SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
Baixar para ler offline
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล
เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
การประชุมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทางทะเลและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4-5 สิงหาคม 2558 ณ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมป่ าไม้ กรุงเทพ
กรอบการนาเสนอ
กลไกและหลักการของ PES
ประเภทและองค์ประกอบของ PES
เงื่อนไขความสาเร็จของ PES
PES กับอุทยานแห่งชาติทางทะเล กรณีต่างประเทศ
แนวทางแทนคุณระบบนิเวศทางทะเล ของประเทศไทย
กลไกตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
Ecosystem
Service
= ประโยชน์ที่มนุษย์
ได้รับจากระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ =
ทรัพยากรธรรมชาติ :
สินค้าสาธารณะ
(Public Goods)
สินค้าสาธารณะ
ไม่มีผู้หนึ่งผู้ใดเป็นเจ้าของ
ทุกคนเข้าถึงได้ ไม่มีใครมีสิทธิ
เหนือใคร รัฐจัดสรรให้ทุกคน
ทั้งผู้ที่เต็มใจจ่ายและคนทั่วไป
เสมอกัน
ราคาต่า ใช้เยอะ
ราคาสูง ใช้น้อย #
ไม่ตรงกับมูลค่าเศรษฐกิจ
ที่แท้จริง
ของระบบนิเวศ
Payment for Ecosystem Service
หลักการของการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
ผู้ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
Service Provider/Sellers
ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากระบบนิเวศ
Buyers
ข้อตกลง
ประเภทของโครงการ PES
โครงการ PES ที่รัฐเป็นผู้ซื้อ
โครงการ PES ที่เกี่ยวกับการซื้อขายคาร์บอนเครดิต จากเจรจา
ระหว่างประเทศ
โครงการ PES ที่ตกลงกันระหว่างเอกชนกับเอกชน
รัฐไม่เกี่ยวข้องหรือมีบทบาทจากัดเท่านั้น
บริษัท
เอกชน
ภาคเอก
ชนที่เป็น
ตัวกลาง
รัฐบาล
องค์กร
ผู้ให้ทุน
องค์กร
พัฒนา
เอกชน
บุคคล
ทั่วไป
ผู้ซื้อ
องค์ประกอบของโครงการ PES
ที่มา: ประยุกต์จาก Marit Kragt, Michale Renton and Gabriela Scheufele, short course introduction to Payments for Environmental services( PES) Schemes”, Vientiane, Lao PDR.6th-7th March 2013
กิจกรรมอนุรักษ์และฟื้นฟู
(ที่แตกต่างจากปกติ : Additionally)
เจรจาต่อรอง และมีข้อตกลงร่วมกัน
ระหว่างผู้ดูแลและผู้ได้รับประโยชน์
ระบบนิเวศ
Ecosystem Service
ประโยชน์ที่ได้รับจากนิเวศบริการ
(ข้อมูลฐาน)
ระบบนิเวศที่ดีขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้น
เพราะมีกิจกรรมการอนุรักษ์
ปัจจัยความสาเร็จของโครงการ PES
ความโปร่งใส
(Transparency)
กิจกรรมการ
อนุรักษ์และฟื้นฟู
ทรัพยากรที่
นอกเหนือจาก
มาตรการที่ผู้ดูแล
ดาเนินการอยู่แล้ว
(Additionally)
การให้ค่าตอบแทน
ควรจะมีเงื่อนไข
(Conditionality)
ความสมัครใจ
(Voluntary)
ตัวอย่างของโครงการ PES: ฝรั่งเศส
Service Provider:
เกษตรกรเลี้ยงโคนมและเจ้าของ
ที่ดินบนพื้นที่ต้นน้า
บริษัทจ่ายเงินให้เกษตรกร
230 ดอลล่าร์ต่อเฮกแตร์ต่อปี
เป็นระยะเวลา 7 ปี
(15,500 ต่อคน
/ต้องจ่าย 3.8 ล้านเหรียญ)
ข้อตกลง
Buyer:
บริษัท Perrier Vittel (Nestle)
โครงการจัดการลุ่มน้า Rhine-Meuse
• ปรับปรุงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
• ปลูกป่าเพื่อซับมลพิษในพื้นที่
เปราะบาง
ตัวอย่างของโครงการ PES : แม๊กซิโก
Service Provider:
ชุมชนรอบผืนป่า
เทศบาลตั้งองค์กรอิสระ เพื่อจัดการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ชื่อ
Profauna ให้ระดมทุนจากผู้สมัครใจ
บริจาคตั้งแต่ 1-1000 เปโซ
ข้อตกลง
Buyer:
ผู้ใช้น้าในเขตเทศบาล SALTILLO
จัดการ
สิ่งแวดล้อม
50%
กองทุน
อนุรักษ์น้า
10%
ให้ความรู้ด้าน
สวล.
