SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 158
Baixar para ler offline
องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร

 ¡   ฮารดแวร (Hardware)
 ¡   ซอฟตแวร (Software)
 ¡   บุคลากร (Peopleware)
 ¡   ขอมูล (Data)
 ¡   กระบวนการทํางาน (Procedure)
ฮารดแวร (Hardware)
¡ ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง ตัวเครือง
                                      ่
  คอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง (Peripheral)
  ที่สามารถสัมผัสได โดยจะประกอบดวย
  อุปกรณทางดานอิเล็กทรอนิกสทควบคุมการ
                               ี่
  ประมวลผลขอมูล การรับขอมูล การแสดงผล
  ขอมูลของเครืองคอมพิวเตอร
               ่
องคประกอบของฮารดแวร

¡ หนวยรับขอมูล   (Input Unit)
¡ หนวยประมวลผลขอมูล (Central Processing
  Unit : CPU)
¡ หนวยเก็บขอมูล (Memory Unit)

¡ หนวยติดตอสื่อสาร (Communication Unit)

¡ หนวยแสดงผล (Output Unit)
หนวยรับขอมูล (Input Unit)

ทําหนาที่รับขอมูลจากภายนอกคอมพิวเตอร
เข า สู ห น ว ยความจํ า แล ว เปลี่ ย นเป น
สั ญ ญาณในรู ป แบบที่ ค อมพิ ว เตอร ส ามารถ
เขาใจได
เมาส (Mouse)




  คียบอรด (Keyboard)



สแกนเนอร (Scanner)
หนวยประมวลผลกลาง
  (Central Processing Unit - CPU)

l หนวยควบคุม
  (Control Unit)
l หนวยคํานวณและตรรกะ
  (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
l หนวยความจํา
  (Memory Unit)
หนวยประมวลผลกลาง
   (Central Processing Unit - CPU)

l หนวยควบคุม     (Control Unit)
 ทําหนาที่ในการควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรทั้ง
  ระบบ เปรียบเสมือนศูนยกลางของระบบประสาท หนาที่
  ของหนวยควบคุม คือ อานคําสั่งที่เก็บไวในหนวยความจํา
  ถอดรหัสคําสั่ง และทํางานตามคําสั่ง ที่ละคําสั่งจนหมด
  คําสั่งที่จะประมวลผล
หนวยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit - CPU)
หนวยคํานวณและตรรกะ
  (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
จะมีหนาที่ในการทํางาน 2 ลักษณะคือ
l 1. ประมวลผลการคํานวณเชิงคณิตศาสตร
  (Arithmetic Operation)
l 2. ประมวลผลเชิงตรรกวิทยา
    (Logical Operation)
หนวยความจํา (Memory Unit)


   คื อ ส ว นที่ ทํ า หน า ที่ เ ก็ บ ข อ มู ล หรื อ
      คํ า สั่ ง ที่ รั บ จากหน ว ยรั บ ข อ มู ล
      เพื่อเตรียมสงใหหนวยประมวลผล
      กลาง
หนวยความจํา (Memory Unit)

 หนวยความจําแบงออกเปน 2 ประเภท
  1) หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit)
  หนวยความจําที่เก็บขอมูล และโปรแกรมคําสั่ง ที่อยู
  ระหวางการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร
  2) หนวยความจําสํารอง (Secondary Memory)
  หนวยความจําสํารองจึงมีหนาที่ในเก็บขอมูลและ
  โปรแกรมคําสั่งอยางถาวร
หนวยความจําหลัก
 (Main Memory Unit)
l หนวยความจําถาวร    (Permanent Memory)
  (Read Only Memory : ROM)
  เปนชิปที่บันทึกโปรแกรมคําสั่งอยางถาวรโดยผูผลิตคอมพิวเตอร
สามารถเรียกอานและใชงานไดแตไมสามารถแกไขหรือเพิ่มเติม
โปรแกรมคําสั่งในภายหลังได
หนวยความจําหลัก
 (Main Memory Unit)
l หนวยความจําชั่วคราว     (Non-Permanent
  Memory) (Random Access Memory-
  RAM)
l คือ หนวยความจําที่เก็บโปรแกรมคําสั่งและขอมูลขณะที่คอมพิวเตอร
  กําลังทํางานอยู จึงเปรียบเสมือนกระดาษทด แตถาปดเครื่องหรือ
                                                 
  ไฟดับขอมูลหรือโปรแกรมคําสั่งที่อยูภายในแรมจะสูญหาย
Random Access Memory-RAM
หนวยความจําสํารอง
(Secondary Memory)

l เนื่องจากหนวยความจําหลักไมสามารถเก็บขอมูลไดหมด
  และสามารถเก็ บ ข อ มู ล ได ชั่ ว คราวในขณะที่ ใ ช ง าน
  หน ว ยความจํ า สํ า รองจึ ง มี ห น า ที่ ใ นเก็ บ ข อ มู ล และ
  โปรแกรมคํ า สั่ งอย างถาวร นอกจากนั้น หน วยความจํ า
  สํารองยังเปนสื่อในการเรียกใชขอมูลและโปรแกรมคําสั่ง
  จากคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอรอีกเครื่อง
  หนึ่งได
ซีดี (Compact Disk - CD)

lซีดีเพลง  (Audio CD)
lวีซีดี (Video CD)
lซีด-อาร (CD Recordable : CD-
       ี
 R)
lซีด-อารดับบลิว (CD-Rewritable :
     ี
 CD-RW)
หนวยแสดงผล (Output Unit)

  จอภาพ (Monitor)




จอภาพแบบ CRT        จอภาพแบบ LCD
คอมพิวเตอรฮารดแวร

     คอมพิวเตอรฮารดแวร หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร และ
อุปกรณรอบขางที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ คือ
       l   หนวยรับขอมูล (Input Unit)
       l   หนวยประมวลผล (Processing Unit)
       l   หนวยแสดงผล (Output Unit)
       l   หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage
           Unit)
หนวยรับขอมูล (Input Unit)

    ทําหนาที่รับขอมูลจากผูใชเขาสูหนวยความจํา แบงเปน 6
ประเภท ไดแก
       1.   อุปกรณแบบกด (Keyed Device) เชน แปนพิมพ
            (Keyboard)
       2.   อุปกรณชี้ตําแหนง เชน เมาส (Mouse) , ลูกกลมควบคุม
            (Track ball), แทงชี้ควบคุม(Track point), แผนรอง
            สัมผัส(Touch pad) , จอยสติก (Joystick)
       3.   จอภาพระบบไวตอการสัมผัส เชน จอภาพระบบสัมผัส (Touch
            Screen)
หนวยรับขอมูล (ตอ)

     4.   ระบบปากกา (Pen-Based system) ไดแก ปากกาแสง
          (Light pen) เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet)
     5.   ระบบอุปกรณกวาดขอมูล (Data Scanning
          Device) ไดแก เอ็มไอซีอาร (MICR) เครื่องอานรหัสแทง
          (Bar code Reader) สแกนเนอร(Scanner)
          เครื่องรูจําอักขระดวยแสง (OCR) เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง
          (OMR) กลองถายภาพดิจิตอล (DigitalCamera) กลอง
          ถายทอดวิดีโอดิจิตอล (Digital Video)
     6.   อุปกรณรูจาเสียง (Voice Recognition Device)
                        ํ
          ไดแก อุปกรณวิเคราะหเสียงพูด (Speech
          Recognition Devide)
แปนพิมพ (Keyboard)

¡  เปนหนวยรับขอมูลที่นิยมใชกันมากที่สุด
¡ เปนอุปกรณมาตรฐานในการปอนขอมูลสําหรับเทอรมินอล และ PC

¡ มีลักษณะคลายกับแปนพิมพดีด แตมีจํานวนแปนมากกวา

¡ ใชรหัส 8 บิต ตอหนึ่งตัวอักษร (แทนตัวอักษรได 256 ตัว)

¡ ถูกแบงออกเปน 4 กลุมดวยกันคือ แปนอักขระ (Character
Keys) แปนควบคุม (Control Keys) แปนฟงกชั่น
(Function Keys) แปนตัวเลข (Numeric Keys)
แปนพิมพ (ตอ)

     แปนพิมพบางประเภทออกแบบมาเพื่อใชงานเฉพาะดาน เชน
แปนพิมพที่ใชในรานอาหารแบบเรงดวน (Fast Food
Restaurant) จะใชพิมพเฉพาะชื่ออาหาร หรือแปนพิมพที่ใช
กับเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ (Automatic
Teller Machine) เปนตน
เออรโกโนมิกส (Ergonomics)

   เออรโกโนมิกส (Ergonomics) เปนศาสตรที่วาดวยเรื่อง
การออกแบบอุปกรณใหมีความปลอดภัย และสะดวก
สบายตอการใชงานของมนุษย
เมาส (Mouse)

¡   ขนาดและรูปรางตางกัน
¡   ดานลางมีลูกกลมกลิ้ง / ระบบแสง
¡   ดานบนมีปุมกด 2 / 3 / 4 หรือมีลอ (Wheel)
                                    
¡   Click / Double Click / Right Click /
    Drag and Drop
¡   ไมสามารถปอนตัวอักษรได
¡   ลดความผิดพลาดในการปอนขอมูล รวดเร็ว
ลูกกลมควบคุม (Track ball)

    เปนลูกบอลเล็กๆ อาจวางติดตัวเครื่อง (โนตบุก) หรือเปนอุปกรณ
แยกตางหาก เมือผูใชหมุนลูกบอลกลม ก็จะมีการเกิดการเลื่อนตําแหนง
               ่
ของตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ
มีหลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส
แทงชี้ควบคุม (Track Point)

   เปนแทงพลาสติกเล็กๆ อยูตรงกลางแปนพิมพ ระหวางอักษร G
และ H บังคับโดยใชหัวแมมือเพื่อเลื่อนตําแหนงของตัวชีตําแหนงบน
                                                      ้
จอภาพเชนเดียวกับเมาส
แผนรองสัมผัส (Touch Pad)

       เปนแผนสีเหลี่ยมที่วางอยูหนา
แป น พิ ม พ สามารถใช นิ้ ววาดเพื่ อ
เ ลื่ อ น ตํ า แ ห น ง ข อ ง ตั ว ชี้
(Curser)                ตําแหนงบน
จอภาพเชนเดียวกับเมาส
จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)

                        ผู ใ ช เ พี ย งแตะปลายนิ้ ว ลงบน
                  จอภาพในตํ าแหน ง ที่ กํ าหนดแทน
                  การใชเมาสหรือแปนพิมพ โดยจะ
                  มี ซ อฟต แ วร เ ป น ตั ว ค น หาว า ผู ใ ช
                  เลือกคําสั่งหรือปอนขอมูลใดและจะ
                  ทํ า ตามนั้ น นิ ย มใช ใ ห ข อ มู ล การ
                  ทองเที่ยว และในรานอาหารแบบ
                  เรงดวน
จอยสติก (Joy stick)

    เปนกานสําหรับใชโยกขึ้น-ลง ซาย-ขวา เพื่อยายตําแหนงบนจอภาพ
มีหลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส แตจะมีแปนกดสําหรับสั่งงานพิเศษ
นิยมใชในการเลนเกมส
หรือควบคุมหุนยนต
ปากกาแสง (Light pen)

    ใชวาดลักษณะหรือรูปแบบของขอมูลใหปรากฏบนจอภาพ การใช
งานทําไดโดยการแตะปากกาแสงลงบนจอภาพตามตําแหนงที่ตองการ
                                                  
นิยมใชงานกับคอมพิวเตอรชวยออกแบบ
(Computer Aided Design: CAD)
รวมทั้งปอนขอมูลสําหรับ PDA
เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet)

      ประกอบดวยกระดาษที่มีเสน
แบง (Grid) ซึ่งสามารถใช
ปากกาเฉพาะเรี ย กว า สไตลั ส
(Stylus) ชี้ไปบนกระดาษ
เ พื่ อ ส ง ข อ มู ล
ตํ า แ ห น ง เ ข า ไ ป ยั ง เ ค รื่ อ ง
ค อ ม พิ ว เ ต อ ร นิ ย ม ใ ช ใ น ก า ร
ออกแบบรถยนต หุนยนต อาคาร
อุปกรณทางการแพทย
เอ็มไอซีอาร
(Magnetic Ink Character Recognition:
MICR)

    ใชในการตรวจสอบเช็คธนาคาร โดยเครื่องจะทําการเขารหัสธนาคาร
รหัสสาขา เลขที่บัญชี และเลขที่เช็ค ดานลางซายของเช็ค
รหัสแทง (Bar Code)

¡   เริ่มใชในป 1970 โดยพิมพเปนแถบสีดํา-ขาวตอเนื่องเรียงกันเรียกวา รหัส
    แทง (Bar code)
¡   ไมตองพิมพขอมูลดวยแปนพิมพจึงลดความผิดพลาดและประหยัดเวลา
¡   มาตรฐานทีใชในปจจุบัน
                ่
     l   มาตรฐาน UPC (Universal Product Code) เปนการเขารหัส
         ตัวเลข 12 หลัก
     l   มาตรฐาน Code 39 (Three of Nine) สามารถทํารหัสไดทั้งตัวเลขและ
         ตัวอักษร
¡   ปจจุบันไดรับความนิยมอยางมาก เชน จุดเก็บเงิน ตามรานสะดวกซื้อ
    หางสรรพสินคา
รหัสแทงและเครื่องอาน
สแกนเนอร (Scanner)

¡   ใชอานหรือสแกน (Scan) ขอมูลที่เปนเอกสาร (ขอความหรือรูปภาพ) มี
    2 เทคโนโลยี คือ
     l   CCD: Charge Couple Device ใหความละเอียดและคุณภาพดี
     l   CIS: Contact Image Sensor อุปกรณขนาดเล็ก เบา คุณภาพดอย
         กวา
¡   แบงประเภทตามลักษณะการใชงานเปน 3 ประเภท
     l   สแกนเนอรมอถือ ขนาดเล็ก ผูใชถืออุปกรณกวาดไปบนภาพ
                   ื
     l   สแกนเนอรแบบสอดกระดาษ สอดภาพ/เอกสารยังชองสําหรับอานขอมูล
     l   สแกนเนอรแบบแทน ใชมากในปจจุบัน ทํางานคลายเครื่องถายเอกสาร
¡   สิ่งที่ไดจากการสแกนจะอยูในรูปของขอมูลดิจิตอล เก็บไวไดนาน
สแกนเนอร (Scanner)
เครื่องรูจําอักขระดวยแสง (โอซีอาร)
(Optical Character Recognition: OCR)

¡   เปนอุปกรณสําหรับอานขอมูลทีเ่ ปนตัวอักขระบนเอกสารตาง ๆ และ
    ทําการแปลงขอมูล
¡   แบบดิจิตอลทีอานไดไปเปนตัวอักษรโดยอัตโนมัติ
                  ่
¡   ซอฟตแวรสําหรับวิเคราะหตวอักษรจากขอมูลที่ไดจากสแกนเนอร
                               ั
¡   ยังพบขอผิดพลาดจากการตีความอักขระ
¡   ใชในงานที่เก็บเอกสารจํานวนมากเชน หองสมุดตาง ๆ
เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (โอเอ็มอาร)
(Optical Mark Reader: OMR)

¡   เปนอุปกรณที่ใชหลักการอาน
¡   สัญลักษณหรือเครื่องหมายที่ระบายดวย
¡   ดินสอดําลงในตําแหนงที่กําหนด
¡   ดินสอดําที่ระบายตองมีสารแมเหล็ก
¡   (Magnetic particle) จํานวนหนึ่งเพื่อให
¡   เครื่องโอเอ็มอารสามารถรับรูได
กลองถายภาพดิจิตอล (Digital Camera)

¡   ไมตองใชฟลม เก็บภาพถายในลักษณะดิจิตอล
        
¡   ความละเอียดของรูปประมาณ 1-5 ลานจุด (pixel)
¡   รูปที่ถายไวสามารถนําเขาเครื่องคอมพิวเตอรไดทันที
กลองถายทอดวีดีโอ (Digital Video)

¡   เปนอุปกรณที่ใชสําหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเก็บเปนขอมูลแบบ
    ดิจิตอลนิยมใชในการประชุมทางไกลผานวิดีโอ (Video
    Teleconference)
อุปกรณรูจําเสียง (Voice Recognition)

