SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
Baixar para ler offline
สฤณี อาชวานันทกุล
บริษัท ป่าสาละ จากัด
19 มิถุนายน 2557
มาตรฐานไฟฟ้าพลังน้าที่ยั่งยืน
และนัยต่อเขื่อนไซยะบุรี
งานนี้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa)
โดยผู้สร้างอนุญาตให้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน
กรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านั้น
หัวข้อนาเสนอ
1. จากรายงานของคณะกรรมการเขื่อนโลก สู่หลักประเมิน
ความยั่งยืนของโครงการผลิตไฟฟ้าพลังนา (Hydropower
Sustainability Assessment Proposal: HSAP) และชุด
หลักอีเควเตอร์ (Equator Principles)
2. นัยต่อโครงการไซยะบุรี และบางฉากทัศน์ (scenarios) ที่
เป็นไปได้
2
3
คณะกรรมการเขื่อนโลก (World Commission on Dams)
• ก่อตังโดยความร่วมมือระหว่างธนาคารโลก กับ IUCN ในเดือน
พฤษภาคม 1998 เพื่อตอบสนองต่อเสียงคัดค้านเขื่อนขนาดใหญ่
• ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 12 คน เป็นตัวแทนจากรัฐ เอ็นจีโอ
บริษัทสร้างเขื่อน ที่ปรึกษา ชุมชน และนักวิชาการ
• ศึกษาผลกระทบทุกมิติอย่างละเอียดของเขื่อนขนาดใหญ่ 8 แห่ง
ใน 7 ทวีปทั่วโลก รวมเขื่อนปากมูลในไทย และสารวจเขื่อน
ขนาดใหญ่อีก 125 แห่งใน 56 ประเทศ
• ออกรายงานฉบับสมบูรณ์ในเดือนพฤศจิกายน 2000
4
1. ต้องได้รับการยินยอม –จากผู้ที่จะได้รับ
ผลกระทบ ผ่านกระบวนการเจรจาทา
ข้อตกลงซึ่งมีผลผูกพันทางกฎหมาย
2. ประเมินทางเลือกต่างๆ อย่างรอบด้าน
–ก่อนตัดสินใจก่อสร้าง ประเมินความ
ต้องการด้านนา อาหาร และพลังงาน
อย่างโปร่งใสและเปิดให้ประชาชนมีส่วน
ร่วม ให้นาหนักกับประเด็นสังคมและ
สิ่งแวดล้อมเทียบเท่าประเด็นทางเทคนิค
และเศรษฐกิจ
ข้อแนะนาของคณะกรรมการเขื่อนโลก
5
3. จัดการเขื่อนเดิมให้ดีก่อน –อัพเกรดและฟื้นฟูเขื่อนที่มีอยู่แล้วเพื่อให้สร้าง
ประโยชน์ได้มากที่สุด ให้การชดเชยย้อนหลังกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากเขื่อน
เดิม ปรับปรุงเขื่อนให้ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เขื่อนทุกแห่งควรมีวันหมดอายุ
สัมปทานหรือใบอนุญาต กระบวนการต่อใบอนุญาตทุกครังต้องมีการประเมินผล
กระทบซึ่งเปิดโอกาสให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงการหรือรือเขื่อนได้
4. อุ้มชูสายน้าและวิถีชีวิต –การประเมินทางเลือกต่างๆ และกระบวนการตัดสินใจ
ควรหาทาง หลีกเลี่ยง ผลกระทบ ตามมาด้วยการ ลดและบรรเทา ผลกระทบต่อ
ระบบแม่นา ก่อนตัดสินใจจะต้องรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลฐานและความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับระบบนิเวศ ประเด็นสังคมและสุขภาพ โดยคานึงถึง
ผลกระทบสะสมจากโครงการอื่นด้วย
ข้อแนะนาของคณะกรรมการเขื่อนโลก (ต่อ)
6
5. ยอมรับสิทธิและการแบ่งปันผลประโยชน์ –ผู้ที่ได้รับผลกระทบทางลบจากเขื่อน
ควรเป็นคนกลุ่มแรกที่ได้ประโยชน์ ควรมีสิทธิเข้าร่วมในการเจรจาต่อรองแบ่งปัน
และนาส่งผลประโยชน์จากเขื่อน ผลลัพธ์ของการเจรจาควรเป็นข้อตกลงการ
บรรเทาผลกระทบและการพัฒนาที่เป็นรูปธรรม มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย
6. สร้างหลักประกันว่าจะท้าตาม –สถาบันการเงินและสปอนเซอร์โครงการจะต้อง
มีชุดหลักเกณฑ์และหลักปฏิบัติที่ชัดเจนสาหรับการพัฒนาโครงการนาและ
พลังงาน รวมถึงแรงจูงใจและบทลงโทษสาหรับการไม่ปฏิบัติตาม
7. แบ่งปันแม่น้าเพื่อสันติภาพ การพัฒนา และความมั่นคง –ประเทศต่างๆ ที่ใช้
แม่นาร่วมกันควรมีมาตรการจัดการกับความขัดแย้งและร่วมมือกันสาหรับ
โครงการพัฒนาในแม่นาที่พาดผ่านหลายประเทศ
ข้อแนะนาของคณะกรรมการเขื่อนโลก (ต่อ)
7
Hydropower Sustainability Assessment Protocol: HSAP
• ริเริ่มโดยสมาคมผู้ผลิตไฟฟ้าพลังนา (International Hydropower
Association: IHA) ร่วมกับเอ็นจีโอด้านสิ่งแวดล้อมชันนา อาทิ World
Wildlife Fund, The Nature Conservancy, Transparency
International, Oxfam เริ่มใช้อย่างเป็นทางการปี 2011
• ใช้รายงานของคณะกรรมการเขื่อนโลกเป็นฐานคิด คานึงถึงชุดหลักอีเคว