10%
พัฒนาชุมชน
และสังคม
10%
งานวิจัย
10%
บริหารจัดการ
10%
กิจกรรมหลัก
• ป้องกันไฟป่า
• ปลูกป่า
• ตรวจสอบคุณภาพน้าและดิน
PES กับระบบนิเวศทะลและชายฝั่ง
https://www.youtube.com/watch?v=lVMV3StvLCs
PES กับระบบนิเวศทะเลและชายฝั่ง
การเพาะเลี้ยงไข่มุกปาปัว ประเทศอินโดนีเซีย
บริษัท PT Cendana Indopearls (CIP) บริษัทลูกของบริษัท South Sea Pearl
ได้ทาสัญญา 30 ปีกับ กลุ่มชาติพันธุ์กาวี (Kawe) การเพาะเลี้ยงไข่มุกในทะเลเพื่อ
แลกเปลี่ยนกับการพัฒนาชุมชน (โรงเรียนใหม่ ยารักษาโรค) การจ้างงานและการ
สร้างจิตสานึกต่อทรัพยากรทางทะเล โดยบริษัทประสานตรงกับชาวกาวี
ครอบครัวเจ้าของที่ดิน การศึกษาวิถีชีวิตชาวกาวีของนักมนุษยวิทยา ทาให้ CIP
เรียนรู้วิธีที่ทางานกับชุมชนได้ดีที่สุด ความร่วมมือระหว่าง CIP กับชุมชนชาวกาวี
นี้ช่วยสร้างโอกาสด้านเศรษฐกิจและการศึกษาภายในราชาอัมพัด (Raja Ampat)
และส่งเสริมการเพาะเลี้ยงไข่มุกปาปัวอย่างยั่งยืน
เต่าหญ้า (Olive Ridley Sea Turtle)
ขึ้นวางไข่ที่หาด Gahirmatha
ทางตะวันออกของอินเดีย
โครงการท่าเรือ Dhmra ประเทศอินเดีย
2006: DCPL&IUCN ลงนามความ
ร่วมมือเพื่อหาแนวทางการดาเนินธุรกิจ
ที่ลดผลกระทบต่อระบบนิเวศหาด
ทรายและเต่าทะเล (5 ปี)
พัฒนาแผนการจัดการสื่งแวดล้อม โดย
เน้นการลดผลกระทบที่เกิดจากการขุด
ลอกร่องน้าและความเข้มของแสงไฟ
ข้อตกลง
กิจกรรมหลัก
• การขุดลอกร่องน้า
• ระบบไฟฟ้าในท่าเรือ
• มวลชนสัมพันธ์
• แผนการจัดการสิ่งแวดล้อม
Service
Provider:
IUCN/องค์กร
พัฒนาเอกชน
Buyer:
DPCL (L&T และ TATA
Steel): 1998
ที่มา: Protecting the Olive Ridley Turtle the Story of the Dhamra Port (2014) IUCN, Scoping mission to the Dahmra Port Project (2006) IUCN
การเช่าแนวปะการัง ที่ประเทศฟิจิ
ชุมชนท้องถิ่นชาวฟิจิก่อตั้งการจัดการพื้นที่ทางทะเลโดยชุมชนท้องถิ่น
(Community Locally Managed Marine Areas (LMMs) ซึ่งทาสัญญาเช่า
ระยะสั้น (2-5 ปี) เพื่อใช้ประโยชน์ในพื้นที่แนวปะการังและทรัพยากรทางทะเล
โดยเฉพาะด้านการค้นหาตัวยา การเพาะเลี้ยงและการเก็บหินตกแต่งตู้ปลา ทั้งนี้มีการ
บริหารจัดการโดยชุมชน การให้ความรับผิดชอบในพื้นที่ทางทะเล การสารวจติดตาม
และการจัดการร่วมกับชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการซื้อขายความยั่งยืน โดย
มหาวิทยาลัย South Pacific มีบทบาทในการเป็นคนกลางเพื่อเจรจาตกลงระหว่าง