¡   รับสัญญาณเสียงที่มนุษยพูดและแปลงเปนสัญญาณดิจิตอล
¡   ปญหา: คนพูดคนละคน / ตองใหคอมพิวเตอรเรียนรูระยะหนึ่งกอน
¡   ใชสําหรับผูพิการตาบอด หรือมือไมวางพอที่จะกดแปนพิมพ
                                       
หนวยประมวลผล (Central Processing
Unit)
      ซีพียู (CPU) เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร ซึ่งมีความซับซอนมาก
ที่สุด หนวยประมวลผลกลางรุนใหม ๆ จะมีขนาดเล็กลงแตความเร็วสูงขึ้น
      ผูผลิตหนวยประมวลผลกลางสําหรับเครื่อง IBM PC ไดแก อินเทล
(Intel)เอเอ็มดี (AMD) ไซริกซ (Cyrix) และทรานสเมตา
(Transmeta) สําหรับเครื่องแอปเปลแมคอินทอช ไดแก โมโตโรลา
(Motorola)
      วงจรในหนวยประมวลผลกลางเรียกวา “ไมโครโปรเซสเซอร”
(Microprocessor) ซึ่งประกอบดวยหนวยสําคัญ 2 หนวย ไดแก
      l   หนวยควบคุม
      l   หนวยคํานวณและตรรกะ
หนวยประมวลผล (ตอ)

     หนวยประมวลผลทําหนาที่ในการคํานวณ เปนสวนที่มีความซับซอน
ซึ่งแบงออกเปน 2 สวน ไดแก
     l   หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit:
         CPU)
           - หนวยควบคุม (Control Unit)
           - หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit)
           - รีจิสเตอร (Register)
     l   หนวยความจําหลัก (Main memory Unit)
           - หนวยความจําหลักแบบอานไดอยางเดียว (Read Only
              Memory)
           - หนวยความจําหลักแบบแกไขได (Random Access
              Memory)
หนวยประมวลผล (ตอ)
ภายในหนวยประมวลผล
     หนวยควบคุม (Control Unit: CU) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเครือง           ่
คอมพิวเตอรทงระบบ เชน ควบคุมการรับขอมูล ควบคุมการทํางานของ
                ั้
หนวยความจําหลัก เปรียบเสมือนศูนยกลางของระบบประสาท
     หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit: ALU)
     ทําหนาที่
ประมวลผลการคํานวณทางคณิตศาสตรและการเปรียบเทียบทางตรรกะ
     รีจิสเตอร (Register) ทําหนาที่เก็บและสงขอมูลหรือคําสั่งเขามาในซีพียู
     บัส (Bus) เปนเสนทางในการสงผานสัญญาณไฟฟา ภายในระบบคอมพิวเตอร
     หนวยประมวลผลเสริม (Math Coprocessor) เปนซีพียอีกตัวหนึงที่ทํา    ู      ่
     หนาที่เฉพาะ
ดานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครืองคอมพิวเตอร เชน ชวยคํานวณตัวเลข
                                ่
intel

¡ 286

¡ 386DX

¡ 486

¡ 586    ~P
¡ PII

¡ PIII

¡ P4
ภายในหนวยประมวลผล (ตอ)

         Main Memory System (RAM)


                     CPU


          Register         ALU


                     CU



             Input/Out Devices
ความเร็วของหนวยประมวลผล

¡   ความเร็วของซีพียหรือประมวลผลจะถูกควบคุมโดยสัญญาณนาฬิกา
                    ู
    (System Clock)
¡   หนวยวัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา เรียกวา เฮิรตซ (Hz:
    Hertz) ซึ่งเทียบเทากับ 1 ครั้งตอวินาที
¡   ความเร็วในยุคปจจุบนของเครื่องไมโครคอมพิวเตอรคือ
                       ั
    - Megahertz หรือ MHz = 1 000 000 ครั้งตอวินาที
    - Gigahertz หรือ GHz = 1 000 000 000 ครั้งตอ
      วินาที
หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit)

       เปนอุปกรณที่ใชในการจดจําขอมูลและโปรแกรมตาง ๆ ที่อยูระหวางการ
                                                               
ประมวลผลของคอมพิวเตอร แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก
       แบบอานไดอยางเดียว (Read Only Memory: ROM)
เปนหนวยความจําที่มีคุณสมบัตในการเก็บขอมูลไวไดตลอดเวลาโดยไมตองใชไฟฟา
                               ิ                                    
หลอเลี้ยง (Nonvolatile) นิยมใชเปนหนวยความจําสําหรับเก็บชุดคําสั่ง
เริ่มตนระบบ ขอเสียของ ROM คือ ไมสามารถแกไขหรือเพิ่มชุดคําสั่งไดใน
ภายหลัง
       แบบแกไขได (Random Access Memory: RAM)
เปนหนวยความจําความเร็วสูงที่ใชเก็บโปรแกรมและขอมูลในคอมพิวเตอร
เปรียบเสมือนกระดาษทด ถาคอมพิวเตอรมีหนวยความจํามากก็สามารถทํางานไดเร็ว
มาก
ประเภทของ ROM
      PROM (Programmable Read-Only
Memory) เปน ROM ทีสามารถบันทึกดวยเครื่องบันทึกพิเศษไดหนึ่ง
                                    ่
ครั้ง จากนั้นจะลบหรือแกไขไมได
      EPROM (Erasable PROM) เปน ROM ที่ใชแสง
อัลตราไวโอเลตในการเขียนขอมูล สามารถนําออกจากเครื่องคอมพิวเตอรไปลบโดย
ใชเครื่องมือพิเศษและบันทึกขอมูลใหมได
      EEPROM (Electrically Erasable PROM)
เปนการรวมขอดีของ ROM และ RAM เขาไวดวยกันไมตองใชไฟฟาหลอ
เลี้ยง สามารถแกไข ลบขอมูลที่เก็บไวไดดวยโปรแกรมพิเศษ ขอดอยคือ ราคาสูง
และเก็บขอมูลไดต่ํากวาหนวยเก็บขอมูลสํารอง ตัวอยางเชน หนวยความจําแบบ
แฟลช (Flash memory)
ประเภทของ ROM
ประเภทของ RAM

    DRAM (Dynamic RAM) เปนหนวยความจําที่มี
การใชงานกันมากที่สุดในปจจุบัน ใชวงจรคลายตัวเก็บประจุในการเก็บ
ขอมูลแตละบิต ทําใหตองมีการย้ําสัญญาณไฟฟาซึ่งเรียกวาการรีเฟรช
                         
(Refresh) ขอดีคอมีคาคาต่ํา แตขอเสียคือความเร็วในการเขาถึง
                       ื
ขอมูลไมสูงนัก ตัวอยางเชน FPM RAM, EDO RAM,
SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM
    นอกจากนียังมี DRAM แบบพิเศษที่ใชสําหรับปรับปรุงความเร็ว
               ้
ของหนวยแสดงผลแบบกราฟก อีกดวย
ประเภทของ RAM
     SRAM (Static RAM) เปนหนวยความจําความเร็วสูงและใช
พลังงานนอยเนื่องจากขอมูลที่เก็บดวย SRAM จะคงอยูโดยไมตองทําการรีเฟรช
ขอเสียคือราคาสูง จึงนิยมนํา SRAM เปนหนวยความจําแคช (Cache
memory)
     หนวยความจําแคช (Cache Memory) เปนหนวยความจํา
(SRAM) ที่ออกแบบมาชวยเพิ่มความเร็วใหกับอุปกรณบางสวนที่ทางานชาให
                                                                  ํ
ทํางานเร็วขึ้น
     หนวยความจําเสมือน (Virtual Memory) เปนการนําพื้นที่ของ
หนวยเก็บขอมูลสํารอง (ฮารดดิสก) มาจําลองเปนหนวยความจํา เนื่องจาก
หนวยความจําของระบบมีจํากัดและมีราคาสูง
ประเภทของ RAM
หนวยแสดงผล (Output Unit)

      ทําหนาที่แสดงผลลัพธจากคอมพิวเตอรไปยังผูใช แบงไดเปน 2
ประเภท
¡ หนวยแสดงผลชั่วคราว (Soft copy) เปนการแสดงผลให
ผูใชไดรับทราบในขณะนั้น แตเมื่อเลิกการทํางานหรือเลิกใชแลวก็จะ
หายไป เชน จอภาพ(Monitor) อุปกรณฉายภาพ
(Projector) อุปกรณเสียง (Audio Output)
¡ หนวยแสดงผลถาวร (Hard copy) เปนการแสดงผลที่
สามารถจับตองไดและเคลือนยายไดตามความตองการ มักออกมาในรูป
                         ่
ของกระดาษ เชนเครื่องพิมพ (Printer) เครื่องพลอตเตอร
(Plotter)
จอภาพ (Monitor)

      ใชแสดงขอมูลหรือผลลัพธใหผใชเห็นไดทนที มีรูปรางคลายจอภาพ
                                  ู         ั
ของโทรทัศน ประกอบดวยจุด (Pixel) มากมาย ประเภทของจอมี 2
ประเภท
¡ จอซีอารที (Cathode Ray Tube: CRT) ใช
หลักการยิงแสงผานหลอดภาพคลายกับเครื่องรับโทรทัศน นิยมใชกับ
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร
¡ จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display:
LCD) ใชหลักการเรืองแสงเมื่อผานกระแสไฟฟาเขาไปในผลึกเหลว
นิยมใชในเครืองคอมพิวเตอรแบบพกพาขอดีคือใชพื้นที่นอย น้ําหนักเบา
             ่
กินไฟต่ํา แผรังสีนอย
จอภาพ (Monitor)




  จอ LCD          จอ CRT
เรื่องนารูเกี่ยวกับจอภาพ
     ความละเอียดของจอภาพ (Resolution) ปจจุบันเปนจอภาพสีแบบ
ซูเปอรวีจีเอ ( Super Video Graphics Adapter:
Super VGA) ความละเอียดต่ําที่ 800 x 600 จุด (แนวนอนxแนวตั้ง)
ความละเอียดสูง XGA 1024 x 768, SXGA 1280 x 1024, UXGA
1600 x 1200 ซึ่งใหความคมชัดสูงตามลําดับ อีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหภาพคมชัดมาก
ขึ้นไดแกระยะหางระหวางจุด (Dot pitch)
     จํานวนสี (Color) คาของสีที่แสดงจะแทนดวยตัวเลข 16 บิต แทนได
65,536 สี (High color) ถาใช 24 บิต จะแสดงได 16,777,216 สี
(True color)
     ขนาดของจอภาพปจจุบันเนนการแสดงภาพกราฟกมาก จึงนิยมใชจอภาพใน
ขนาด 15 หรือ 17 นิ้วขึ้นไป
เรื่องนารูเกี่ยวกับจอภาพ (ตอ)

     การเชื่อมตอ จะทําการเชื่อมตอกับ
การดวิดีโอ (Video Card) ซึ่งจะเสียบอยู
กับแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร
     อัตราการเปลี่ยนภาพ (Refresh rate) ของการดวิดีโอ
คืออัตราในการลบภาพเดิมและแสดงภาพใหม ซึ่งหากต่ํากวา 70 Hz
หรือ 70 ครั้งตอวินาทีจะทําใหผูชมเห็นภาพกระพริบและเกิดอาการปวด
ศีรษะได
อุปกรณฉายภาพ (Projector)

      เปนอุปกรณที่นิยมใชในการเรียนการสอนหรือการประชุม
เนื่องจากสามารถนําเสนอขอมูลใหผูชมจํานวนมากเห็นพรอมๆ กัน
อุปกรณฉายภาพจะมีขอแตกตางกันมากในเรื่อง
                        
กําลังสองสวาง
อุปกรณเสียง (Audio Output)
      ป ร ะ ก อ บ ขึ้ น จ า ก ลํ า โ พ ง
(Speaker) ซึ่ ง มี ห น า ที่ ใ น ก า ร
แปลงสั ญ ญาณจากคอมพิ ว เตอร ใ ห เ ป น
สั ญ ญ า ณ เ สี ย ง แ ล ะ ก า ร ด เ สี ย ง
(Sound card)ซึ่งเปนแผงวงจร
เพิ่มเติมที่นํามาเสียกับชองเสียบขยายบน
เมนบอรดเพื่อชวยใหคอมพิวเตอรสงเสียง
ผานลําโพงได
      ใช เ สี ย งเพื่ อ รายงานหรื อ เตื อ นถึ ง
ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด เ พื่ อ เ ล น เ ก ม ส ดู
ภาพยนตร ฟงเพลง
เครื่องพิมพ (Printer)

      เปนอุปกรณแสดงผลแบบถาวรที่ไดรับความนิยมมาก มีใหเลือก
หลายชนิดขึ้นอยูกับคุณภาพ ความละเอียด ความเร็ว ขนาดกระดาษ
และเทคโนโลยีเครื่องพิมพแบงตามวิธีการพิมพได 2 ชนิด คือ
เครื่องพิมพชนิดตอก (Impact printer) เครื่องพิมพชนิดไม
ตอก (Nonimpact printer)
เครื่องพิมพชนิดตอก (Impact Printer)
¡   ใชการตอกใหคารบอนบนผาหมึกติดบนกระดาษตามรูปแบบที่ตองการ
¡   สามารถพิมพสําเนาไดครั้งละหลายชุด ใชกระดาษตอเนื่องได
¡   ความเร็วในการพิมพมีหนวยเปนบรรทัดตอนาที (Line per minute:
    lpm)
¡   ขอเสีย คือ มีเสียงดัง และคุณภาพงานพิมพไมดีนัก
¡   แบงเปน 2 ประเภท
     – เครืองพิมพอักษรหรือเครื่องพิมพแบบจุด (Character printer หรือ Dot
             ่
          matrix printer)
     ซึ่งจะพิมพทีละหนึงตัวอักษร ตัวแตละตัวอักษรถูกสรางขึ้นจากจุดเล็ก ๆ จํานวนมาก
                        ่
     – เครืองพิมพบรรทัด (Line printer) พิมพทีละหนึงบรรทัด พิมพงานไดเร็ว แตจะ
               ่                                               ่
          มี
     ราคาสูง นิยมใชกบเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ
                      ั
เครื่องพิมพชนิดตอก (ตอ)




Line printer                 Dot matrix printer
เครื่องพิมพชนิดไมตอก (Nonimpact Printer)
¡   ใชเทคนิคการพิมพจากวิธีการทางเคมี พิมพไดเร็วและคมชัดกวาชนิดตอก
¡   พิมพไดทั้งตัวอักษรและกราฟกไมมีเสียงขณะพิมพไมสามารถพิมพสําเนาได
¡   ความเร็ววัดเปนหนาตอนาที (page per minute: ppm)
¡   แบงเปน 3 ประเภท
     – เครื่องพิมพเลเซอร (Laser printer) ใชแสงเลเซอรสรางประจุไฟฟาทําให
     โทนเนอรสรางภาพที่ตองการและพิมพลงบนกระดาษ ความละเอียดวัดเปนจุดตอนิ้ว
                         
     (dpi)
     – เครื่องพิมพฉีดหมึก (Inkjet printer) พิมพภาพสีไดคณภาพใกลเคียงกับ
                                                                      ุ
     ภาพถาย ราคาถูกกวาชนิดเลเซอร ใชหมึกสามสี (น้ําเงิน, มวงแดง, เหลือง) และสีดํา
     – เครื่องพิมพความรอน (Thermal printer) คุณภาพสูง (พิมพไดใกลเคียง
     ภาพถาย)ราคาแพง
เครื่องพิมพชนิดไมตอก (ตอ)




Laser printer                        Inkjet printer
พลอตเตอร (Plotter)