เตอร์ (ริเริ่มโดย International Finance Corporation ในปี 2004
ปัจจุบันลงนามโดยสถาบันการเงิน 79 แห่ง ปล่อยสินเชื่อครอบคลุม
70% ของสินเชื่อโครงการใหญ่ทั่วโลก)
• ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมกว่า 1,300 คน จาก 24 ประเทศ
8
องค์ประกอบต่างๆ ของ HSAP
หัวข้อความ
ยั่งยืนกว่า 20
หัวข้อ ซึ่งถูก
นิยามอย่าง
ชัดเจน ประเมิน
โดยให ้คะแนน
1-5
กากับ โดยสภาที่
มีผู้มีส่วนได ้เสีย
หลายฝ่ ายเข ้าร่วม
1
2
3
4
5
วิธีวิทยาซึ่งได้
มาตรฐาน
ประยุกต์ใช้ได้
ทั่วโลก
กาหนด
เงื่อนไข
9
HSAP ครอบคลุมทุกมิติของความยั่งยืน
แม้จะมีข้อครหาจากเอ็นจีโอบางแห่ง HSAP ก็มีประโยชน์มาก
• สาธิตความมุ่งมั่นต่อความยั่งยืนของผู้พัฒนาหรือดาเนินโครงการ ให้ผู้กากับ
ดูแลภาครัฐและภาคประชาสังคมได้รับรู้
• ทาให้สามารถตังเป้าลดช่องว่างที่สาคัญที่สุด ช่วยจัดการกับความเสี่ยงทาง
เทคนิค สิ่งแวดล้อม และสังคมได้ดีขึน
• เปิดโอกาสให้สร้างความตระหนักและศักยภาพของบุคลากรภายในองค์กร
เกี่ยวกับ “วิถีปฏิบัติอันเป็นเลิศ” ของโครงการผลิตไฟฟ้าพลังนาที่ยั่งยืน
• ประเมินผลประกอบการในทางที่นักลงทุน ผู้ถือหุ้น แหล่งทุน และบริษัท
ประกันให้ความสนใจ
10
เขื่อนที่ขอรับการประเมินจาก HSAP ณ ต้นปี 2014
11
Shardara HPP JSC, Kazakhstan Shardara 100 MW Operation
Hydro Tasmania, Australia Trevallyn 97 MW Operation
Sarawak Energy, Malaysia Murum 944 MW Implementation
EON, Germany Walchensee 124 MW Operation
Landsvirkjun, Iceland Hvammur 84 MW Preparation
Statkraft, Norway Jostedal 290 MW Operation
Energia Sustentável, Brasil Jirau 3750 MW Implementation
Manitoba Hydro, Canada Keeyask 695 MW Preparation
Électricité de France (EDF) Gavet 92 MW Implementation
Landsvirkjun, Iceland Blanda 150 MW Operation
Isagen, Colombia Sogamoso 820 MW Implementation
ความล้าหลังในไทย และความเสี่ยงทางการเงินของไซยะบุรี
• ไม่มีสถาบันการเงินรายใดในไทยลงนามรับหลักอีเควเตอร์
• ไทยยังมีแต่ “บริษัทรับเหมาก่อสร้าง” ไม่มี “บริษัทผู้เชี่ยวชาญไฟฟ้าพลังนา”
• ต้นทุนเพิ่มจากประมาณการเดิมแล้วกว่า 100 ล้านเหรียญสหรัฐ
• มาตรการตักตะกอนสุ่มเสี่ยงที่จะลดรายได้และเพิ่มค่าใช้จ่าย
• ไม่เคยได้รับความเห็นชอบจากกัมพูชาและเวียดนาม ประเทศท้ายนาที่จะได้รับ
ผลกระทบสูงสุด กระบวนการปรึกษาหารือล่วงหน้าตามข้อตกลงไม่เคยแล้วเสร็จ
• ความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับเงินกู้คืน จากความเสี่ยงทางกฎหมาย
– ประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการแม่นาโขงมีสิทธิหยุดการก่อสร้างได้ ตามข้อตกลงว่าด้วยความ
ร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนของลุ่มนาโขง เมื่อใดก็ตามที่มีหลักฐานว่าเกิด “ความเสียหาย
ในสาระสาคัญ” (substantial damage)
– คดีขอให้ศาลปกครองยกเลิกโครงการซือไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. และลาว
12
ฉากทัศน์ (scenario) ที่เป็นไปได้ และนัยต่อเจ้าหนี
1. ศาลปกครองสั่งคุ้มครอง ยกเลิกหรือชะลอสัญญาซือขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับ
ลาว - น่าจะเป็นเหตุให้ต้องระงับสินเชื่อโดยปริยาย
2. รัฐบาลไทย (ปัจจุบันคือ คสช.) สั่งระงับสัญญาซือขายไฟฟ้า ด้วยเหตุผลตามคาร้อง
ต่อศาลปกครอง (ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อาทิ ไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 57
และมาตรา 58 ว่าด้วยเรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและกระบวนการรับฟังความ
คิดเห็นของประชาชน มาตรา 66 เรื่องสิทธิชุมชน ฯลฯ) – เหมือนข้อ 1.
3. มีหลักฐานให้เชื่อได้ว่า ลูกหนีคือบริษัทผู้ดาเนินโครงการแจ้งเท็จ
(misrepresentation) อาทิ แจ้งเจ้าหนีว่าผ่านกระบวนการทังหมดตามข้อตกลงลุ่ม
นาโขงแล้ว – เจ้าหนีมีสิทธิระงับสินเชื่อ / คณะกรรมการธนาคารควรทบทวน
4. ธนาคารเจ้าหนีรายใดรายหนึ่งถอนตัวไป – เป็นไปได้ยาก เนื่องจาก “ลงเรือลา
เดียวกัน” กับลูกหนีในฐานะลูกค้ามาแล้ว ประสงค์จะรักษาความสัมพันธ์
13

