateway
17
ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ)
• 2013: ชุมชนอินเทอร์เน็ตในไทย สวทช. กระทรวงไอซีที และ Internet
Society ร่วมกันจัดงาน INET Bangkok 2013 “Internet: The Power
to Create” เป็นเวทีปรึกษาหารือนโยบายอินเทอร์เน็ตที่ผู้มีส่วนได้เสีย
จากทั้งภาคเอกชน ภาครัฐ และภาคประชาสังคมร่วมกันจัดขึ้น โดย
การสนับสนุนขององค์กรอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ
18
• 2013: เครือข่ายพลเมืองเน็ต โดยการ
สนับสนุนของมูลนิธิ Heinrich Boll
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความ
พร้อมให้กับนักข่าวในการทาข่าว
Internet Governance Forum 2013
ที่ประเทศอินโดนีเซีย
ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ)
• 2013: นักข่าวจากไทย (Blognone และประชาไท) ร่วมรายงานข่าว
จาก Internet Governance Forum 2013 ที่บาหลี อินโดนีเซีย โดย
การสนับสนุนของ SEAPA
• 2014: นักข่าวจากไทย (Blognone) ร่วมรายงานข่าวจาก Internet
Governance Forum 2014 ที่อิสตันบูล ตุรกี โดยการสนับสนุนของ
SEAPA
• 2014: การประชุม Netmundial ครั้งแรกในกรุงเซาเปาโล บราซิล
• 2014: การประชุม “WSIS+10” ในกรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์
• ปลายปี 2014: เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเริ่มหารือกับภาคประชาสังคม
ถึงความเป็นไปได้ในการจัดเวทีอภิบาลอินเทอร์เน็ตในไทย
19
ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ)
• 16-17 กุมภาพันธ์ 2015: องค์กร
จากภาคประชาสังคม เครือข่าย
พลเมืองเน็ต และคณะ
นิติศาสตร์ 3 มหาวิทยาลัย
ร่วมกันจัดเวทีประชาสังคมไทย
ว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เน็ต
ที่มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น
• 23 กรกฎาคม 2015: ภาค
ประชาสังคม เอกชน และรัฐ
ร่วมกันจัดเวทีระดับชาติว่าด้วย
การอภิบาลอินเทอร์เน็ต 20
มุมแคบ: ICANN, IETF, Domain Name System
(DNS), Root, IP Address – ประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับ
โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต
มุมกว้าง: ประเด็นทางเทคนิค (Root, DNS), ประเด็น
เกี่ยวกับผู้ใช้ (ผู้ประสงค์ร้าย, ทักษะ), ประเด็นนโยบาย
(ความเป็นส่วนตัว, การคุ้มครองความเป็นนิรนาม)
สองมุมมองหลักเรื่องกำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต
21
แนวคิด Yochai Benkler: มองแยกเป็นสำม “ชั้น”
ชั้นเนื้อหำ
 การจัดการกับเนื้อหาที่เป็นพิษภัย
 อาชญากรรมไซเบอร์ (cybercrime)
 สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา
ชั้นโลจิก (โค้ด)
 มาตรฐานเทคนิค
 ระบบโดเมนเนม (DNS)
 การจัดสรรและเรียงเลขหมายไอพีแอดเดรส (IP)
ชั้นสำธำรณูปโภค
 การเชื่อมต่อ (interconnection)
 การเข้าถึงอย่างทั่วถึง (universal access)
 เทคโนโลยีเชื่อมต่อรุ่นถัดไป (next-gen pathways)
22
23
ประเด็นหลักเรื่องกำรอภิบำลชั้นสำธำรณูปโภค
• กำรเชื่อมต่อ (Interconnection): การเชื่อมต่อเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตระดับ Tier 1 (ผู้ประกอบการที่เป็นเจ้าของเครือข่าย
backbone ระหว่างประเทศ) เป็นไปตามการเจรจาตกลงเชิงพาณิชย์
ไม่มีกฎหมายระหว่างประเทศ ประเทศกาลังพัฒนาอาจเสียเปรียบ
(จ่ายค่าเชื่อมต่อแพง)
• กำรเข้ำถึงอย่ำงทั่วถึง (universal access): การเข้าถึง
อินเทอร์เน็ตเป็น “สิทธิมนุษยชน” หรือไม่? นิยาม “ทั่วถึง” อย่างไร?
(พื้นที่ / เพศ / กลุ่มรายได้ / ช่วงอายุ)
• เทคโนโลยีรุ่นถัดไป (next-generation pathways): ควรปล่อยให้
ผู้ประกอบการตัดสินใจว่าเมื่อใดควร launch หรือให้รัฐมีบทบาท?
ภาคประชาสังคมจะมีบทบาทได้อย่างไร?
24
ประเด็นหลักเรื่องกำรอภิบำลชั้นโลจิก (โค้ด)
• มำตรฐำน:
 จัดการแบบ “เปิด” ดีพอแล้ว? ควรเพิ่มกลไกกาหนด
standard specifications?
 ความเสี่ยงที่จะถูก “แปรรูป” เป็นของเอกชน? (W3C: 2001)