     ใช เ ขี ย นภาพสํ า หรั บ งานที่
ตองการความละเอีย ดสูง เนื่อ งจาก
ใช ปากกาในการกวาดเส น จึ ง ได
เสนที่ตอเนื่องกันตลอดปจจุบันใช
ระ บ บ ฉี ด ห มึ ก แ ท น ใ ช ใ น ง า น
ออกแบบตองการความสวยงามและ
ความละเอี ย ดสู ง มี ราคาค อ นข า ง
แพง พิมพกระดาษไดใหญ
หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage
Unit)
       สื่อสําหรับเก็บขอมูลจะเก็บไวในรูปเลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ทั้งสิ้น เนื่องจาก
หนวยความจําหลักหรือแรมไมไดเก็บขอมูลอยางถาวร ถาปดเครื่องหรือไฟดับขอมูล
ก็จะหายไป จึงตองทําการจัดเก็บขอมูลโดยยายจากหนวยความจําหลักมาไวในหนวย
เก็บขอมูลสํารอง
       หนวยเก็บขอมูลสํารองในปจจุบันมีราคาถูกมากเมื่อเทียบกับหนวยความจําหลัก
ทําใหเก็บขอมูลไดมาก อยางไรก็ตามหนวยเก็บขอมูลจะมีความเร็วในการอานและ
บันทึกขอมูลต่ํากวาหนวยความจําหลัก
       หนวยเก็บขอมูลสํารองในปจจุบันมีหลายชนิด แบงเปนประเภทใหญ ๆ ได
ดังนี้เทป จานแมเหล็ก ออปติคัลดิสก และหนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช
เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape)
¡   เปนสื่อเก็บขอมูลที่ใชมาตั้งแตคอมพิวเตอรยุคที่ 1 และ 2
¡   มีหลักการทํางานคลายเทปบันทึกเสียง จะอานขอมูลตามลําดับกอนหลังทีได ่
    บันทึกไว โดยเรียกหลักการนี้วา “การเขาถึงขอมูลตามลําดับ”
    (Sequential access)
¡   มวนเทป(Reel-to-reel) / คารทริดจเทป (Cartridge) / ตลับ
    เทป (Cassette)
¡   นิยมนําเทปแมเหล็กมาสํารองขอมูลที่สําคัญไมถูกเรียกใชบอย
¡   ความจุหรือความหนาแนนของเทปแมเหล็กมีหนวยเปน ไบตตอนิ้ว (Bpi)
¡   ขอดี อาน-ลบกี่ครั้งก็ได / ราคาต่า / บันทึกขอมูลมาก ๆ ไดอยางรวดเร็ว
                                        ํ
¡   ขอเสีย อานขอมูลไดชาเพราะตองอานเปนลําดับ
เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape)
จานแมเหล็ก (Magnetic Disk)
¡   เปนสื่อที่สามารถเก็บขอมูลไดจํานวนมาก ทํางานไดเร็วกวาเทปมาก
¡   ใชคูกับหัวอานที่เรียกวา “ตัวขับจานแมเหล็ก” (Disk drive)
¡   สามารถเขาถึงขอมูลโดยตรง (Direct access) โดยใชหลักการของ
    การเขาถึงขอมูลแบบสุม (Random access) ซึ่งทําใหสามารถอาน
    ขอมูลมาใชไดทันที
¡   กอนใชงานจานแมเหล็กจะตองมีการฟอรแมต (Format) กอน
¡   ตารางแฟต (FAT table) / แทร็ก (Track) / เซกเตอร
    (Sector) /คลัสเตอร (Cluster)
¡   จานแมเหล็กที่ไดรับความนิยมไดแก ฟลอปปดิกส (Floppy disk) และ
    ฮารดดิสก (Hard disk)
ฟลอปปดิสก (Floppy Disk)

¡   บางครั้งเรียกวา ดิสกเก็ต (Diskette) เปนแผนพลาสติกวงกลม
    ขนาด 3.5 นิ้ว (วัดเสนผานศูนยกลาง) บรรจุอยูในพลาสติกแบบแข็ง
¡   อานและเขียนขอมูลผานดิสกไดรฟ (Disk drive)
¡   แถบปองกันการบันทึก (Write-Protection) ใชเพื่อ
    ปองกันการบันทึกขอมูล
¡   จํานวนขอมูลที่สามารถเก็บไดขึ้นอยูกับความหนาแนนของสาร
    แมเหล็กปจจุบันอยูอยูที่ 1.44 MB
                        
ฟลอปปดิสก (ตอ)
ฮารดดิสก (Hard Disk)

¡   ทําจากแผนโลหะแข็งเรียกวา Platters จํานวนหลายแผน ทําใหเก็บขอมูล
    ไดมากและอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว
¡   บันทึกขอมูลไดทั้งสองหนาของผิวจานแมเหล็ก
¡   มีทั้งแบบยึดติดในเครื่องและแบบสามารถเคลื่อนยายได (Removable
    disk)
¡   สิ่งกีดขวางบางอยาง เชน ฝุน ควัน อาจสรางความเสียหายใหกับหัวอานได
¡   ปจจุบันมีความจุหลายกิกะไบต (GB) / หมุนไดเร็วตั้งแต 5,400 รอบตอนาที
¡   มาตรฐานการเชื่อมตอที่นิยมใชในปจจุบัน คือ EIDE และ SCSI
ฮารดดิสก (Hard Disk)
ออปติคัลดิสก (Optical Disk)

     ใชเทคโนโลยีแสงเลเซอร มีหลักการทํางานคลายกับการเลนซีดี
(CD) เพลงเก็บขอมูลไดจํานวนมากและราคาไมแพงมากนัก ใน
ปจจุบันจะมีออปติคอลอยูหลายประเภท ไดแก
                       
     l   ซีดีรอม (Compact Disk Read Only
         Memory: CD-ROM)
     l   เอ็มโอดิสก (Magneto Optical disk: MO)
     l   ดีวีดี (Digital Versatile Disk: DVD)
ซีดีรอม
(Compact Disk Read Only Memory: CD-
ROM)

¡   เก็บบันทึกขอมูลไดถึง 650 เมกะไบต / บันทึกดวยเครื่องมือเฉพาะ / ครั้งเดียว
¡   ใชซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) ในการอานขอมูล
¡   ความเร็วในการอานเทียบกับ 150 กิโลไบตตอวินาที (1 เทาหรือ 1 X)
¡   ปจจุบันไดรับความนิยมมาก เนื่องจาก สะดวกและไมตองเปลี่ยนแผนบอยใน
    การติดตั้งโปรแกรมที่มากับแผนซีดรอม โอกาสเสียนอย ตนทุนต่า
                                     ี                           ํ
¡   ซีดีอาร (CD-R) เก็บขอมูลได 600-900 MB เหมาะสําหรับมัลติมีเดีย
¡   ซีดีอารดับเบิลยู (CD-RW) สามารถลบและบันทึกใหมได / ความเร็วใน
    การเขียนแผน CD-R ความเร็วในการเขียนแผน CD-RW ความเร็วใน
    การอาน
ซีดีรอม (ตอ)
เอ็มโอดิสก (Magneto Optical disk: MO)
¡   ใชหลักการของสื่อที่ใชสารแมเหล็กและสื่อที่ใชแสงเลเซอรรวมกัน
¡   ใชแสงเลเซอรในการบันทึกและอานขอมูล ลดความผิดพลาดจากการลมเหลว
    ของหัวอาน (หัวอานไมจําเปนตองเขาใกลดิสก) และปลอดภัยจากสนามแมเหล็ก
¡   มีความจุสูงมากตั้งแต 200 MB ขึ้นไป
¡   ความเร็วสูงกวา Floppy Disk และ CD-ROM แตต่ํากวา
    Hard disk
¡   มีอายุการใชงานกวา 30 ป
¡   ขอเสีย : ราคาสูง การอานเขียนตองทํา 2 ขั้นตอนคือลบขอมูลเดิมแลวเขียน
    ขอมูลใหม (จึงชากวาฮารดดิสกมาก)
เอ็มโอดิสก (ตอ)
ดีวีดี (Digital Versatile Disk: DVD)

¡   กําลังไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน
¡   เก็บขอมูลไดตั้งแต 4.7 GB – 17 GB
¡   ความเร็วในการเขาถึง 600 KB – 1.3 MB ตอวินาที
¡   สามารถอานแผน CD-ROM แบบเกาได
¡   DVD – RW สามารถบันทึกและลบขอมูลไดหลายครั้ง
ดีวีดี (ตอ)
หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (Flash Storage)

      พัฒนามาจากหนวยความจําแบบแฟลช (Flash memory)
เพื่อนําไปใชในอุปกรณแบบพกพาตาง ๆ เชน กลองดิจิตอล กลองวิดีโอ
ซึ่งจะมีขนาดเล็กน้ําหนักเบา ไมตองใชแหลงพลังงานหลอเลี้ยง ปจจุบัน
                                
มีสื่อที่นิยมใชดังนี้
     l    การดคอมแพคแฟลช (Compact Flash)
     l    เมมโมรี่สติ๊ก (Memory stick)
     l    การดสมารทมีเดีย (SmartMedia)
     l    การดมัลติมีเดีย (Multimedia Card)
     l    การดซีเคียวดิจิตอล (Secure Digital)
หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ)

     การดคอมแพคแฟลช (Compact Flash) นิยมเรียกวา
CF Card พัฒนาโดยบริษัท ScanDisk ราคาต่ําสุดเมื่อเทียบ
กับหนวยเก็บขอมูลแฟลชอื่นๆ มีอายุการใชงานราว 100 ป โดยขอมูล
ไมเสียหาย ขนาดของความจุ 8 – 512MB
     เมมโมรี่สติ๊ก (Memory stick) ของบริษัทโซนี่ มี
ขนาดเทาหมากฝรั่ง ใชในอุปกรณตาง ๆ ของบริษัทโซนี่ เชน กลอง
ดิจิตอล ในปจจุบันมีความจุตั้งแต 4 –256 MB อานขอมูลดวย
ความเร็ว 2.45 MB/s เขียนดวยความ 1.8 MB/s จุดดอยคือ ราคา
คอนขางสูงและใชไดกับอุปกรณของโซนี่เทานั้น
หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ)
      การดสมารทมีเดีย (SmartMedia) มีความจุตั้งแต 8 – 128MB
มีการใชงานในอุปกรณกลองดิจิตอลและพีดีเอบางรุน ใชในกลองดิจิตอลและพีดีเอ
      การดมัลติมีเดีย (Multimedia Card: MMC) ขนาดเล็กเทา
แสตมป มีความจุสูงถึง 128 MB นิยมใชเก็บขอมูลประเภทเสียง MP3 ใน
เครื่องเลนแบบพกพาและมีการนํามาใชในอุปกรณ PDA ทั้งพ็อกเก็ตพีซีและ
ปาลม
      การดซีเคียวดิจิตอล (SD Card) พัฒนาตอจาก MMC โดยเพิ่มใน
สวนของการเขารหัสขอมูลที่บันทึกไว เพื่อปองกันการทําสําเนาโดยไมไดรับอนุญาต
ใชในการบันทึกเพลงและหนังสืออิเล็กทรอนิกส ความจุ 256 MB
หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ)
อุปกรณอื่นๆ
     นอกจากอุปกรณในการรับขอมูล การประมวลผล การแสดงผล และการเก็บ
ขอมูลสํารองแลว ระบบคอมพิวเตอรยังมีอุปกรณอื่นๆ ที่ทํางานรวมกันเพื่อให
สามารถทํางานไดหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ซึ่งอุปกรณที่จะกลาวถึง
ไดแก
      l    แผงวงจรหลัก (Main Board)
      l    สวนเชื่อมตออุปกรณ
             - ยูเอสบี (Universal Serial Bus: USB)
             - ไฟรไวร (FireWire, IEEE 1394)
             - อินฟราเรด (IrDA Port)
      l    อุปกรณสอสารขอมูล โมเด็ม (MODEM)
                    ื่
      l    ยูพีเอส (UPS)
แผงวงจรหลัก (Main Board)

      แผงวงจรหลัก (Main Board) หรือ แผงวงจรแม
(Mother Board) เปนแผงวงจรไฟฟาขนาดใหญเพื่อใชเชื่อม
อุปกรณ/องคประกอบตาง ๆ ของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร เชน ซีพียู
หนวยความจํา รวมทั้งมีชองสําหรับตออุปกรณปอนขอมูลและแสดงผล
                                                   
(I/O) และชองขยายเพิ่มเติม (Expansion slot) โดย
อุปกรณทั้งหมดจะถูกบรรจุอยูในตัวถัง (Case) ซึ่งมีลักษณะเปน
กลอง
      ในแผงวงจรหลักจะมีนาฬิการะบบ (System Clock) ของ
เครื่องคอมพิวเตอรซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทางานชา
                                                                 ํ
หรือเร็ว
แผงวงจรหลัก (ตอ)
ยูเอสบี (Universal Serial Bus: USB)

      เปนสวนเชื่อมตอที่ใชหลักการของบัสแบบอนุกรม ซึ่งเปนมาตรฐานและกําลัง
ไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน สวนเชื่อมตอยูเอสบีจะเปนบัสอเนกประสงค
สําหรับตออุปกรณความเร็วต่ําทั้งหมดเพียงชองเดียว เชน การตอเมาส หรือ
เครื่องพิมพ
      l    ตออุปกรณไดสูงสุด 127 อุปกรณ / สายเชือมระหวางอุปกรณยาวไดถึง 5 เมตร
                                                   ่
      l    สนับสนุนการถอดหรือเปลี่ยนอุปกรณโดยไมตองปดเครือง (Hot
                                                             ่
           Swapping)
      l    สนับสนุนการใชงานแบบเสียบแลวใชไดทันที (Plug and Play)
      l    มี 2 มาตรฐาน ไดแก USB 1.1 (ความเร็ว 1.5 Mbps, 12 Mbps) และ
           USB 2.0(ความเร็ว 480 Mbps)
ยูเอสบี (ตอ)
ไฟรไวร (FireWire)

    เปนมาตรฐานการเชื่อมตอความเร็วสูงมากจาก IEEE ปจจุบน   ั
นํามาใชในอุปกรณทตองการความเร็วสูงในการถายโอนขอมูล เชน
                   ี่
กลองดิจิตอล กลองวิดีโอ ฮารดดิสกแบบพกพา
     l   ความเร็วสูงสุด 400 Mbps
     l   สามารถเชื่อมตออุปกรณได 63 อุปกรณ / 1 พอรต
     l   สนับสนุนการสงขอมูลแบบรับประกันการสง (กันชองสัญญาณไวได)
     l   เหมาะกับงานแบบเวลาจริง (Real-time) เชน การสงภาพวิดีโอ
     l   สนับสนุน Hot Swapping และ Plug and Play
         เชนเดียวกับ USB
ไฟรไวร (FireWire)
อินฟราเรด (Infrared)

   ปจจุบันสวนเชื่อมตอแบบอินฟราเรดไดถูกติดตั้งในอุปกรณจํานวน
มาก เชน เครื่องพิมพ คอมพิวเตอรโนตบุค โทรศัพทเคลื่อนที่
     l   ไมตองใชสายในการเชื่อมตอจึงสะดวกกับอุปกรณแบบพกพา
     l   มีคาใชจายต่ํา
     l   ระยะหางระหวางอุปกรณที่จะเชื่อมตอกันตองอยูระหวาง 1 – 3 เมตร
     l   ตองไมมีสิ่งกีดขวางระหวางอุปกรณที่จะเชื่อมตอกัน
อินฟราเรด (ตอ)
โมเด็ม (MODEM)

     เปนอุปกรณที่ใชในการเชื่อมตอระบบเครือขายภายนอกผานสายโทรศัพท ซึ่ง
ปกติจะใชสงสัญญาณเสียงเทานั้น สงขอมูลเปนสัญญาณอนาลอก (Analog)
โดยแปลงจากสัญญาณดิจิตอล (Digital) ความเร็วสูงสุดในการสง 56
Kbps ตามมาตรฐาน V.90 ของ ITU โมเด็มสามารถแบงไดเปน 4 ประเภท
ไดแก
      l    แบบภายใน (Internal MODEM) อยูในเครื่อง / ราคาถูก / ไมตองตอ
           ไฟเพิ่ม
      l    แบบภายนอก (External MODEM) เคลือนยายไดสะดวก / มีไฟแสดง
                                            ่
           สถานะ
      l    แบบกระเปา (Pocket MODEM) ขนาดเล็ก / พกพาสะดวก / ตอพอรต
           อนุกรม
      l    แบบการด (PCMCIA MODEM) ขนาดเทาบัตรเครดิต / ใชกับโนตบุค
โมเด็ม (ตอ)
                          PCMCIA MODEM
      Internal MODEM