Mais conteúdo relacionado

Mais de Sarinee Achavanuntakul

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Sarinee Achavanuntakul
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?Sarinee Achavanuntakul
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectSarinee Achavanuntakul
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandSarinee Achavanuntakul
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkSarinee Achavanuntakul
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Sarinee Achavanuntakul
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilitySarinee Achavanuntakul
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์Sarinee Achavanuntakul
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016Sarinee Achavanuntakul
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยSarinee Achavanuntakul
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeSarinee Achavanuntakul
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverSarinee Achavanuntakul
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsSarinee Achavanuntakul
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorSarinee Achavanuntakul
 

Mais de Sarinee Achavanuntakul (20)

Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing? Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
Forest carbon credits: can it be fair without greenwashing?
 
How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?How to make BCG consistent with sustainable development?
How to make BCG consistent with sustainable development?
 
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion ProjectPPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
PPP and Questions on Nam Yuam Diversion Project
 
2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View2021 Coal Situation & Investor View
2021 Coal Situation & Investor View
 
Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19Thai Household Debt & COVID-19
Thai Household Debt & COVID-19
 
Future of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in ThailandFuture of "digital economy" in Thailand
Future of "digital economy" in Thailand
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the TalkESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
ESG Risks and Thai Banks: Time to Walk the Talk
 
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
Joseph Stiglitz กับความเหลื่อมล้ำที่เราเลือกได้
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
Pursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibilityPursuing retail banking with social responsibility
Pursuing retail banking with social responsibility
 
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
"Thailand 4.0" : Buzz vs. Reality
 