 มาตรฐาน Quality of Service (QoS) ขัดแย้งกับหลักความ
เป็นกลาง (net neutrality)?
• ระบบโดเมนเนม (DNS):
 ICANN มีสถานะเป็นองค์กรไม่แสวงกาไรในอเมริกา
ควบคุมและจัดสรรโดเมนเนม gTLD (.com, .org ฯลฯ) และ
ccTLD (.th, .au ฯลฯ) ถูกโจมตีว่าถูกครอบงาโดยกระทรวง
พาณิชย์ของอเมริกา และการเมือง
25
ประเด็นหลักเรื่องกำรอภิบำลชั้นเนื้อหำ
• กำรจัดกำรกับเนื้อหำที่เป็นพิษภัย: สากล vs. รัฐชาติ / วิธีไหนดี?
 อีเมลขยะ (spam)
 สื่อลามกอนาจาร (pornography)
 ซอฟต์แวร์สอดแนม (spyware), malware, phishing
 เสรีภาพในการแสดงออก vs. ความมั่นคงของชาติ
• อำชญำกรรมไซเบอร์ (cybercrime): วิธีจัดการ “จาเป็นและได้
ส่วน” (necessary and proportionate) หรือไม่? คุ้มครองความเป็น
ส่วนตัวหรือไม่?
• สิทธิ์ในทรัพย์สินทำงปัญญำ: คุ้มครองเข้มมากจนลิดรอน
นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์? ตัวกลางต้องรับผิดชอบ?
26
หลำกหลำยกลไกปัจจุบัน: ที่ทำง? ควำมสัมพันธ์?
นโยบำย กฎหมำย
และกฎเกณฑ์ของ
ภำครัฐ
กลไกกำกับดูแล
กันเอง (กำรศึกษำ
& กำรเรียนรู้)
สัญญำและข้อตกลง
ทวิภำคีหรือพหุภำคี
มำตรฐำน
เทคโนโลยีและ
ระบบตลำด
กลไกกำกับแบบพหุ
นิยม
(multistakeholder)
Who (Should) Regulate Internet?
28
สองรูปแบบที่แข่งกันของกำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต
พหุนิยม (multistakeholder)
• ผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลายจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่รัฐ เอกชน
วิชาการ และประชาสังคม เข้าร่วมแสดงออกในกลไกมีส่วนร่วม
ทางตรงเพื่อหาฉันทามติในการอภิบาลเน็ต
พหุภำคี (multilateral / intergovernmental)
• รัฐบาลชาติมีอานาจอธิปไตยในการกาหนดนโยบายและกฎเกณฑ์
กากับอินเทอร์เน็ตในประเทศตัวเอง ถือว่ารัฐบาลเป็นตัวแทนกลุ่ม
ผลประโยชน์ต่างๆ อย่างเพียงพอ รัฐบาลมาร่วมกันลงนามใน
อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งยึดโยงกับข้อเสนอและ
กระบวนการรับฟังความคิดเห็นในแต่ละประเทศมาแล้ว
29
กระบวนกำร อำนำจ และควำมโปร่งใส
พหุนิยม (multistakeholder)
• กลไกมีส่วนร่วมทางตรง “จากล่างขึ้นบน” (bottom up)
• ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายมีสิทธิ์แสดงออกอย่างเท่าเทียมกัน
• กระบวนการเปิด
พหุภำคี (multilateral / intergovernmental)
• กลไกกาหนด “จากบนลงล่าง” (top down) โดยการปรึกษาหารือ
• มีลาดับขั้นภายในประเทศ และลาดับขั้นผ่านโครงสร้างอนุสัญญา
หรือข้อตกลงระหว่างประเทศ
• กระบวนการปิด แต่เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็น
“อุดมคติ” ของภำคประชำสังคม?
31
จุดอ่อนของรูปแบบกำรอภิบำลแบบพหุภำคี
• ลิดรอนธรรมชาติ “เปิด” ของอินเทอร์เน็ต
• ให้ความสาคัญกับการ “ควบคุม” ของรัฐบาลมากกว่า
• ลดทอนคุณค่าของอินเทอร์เน็ตลง (จีนเป็นข้อยกเว้น เพราะสร้าง
อินเทอร์เน็ตในภาษาของตัวเองเป็นหลัก)?
• ไว้ใจการกากับดูแลของรัฐ หวนคืนสู่อดีตในยุคก่อนที่ธุรกิจ
โทรคมนาคมจะเปิดเสรี
• ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
32
จุดอ่อนของรูปแบบกำรอภิบำลแบบพหุนิยม
• การใช้อานาจจากัดอยู่เพียงการสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน
– เป็นเพียง “อานาจอ่อน” (soft power) ซึ่งจะไปต่อกรกับการ
ตัดสินใจของฝ่ายที่กุมอานาจรัฐได้อย่างไร?
• คนและกลุ่มคนที่เข้าร่วมจะพิสูจน์ได้อย่างไรว่า เป็นตัวแทนผู้มีส่วน
ได้เสียที่ครบถ้วนรอบด้านแล้วจริงๆ?
• ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
33
มองไปข้ำงหน้ำ
• “เรื่องราว” (narrative) หลักของอินเทอร์เน็ตในทศวรรษ 2010 :
นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
• เรื่องราวหลักของทศวรรษหน้า: นโยบาย การกากับดูแล
(regulation) การอภิบาล (governance) อินเทอร์เน็ต
• จะสร้างรูปแบบการอภิบาลอินเทอร์เน็ตแบบ “พหุนิยม”
(multistakeholder) อย่างแท้จริงได้หรือไม่? อย่างไร?
34