External MODEM
                       Pocket MODEM
ยูพีเอส (UPS)
     เปนอุปกรณสําหรับจายกระแสไฟฟาสํารองจากแบตเตอรรี เพื่อเปนแหลง
พลังงานฉุกเฉินในกรณีเกิดปญหากับระบบไฟฟาหลัก เชน ไฟดับ โดยปกติยูพีเอส
จะจายไฟเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานไดระยะหนึ่ง เพื่อใหผูใชจดเก็บขอมูลหรือปด
                                                             ั
ระบบ
        l    Standby power system เวลาปกติใชระบบไฟฟาหลัก
             โดยตรง แตจะคอยตรวจสอบพลังงานไฟฟาและจะเปลี่ยนไปใชพลังงานจาก
             แบตเตอรีทันทีที่ตรวจพบปญหา ขอดีคือราคาต่ํา สูญเสียพลังงานไฟฟานอย ขอเสีย
                      ่
             ชวงเวลาที่เปลี่ยนมาใชแบตเตอรีอาจทําใหคอมพิวเตอรไมไดรับพลังงานเนืองจากตอง
                                            ่                                      ่
             ใชเวลาระยะหนึ่ง
        l    On-line UPS system เปนระบบยูพเี อสที่จายพลังงานไฟฟาจาก
             แบตเตอรี่โดยตรงขอดีคอไดรับพลังงานไฟฟาที่มีคณภาพสูงตลอดเวลา ขอเสียคือ
                                     ื                      ุ
             ราคาแพง มีการสูญเสียพลังงานไฟฟากับการแปลงตลอดเวลา มีอายุการใชงานสั้น
             กวาดวย
ยูพีเอส (ตอ)
ซอฟตแวร (Software)

  ซอฟตแวร คือ ชุดคําสั่งหรือ โปรแกรมคําสั่งที่สั่งให
  คอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรเปนตัวเชื่อมระหวางเครื่อง
  คอมพิวเตอรและผูใชคอมพิวเตอร โดยผูใชระบุความ
  ตองการไวภายใตซอฟตแวรหลังจากนั้นซอฟตแวรจะทํา
  หนาที่สั่งการควบคุมการทํางานของฮารดแวรทั้งหมด
ซอฟตแวร (Software)

  ซอฟตแวร แบงได เปน 2 ประเภท
  l    ซอฟตแวรระบบ
    (System Software)
  l    ซอฟตแวรประยุกต
    (Application Software)
ซอฟตแวรระบบ
(System Software)

คือ โปรแกรมที่ทาหนาที่ควบคุมการทํางานพืนฐานของฮารดแวร
               ํ                        ้

      •ระบบปฏิบัติการ
      (Operation System : OS)
      •โปรแกรมแปลภาษา
      (Translation Program)
ระบบปฏิบัติการ
(Operation System)
 คือ โปรแกรมที่ควบคุมการปฏิบติงานของฮารดแวร และเปน
                             ั
    ตัวเชื่อมสนับสนุนคําสั่ง

หนาที่ของระบบปฏิบัติการ
           ควบคุมการปฏิบัติงานของระบบคอมพิวเตอร
           จัดสรรทรัพยากรซึ่งใชรวมกัน (Share Resource)

ตัวอยาง ประเภทของซอฟตแวรระบบ
           DOS (Disk Operation System)
           Microsoft Windows
           Linux
ซอฟตแวรประยุกต

 คือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอร
 ปฏิบัติการตามที่ผูใชตองการ
 ซอฟตแวรประยุกต แบงออกเปน 2 ประเภท
 l ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Package
       Program)
 l ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ
ซอฟตแวรสําเร็จรูป
  (Package Program)
   1 ซอฟตแวรสําเร็จรูป
     (Package Program)
คือ โปรแกรมคําสั่งที่บริษัทซอฟตแวรพัฒนาขึ้น
แลวนําออกจําหนาย เพื่อนําไปใชงานไดเลย
ซอฟตแวรสําเร็จรูป
 (Package Program)
 1. ซอฟตแวรประมวลคํา
    (Word Processing Software)
   Microsoft Word
2.ซอฟตแวรตารางการทํางาน   (Spread Sheet Software)
   Microsoft Excel
3. ซอฟตแวรการจัดการฐานขอมูล    (Data Base Mangement
  Software)    Microsoft Access
ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ

คือ โปรแกรมที่ใชกับงานเฉพาะดานโปรแกรมเมอร
จะพัฒนาขึ้นใชเฉพาะงานแตละประเภทใหตรงกับ
ความตองการของผูใชเชน โปรแกรมควบคุมสินคา
โปรแกรมจองหองพักของโรงแรม
ลักษณะการทํางานของซอฟตแวร
ซอฟตแวร (software) หมายถึง โปรแกรมหรือ
ชุดคําสั่งที่ควบคุมใหเครื่องคอมพิวเตอร ทํางานใหไดผล
ลัพธตามที่ตองการ

ซอฟตแวรแบงเปน 2 ประเภทคือ
1) ซอฟตแวรระบบ (system software)
2) ซอฟตแวรประยุกต (application software)
ซอฟตแวรระบบ
เปนสื่อกลางระหวางโปรแกรมประยุกตและอุปกรณคอมพิวเตอร

1) ระบบปฏิบัติการ (operating system)
    1.1 ระบบปฏิบติการเครื่องไมโครคอมพิวเตอร
                  ั
         uDOS
         uMicrosoft Windows
    1.2 ระบบปฏิบติการแบบเปด
                ั
        uUNIX
         uLinux
2) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร
 2.1 คอมไพเลอร (compiler) เปนตัวแปลภาษาระดับสูง เชน
     ภาษาปาสคาล, โคบอลและภาษาฟอรแทรนใหเปนภาษาเครื่อง
  โปรแกรมตนฉบับ    คอมไพเลอร     โปรแกรมเรียกใชงาน    ผลลัพธ
 (Source program)    (Compiler)   (executable program)   (output)




                                   ขอมูลนําเขา
                                      (Input)
2.2 อินเตอรพรีเตอร (interpreter) เชน ภาษาเบสิก (BASIC)
          โปรแกรมตนฉบับ    อินเตอรพรีเตอร   ผลลัพธ
         (Source program)     (Interpreter)    (output)




                            ขอมูลนําเขา
                               (Input)



2.3 แอสแซมเบลอ (assembler) เปนตัวแปลภาษาแอสแซมบลี
    (Assembly) ใหเปนภาษาเครื่อง
ซอฟตแวรประยุกต
พัฒนาขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใช


¡   โปรแกรมประมวลผลคํา เชน โปรแกรม Microsoft Word,
    Word Perfect และ Lotus Word Pro


    การใชงาน
    ใชสําหรับจัดทําเอกสาร เชน รายงาน จดหมาย หนังสือ
ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Word
¡   โปรแกรมดานการคํานวณ เชน โปรแกรม Microsoft Excel,
    Lotus1-2-3 และ Quattro Pro เปนตน


การใชงาน
ใชสําหรับงานคํานวณตัวเลข ทํากราฟสถิติ เชน ทํางบกําไร-
ขาดทุน รายงานการขาย รายงานคะแนน ฯลฯ
ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Excel
¡   โปรแกรมการนําเสนอขอมูล เชน
    โปรแกรม Microsoft PowerPoint


    การใชงาน
    ใชสําหรับการนําเสนอขอมูลในการประชุม สัมมนา
    การบรรยายการเรียนการสอน
ตัวอยางโปรแกรม Microsoft PowerPoint
¡   โปรแกรมจัดการฐานขอมูล
    เชน Microsoft Access, และ FoxPro เปนตน



    การใชงาน
    ใชสําหรับงานเก็บขอมูลจํานวนมาก เชน ขอมูลลูกคา สินคา
    คงคลัง ขอมูลบุคลากร
ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Access
¡ โปรแกรมดานงานพิมพ    เชน โปรแกรม Adobe PageMaker และ
  Microsoft Publisher



 การใชงาน
 ใชสําหรับจัดหนาสิ่งพิมพตาง ๆ เชน แผนพับ หนังสือ
 นามบัตร ใบประชาสัมพันธ
ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Publisher
โปรแกรมกราฟก จําแนกได 2 ประเภท
n   ประเภทที่ 1 เปนโปรแกรมสําหรับตกแตงภาพ
    เชน โปรแกรม Adobe PhotoShop, Microsoft Paint
    และ CorelDraw เปนตน
    การใชงาน
    ใชสําหรับตกแตงภาพใหสวยงาม มีเครื่อมือที่มีลกษณะเหมือน
                                                  ั
    ดินสอ แปรง พูกัน และอุปกรณที่เลียนแบบของจริง
ตัวอยางโปรแกรม Adobe Photoshop
n ประเภทที่ 2 เปนโปรแกรมสําหรับการออกแบบ
   เชน โปรแกรม AutoCAD และ Microsoft Visio


การใชงาน
ใชสําหรับชวยออกแบบงานดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เชน
ชวยออกแบบบาน รถยนต ระบบไฟฟา หรือแผงวงจร
ตัวอยางโปรแกรม Microsoft Visio
¡ โปรแกรมดานมัลติมีเดีย เชน Macromedia Authorware,
  Macromedia Director และ ToolBook



  การใชงาน
  เปนโปรแกรมที่ผสมผสานขอความ กราฟก เสียง วิดีโอ และ
  ภาพเคลื่อนไหวเขาดวยกัน ใชเพื่อสรางสื่อการเรียนการสอน
  และการนําเสนอผลงาน
ตัวอยางโปรแกรม Macromedia Authorware
¡   โปรแกรมดานติดตอสื่อสาร
    ftp (file transfer protocol), ICQ, MIRC, MS Chat
    มีหลายประเภทดังนี้

n     newgroup, webboard

       การใชงาน
       ใชในการแลกเปลี่ยนขาวสารและความคิดเห็นบนกระดาน
       ขาว
ตัวอยาง Web board
n   โปรแกรมเว็บเบราวเซอร เชน Internet Explorer และ Netscape



    การใชงาน
    ใชแสดงขอมูลบนเว็บเพจหรือใชติดตอสื่อสารผานอีเมล
ตัวอยางโปรแกรม Internet Explorer
n   โปรแกรมที่ชวยโอนยายโปรแกรมหรือแฟมขอมูล
    เชน File Transfer Protocol (FTP)


    การใชงาน
    ใชโอนยายโปรแกรมหรือแฟมขอมูลจากแหลงขอมูลใน
    เครือขายอินเทอรเน็ตมาใชงานที่เครื่องของตนเอง
ตัวอยางโปรแกรม FTP
n   โปรแกรมทีใชสนทนาพูดคุยโตตอบกัน เชน ICQ, MIRC,
              ่
    Microsoft Chat



    การใชงาน
    ใชสนทนากันโดยผานแปนพิมพหรือสื่อประสมอื่น ๆ
    สามารถโตตอบกันแบบคําตอคําไดทันที
ตัวอยางโปรแกรม ICQ
ตัวอยางโปรแกรม MSN
¡    โปรแกรมอรรถประโยชน เชน โปรแกรมตรวจสอบไวรัส (virus
    scan), Win Zip

        การใชงาน
        ใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร
        ดูแลรักษาความปลอดภัย เชน สํารองขอมูล ตรวจสอบไวรัส
        หรือบีบอัดขอมูลใหมีขนาดเล็กลง
ตัวอยางโปรแกรม WinZip
ตัวอยางโปรแกรม Norton AntiVirus
¡   โปรแกรมดานสาระและบันเทิง เชน โปรแกรมตอสูจําลอง (fight
    simulator), โปรแกรมสรางเมือง หรือโปรแกรมเสริมสรางทักษะ
    ของเด็กวัยตาง ๆ


     การใชงาน
     ใชเปนแหลงความรูที่นาสนใจ ปจจุบันบรรจุอยูในแผน
     ซีดีรอมเพราะใชกันอยางแพรหลาย
ตัวอยางโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอนเรื่องรามเกียรติ์
ตัวอยางโปรแกรมแปลไทย
ภาษาคอมพิวเตอร
คอมพิวเตอรมีการสื่อสารโดยใชภาษาเชนเดียวกับมนุษย และภาษา
ที่ใชมีความแตกตางกันหรือเรียกวามีโครงสรางตางกันดังนี้
  n   ภาษาเครื่อง (machine language) หรือเรียกวาภาษายุคหนึ่ง เปน
      ชุดคําสั่งที่ประกอบดวยเลขฐานสอง (0 และ 1)
      ขอดี สื่อสารกับเครื่องโดยตรง ไมตองมีตัวแปลภาษา
      ขอเสีย ทํางานเฉพาะเครื่องที่พัฒนา และใชเวลานาน
n   ภาษาแอสแซมบลี (assembly language) พัฒนาขึ้นเปน
    ภาษายุคที่ 2 เนื่องจากภาษาเครื่องพัฒนายาก
    ขอดี เรียนรูงายและเร็วกวาพัฒนาดวยภาษาเครื่อง
    ขอเสีย ตองใชตัวแปลภาษาแอสแซมเบลอ
n   ภาษาระดับสูง(high-level languages) เปนภาษาที่งายตอ
                                                      
    การเรียนรูและนําไปประยุกตใชงาน
    ขอดี ทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรตางชนิดกันได
    ตัวอยางภาษา เชน เบสิก ปาสคาล โคบอล และ
    ฟอรแทรน
n ภาษาระดับสูงมาก (Very High-level Languages) หรือ
 ภาษายุคที่สี่ เปนภาษาที่เขียนงายเพราะไมตองมีโพรซีเยอร
n ภาษาธรรมชาติ (natural language) ไดแก ระบบผูเชี่ยวชาญ
 (expert system) และปญญาประดิษฐ (artificial intelligence)
  เปนภาษาทีอนุญาตใหผูใชสงขอความที่เปนภาษามนุษยใน
             ่
  โครงสรางภาษาอังกฤษในการสั่งคอมพิวเตอรได
โปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming)



   การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คือกระบวนการที่โปรแกรมถูก
   จัดการใหอยูในรูปของวัตถุ (objects) และวัตถุแตละประเภทจะ
  ประกอบดวยแอตทริบิวต และเมธอด หรือฟงกชันที่ประกอบดวยชุดคําสั่งที่
  เขียนขึ้นเพื่อการจัดการขอมูลของวัตถุชิ้นนั้นโดยเฉพาะ เมื่อผูใชตองการ
  ทํางานนั้น ๆ ก็เพียงแตเรียกใชเมธอดของวัตถุนั้น
ตัวอยางภาษาคอมพิวเตอร
¡ ภาษาเบสิก (BASIC)

¡ ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic)

¡ ภาษาโคบอล (COBOL)

¡ ภาษาปาสคาล (PASCAL)

¡ ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN)

¡ ภาษาซี (C)

¡ ภาษา HTML

¡ ภาษาจาวา (JAVA)

¡ ภาษา XML
ตัวอยางโปรแกรมภาษา GWBasic
ตัวอยางโปรแกรมภาษา JAVA
ตัวอยางโปรแกรมภาษา Pascal
ตัวอยางโปรแกรมภาษา Visual Basic
ตัวอยางโปรแกรมภาษา Visual Basic
การเลือกใชภาษาคอมพิวเตอร
1) ภาษามาตรฐานที่ใชในองคการ       ในหนวยงานควรมีภาษามาตรฐานใชพัฒนา
  เพราะทําใหเกิดความสะดวกในการดูแลระบบ
2) ความเหมาะสมและคุณสมบัติของภาษา เพราะภาษาแตละภาษาไดถูก
  ออกแบบมาเพื่องานเฉพาะอยาง
3) การทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น ควรเลือกภาษาที่ใกลเคียงกันเพื่อให
  โปรแกรมทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น ๆ ไดอยางไมมีอุปสรรค
4) การทํางานรวมกับระบบอื่น ๆ ควรเลือกภาษาที่เปนพื้นฐานในการพัฒนา
  โปรแกรม จะทําใหโปรแกรมทํางานไดทุกระบบ
บุคลากร (Peopleware)

   บุคคลที่เกี่ยวของกับการจัดการและควบคุมระบบ
   คอมพิวเตอร รวมถึงผูใชเครื่องคอมพิวเตอร
    บุคลากรคอมพิวเตอร แบงออกเปน
บุคลากร (Peopleware)

1) หัวหนาหนวยงานคอมพิวเตอร (Electronic Data
   Processing Manager)
2) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst :SA)
3) นักออกแบบระบบ (System Designer)
4) โปรแกรมเมอร (Programmer)
5) ผูบริหารและควบคุมฐานขอมูล (Database Administrator)
6) ผูควบคุมเครื่อง(Computer Operator)
7) ผูใช (Users)
ขอมูลและสารสนเทศ (Data/Information)