Game & Social Problems
Game & Social ProblemsGame & Social Problems
Game & Social Problems
 
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
กลไกทางการเงินในการสนับสนุนเกษตรกรให้เข้าสู่เกษตรอินทรีย์
 
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016SDGs and Sustainable Business Trends 2016
SDGs and Sustainable Business Trends 2016
 
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทยจาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
จาก SDGs ถึง COP21: โอกาสและความท้าทายของธุรกิจไทย
 
The Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital AgeThe Place of Museum in the Digital Age
The Place of Museum in the Digital Age
 
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum LoverMuseum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
Museum for Whom? Thoughts from A Museum Lover
 
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trendsIntroducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
Introducing "Sustainable Banking Network Thailand" and trends
 
Thai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sectorThai banks "green loan" for energy sector
Thai banks "green loan" for energy sector
 

Sustainable Hydropower Standards and Implications on Xayaburi Project

  • 1. สฤณี อาชวานันทกุล บริษัท ป่าสาละ จากัด 19 มิถุนายน 2557 มาตรฐานไฟฟ้าพลังน้าที่ยั่งยืน และนัยต่อเขื่อนไซยะบุรี งานนี้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาต Creative Commons แบบ Attribution Non-commercial Share Alike (by-nc-sa) โดยผู้สร้างอนุญาตให้ทาซ้า แจกจ่าย แสดง และสร้างงานดัดแปลงจากส่วนใดส่วนหนึ่งของงานนี้ได้โดยเสรี แต่เฉพาะใน กรณีที่ให้เครดิตผู้สร้าง ไม่นาไปใช้ในทางการค้า และเผยแพร่งานดัดแปลงภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกันนี้เท่านั้น
  • 2. หัวข้อนาเสนอ 1. จากรายงานของคณะกรรมการเขื่อนโลก สู่หลักประเมิน ความยั่งยืนของโครงการผลิตไฟฟ้าพลังนา (Hydropower Sustainability Assessment Proposal: HSAP) และชุด หลักอีเควเตอร์ (Equator Principles) 2. นัยต่อโครงการไซยะบุรี และบางฉากทัศน์ (scenarios) ที่ เป็นไปได้ 2
  • 3. 3 คณะกรรมการเขื่อนโลก (World Commission on Dams) • ก่อตังโดยความร่วมมือระหว่างธนาคารโลก กับ IUCN ในเดือน พฤษภาคม 1998 เพื่อตอบสนองต่อเสียงคัดค้านเขื่อนขนาดใหญ่ • ประกอบด้วยกรรมการอิสระ 12 คน เป็นตัวแทนจากรัฐ เอ็นจีโอ บริษัทสร้างเขื่อน ที่ปรึกษา ชุมชน และนักวิชาการ • ศึกษาผลกระทบทุกมิติอย่างละเอียดของเขื่อนขนาดใหญ่ 8 แห่ง ใน 7 ทวีปทั่วโลก รวมเขื่อนปากมูลในไทย และสารวจเขื่อน ขนาดใหญ่อีก 125 แห่งใน 56 ประเทศ • ออกรายงานฉบับสมบูรณ์ในเดือนพฤศจิกายน 2000
  • 4. 4 1. ต้องได้รับการยินยอม –จากผู้ที่จะได้รับ ผลกระทบ ผ่านกระบวนการเจรจาทา ข้อตกลงซึ่งมีผลผูกพันทางกฎหมาย 2. ประเมินทางเลือกต่างๆ อย่างรอบด้าน –ก่อนตัดสินใจก่อสร้าง ประเมินความ ต้องการด้านนา อาหาร และพลังงาน อย่างโปร่งใสและเปิดให้ประชาชนมีส่วน ร่วม ให้นาหนักกับประเด็นสังคมและ สิ่งแวดล้อมเทียบเท่าประเด็นทางเทคนิค และเศรษฐกิจ ข้อแนะนาของคณะกรรมการเขื่อนโลก