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
Ethics
EthicsEthics
Ethicssa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
Digital divide
Digital divideDigital divide
Digital dividekanjana
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 

Mais procurados (6)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Ethics
EthicsEthics
Ethics
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Digital divide
Digital divideDigital divide
Digital divide
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
Week 2 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 2 DPUrt392 Aj.MorragetWeek 2 DPUrt392 Aj.Morraget
Week 2 DPUrt392 Aj.Morraget
 

Semelhante a Who (Should) Regulate Internet?

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationBoonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsmileoic
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Somkiet Phetmark
 
รายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศรายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศfirehold
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 

Semelhante a Who (Should) Regulate Internet? (20)

Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ubiquitous - ICT
Ubiquitous - ICTUbiquitous - ICT
Ubiquitous - ICT
 
e-Commerce
e-Commercee-Commerce
e-Commerce
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003Computer for graduate-2003
Computer for graduate-2003
 
Personal Digital Library Development
Personal Digital Library DevelopmentPersonal Digital Library Development
Personal Digital Library Development
 
รายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศรายงานสารสนเทศ
รายงานสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
พัฒนาการคิดให้เลิศล้ำ ด้วยนวัตกรรมการศึกษา ตอนที่ ๒ (Innovation)
 
56456456
5645645656456456
56456456
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 
Sustainable Consumption
Sustainable ConsumptionSustainable Consumption
Sustainable Consumption
 

Who (Should) Regulate Internet?