ขอมูล
คือ ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น โดยอาจเปนตัวเลขเชน ความสูง
ระยะทาง
สารสนเทศ
คือ ผลลัพธที่ไดจาการประมวลผลและสามารถนําไป
ใชประโยชนไดตรงกับความตองการของผูใช
กระบวนการทํางาน (Procedure)


    องคประกอบดานกระบวนการทํางาน คือ ขั้นตอน
    กระบวนการทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรที่ผูใช
    คอมพิวเตอรทุกคนตองรู เพื่อสามารถใชงานไดอยาง
    ถูกตอง เชน คูมือสําหรับผูใช (User
    Manual) คูมือสําหรับผูควบคุมเครื่อง
    (Operation Manual)
สรุป

เครื่องคอมพิวเตอรเปนอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ไม
สามารถทํางานไดโดยลําพัง จําเปนตองมี
องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรซึ่งมี
ลักษณะการทํางานที่ตองประสานกัน จึงจะทําให
ระบบคอมพิวเตอรสามารถทํางานไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมabhichatdotcom
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุAsmataa
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)CHIDCHANOKPHOOPECH
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointChonlamas Supsomboon
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
งานนำเสนอ ลาว...
งานนำเสนอ ลาว...งานนำเสนอ ลาว...
งานนำเสนอ ลาว...dayzerotic
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nitiwat First
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวNoi Nueng
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน0895043723
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Thanaphat Tachaphan
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 

Mais procurados (20)

ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ใบงาน 1.2 คำศัพท์เกี่ยวกับอุุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมพื้นฐานการเขียนโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
 
G.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุG.14 โสตวัสดุ
G.14 โสตวัสดุ
 
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
หลักการออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Game Design)
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..Pp+บุหรี่..
Pp+บุหรี่..
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
งานนำเสนอ ลาว...
งานนำเสนอ ลาว...งานนำเสนอ ลาว...
งานนำเสนอ ลาว...
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุ
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
Ch.08 บรรจุภัณฑ์เพื่อการนำเข้าและส่งออก (Shipping Packages)
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 

Semelhante a องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานAnny Choosaeng
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตPokypoky Leonardo
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computerajpeerawich
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccomkruniid
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นit4learner
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2Kriangx Ch
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์natthaphorn_thepyoo
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์Jintana Pandoung
 

Semelhante a องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ (20)

ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
 
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุตบทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
Com
ComCom
Com
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
ก้าวไกลทันเทคโนโลยี 2
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
Onet-Work3-09
Onet-Work3-09Onet-Work3-09
Onet-Work3-09
 

Mais de Radompon.com

Microsoft office publisher 2003
Microsoft office publisher 2003Microsoft office publisher 2003
Microsoft office publisher 2003Radompon.com
 
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์Radompon.com
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์Radompon.com
 

Mais de Radompon.com (6)

Utq
UtqUtq
Utq
 
Google in thai
Google in thaiGoogle in thai
Google in thai
 
Microsoft office publisher 2003
Microsoft office publisher 2003Microsoft office publisher 2003
Microsoft office publisher 2003
 
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
จรรยาบรรณของบล็อกเกอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
คู่มือการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
 