  • 5. 5 3. จัดการเขื่อนเดิมให้ดีก่อน –อัพเกรดและฟื้นฟูเขื่อนที่มีอยู่แล้วเพื่อให้สร้าง ประโยชน์ได้มากที่สุด ให้การชดเชยย้อนหลังกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากเขื่อน เดิม ปรับปรุงเขื่อนให้ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เขื่อนทุกแห่งควรมีวันหมดอายุ สัมปทานหรือใบอนุญาต กระบวนการต่อใบอนุญาตทุกครังต้องมีการประเมินผล กระทบซึ่งเปิดโอกาสให้มีการเปลี่ยนแปลงโครงการหรือรือเขื่อนได้ 4. อุ้มชูสายน้าและวิถีชีวิต –การประเมินทางเลือกต่างๆ และกระบวนการตัดสินใจ ควรหาทาง หลีกเลี่ยง ผลกระทบ ตามมาด้วยการ ลดและบรรเทา ผลกระทบต่อ ระบบแม่นา ก่อนตัดสินใจจะต้องรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลฐานและความรู้ทาง วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับระบบนิเวศ ประเด็นสังคมและสุขภาพ โดยคานึงถึง ผลกระทบสะสมจากโครงการอื่นด้วย ข้อแนะนาของคณะกรรมการเขื่อนโลก (ต่อ)
  • 6. 6 5. ยอมรับสิทธิและการแบ่งปันผลประโยชน์ –ผู้ที่ได้รับผลกระทบทางลบจากเขื่อน ควรเป็นคนกลุ่มแรกที่ได้ประโยชน์ ควรมีสิทธิเข้าร่วมในการเจรจาต่อรองแบ่งปัน และนาส่งผลประโยชน์จากเขื่อน ผลลัพธ์ของการเจรจาควรเป็นข้อตกลงการ บรรเทาผลกระทบและการพัฒนาที่เป็นรูปธรรม มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย 6. สร้างหลักประกันว่าจะท้าตาม –สถาบันการเงินและสปอนเซอร์โครงการจะต้อง มีชุดหลักเกณฑ์และหลักปฏิบัติที่ชัดเจนสาหรับการพัฒนาโครงการนาและ พลังงาน รวมถึงแรงจูงใจและบทลงโทษสาหรับการไม่ปฏิบัติตาม 7. แบ่งปันแม่น้าเพื่อสันติภาพ การพัฒนา และความมั่นคง –ประเทศต่างๆ ที่ใช้ แม่นาร่วมกันควรมีมาตรการจัดการกับความขัดแย้งและร่วมมือกันสาหรับ โครงการพัฒนาในแม่นาที่พาดผ่านหลายประเทศ ข้อแนะนาของคณะกรรมการเขื่อนโลก (ต่อ)
  • 7. 7 Hydropower Sustainability Assessment Protocol: HSAP • ริเริ่มโดยสมาคมผู้ผลิตไฟฟ้าพลังนา (International Hydropower Association: IHA) ร่วมกับเอ็นจีโอด้านสิ่งแวดล้อมชันนา อาทิ World Wildlife Fund, The Nature Conservancy, Transparency International, Oxfam เริ่มใช้อย่างเป็นทางการปี 2011 • ใช้รายงานของคณะกรรมการเขื่อนโลกเป็นฐานคิด คานึงถึงชุดหลักอีเคว เตอร์ (ริเริ่มโดย International Finance Corporation ในปี 2004 ปัจจุบันลงนามโดยสถาบันการเงิน 79 แห่ง ปล่อยสินเชื่อครอบคลุม 70% ของสินเชื่อโครงการใหญ่ทั่วโลก) • ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมกว่า 1,300 คน จาก 24 ประเทศ
  • 8. 8 องค์ประกอบต่างๆ ของ HSAP หัวข้อความ ยั่งยืนกว่า 20 หัวข้อ ซึ่งถูก นิยามอย่าง ชัดเจน ประเมิน โดยให ้คะแนน 1-5 กากับ โดยสภาที่ มีผู้มีส่วนได ้เสีย หลายฝ่ ายเข ้าร่วม 1 2 3 4 5 วิธีวิทยาซึ่งได้ มาตรฐาน ประยุกต์ใช้ได้ ทั่วโลก กาหนด เงื่อนไข