  • 2. 2
  • 3. 3
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 12. 12
  • 13. กำรอภิบำล อินเทอร์เน็ต ประเด็นผลักดันเวทีอภิบำลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance) ควำมสำคัญ ของเน็ต (สังคม เศรษฐกิจ) ช่องว่ำงดิจิทัล (digital divide) ควำมไว้วำงใจ ในรัฐเสื่อมถอย ควำมตื่น ตระหนกทำง ศีลธรรม นโยบำยที่ทำให้ คนบำงกลุ่มเข้ำ ไม่ถึง/ถูกกีดกัน กฎเกณฑ์และ กฎหมำย ระดับชำติ 13
  • 14. นิยำม “กำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต” “การอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet governance) หมายถึงการ พัฒนาและลงมือปฏิบัติตามหลักการ ปทัสถาน กฎระเบียบ กระบวนการตัดสินใจ และโครงการที่ตกลงร่วมกันระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งส่งผลต่อวิวัฒนาการ และการใช้อินเทอร์เน็ต” - การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World Summit on Information Society: WSIS), 2003 14
  • 15. ประวัติศำสตร์ฉบับย่อของกำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต • ปลายทศวรรษ 1960: อเมริกาพัฒนา DARPA, โปรโตคอล TCP/IP • กฎเกณฑ์การกากับดูแลชุดแรก: Internet Engineering Task Force (IETF) กาหนดมาตรฐานทางเทคนิค กากับโดยการหาฉันทามติ • กลางทศวรรษ 1990: “สงครามโดเมนเนม (Domain Name System: DNS)” เมื่อบริษัทเอกชนกระโดดเข้าร่วมวงไพบูลย์ • 1998: ก่อตั้ง Internet Corporation for Assigned Names & Numbers (ICANN) เพื่อกากับ DNS • 2003: การประชุมระดับโลกว่าด้วยสังคมข้อมูลข่าวสาร (World Summit on Information Society: WSIS) ครั้งแรกในกรุงเจนีวา 15
  • 16. ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ) • 2003-2005: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ศึกษาประเด็นสืบเนื่องจาก WSIS1 และจัดทา ข้อเสนอแนะแนวทางการวางกรอบนโยบายสาหรับการอภิบาล อินเทอร์เน็ตในไทยในอนาคต • 2005: การประชุม WSIS ครั้งที่สอง กรุงตูนิส ตูนีเซีย เกิดความ ขัดแย้งเรื่องทิศทางและรูปแบบการอภิบาลอินเทอร์เน็ตที่ควรเป็น • 2006: NECTEC ร่วมกับกระทรวงไอซีที กระทรวงวิทยาศาสตร์ ร่วม จัด Internet Governance Workshop มีวิทยากรจาก ITU, UNDP, UNESCAP ร่วมบรรยาย • 2006: การประชุมอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance Forum: IGF) ระดับโลกครั้งแรก ในกรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ 16
  • 17. ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ) 2012: ศูนย์ศึกษานโยบายสื่อ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เครือข่าย พลเมืองเน็ต และ Freedom House สนับสนุนโดย TRUE Digital Park และมูลนิธิ Heinrich Boll จัดเวทีการ มีส่วนร่วมระยะไกลสดกับ Internet Governance Forum 2012 จากอา เซอร์ไบจัน ที่TRUE Digital Park, Digital Gateway 17
  • 18. ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ) • 2013: ชุมชนอินเทอร์เน็ตในไทย สวทช. กระทรวงไอซีที และ Internet Society ร่วมกันจัดงาน INET Bangkok 2013 “Internet: The Power to Create” เป็นเวทีปรึกษาหารือนโยบายอินเทอร์เน็ตที่ผู้มีส่วนได้เสีย จากทั้งภาคเอกชน ภาครัฐ และภาคประชาสังคมร่วมกันจัดขึ้น โดย การสนับสนุนขององค์กรอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ 18 • 2013: เครือข่ายพลเมืองเน็ต โดยการ สนับสนุนของมูลนิธิ Heinrich Boll จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความ พร้อมให้กับนักข่าวในการทาข่าว Internet Governance Forum 2013 ที่ประเทศอินโดนีเซีย