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

  • 1. องคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร ¡ ฮารดแวร (Hardware) ¡ ซอฟตแวร (Software) ¡ บุคลากร (Peopleware) ¡ ขอมูล (Data) ¡ กระบวนการทํางาน (Procedure)
  • 2. ฮารดแวร (Hardware) ¡ ฮารดแวร (Hardware) หมายถึง ตัวเครือง ่ คอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง (Peripheral) ที่สามารถสัมผัสได โดยจะประกอบดวย อุปกรณทางดานอิเล็กทรอนิกสทควบคุมการ ี่ ประมวลผลขอมูล การรับขอมูล การแสดงผล ขอมูลของเครืองคอมพิวเตอร ่
  • 3. องคประกอบของฮารดแวร ¡ หนวยรับขอมูล (Input Unit) ¡ หนวยประมวลผลขอมูล (Central Processing Unit : CPU) ¡ หนวยเก็บขอมูล (Memory Unit) ¡ หนวยติดตอสื่อสาร (Communication Unit) ¡ หนวยแสดงผล (Output Unit)
  • 4. หนวยรับขอมูล (Input Unit) ทําหนาที่รับขอมูลจากภายนอกคอมพิวเตอร เข า สู ห น ว ยความจํ า แล ว เปลี่ ย นเป น สั ญ ญาณในรู ป แบบที่ ค อมพิ ว เตอร ส ามารถ เขาใจได
  • 5. เมาส (Mouse) คียบอรด (Keyboard) สแกนเนอร (Scanner)
  • 6. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) l หนวยควบคุม (Control Unit) l หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) l หนวยความจํา (Memory Unit)
  • 7. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) l หนวยควบคุม (Control Unit) ทําหนาที่ในการควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรทั้ง ระบบ เปรียบเสมือนศูนยกลางของระบบประสาท หนาที่ ของหนวยควบคุม คือ อานคําสั่งที่เก็บไวในหนวยความจํา ถอดรหัสคําสั่ง และทํางานตามคําสั่ง ที่ละคําสั่งจนหมด คําสั่งที่จะประมวลผล
  • 8. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) จะมีหนาที่ในการทํางาน 2 ลักษณะคือ l 1. ประมวลผลการคํานวณเชิงคณิตศาสตร (Arithmetic Operation) l 2. ประมวลผลเชิงตรรกวิทยา (Logical Operation)
  • 9. หนวยความจํา (Memory Unit) คื อ ส ว นที่ ทํ า หน า ที่ เ ก็ บ ข อ มู ล หรื อ คํ า สั่ ง ที่ รั บ จากหน ว ยรั บ ข อ มู ล เพื่อเตรียมสงใหหนวยประมวลผล กลาง
  • 10. หนวยความจํา (Memory Unit) หนวยความจําแบงออกเปน 2 ประเภท 1) หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit) หนวยความจําที่เก็บขอมูล และโปรแกรมคําสั่ง ที่อยู ระหวางการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร 2) หนวยความจําสํารอง (Secondary Memory) หนวยความจําสํารองจึงมีหนาที่ในเก็บขอมูลและ โปรแกรมคําสั่งอยางถาวร
  • 11. หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit) l หนวยความจําถาวร (Permanent Memory) (Read Only Memory : ROM) เปนชิปที่บันทึกโปรแกรมคําสั่งอยางถาวรโดยผูผลิตคอมพิวเตอร สามารถเรียกอานและใชงานไดแตไมสามารถแกไขหรือเพิ่มเติม โปรแกรมคําสั่งในภายหลังได
  • 12. หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit) l หนวยความจําชั่วคราว (Non-Permanent Memory) (Random Access Memory- RAM) l คือ หนวยความจําที่เก็บโปรแกรมคําสั่งและขอมูลขณะที่คอมพิวเตอร กําลังทํางานอยู จึงเปรียบเสมือนกระดาษทด แตถาปดเครื่องหรือ  ไฟดับขอมูลหรือโปรแกรมคําสั่งที่อยูภายในแรมจะสูญหาย
  • 14. หนวยความจําสํารอง (Secondary Memory) l เนื่องจากหนวยความจําหลักไมสามารถเก็บขอมูลไดหมด และสามารถเก็ บ ข อ มู ล ได ชั่ ว คราวในขณะที่ ใ ช ง าน หน ว ยความจํ า สํ า รองจึ ง มี ห น า ที่ ใ นเก็ บ ข อ มู ล และ โปรแกรมคํ า สั่ งอย างถาวร นอกจากนั้น หน วยความจํ า สํารองยังเปนสื่อในการเรียกใชขอมูลและโปรแกรมคําสั่ง จากคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอรอีกเครื่อง หนึ่งได
  • 15. ซีดี (Compact Disk - CD) lซีดีเพลง (Audio CD) lวีซีดี (Video CD) lซีด-อาร (CD Recordable : CD- ี R) lซีด-อารดับบลิว (CD-Rewritable : ี CD-RW)
  • 16. หนวยแสดงผล (Output Unit) จอภาพ (Monitor) จอภาพแบบ CRT จอภาพแบบ LCD
  • 17. คอมพิวเตอรฮารดแวร คอมพิวเตอรฮารดแวร หมายถึง ตัวเครื่องคอมพิวเตอร และ อุปกรณรอบขางที่เกี่ยวของ ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ คือ l หนวยรับขอมูล (Input Unit) l หนวยประมวลผล (Processing Unit) l หนวยแสดงผล (Output Unit) l หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Unit)
  • 18. หนวยรับขอมูล (Input Unit) ทําหนาที่รับขอมูลจากผูใชเขาสูหนวยความจํา แบงเปน 6 ประเภท ไดแก 1. อุปกรณแบบกด (Keyed Device) เชน แปนพิมพ (Keyboard) 2. อุปกรณชี้ตําแหนง เชน เมาส (Mouse) , ลูกกลมควบคุม (Track ball), แทงชี้ควบคุม(Track point), แผนรอง สัมผัส(Touch pad) , จอยสติก (Joystick) 3. จอภาพระบบไวตอการสัมผัส เชน จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)
  • 19. หนวยรับขอมูล (ตอ) 4. ระบบปากกา (Pen-Based system) ไดแก ปากกาแสง (Light pen) เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet) 5. ระบบอุปกรณกวาดขอมูล (Data Scanning Device) ไดแก เอ็มไอซีอาร (MICR) เครื่องอานรหัสแทง (Bar code Reader) สแกนเนอร(Scanner) เครื่องรูจําอักขระดวยแสง (OCR) เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (OMR) กลองถายภาพดิจิตอล (DigitalCamera) กลอง ถายทอดวิดีโอดิจิตอล (Digital Video) 6. อุปกรณรูจาเสียง (Voice Recognition Device) ํ ไดแก อุปกรณวิเคราะหเสียงพูด (Speech Recognition Devide)
  • 20. แปนพิมพ (Keyboard) ¡ เปนหนวยรับขอมูลที่นิยมใชกันมากที่สุด ¡ เปนอุปกรณมาตรฐานในการปอนขอมูลสําหรับเทอรมินอล และ PC ¡ มีลักษณะคลายกับแปนพิมพดีด แตมีจํานวนแปนมากกวา ¡ ใชรหัส 8 บิต ตอหนึ่งตัวอักษร (แทนตัวอักษรได 256 ตัว) ¡ ถูกแบงออกเปน 4 กลุมดวยกันคือ แปนอักขระ (Character Keys) แปนควบคุม (Control Keys) แปนฟงกชั่น (Function Keys) แปนตัวเลข (Numeric Keys)
  • 21. แปนพิมพ (ตอ) แปนพิมพบางประเภทออกแบบมาเพื่อใชงานเฉพาะดาน เชน แปนพิมพที่ใชในรานอาหารแบบเรงดวน (Fast Food Restaurant) จะใชพิมพเฉพาะชื่ออาหาร หรือแปนพิมพที่ใช กับเครื่องฝากถอนเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine) เปนตน
  • 22. เออรโกโนมิกส (Ergonomics) เออรโกโนมิกส (Ergonomics) เปนศาสตรที่วาดวยเรื่อง การออกแบบอุปกรณใหมีความปลอดภัย และสะดวก สบายตอการใชงานของมนุษย
  • 23. เมาส (Mouse) ¡ ขนาดและรูปรางตางกัน ¡ ดานลางมีลูกกลมกลิ้ง / ระบบแสง ¡ ดานบนมีปุมกด 2 / 3 / 4 หรือมีลอ (Wheel)  ¡ Click / Double Click / Right Click / Drag and Drop ¡ ไมสามารถปอนตัวอักษรได ¡ ลดความผิดพลาดในการปอนขอมูล รวดเร็ว
  • 24. ลูกกลมควบคุม (Track ball) เปนลูกบอลเล็กๆ อาจวางติดตัวเครื่อง (โนตบุก) หรือเปนอุปกรณ แยกตางหาก เมือผูใชหมุนลูกบอลกลม ก็จะมีการเกิดการเลื่อนตําแหนง ่ ของตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ มีหลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส
  • 25. แทงชี้ควบคุม (Track Point) เปนแทงพลาสติกเล็กๆ อยูตรงกลางแปนพิมพ ระหวางอักษร G และ H บังคับโดยใชหัวแมมือเพื่อเลื่อนตําแหนงของตัวชีตําแหนงบน ้ จอภาพเชนเดียวกับเมาส
  • 26. แผนรองสัมผัส (Touch Pad) เปนแผนสีเหลี่ยมที่วางอยูหนา แป น พิ ม พ สามารถใช นิ้ ววาดเพื่ อ เ ลื่ อ น ตํ า แ ห น ง ข อ ง ตั ว ชี้ (Curser) ตําแหนงบน จอภาพเชนเดียวกับเมาส
  • 27. จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen) ผู ใ ช เ พี ย งแตะปลายนิ้ ว ลงบน จอภาพในตํ าแหน ง ที่ กํ าหนดแทน การใชเมาสหรือแปนพิมพ โดยจะ มี ซ อฟต แ วร เ ป น ตั ว ค น หาว า ผู ใ ช เลือกคําสั่งหรือปอนขอมูลใดและจะ ทํ า ตามนั้ น นิ ย มใช ใ ห ข อ มู ล การ ทองเที่ยว และในรานอาหารแบบ เรงดวน
  • 28. จอยสติก (Joy stick) เปนกานสําหรับใชโยกขึ้น-ลง ซาย-ขวา เพื่อยายตําแหนงบนจอภาพ มีหลักการทํางานเชนเดียวกับเมาส แตจะมีแปนกดสําหรับสั่งงานพิเศษ นิยมใชในการเลนเกมส หรือควบคุมหุนยนต
  • 29. ปากกาแสง (Light pen) ใชวาดลักษณะหรือรูปแบบของขอมูลใหปรากฏบนจอภาพ การใช งานทําไดโดยการแตะปากกาแสงลงบนจอภาพตามตําแหนงที่ตองการ  นิยมใชงานกับคอมพิวเตอรชวยออกแบบ (Computer Aided Design: CAD) รวมทั้งปอนขอมูลสําหรับ PDA
  • 30. เครื่องอานพิกัด (Digitizing tablet) ประกอบดวยกระดาษที่มีเสน แบง (Grid) ซึ่งสามารถใช ปากกาเฉพาะเรี ย กว า สไตลั ส (Stylus) ชี้ไปบนกระดาษ เ พื่ อ ส ง ข อ มู ล ตํ า แ ห น ง เ ข า ไ ป ยั ง เ ค รื่ อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร นิ ย ม ใ ช ใ น ก า ร ออกแบบรถยนต หุนยนต อาคาร อุปกรณทางการแพทย
  • 31. เอ็มไอซีอาร (Magnetic Ink Character Recognition: MICR) ใชในการตรวจสอบเช็คธนาคาร โดยเครื่องจะทําการเขารหัสธนาคาร รหัสสาขา เลขที่บัญชี และเลขที่เช็ค ดานลางซายของเช็ค
  • 32. รหัสแทง (Bar Code) ¡ เริ่มใชในป 1970 โดยพิมพเปนแถบสีดํา-ขาวตอเนื่องเรียงกันเรียกวา รหัส แทง (Bar code) ¡ ไมตองพิมพขอมูลดวยแปนพิมพจึงลดความผิดพลาดและประหยัดเวลา ¡ มาตรฐานทีใชในปจจุบัน ่ l มาตรฐาน UPC (Universal Product Code) เปนการเขารหัส ตัวเลข 12 หลัก l มาตรฐาน Code 39 (Three of Nine) สามารถทํารหัสไดทั้งตัวเลขและ ตัวอักษร ¡ ปจจุบันไดรับความนิยมอยางมาก เชน จุดเก็บเงิน ตามรานสะดวกซื้อ หางสรรพสินคา
  • 34. สแกนเนอร (Scanner) ¡ ใชอานหรือสแกน (Scan) ขอมูลที่เปนเอกสาร (ขอความหรือรูปภาพ) มี 2 เทคโนโลยี คือ l CCD: Charge Couple Device ใหความละเอียดและคุณภาพดี l CIS: Contact Image Sensor อุปกรณขนาดเล็ก เบา คุณภาพดอย กวา ¡ แบงประเภทตามลักษณะการใชงานเปน 3 ประเภท l สแกนเนอรมอถือ ขนาดเล็ก ผูใชถืออุปกรณกวาดไปบนภาพ ื l สแกนเนอรแบบสอดกระดาษ สอดภาพ/เอกสารยังชองสําหรับอานขอมูล l สแกนเนอรแบบแทน ใชมากในปจจุบัน ทํางานคลายเครื่องถายเอกสาร ¡ สิ่งที่ไดจากการสแกนจะอยูในรูปของขอมูลดิจิตอล เก็บไวไดนาน
  • 36. เครื่องรูจําอักขระดวยแสง (โอซีอาร) (Optical Character Recognition: OCR) ¡ เปนอุปกรณสําหรับอานขอมูลทีเ่ ปนตัวอักขระบนเอกสารตาง ๆ และ ทําการแปลงขอมูล ¡ แบบดิจิตอลทีอานไดไปเปนตัวอักษรโดยอัตโนมัติ ่ ¡ ซอฟตแวรสําหรับวิเคราะหตวอักษรจากขอมูลที่ไดจากสแกนเนอร ั ¡ ยังพบขอผิดพลาดจากการตีความอักขระ ¡ ใชในงานที่เก็บเอกสารจํานวนมากเชน หองสมุดตาง ๆ
  • 37. เครื่องอานเครื่องหมายดวยแสง (โอเอ็มอาร) (Optical Mark Reader: OMR) ¡ เปนอุปกรณที่ใชหลักการอาน ¡ สัญลักษณหรือเครื่องหมายที่ระบายดวย ¡ ดินสอดําลงในตําแหนงที่กําหนด ¡ ดินสอดําที่ระบายตองมีสารแมเหล็ก ¡ (Magnetic particle) จํานวนหนึ่งเพื่อให ¡ เครื่องโอเอ็มอารสามารถรับรูได
  • 38. กลองถายภาพดิจิตอล (Digital Camera) ¡ ไมตองใชฟลม เก็บภาพถายในลักษณะดิจิตอล  ¡ ความละเอียดของรูปประมาณ 1-5 ลานจุด (pixel) ¡ รูปที่ถายไวสามารถนําเขาเครื่องคอมพิวเตอรไดทันที
  • 39. กลองถายทอดวีดีโอ (Digital Video) ¡ เปนอุปกรณที่ใชสําหรับบันทึกภาพเคลื่อนไหวและเก็บเปนขอมูลแบบ ดิจิตอลนิยมใชในการประชุมทางไกลผานวิดีโอ (Video Teleconference)
  • 40. อุปกรณรูจําเสียง (Voice Recognition) ¡ รับสัญญาณเสียงที่มนุษยพูดและแปลงเปนสัญญาณดิจิตอล ¡ ปญหา: คนพูดคนละคน / ตองใหคอมพิวเตอรเรียนรูระยะหนึ่งกอน ¡ ใชสําหรับผูพิการตาบอด หรือมือไมวางพอที่จะกดแปนพิมพ 
  • 41. หนวยประมวลผล (Central Processing Unit) ซีพียู (CPU) เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร ซึ่งมีความซับซอนมาก ที่สุด หนวยประมวลผลกลางรุนใหม ๆ จะมีขนาดเล็กลงแตความเร็วสูงขึ้น ผูผลิตหนวยประมวลผลกลางสําหรับเครื่อง IBM PC ไดแก อินเทล (Intel)เอเอ็มดี (AMD) ไซริกซ (Cyrix) และทรานสเมตา (Transmeta) สําหรับเครื่องแอปเปลแมคอินทอช ไดแก โมโตโรลา (Motorola) วงจรในหนวยประมวลผลกลางเรียกวา “ไมโครโปรเซสเซอร” (Microprocessor) ซึ่งประกอบดวยหนวยสําคัญ 2 หนวย ไดแก l หนวยควบคุม l หนวยคํานวณและตรรกะ
  • 42. หนวยประมวลผล (ตอ) หนวยประมวลผลทําหนาที่ในการคํานวณ เปนสวนที่มีความซับซอน ซึ่งแบงออกเปน 2 สวน ไดแก l หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) - หนวยควบคุม (Control Unit) - หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) - รีจิสเตอร (Register) l หนวยความจําหลัก (Main memory Unit) - หนวยความจําหลักแบบอานไดอยางเดียว (Read Only Memory) - หนวยความจําหลักแบบแกไขได (Random Access Memory)
  • 44. ภายในหนวยประมวลผล หนวยควบคุม (Control Unit: CU) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเครือง ่ คอมพิวเตอรทงระบบ เชน ควบคุมการรับขอมูล ควบคุมการทํางานของ ั้ หนวยความจําหลัก เปรียบเสมือนศูนยกลางของระบบประสาท หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit: ALU) ทําหนาที่ ประมวลผลการคํานวณทางคณิตศาสตรและการเปรียบเทียบทางตรรกะ รีจิสเตอร (Register) ทําหนาที่เก็บและสงขอมูลหรือคําสั่งเขามาในซีพียู บัส (Bus) เปนเสนทางในการสงผานสัญญาณไฟฟา ภายในระบบคอมพิวเตอร หนวยประมวลผลเสริม (Math Coprocessor) เปนซีพียอีกตัวหนึงที่ทํา ู ่ หนาที่เฉพาะ ดานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครืองคอมพิวเตอร เชน ชวยคํานวณตัวเลข ่
  • 45. intel ¡ 286 ¡ 386DX ¡ 486 ¡ 586 ~P ¡ PII ¡ PIII ¡ P4
  • 46. ภายในหนวยประมวลผล (ตอ) Main Memory System (RAM) CPU Register ALU CU Input/Out Devices
  • 47. ความเร็วของหนวยประมวลผล ¡ ความเร็วของซีพียหรือประมวลผลจะถูกควบคุมโดยสัญญาณนาฬิกา ู (System Clock) ¡ หนวยวัดความเร็วของสัญญาณนาฬิกา เรียกวา เฮิรตซ (Hz: Hertz) ซึ่งเทียบเทากับ 1 ครั้งตอวินาที ¡ ความเร็วในยุคปจจุบนของเครื่องไมโครคอมพิวเตอรคือ ั - Megahertz หรือ MHz = 1 000 000 ครั้งตอวินาที - Gigahertz หรือ GHz = 1 000 000 000 ครั้งตอ วินาที