  • 10. แม้จะมีข้อครหาจากเอ็นจีโอบางแห่ง HSAP ก็มีประโยชน์มาก • สาธิตความมุ่งมั่นต่อความยั่งยืนของผู้พัฒนาหรือดาเนินโครงการ ให้ผู้กากับ ดูแลภาครัฐและภาคประชาสังคมได้รับรู้ • ทาให้สามารถตังเป้าลดช่องว่างที่สาคัญที่สุด ช่วยจัดการกับความเสี่ยงทาง เทคนิค สิ่งแวดล้อม และสังคมได้ดีขึน • เปิดโอกาสให้สร้างความตระหนักและศักยภาพของบุคลากรภายในองค์กร เกี่ยวกับ “วิถีปฏิบัติอันเป็นเลิศ” ของโครงการผลิตไฟฟ้าพลังนาที่ยั่งยืน • ประเมินผลประกอบการในทางที่นักลงทุน ผู้ถือหุ้น แหล่งทุน และบริษัท ประกันให้ความสนใจ 10
  • 11. เขื่อนที่ขอรับการประเมินจาก HSAP ณ ต้นปี 2014 11 Shardara HPP JSC, Kazakhstan Shardara 100 MW Operation Hydro Tasmania, Australia Trevallyn 97 MW Operation Sarawak Energy, Malaysia Murum 944 MW Implementation EON, Germany Walchensee 124 MW Operation Landsvirkjun, Iceland Hvammur 84 MW Preparation Statkraft, Norway Jostedal 290 MW Operation Energia Sustentável, Brasil Jirau 3750 MW Implementation Manitoba Hydro, Canada Keeyask 695 MW Preparation Électricité de France (EDF) Gavet 92 MW Implementation Landsvirkjun, Iceland Blanda 150 MW Operation Isagen, Colombia Sogamoso 820 MW Implementation
  • 12. ความล้าหลังในไทย และความเสี่ยงทางการเงินของไซยะบุรี • ไม่มีสถาบันการเงินรายใดในไทยลงนามรับหลักอีเควเตอร์ • ไทยยังมีแต่ “บริษัทรับเหมาก่อสร้าง” ไม่มี “บริษัทผู้เชี่ยวชาญไฟฟ้าพลังนา” • ต้นทุนเพิ่มจากประมาณการเดิมแล้วกว่า 100 ล้านเหรียญสหรัฐ • มาตรการตักตะกอนสุ่มเสี่ยงที่จะลดรายได้และเพิ่มค่าใช้จ่าย • ไม่เคยได้รับความเห็นชอบจากกัมพูชาและเวียดนาม ประเทศท้ายนาที่จะได้รับ ผลกระทบสูงสุด กระบวนการปรึกษาหารือล่วงหน้าตามข้อตกลงไม่เคยแล้วเสร็จ • ความเสี่ยงที่จะไม่ได้รับเงินกู้คืน จากความเสี่ยงทางกฎหมาย – ประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการแม่นาโขงมีสิทธิหยุดการก่อสร้างได้ ตามข้อตกลงว่าด้วยความ ร่วมมือว่าด้วยการพัฒนาที่ยั่งยืนของลุ่มนาโขง เมื่อใดก็ตามที่มีหลักฐานว่าเกิด “ความเสียหาย ในสาระสาคัญ” (substantial damage) – คดีขอให้ศาลปกครองยกเลิกโครงการซือไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. และลาว 12
  • 13. ฉากทัศน์ (scenario) ที่เป็นไปได้ และนัยต่อเจ้าหนี 1. ศาลปกครองสั่งคุ้มครอง ยกเลิกหรือชะลอสัญญาซือขายไฟฟ้าระหว่าง กฟผ. กับ ลาว - น่าจะเป็นเหตุให้ต้องระงับสินเชื่อโดยปริยาย 2. รัฐบาลไทย (ปัจจุบันคือ คสช.) สั่งระงับสัญญาซือขายไฟฟ้า ด้วยเหตุผลตามคาร้อง ต่อศาลปกครอง (ไม่ชอบด้วยกฎหมาย อาทิ ไม่ปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 57 และมาตรา 58 ว่าด้วยเรื่อง การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารและกระบวนการรับฟังความ คิดเห็นของประชาชน มาตรา 66 เรื่องสิทธิชุมชน ฯลฯ) – เหมือนข้อ 1. 3. มีหลักฐานให้เชื่อได้ว่า ลูกหนีคือบริษัทผู้ดาเนินโครงการแจ้งเท็จ (misrepresentation) อาทิ แจ้งเจ้าหนีว่าผ่านกระบวนการทังหมดตามข้อตกลงลุ่ม นาโขงแล้ว – เจ้าหนีมีสิทธิระงับสินเชื่อ / คณะกรรมการธนาคารควรทบทวน 4. ธนาคารเจ้าหนีรายใดรายหนึ่งถอนตัวไป – เป็นไปได้ยาก เนื่องจาก “ลงเรือลา เดียวกัน” กับลูกหนีในฐานะลูกค้ามาแล้ว ประสงค์จะรักษาความสัมพันธ์ 13