  • 19. ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ) • 2013: นักข่าวจากไทย (Blognone และประชาไท) ร่วมรายงานข่าว จาก Internet Governance Forum 2013 ที่บาหลี อินโดนีเซีย โดย การสนับสนุนของ SEAPA • 2014: นักข่าวจากไทย (Blognone) ร่วมรายงานข่าวจาก Internet Governance Forum 2014 ที่อิสตันบูล ตุรกี โดยการสนับสนุนของ SEAPA • 2014: การประชุม Netmundial ครั้งแรกในกรุงเซาเปาโล บราซิล • 2014: การประชุม “WSIS+10” ในกรุงเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ • ปลายปี 2014: เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเริ่มหารือกับภาคประชาสังคม ถึงความเป็นไปได้ในการจัดเวทีอภิบาลอินเทอร์เน็ตในไทย 19
  • 20. ประวัติศำสตร์ฉบับย่อ (ต่อ) • 16-17 กุมภาพันธ์ 2015: องค์กร จากภาคประชาสังคม เครือข่าย พลเมืองเน็ต และคณะ นิติศาสตร์ 3 มหาวิทยาลัย ร่วมกันจัดเวทีประชาสังคมไทย ว่าด้วยการอภิบาลอินเทอร์เน็ต ที่มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น • 23 กรกฎาคม 2015: ภาค ประชาสังคม เอกชน และรัฐ ร่วมกันจัดเวทีระดับชาติว่าด้วย การอภิบาลอินเทอร์เน็ต 20
  • 21. มุมแคบ: ICANN, IETF, Domain Name System (DNS), Root, IP Address – ประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับ โปรโตคอลอินเทอร์เน็ต มุมกว้าง: ประเด็นทางเทคนิค (Root, DNS), ประเด็น เกี่ยวกับผู้ใช้ (ผู้ประสงค์ร้าย, ทักษะ), ประเด็นนโยบาย (ความเป็นส่วนตัว, การคุ้มครองความเป็นนิรนาม) สองมุมมองหลักเรื่องกำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต 21
  • 22. แนวคิด Yochai Benkler: มองแยกเป็นสำม “ชั้น” ชั้นเนื้อหำ  การจัดการกับเนื้อหาที่เป็นพิษภัย  อาชญากรรมไซเบอร์ (cybercrime)  สิทธิ์ในทรัพย์สินทางปัญญา ชั้นโลจิก (โค้ด)  มาตรฐานเทคนิค  ระบบโดเมนเนม (DNS)  การจัดสรรและเรียงเลขหมายไอพีแอดเดรส (IP) ชั้นสำธำรณูปโภค  การเชื่อมต่อ (interconnection)  การเข้าถึงอย่างทั่วถึง (universal access)  เทคโนโลยีเชื่อมต่อรุ่นถัดไป (next-gen pathways) 22
  • 23. 23 ประเด็นหลักเรื่องกำรอภิบำลชั้นสำธำรณูปโภค • กำรเชื่อมต่อ (Interconnection): การเชื่อมต่อเครือข่าย อินเทอร์เน็ตระดับ Tier 1 (ผู้ประกอบการที่เป็นเจ้าของเครือข่าย backbone ระหว่างประเทศ) เป็นไปตามการเจรจาตกลงเชิงพาณิชย์ ไม่มีกฎหมายระหว่างประเทศ ประเทศกาลังพัฒนาอาจเสียเปรียบ (จ่ายค่าเชื่อมต่อแพง) • กำรเข้ำถึงอย่ำงทั่วถึง (universal access): การเข้าถึง อินเทอร์เน็ตเป็น “สิทธิมนุษยชน” หรือไม่? นิยาม “ทั่วถึง” อย่างไร? (พื้นที่ / เพศ / กลุ่มรายได้ / ช่วงอายุ) • เทคโนโลยีรุ่นถัดไป (next-generation pathways): ควรปล่อยให้ ผู้ประกอบการตัดสินใจว่าเมื่อใดควร launch หรือให้รัฐมีบทบาท? ภาคประชาสังคมจะมีบทบาทได้อย่างไร?
  • 24. 24 ประเด็นหลักเรื่องกำรอภิบำลชั้นโลจิก (โค้ด) • มำตรฐำน:  จัดการแบบ “เปิด” ดีพอแล้ว? ควรเพิ่มกลไกกาหนด standard specifications?  ความเสี่ยงที่จะถูก “แปรรูป” เป็นของเอกชน? (W3C: 2001)  มาตรฐาน Quality of Service (QoS) ขัดแย้งกับหลักความ เป็นกลาง (net neutrality)? • ระบบโดเมนเนม (DNS):  ICANN มีสถานะเป็นองค์กรไม่แสวงกาไรในอเมริกา ควบคุมและจัดสรรโดเมนเนม gTLD (.com, .org ฯลฯ) และ ccTLD (.th, .au ฯลฯ) ถูกโจมตีว่าถูกครอบงาโดยกระทรวง พาณิชย์ของอเมริกา และการเมือง