  • 48. หนวยความจําหลัก (Main Memory Unit) เปนอุปกรณที่ใชในการจดจําขอมูลและโปรแกรมตาง ๆ ที่อยูระหวางการ  ประมวลผลของคอมพิวเตอร แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก แบบอานไดอยางเดียว (Read Only Memory: ROM) เปนหนวยความจําที่มีคุณสมบัตในการเก็บขอมูลไวไดตลอดเวลาโดยไมตองใชไฟฟา ิ  หลอเลี้ยง (Nonvolatile) นิยมใชเปนหนวยความจําสําหรับเก็บชุดคําสั่ง เริ่มตนระบบ ขอเสียของ ROM คือ ไมสามารถแกไขหรือเพิ่มชุดคําสั่งไดใน ภายหลัง แบบแกไขได (Random Access Memory: RAM) เปนหนวยความจําความเร็วสูงที่ใชเก็บโปรแกรมและขอมูลในคอมพิวเตอร เปรียบเสมือนกระดาษทด ถาคอมพิวเตอรมีหนวยความจํามากก็สามารถทํางานไดเร็ว มาก
  • 49. ประเภทของ ROM PROM (Programmable Read-Only Memory) เปน ROM ทีสามารถบันทึกดวยเครื่องบันทึกพิเศษไดหนึ่ง ่ ครั้ง จากนั้นจะลบหรือแกไขไมได EPROM (Erasable PROM) เปน ROM ที่ใชแสง อัลตราไวโอเลตในการเขียนขอมูล สามารถนําออกจากเครื่องคอมพิวเตอรไปลบโดย ใชเครื่องมือพิเศษและบันทึกขอมูลใหมได EEPROM (Electrically Erasable PROM) เปนการรวมขอดีของ ROM และ RAM เขาไวดวยกันไมตองใชไฟฟาหลอ เลี้ยง สามารถแกไข ลบขอมูลที่เก็บไวไดดวยโปรแกรมพิเศษ ขอดอยคือ ราคาสูง และเก็บขอมูลไดต่ํากวาหนวยเก็บขอมูลสํารอง ตัวอยางเชน หนวยความจําแบบ แฟลช (Flash memory)
  • 51. ประเภทของ RAM DRAM (Dynamic RAM) เปนหนวยความจําที่มี การใชงานกันมากที่สุดในปจจุบัน ใชวงจรคลายตัวเก็บประจุในการเก็บ ขอมูลแตละบิต ทําใหตองมีการย้ําสัญญาณไฟฟาซึ่งเรียกวาการรีเฟรช  (Refresh) ขอดีคอมีคาคาต่ํา แตขอเสียคือความเร็วในการเขาถึง ื ขอมูลไมสูงนัก ตัวอยางเชน FPM RAM, EDO RAM, SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM นอกจากนียังมี DRAM แบบพิเศษที่ใชสําหรับปรับปรุงความเร็ว ้ ของหนวยแสดงผลแบบกราฟก อีกดวย
  • 52. ประเภทของ RAM SRAM (Static RAM) เปนหนวยความจําความเร็วสูงและใช พลังงานนอยเนื่องจากขอมูลที่เก็บดวย SRAM จะคงอยูโดยไมตองทําการรีเฟรช ขอเสียคือราคาสูง จึงนิยมนํา SRAM เปนหนวยความจําแคช (Cache memory) หนวยความจําแคช (Cache Memory) เปนหนวยความจํา (SRAM) ที่ออกแบบมาชวยเพิ่มความเร็วใหกับอุปกรณบางสวนที่ทางานชาให ํ ทํางานเร็วขึ้น หนวยความจําเสมือน (Virtual Memory) เปนการนําพื้นที่ของ หนวยเก็บขอมูลสํารอง (ฮารดดิสก) มาจําลองเปนหนวยความจํา เนื่องจาก หนวยความจําของระบบมีจํากัดและมีราคาสูง
  • 54. หนวยแสดงผล (Output Unit) ทําหนาที่แสดงผลลัพธจากคอมพิวเตอรไปยังผูใช แบงไดเปน 2 ประเภท ¡ หนวยแสดงผลชั่วคราว (Soft copy) เปนการแสดงผลให ผูใชไดรับทราบในขณะนั้น แตเมื่อเลิกการทํางานหรือเลิกใชแลวก็จะ หายไป เชน จอภาพ(Monitor) อุปกรณฉายภาพ (Projector) อุปกรณเสียง (Audio Output) ¡ หนวยแสดงผลถาวร (Hard copy) เปนการแสดงผลที่ สามารถจับตองไดและเคลือนยายไดตามความตองการ มักออกมาในรูป ่ ของกระดาษ เชนเครื่องพิมพ (Printer) เครื่องพลอตเตอร (Plotter)
  • 55. จอภาพ (Monitor) ใชแสดงขอมูลหรือผลลัพธใหผใชเห็นไดทนที มีรูปรางคลายจอภาพ ู ั ของโทรทัศน ประกอบดวยจุด (Pixel) มากมาย ประเภทของจอมี 2 ประเภท ¡ จอซีอารที (Cathode Ray Tube: CRT) ใช หลักการยิงแสงผานหลอดภาพคลายกับเครื่องรับโทรทัศน นิยมใชกับ เครื่องไมโครคอมพิวเตอร ¡ จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD) ใชหลักการเรืองแสงเมื่อผานกระแสไฟฟาเขาไปในผลึกเหลว นิยมใชในเครืองคอมพิวเตอรแบบพกพาขอดีคือใชพื้นที่นอย น้ําหนักเบา ่ กินไฟต่ํา แผรังสีนอย
  • 56. จอภาพ (Monitor) จอ LCD จอ CRT
  • 57. เรื่องนารูเกี่ยวกับจอภาพ ความละเอียดของจอภาพ (Resolution) ปจจุบันเปนจอภาพสีแบบ ซูเปอรวีจีเอ ( Super Video Graphics Adapter: Super VGA) ความละเอียดต่ําที่ 800 x 600 จุด (แนวนอนxแนวตั้ง) ความละเอียดสูง XGA 1024 x 768, SXGA 1280 x 1024, UXGA 1600 x 1200 ซึ่งใหความคมชัดสูงตามลําดับ อีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหภาพคมชัดมาก ขึ้นไดแกระยะหางระหวางจุด (Dot pitch) จํานวนสี (Color) คาของสีที่แสดงจะแทนดวยตัวเลข 16 บิต แทนได 65,536 สี (High color) ถาใช 24 บิต จะแสดงได 16,777,216 สี (True color) ขนาดของจอภาพปจจุบันเนนการแสดงภาพกราฟกมาก จึงนิยมใชจอภาพใน ขนาด 15 หรือ 17 นิ้วขึ้นไป
  • 58. เรื่องนารูเกี่ยวกับจอภาพ (ตอ) การเชื่อมตอ จะทําการเชื่อมตอกับ การดวิดีโอ (Video Card) ซึ่งจะเสียบอยู กับแผงวงจรหลักของคอมพิวเตอร อัตราการเปลี่ยนภาพ (Refresh rate) ของการดวิดีโอ คืออัตราในการลบภาพเดิมและแสดงภาพใหม ซึ่งหากต่ํากวา 70 Hz หรือ 70 ครั้งตอวินาทีจะทําใหผูชมเห็นภาพกระพริบและเกิดอาการปวด ศีรษะได
  • 59. อุปกรณฉายภาพ (Projector) เปนอุปกรณที่นิยมใชในการเรียนการสอนหรือการประชุม เนื่องจากสามารถนําเสนอขอมูลใหผูชมจํานวนมากเห็นพรอมๆ กัน อุปกรณฉายภาพจะมีขอแตกตางกันมากในเรื่อง  กําลังสองสวาง
  • 60. อุปกรณเสียง (Audio Output) ป ร ะ ก อ บ ขึ้ น จ า ก ลํ า โ พ ง (Speaker) ซึ่ ง มี ห น า ที่ ใ น ก า ร แปลงสั ญ ญาณจากคอมพิ ว เตอร ใ ห เ ป น สั ญ ญ า ณ เ สี ย ง แ ล ะ ก า ร ด เ สี ย ง (Sound card)ซึ่งเปนแผงวงจร เพิ่มเติมที่นํามาเสียกับชองเสียบขยายบน เมนบอรดเพื่อชวยใหคอมพิวเตอรสงเสียง ผานลําโพงได ใช เ สี ย งเพื่ อ รายงานหรื อ เตื อ นถึ ง ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด เ พื่ อ เ ล น เ ก ม ส ดู ภาพยนตร ฟงเพลง
  • 61. เครื่องพิมพ (Printer) เปนอุปกรณแสดงผลแบบถาวรที่ไดรับความนิยมมาก มีใหเลือก หลายชนิดขึ้นอยูกับคุณภาพ ความละเอียด ความเร็ว ขนาดกระดาษ และเทคโนโลยีเครื่องพิมพแบงตามวิธีการพิมพได 2 ชนิด คือ เครื่องพิมพชนิดตอก (Impact printer) เครื่องพิมพชนิดไม ตอก (Nonimpact printer)
  • 62. เครื่องพิมพชนิดตอก (Impact Printer) ¡ ใชการตอกใหคารบอนบนผาหมึกติดบนกระดาษตามรูปแบบที่ตองการ ¡ สามารถพิมพสําเนาไดครั้งละหลายชุด ใชกระดาษตอเนื่องได ¡ ความเร็วในการพิมพมีหนวยเปนบรรทัดตอนาที (Line per minute: lpm) ¡ ขอเสีย คือ มีเสียงดัง และคุณภาพงานพิมพไมดีนัก ¡ แบงเปน 2 ประเภท – เครืองพิมพอักษรหรือเครื่องพิมพแบบจุด (Character printer หรือ Dot ่ matrix printer) ซึ่งจะพิมพทีละหนึงตัวอักษร ตัวแตละตัวอักษรถูกสรางขึ้นจากจุดเล็ก ๆ จํานวนมาก ่ – เครืองพิมพบรรทัด (Line printer) พิมพทีละหนึงบรรทัด พิมพงานไดเร็ว แตจะ ่ ่ มี ราคาสูง นิยมใชกบเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ ั
  • 64. เครื่องพิมพชนิดไมตอก (Nonimpact Printer) ¡ ใชเทคนิคการพิมพจากวิธีการทางเคมี พิมพไดเร็วและคมชัดกวาชนิดตอก ¡ พิมพไดทั้งตัวอักษรและกราฟกไมมีเสียงขณะพิมพไมสามารถพิมพสําเนาได ¡ ความเร็ววัดเปนหนาตอนาที (page per minute: ppm) ¡ แบงเปน 3 ประเภท – เครื่องพิมพเลเซอร (Laser printer) ใชแสงเลเซอรสรางประจุไฟฟาทําให โทนเนอรสรางภาพที่ตองการและพิมพลงบนกระดาษ ความละเอียดวัดเปนจุดตอนิ้ว  (dpi) – เครื่องพิมพฉีดหมึก (Inkjet printer) พิมพภาพสีไดคณภาพใกลเคียงกับ ุ ภาพถาย ราคาถูกกวาชนิดเลเซอร ใชหมึกสามสี (น้ําเงิน, มวงแดง, เหลือง) และสีดํา – เครื่องพิมพความรอน (Thermal printer) คุณภาพสูง (พิมพไดใกลเคียง ภาพถาย)ราคาแพง
  • 66. พลอตเตอร (Plotter) ใช เ ขี ย นภาพสํ า หรั บ งานที่ ตองการความละเอีย ดสูง เนื่อ งจาก ใช ปากกาในการกวาดเส น จึ ง ได เสนที่ตอเนื่องกันตลอดปจจุบันใช ระ บ บ ฉี ด ห มึ ก แ ท น ใ ช ใ น ง า น ออกแบบตองการความสวยงามและ ความละเอี ย ดสู ง มี ราคาค อ นข า ง แพง พิมพกระดาษไดใหญ
  • 67. หนวยเก็บขอมูลสํารอง (Secondary Storage Unit) สื่อสําหรับเก็บขอมูลจะเก็บไวในรูปเลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ทั้งสิ้น เนื่องจาก หนวยความจําหลักหรือแรมไมไดเก็บขอมูลอยางถาวร ถาปดเครื่องหรือไฟดับขอมูล ก็จะหายไป จึงตองทําการจัดเก็บขอมูลโดยยายจากหนวยความจําหลักมาไวในหนวย เก็บขอมูลสํารอง หนวยเก็บขอมูลสํารองในปจจุบันมีราคาถูกมากเมื่อเทียบกับหนวยความจําหลัก ทําใหเก็บขอมูลไดมาก อยางไรก็ตามหนวยเก็บขอมูลจะมีความเร็วในการอานและ บันทึกขอมูลต่ํากวาหนวยความจําหลัก หนวยเก็บขอมูลสํารองในปจจุบันมีหลายชนิด แบงเปนประเภทใหญ ๆ ได ดังนี้เทป จานแมเหล็ก ออปติคัลดิสก และหนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช
  • 68. เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape) ¡ เปนสื่อเก็บขอมูลที่ใชมาตั้งแตคอมพิวเตอรยุคที่ 1 และ 2 ¡ มีหลักการทํางานคลายเทปบันทึกเสียง จะอานขอมูลตามลําดับกอนหลังทีได ่ บันทึกไว โดยเรียกหลักการนี้วา “การเขาถึงขอมูลตามลําดับ” (Sequential access) ¡ มวนเทป(Reel-to-reel) / คารทริดจเทป (Cartridge) / ตลับ เทป (Cassette) ¡ นิยมนําเทปแมเหล็กมาสํารองขอมูลที่สําคัญไมถูกเรียกใชบอย ¡ ความจุหรือความหนาแนนของเทปแมเหล็กมีหนวยเปน ไบตตอนิ้ว (Bpi) ¡ ขอดี อาน-ลบกี่ครั้งก็ได / ราคาต่า / บันทึกขอมูลมาก ๆ ไดอยางรวดเร็ว ํ ¡ ขอเสีย อานขอมูลไดชาเพราะตองอานเปนลําดับ
  • 70. จานแมเหล็ก (Magnetic Disk) ¡ เปนสื่อที่สามารถเก็บขอมูลไดจํานวนมาก ทํางานไดเร็วกวาเทปมาก ¡ ใชคูกับหัวอานที่เรียกวา “ตัวขับจานแมเหล็ก” (Disk drive) ¡ สามารถเขาถึงขอมูลโดยตรง (Direct access) โดยใชหลักการของ การเขาถึงขอมูลแบบสุม (Random access) ซึ่งทําใหสามารถอาน ขอมูลมาใชไดทันที ¡ กอนใชงานจานแมเหล็กจะตองมีการฟอรแมต (Format) กอน ¡ ตารางแฟต (FAT table) / แทร็ก (Track) / เซกเตอร (Sector) /คลัสเตอร (Cluster) ¡ จานแมเหล็กที่ไดรับความนิยมไดแก ฟลอปปดิกส (Floppy disk) และ ฮารดดิสก (Hard disk)
  • 71. ฟลอปปดิสก (Floppy Disk) ¡ บางครั้งเรียกวา ดิสกเก็ต (Diskette) เปนแผนพลาสติกวงกลม ขนาด 3.5 นิ้ว (วัดเสนผานศูนยกลาง) บรรจุอยูในพลาสติกแบบแข็ง ¡ อานและเขียนขอมูลผานดิสกไดรฟ (Disk drive) ¡ แถบปองกันการบันทึก (Write-Protection) ใชเพื่อ ปองกันการบันทึกขอมูล ¡ จํานวนขอมูลที่สามารถเก็บไดขึ้นอยูกับความหนาแนนของสาร แมเหล็กปจจุบันอยูอยูที่ 1.44 MB 
  • 73. ฮารดดิสก (Hard Disk) ¡ ทําจากแผนโลหะแข็งเรียกวา Platters จํานวนหลายแผน ทําใหเก็บขอมูล ไดมากและอานเขียนขอมูลไดอยางรวดเร็ว ¡ บันทึกขอมูลไดทั้งสองหนาของผิวจานแมเหล็ก ¡ มีทั้งแบบยึดติดในเครื่องและแบบสามารถเคลื่อนยายได (Removable disk) ¡ สิ่งกีดขวางบางอยาง เชน ฝุน ควัน อาจสรางความเสียหายใหกับหัวอานได ¡ ปจจุบันมีความจุหลายกิกะไบต (GB) / หมุนไดเร็วตั้งแต 5,400 รอบตอนาที ¡ มาตรฐานการเชื่อมตอที่นิยมใชในปจจุบัน คือ EIDE และ SCSI
  • 75. ออปติคัลดิสก (Optical Disk) ใชเทคโนโลยีแสงเลเซอร มีหลักการทํางานคลายกับการเลนซีดี (CD) เพลงเก็บขอมูลไดจํานวนมากและราคาไมแพงมากนัก ใน ปจจุบันจะมีออปติคอลอยูหลายประเภท ไดแก  l ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory: CD-ROM) l เอ็มโอดิสก (Magneto Optical disk: MO) l ดีวีดี (Digital Versatile Disk: DVD)
  • 76. ซีดีรอม (Compact Disk Read Only Memory: CD- ROM) ¡ เก็บบันทึกขอมูลไดถึง 650 เมกะไบต / บันทึกดวยเครื่องมือเฉพาะ / ครั้งเดียว ¡ ใชซีดีรอมไดรฟ (CD-ROM Drive) ในการอานขอมูล ¡ ความเร็วในการอานเทียบกับ 150 กิโลไบตตอวินาที (1 เทาหรือ 1 X) ¡ ปจจุบันไดรับความนิยมมาก เนื่องจาก สะดวกและไมตองเปลี่ยนแผนบอยใน การติดตั้งโปรแกรมที่มากับแผนซีดรอม โอกาสเสียนอย ตนทุนต่า ี ํ ¡ ซีดีอาร (CD-R) เก็บขอมูลได 600-900 MB เหมาะสําหรับมัลติมีเดีย ¡ ซีดีอารดับเบิลยู (CD-RW) สามารถลบและบันทึกใหมได / ความเร็วใน การเขียนแผน CD-R ความเร็วในการเขียนแผน CD-RW ความเร็วใน การอาน
  • 78. เอ็มโอดิสก (Magneto Optical disk: MO) ¡ ใชหลักการของสื่อที่ใชสารแมเหล็กและสื่อที่ใชแสงเลเซอรรวมกัน ¡ ใชแสงเลเซอรในการบันทึกและอานขอมูล ลดความผิดพลาดจากการลมเหลว ของหัวอาน (หัวอานไมจําเปนตองเขาใกลดิสก) และปลอดภัยจากสนามแมเหล็ก ¡ มีความจุสูงมากตั้งแต 200 MB ขึ้นไป ¡ ความเร็วสูงกวา Floppy Disk และ CD-ROM แตต่ํากวา Hard disk ¡ มีอายุการใชงานกวา 30 ป ¡ ขอเสีย : ราคาสูง การอานเขียนตองทํา 2 ขั้นตอนคือลบขอมูลเดิมแลวเขียน ขอมูลใหม (จึงชากวาฮารดดิสกมาก)
  • 80. ดีวีดี (Digital Versatile Disk: DVD) ¡ กําลังไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน ¡ เก็บขอมูลไดตั้งแต 4.7 GB – 17 GB ¡ ความเร็วในการเขาถึง 600 KB – 1.3 MB ตอวินาที ¡ สามารถอานแผน CD-ROM แบบเกาได ¡ DVD – RW สามารถบันทึกและลบขอมูลไดหลายครั้ง
  • 82. หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (Flash Storage) พัฒนามาจากหนวยความจําแบบแฟลช (Flash memory) เพื่อนําไปใชในอุปกรณแบบพกพาตาง ๆ เชน กลองดิจิตอล กลองวิดีโอ ซึ่งจะมีขนาดเล็กน้ําหนักเบา ไมตองใชแหลงพลังงานหลอเลี้ยง ปจจุบัน  มีสื่อที่นิยมใชดังนี้ l การดคอมแพคแฟลช (Compact Flash) l เมมโมรี่สติ๊ก (Memory stick) l การดสมารทมีเดีย (SmartMedia) l การดมัลติมีเดีย (Multimedia Card) l การดซีเคียวดิจิตอล (Secure Digital)
  • 83. หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ) การดคอมแพคแฟลช (Compact Flash) นิยมเรียกวา CF Card พัฒนาโดยบริษัท ScanDisk ราคาต่ําสุดเมื่อเทียบ กับหนวยเก็บขอมูลแฟลชอื่นๆ มีอายุการใชงานราว 100 ป โดยขอมูล ไมเสียหาย ขนาดของความจุ 8 – 512MB เมมโมรี่สติ๊ก (Memory stick) ของบริษัทโซนี่ มี ขนาดเทาหมากฝรั่ง ใชในอุปกรณตาง ๆ ของบริษัทโซนี่ เชน กลอง ดิจิตอล ในปจจุบันมีความจุตั้งแต 4 –256 MB อานขอมูลดวย ความเร็ว 2.45 MB/s เขียนดวยความ 1.8 MB/s จุดดอยคือ ราคา คอนขางสูงและใชไดกับอุปกรณของโซนี่เทานั้น
  • 84. หนวยเก็บขอมูลแบบแฟลช (ตอ) การดสมารทมีเดีย (SmartMedia) มีความจุตั้งแต 8 – 128MB มีการใชงานในอุปกรณกลองดิจิตอลและพีดีเอบางรุน ใชในกลองดิจิตอลและพีดีเอ การดมัลติมีเดีย (Multimedia Card: MMC) ขนาดเล็กเทา แสตมป มีความจุสูงถึง 128 MB นิยมใชเก็บขอมูลประเภทเสียง MP3 ใน เครื่องเลนแบบพกพาและมีการนํามาใชในอุปกรณ PDA ทั้งพ็อกเก็ตพีซีและ ปาลม การดซีเคียวดิจิตอล (SD Card) พัฒนาตอจาก MMC โดยเพิ่มใน สวนของการเขารหัสขอมูลที่บันทึกไว เพื่อปองกันการทําสําเนาโดยไมไดรับอนุญาต ใชในการบันทึกเพลงและหนังสืออิเล็กทรอนิกส ความจุ 256 MB
  • 86. อุปกรณอื่นๆ นอกจากอุปกรณในการรับขอมูล การประมวลผล การแสดงผล และการเก็บ ขอมูลสํารองแลว ระบบคอมพิวเตอรยังมีอุปกรณอื่นๆ ที่ทํางานรวมกันเพื่อให สามารถทํางานไดหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ซึ่งอุปกรณที่จะกลาวถึง ไดแก l แผงวงจรหลัก (Main Board) l สวนเชื่อมตออุปกรณ - ยูเอสบี (Universal Serial Bus: USB) - ไฟรไวร (FireWire, IEEE 1394) - อินฟราเรด (IrDA Port) l อุปกรณสอสารขอมูล โมเด็ม (MODEM) ื่ l ยูพีเอส (UPS)
  • 87. แผงวงจรหลัก (Main Board) แผงวงจรหลัก (Main Board) หรือ แผงวงจรแม (Mother Board) เปนแผงวงจรไฟฟาขนาดใหญเพื่อใชเชื่อม อุปกรณ/องคประกอบตาง ๆ ของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร เชน ซีพียู หนวยความจํา รวมทั้งมีชองสําหรับตออุปกรณปอนขอมูลและแสดงผล   (I/O) และชองขยายเพิ่มเติม (Expansion slot) โดย อุปกรณทั้งหมดจะถูกบรรจุอยูในตัวถัง (Case) ซึ่งมีลักษณะเปน กลอง ในแผงวงจรหลักจะมีนาฬิการะบบ (System Clock) ของ เครื่องคอมพิวเตอรซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทางานชา ํ หรือเร็ว
  • 89. ยูเอสบี (Universal Serial Bus: USB) เปนสวนเชื่อมตอที่ใชหลักการของบัสแบบอนุกรม ซึ่งเปนมาตรฐานและกําลัง ไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน สวนเชื่อมตอยูเอสบีจะเปนบัสอเนกประสงค สําหรับตออุปกรณความเร็วต่ําทั้งหมดเพียงชองเดียว เชน การตอเมาส หรือ เครื่องพิมพ l ตออุปกรณไดสูงสุด 127 อุปกรณ / สายเชือมระหวางอุปกรณยาวไดถึง 5 เมตร ่ l สนับสนุนการถอดหรือเปลี่ยนอุปกรณโดยไมตองปดเครือง (Hot ่ Swapping) l สนับสนุนการใชงานแบบเสียบแลวใชไดทันที (Plug and Play) l มี 2 มาตรฐาน ไดแก USB 1.1 (ความเร็ว 1.5 Mbps, 12 Mbps) และ USB 2.0(ความเร็ว 480 Mbps)
  • 91. ไฟรไวร (FireWire) เปนมาตรฐานการเชื่อมตอความเร็วสูงมากจาก IEEE ปจจุบน ั นํามาใชในอุปกรณทตองการความเร็วสูงในการถายโอนขอมูล เชน ี่ กลองดิจิตอล กลองวิดีโอ ฮารดดิสกแบบพกพา l ความเร็วสูงสุด 400 Mbps l สามารถเชื่อมตออุปกรณได 63 อุปกรณ / 1 พอรต l สนับสนุนการสงขอมูลแบบรับประกันการสง (กันชองสัญญาณไวได) l เหมาะกับงานแบบเวลาจริง (Real-time) เชน การสงภาพวิดีโอ l สนับสนุน Hot Swapping และ Plug and Play เชนเดียวกับ USB
  • 93. อินฟราเรด (Infrared) ปจจุบันสวนเชื่อมตอแบบอินฟราเรดไดถูกติดตั้งในอุปกรณจํานวน มาก เชน เครื่องพิมพ คอมพิวเตอรโนตบุค โทรศัพทเคลื่อนที่ l ไมตองใชสายในการเชื่อมตอจึงสะดวกกับอุปกรณแบบพกพา l มีคาใชจายต่ํา l ระยะหางระหวางอุปกรณที่จะเชื่อมตอกันตองอยูระหวาง 1 – 3 เมตร l ตองไมมีสิ่งกีดขวางระหวางอุปกรณที่จะเชื่อมตอกัน
  • 95. โมเด็ม (MODEM) เปนอุปกรณที่ใชในการเชื่อมตอระบบเครือขายภายนอกผานสายโทรศัพท ซึ่ง ปกติจะใชสงสัญญาณเสียงเทานั้น สงขอมูลเปนสัญญาณอนาลอก (Analog) โดยแปลงจากสัญญาณดิจิตอล (Digital) ความเร็วสูงสุดในการสง 56 Kbps ตามมาตรฐาน V.90 ของ ITU โมเด็มสามารถแบงไดเปน 4 ประเภท ไดแก l แบบภายใน (Internal MODEM) อยูในเครื่อง / ราคาถูก / ไมตองตอ ไฟเพิ่ม l แบบภายนอก (External MODEM) เคลือนยายไดสะดวก / มีไฟแสดง ่ สถานะ l แบบกระเปา (Pocket MODEM) ขนาดเล็ก / พกพาสะดวก / ตอพอรต อนุกรม l แบบการด (PCMCIA MODEM) ขนาดเทาบัตรเครดิต / ใชกับโนตบุค
  • 96. โมเด็ม (ตอ) PCMCIA MODEM Internal MODEM External MODEM Pocket MODEM
  • 97. ยูพีเอส (UPS) เปนอุปกรณสําหรับจายกระแสไฟฟาสํารองจากแบตเตอรรี เพื่อเปนแหลง พลังงานฉุกเฉินในกรณีเกิดปญหากับระบบไฟฟาหลัก เชน ไฟดับ โดยปกติยูพีเอส จะจายไฟเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานไดระยะหนึ่ง เพื่อใหผูใชจดเก็บขอมูลหรือปด ั ระบบ l Standby power system เวลาปกติใชระบบไฟฟาหลัก โดยตรง แตจะคอยตรวจสอบพลังงานไฟฟาและจะเปลี่ยนไปใชพลังงานจาก แบตเตอรีทันทีที่ตรวจพบปญหา ขอดีคือราคาต่ํา สูญเสียพลังงานไฟฟานอย ขอเสีย ่ ชวงเวลาที่เปลี่ยนมาใชแบตเตอรีอาจทําใหคอมพิวเตอรไมไดรับพลังงานเนืองจากตอง ่ ่ ใชเวลาระยะหนึ่ง l On-line UPS system เปนระบบยูพเี อสที่จายพลังงานไฟฟาจาก แบตเตอรี่โดยตรงขอดีคอไดรับพลังงานไฟฟาที่มีคณภาพสูงตลอดเวลา ขอเสียคือ ื ุ ราคาแพง มีการสูญเสียพลังงานไฟฟากับการแปลงตลอดเวลา มีอายุการใชงานสั้น กวาดวย
  • 99. ซอฟตแวร (Software) ซอฟตแวร คือ ชุดคําสั่งหรือ โปรแกรมคําสั่งที่สั่งให คอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรเปนตัวเชื่อมระหวางเครื่อง คอมพิวเตอรและผูใชคอมพิวเตอร โดยผูใชระบุความ ตองการไวภายใตซอฟตแวรหลังจากนั้นซอฟตแวรจะทํา หนาที่สั่งการควบคุมการทํางานของฮารดแวรทั้งหมด
  • 100. ซอฟตแวร (Software) ซอฟตแวร แบงได เปน 2 ประเภท l ซอฟตแวรระบบ (System Software) l ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)
  • 101. ซอฟตแวรระบบ (System Software) คือ โปรแกรมที่ทาหนาที่ควบคุมการทํางานพืนฐานของฮารดแวร ํ ้ •ระบบปฏิบัติการ (Operation System : OS) •โปรแกรมแปลภาษา (Translation Program)
  • 102. ระบบปฏิบัติการ (Operation System) คือ โปรแกรมที่ควบคุมการปฏิบติงานของฮารดแวร และเปน ั ตัวเชื่อมสนับสนุนคําสั่ง หนาที่ของระบบปฏิบัติการ ควบคุมการปฏิบัติงานของระบบคอมพิวเตอร จัดสรรทรัพยากรซึ่งใชรวมกัน (Share Resource) ตัวอยาง ประเภทของซอฟตแวรระบบ DOS (Disk Operation System) Microsoft Windows Linux
  • 103. ซอฟตแวรประยุกต คือ โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอร ปฏิบัติการตามที่ผูใชตองการ ซอฟตแวรประยุกต แบงออกเปน 2 ประเภท l ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Package Program) l ซอฟตแวรใชงานเฉพาะ
  • 104. ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Package Program) 1 ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Package Program) คือ โปรแกรมคําสั่งที่บริษัทซอฟตแวรพัฒนาขึ้น แลวนําออกจําหนาย เพื่อนําไปใชงานไดเลย
  • 105. ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Package Program) 1. ซอฟตแวรประมวลคํา (Word Processing Software) Microsoft Word 2.ซอฟตแวรตารางการทํางาน (Spread Sheet Software) Microsoft Excel 3. ซอฟตแวรการจัดการฐานขอมูล (Data Base Mangement Software) Microsoft Access
  • 108. ซอฟตแวร (software) หมายถึง โปรแกรมหรือ ชุดคําสั่งที่ควบคุมใหเครื่องคอมพิวเตอร ทํางานใหไดผล ลัพธตามที่ตองการ ซอฟตแวรแบงเปน 2 ประเภทคือ 1) ซอฟตแวรระบบ (system software) 2) ซอฟตแวรประยุกต (application software)
  • 109. ซอฟตแวรระบบ เปนสื่อกลางระหวางโปรแกรมประยุกตและอุปกรณคอมพิวเตอร 1) ระบบปฏิบัติการ (operating system) 1.1 ระบบปฏิบติการเครื่องไมโครคอมพิวเตอร ั uDOS uMicrosoft Windows 1.2 ระบบปฏิบติการแบบเปด ั uUNIX uLinux
  • 110. 2) ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร 2.1 คอมไพเลอร (compiler) เปนตัวแปลภาษาระดับสูง เชน ภาษาปาสคาล, โคบอลและภาษาฟอรแทรนใหเปนภาษาเครื่อง โปรแกรมตนฉบับ คอมไพเลอร โปรแกรมเรียกใชงาน ผลลัพธ (Source program) (Compiler) (executable program) (output) ขอมูลนําเขา (Input)
  • 111. 2.2 อินเตอรพรีเตอร (interpreter) เชน ภาษาเบสิก (BASIC) โปรแกรมตนฉบับ อินเตอรพรีเตอร ผลลัพธ (Source program) (Interpreter) (output) ขอมูลนําเขา (Input) 2.3 แอสแซมเบลอ (assembler) เปนตัวแปลภาษาแอสแซมบลี (Assembly) ใหเปนภาษาเครื่อง
  • 112. ซอฟตแวรประยุกต พัฒนาขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใช ¡ โปรแกรมประมวลผลคํา เชน โปรแกรม Microsoft Word, Word Perfect และ Lotus Word Pro การใชงาน ใชสําหรับจัดทําเอกสาร เชน รายงาน จดหมาย หนังสือ
  • 114. ¡ โปรแกรมดานการคํานวณ เชน โปรแกรม Microsoft Excel, Lotus1-2-3 และ Quattro Pro เปนตน การใชงาน ใชสําหรับงานคํานวณตัวเลข ทํากราฟสถิติ เชน ทํางบกําไร- ขาดทุน รายงานการขาย รายงานคะแนน ฯลฯ
  • 116. ¡ โปรแกรมการนําเสนอขอมูล เชน โปรแกรม Microsoft PowerPoint การใชงาน ใชสําหรับการนําเสนอขอมูลในการประชุม สัมมนา การบรรยายการเรียนการสอน
  • 118. ¡ โปรแกรมจัดการฐานขอมูล เชน Microsoft Access, และ FoxPro เปนตน การใชงาน ใชสําหรับงานเก็บขอมูลจํานวนมาก เชน ขอมูลลูกคา สินคา คงคลัง ขอมูลบุคลากร
  • 120. ¡ โปรแกรมดานงานพิมพ เชน โปรแกรม Adobe PageMaker และ Microsoft Publisher การใชงาน ใชสําหรับจัดหนาสิ่งพิมพตาง ๆ เชน แผนพับ หนังสือ นามบัตร ใบประชาสัมพันธ
  • 122. โปรแกรมกราฟก จําแนกได 2 ประเภท n ประเภทที่ 1 เปนโปรแกรมสําหรับตกแตงภาพ เชน โปรแกรม Adobe PhotoShop, Microsoft Paint และ CorelDraw เปนตน การใชงาน ใชสําหรับตกแตงภาพใหสวยงาม มีเครื่อมือที่มีลกษณะเหมือน ั ดินสอ แปรง พูกัน และอุปกรณที่เลียนแบบของจริง
  • 124. n ประเภทที่ 2 เปนโปรแกรมสําหรับการออกแบบ เชน โปรแกรม AutoCAD และ Microsoft Visio การใชงาน ใชสําหรับชวยออกแบบงานดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เชน ชวยออกแบบบาน รถยนต ระบบไฟฟา หรือแผงวงจร
  • 126. ¡ โปรแกรมดานมัลติมีเดีย เชน Macromedia Authorware, Macromedia Director และ ToolBook การใชงาน เปนโปรแกรมที่ผสมผสานขอความ กราฟก เสียง วิดีโอ และ ภาพเคลื่อนไหวเขาดวยกัน ใชเพื่อสรางสื่อการเรียนการสอน และการนําเสนอผลงาน
  • 128. ¡ โปรแกรมดานติดตอสื่อสาร ftp (file transfer protocol), ICQ, MIRC, MS Chat มีหลายประเภทดังนี้ n newgroup, webboard การใชงาน ใชในการแลกเปลี่ยนขาวสารและความคิดเห็นบนกระดาน ขาว
  • 130. n โปรแกรมเว็บเบราวเซอร เชน Internet Explorer และ Netscape การใชงาน ใชแสดงขอมูลบนเว็บเพจหรือใชติดตอสื่อสารผานอีเมล
  • 132. n โปรแกรมที่ชวยโอนยายโปรแกรมหรือแฟมขอมูล เชน File Transfer Protocol (FTP) การใชงาน ใชโอนยายโปรแกรมหรือแฟมขอมูลจากแหลงขอมูลใน เครือขายอินเทอรเน็ตมาใชงานที่เครื่องของตนเอง
  • 134. n โปรแกรมทีใชสนทนาพูดคุยโตตอบกัน เชน ICQ, MIRC, ่ Microsoft Chat การใชงาน ใชสนทนากันโดยผานแปนพิมพหรือสื่อประสมอื่น ๆ สามารถโตตอบกันแบบคําตอคําไดทันที
  • 137. ¡ โปรแกรมอรรถประโยชน เชน โปรแกรมตรวจสอบไวรัส (virus scan), Win Zip การใชงาน ใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ดูแลรักษาความปลอดภัย เชน สํารองขอมูล ตรวจสอบไวรัส หรือบีบอัดขอมูลใหมีขนาดเล็กลง
  • 140. ¡ โปรแกรมดานสาระและบันเทิง เชน โปรแกรมตอสูจําลอง (fight simulator), โปรแกรมสรางเมือง หรือโปรแกรมเสริมสรางทักษะ ของเด็กวัยตาง ๆ การใชงาน ใชเปนแหลงความรูที่นาสนใจ ปจจุบันบรรจุอยูในแผน ซีดีรอมเพราะใชกันอยางแพรหลาย
  • 143. ภาษาคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรมีการสื่อสารโดยใชภาษาเชนเดียวกับมนุษย และภาษา ที่ใชมีความแตกตางกันหรือเรียกวามีโครงสรางตางกันดังนี้ n ภาษาเครื่อง (machine language) หรือเรียกวาภาษายุคหนึ่ง เปน ชุดคําสั่งที่ประกอบดวยเลขฐานสอง (0 และ 1) ขอดี สื่อสารกับเครื่องโดยตรง ไมตองมีตัวแปลภาษา ขอเสีย ทํางานเฉพาะเครื่องที่พัฒนา และใชเวลานาน
  • 144. n ภาษาแอสแซมบลี (assembly language) พัฒนาขึ้นเปน ภาษายุคที่ 2 เนื่องจากภาษาเครื่องพัฒนายาก ขอดี เรียนรูงายและเร็วกวาพัฒนาดวยภาษาเครื่อง ขอเสีย ตองใชตัวแปลภาษาแอสแซมเบลอ n ภาษาระดับสูง(high-level languages) เปนภาษาที่งายตอ  การเรียนรูและนําไปประยุกตใชงาน ขอดี ทํางานบนเครื่องคอมพิวเตอรตางชนิดกันได ตัวอยางภาษา เชน เบสิก ปาสคาล โคบอล และ ฟอรแทรน
  • 145. n ภาษาระดับสูงมาก (Very High-level Languages) หรือ ภาษายุคที่สี่ เปนภาษาที่เขียนงายเพราะไมตองมีโพรซีเยอร n ภาษาธรรมชาติ (natural language) ไดแก ระบบผูเชี่ยวชาญ (expert system) และปญญาประดิษฐ (artificial intelligence) เปนภาษาทีอนุญาตใหผูใชสงขอความที่เปนภาษามนุษยใน ่ โครงสรางภาษาอังกฤษในการสั่งคอมพิวเตอรได
  • 146. โปรแกรมเชิงวัตถุ (object-oriented programming) การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ คือกระบวนการที่โปรแกรมถูก จัดการใหอยูในรูปของวัตถุ (objects) และวัตถุแตละประเภทจะ ประกอบดวยแอตทริบิวต และเมธอด หรือฟงกชันที่ประกอบดวยชุดคําสั่งที่ เขียนขึ้นเพื่อการจัดการขอมูลของวัตถุชิ้นนั้นโดยเฉพาะ เมื่อผูใชตองการ ทํางานนั้น ๆ ก็เพียงแตเรียกใชเมธอดของวัตถุนั้น
  • 147. ตัวอยางภาษาคอมพิวเตอร ¡ ภาษาเบสิก (BASIC) ¡ ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ¡ ภาษาโคบอล (COBOL) ¡ ภาษาปาสคาล (PASCAL) ¡ ภาษาฟอรแทรน (FORTRAN) ¡ ภาษาซี (C) ¡ ภาษา HTML ¡ ภาษาจาวา (JAVA) ¡ ภาษา XML
  • 153. การเลือกใชภาษาคอมพิวเตอร 1) ภาษามาตรฐานที่ใชในองคการ ในหนวยงานควรมีภาษามาตรฐานใชพัฒนา เพราะทําใหเกิดความสะดวกในการดูแลระบบ 2) ความเหมาะสมและคุณสมบัติของภาษา เพราะภาษาแตละภาษาไดถูก ออกแบบมาเพื่องานเฉพาะอยาง 3) การทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น ควรเลือกภาษาที่ใกลเคียงกันเพื่อให โปรแกรมทํางานรวมกับโปรแกรมอื่น ๆ ไดอยางไมมีอุปสรรค 4) การทํางานรวมกับระบบอื่น ๆ ควรเลือกภาษาที่เปนพื้นฐานในการพัฒนา โปรแกรม จะทําใหโปรแกรมทํางานไดทุกระบบ
  • 154. บุคลากร (Peopleware) บุคคลที่เกี่ยวของกับการจัดการและควบคุมระบบ คอมพิวเตอร รวมถึงผูใชเครื่องคอมพิวเตอร บุคลากรคอมพิวเตอร แบงออกเปน
  • 155. บุคลากร (Peopleware) 1) หัวหนาหนวยงานคอมพิวเตอร (Electronic Data Processing Manager) 2) นักวิเคราะหระบบ (System Analyst :SA) 3) นักออกแบบระบบ (System Designer) 4) โปรแกรมเมอร (Programmer) 5) ผูบริหารและควบคุมฐานขอมูล (Database Administrator) 6) ผูควบคุมเครื่อง(Computer Operator) 7) ผูใช (Users)
  • 156. ขอมูลและสารสนเทศ (Data/Information) ขอมูล คือ ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น โดยอาจเปนตัวเลขเชน ความสูง ระยะทาง สารสนเทศ คือ ผลลัพธที่ไดจาการประมวลผลและสามารถนําไป ใชประโยชนไดตรงกับความตองการของผูใช
  • 157. กระบวนการทํางาน (Procedure) องคประกอบดานกระบวนการทํางาน คือ ขั้นตอน กระบวนการทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอรที่ผูใช คอมพิวเตอรทุกคนตองรู เพื่อสามารถใชงานไดอยาง ถูกตอง เชน คูมือสําหรับผูใช (User Manual) คูมือสําหรับผูควบคุมเครื่อง (Operation Manual)