  • 25. 25 ประเด็นหลักเรื่องกำรอภิบำลชั้นเนื้อหำ • กำรจัดกำรกับเนื้อหำที่เป็นพิษภัย: สากล vs. รัฐชาติ / วิธีไหนดี?  อีเมลขยะ (spam)  สื่อลามกอนาจาร (pornography)  ซอฟต์แวร์สอดแนม (spyware), malware, phishing  เสรีภาพในการแสดงออก vs. ความมั่นคงของชาติ • อำชญำกรรมไซเบอร์ (cybercrime): วิธีจัดการ “จาเป็นและได้ ส่วน” (necessary and proportionate) หรือไม่? คุ้มครองความเป็น ส่วนตัวหรือไม่? • สิทธิ์ในทรัพย์สินทำงปัญญำ: คุ้มครองเข้มมากจนลิดรอน นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์? ตัวกลางต้องรับผิดชอบ?
  • 26. 26 หลำกหลำยกลไกปัจจุบัน: ที่ทำง? ควำมสัมพันธ์? นโยบำย กฎหมำย และกฎเกณฑ์ของ ภำครัฐ กลไกกำกับดูแล กันเอง (กำรศึกษำ & กำรเรียนรู้) สัญญำและข้อตกลง ทวิภำคีหรือพหุภำคี มำตรฐำน เทคโนโลยีและ ระบบตลำด กลไกกำกับแบบพหุ นิยม (multistakeholder)
  • 28. 28 สองรูปแบบที่แข่งกันของกำรอภิบำลอินเทอร์เน็ต พหุนิยม (multistakeholder) • ผู้มีส่วนได้เสียที่หลากหลายจากทุกภาคส่วน ตั้งแต่รัฐ เอกชน วิชาการ และประชาสังคม เข้าร่วมแสดงออกในกลไกมีส่วนร่วม ทางตรงเพื่อหาฉันทามติในการอภิบาลเน็ต พหุภำคี (multilateral / intergovernmental) • รัฐบาลชาติมีอานาจอธิปไตยในการกาหนดนโยบายและกฎเกณฑ์ กากับอินเทอร์เน็ตในประเทศตัวเอง ถือว่ารัฐบาลเป็นตัวแทนกลุ่ม ผลประโยชน์ต่างๆ อย่างเพียงพอ รัฐบาลมาร่วมกันลงนามใน อนุสัญญาและข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งยึดโยงกับข้อเสนอและ กระบวนการรับฟังความคิดเห็นในแต่ละประเทศมาแล้ว
  • 29. 29 กระบวนกำร อำนำจ และควำมโปร่งใส พหุนิยม (multistakeholder) • กลไกมีส่วนร่วมทางตรง “จากล่างขึ้นบน” (bottom up) • ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายมีสิทธิ์แสดงออกอย่างเท่าเทียมกัน • กระบวนการเปิด พหุภำคี (multilateral / intergovernmental) • กลไกกาหนด “จากบนลงล่าง” (top down) โดยการปรึกษาหารือ • มีลาดับขั้นภายในประเทศ และลาดับขั้นผ่านโครงสร้างอนุสัญญา หรือข้อตกลงระหว่างประเทศ • กระบวนการปิด แต่เปิดเวทีรับฟังความคิดเห็น
  • 31. 31 จุดอ่อนของรูปแบบกำรอภิบำลแบบพหุภำคี • ลิดรอนธรรมชาติ “เปิด” ของอินเทอร์เน็ต • ให้ความสาคัญกับการ “ควบคุม” ของรัฐบาลมากกว่า • ลดทอนคุณค่าของอินเทอร์เน็ตลง (จีนเป็นข้อยกเว้น เพราะสร้าง อินเทอร์เน็ตในภาษาของตัวเองเป็นหลัก)? • ไว้ใจการกากับดูแลของรัฐ หวนคืนสู่อดีตในยุคก่อนที่ธุรกิจ โทรคมนาคมจะเปิดเสรี • ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
  • 32. 32 จุดอ่อนของรูปแบบกำรอภิบำลแบบพหุนิยม • การใช้อานาจจากัดอยู่เพียงการสื่อสารและประสานงานระหว่างกัน – เป็นเพียง “อานาจอ่อน” (soft power) ซึ่งจะไปต่อกรกับการ ตัดสินใจของฝ่ายที่กุมอานาจรัฐได้อย่างไร? • คนและกลุ่มคนที่เข้าร่วมจะพิสูจน์ได้อย่างไรว่า เป็นตัวแทนผู้มีส่วน ได้เสียที่ครบถ้วนรอบด้านแล้วจริงๆ? • ยังขาดโมเดลที่เหมาะสมในการกากับอินเทอร์เน็ต
  • 33. 33 มองไปข้ำงหน้ำ • “เรื่องราว” (narrative) หลักของอินเทอร์เน็ตในทศวรรษ 2010 : นวัตกรรมทางเทคโนโลยี • เรื่องราวหลักของทศวรรษหน้า: นโยบาย การกากับดูแล (regulation) การอภิบาล (governance) อินเทอร์เน็ต • จะสร้างรูปแบบการอภิบาลอินเทอร์เน็ตแบบ “พหุนิยม” (multistakeholder) อย่างแท้จริงได้หรือไม่? อย่างไร?
  • 34. 34