LMMAs กับบริษัทเอกชน เพื่อยังประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและส่งเสริมการจัดการแนว
ปะการังอย่างยั่งยืน
นับจากปีเริ่มต้น (1997) หนึ่งหมู่บ้าน เครือข่ายการจัดการพื้นที่ทางทะเลโดยชุมชน ของ
ประเทศฟิจิ เป็น 250 แห่งในปี 2009 ที่มีกว่า 279 หมู่บ้าน ครอบคลุม 10,745 ตร.กม. ของ
การทาประมงชายฝั่ง และขยายผลไปในประเทศอินโดนีเซีย ไมโครนีเซีย ปาปัวนิวกีนี
ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะโซโลมอน
ตัวอย่างของโครงการ PES ในระบบนิเวศทะลและชายฝั่ง
Chumbe Island Coral park ประเทศ Tanzania
กระทรวงเกษตร ปศุสัตว์และทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ
ทานเซเนีย จัดตั้งอุทยานแห่งชาติทางทะเลรอบเกาะ Chumbe
เมื่อปี 1995 โดยให้ทางบริษัท Chumbe Island Coral Park
เช่าบริหารจัดการ มีระยะเวลาที่ต่ออายุทุกๆ 10 ปี
กิจกรรมหลักเพื่อการจัดการพื้นที่
คุ้มครอง ด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การศึกษาวิจัยและการสร้างโอกาสทาง
การศึกษา ภายใต้แผนการจัดการ
CHICOP (1995-2016)
อุทยานทางทะเลบอแนร์ เนเธอร์แลนด์
อุทยานทางทะเลบอแนร์ในทะเลแคริบเบียน ตั้งขึ้นในปี 1979 เพื่ออนุรักษ์
ถิ่นที่อยู่อาศัยทางทะเลและชายฝั่งที่นับว่าเป็นแหล่งดาน้าที่มีชื่อเสียงมาก
ที่สุดของโลก การเก็บค่าธรรมเนียมการดาน้า ทาให้อุทยานสามารถบริษัท
จัดการตัวเองได้ทั้งหมด นับแต่ปี 1992 รวมทั้งเจ้าหน้าที่เพื่อการสารวจ
ติดตาม การฝึกตารวจเพื่อปราบการบุกรุกลักลอบ ล่าจับสัตว์ การทิ้งสมอ
บนแนวปะการังและการวิจัย สารวจติดตามระยะยาว และเน้นการให้การ
ความรู้แก่นักท่องเที่ยว คนงานและคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ทางทะเล ซึ่งเป็นที่รับรู้กันในระดับโลก ปัจจุบันมีการเพิ่มแหล่งเก็บ
เงินรายได้ คือค่าธรรมเนียมการจอดเรือ ค่าธรรมเนียมเรือที่เข้ามาในพื้นที่
The Dutch Caribbean
Nature Alliance (DCNA) The Dutch Ministry of the Interior contributes €750,000
annually (until 2016).
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken อินโดนีเซีย
ประกาศจัดตั้งเมื่อปี 1991
พื้นที่ประมาณ 900 ตร.กม.
มีพื้นที่อยู่บนฝั่ง และ 5 เกาะ
22 หมู่บ้านอาศัยอยู่ใน
อุทยาน ประมาณ 3 หมื่นคน
แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่มีการพัฒนา
เป็นอย่างดี
• ผู้ประกอบการดาน้า 20 แห่ง ทั้งอยู่บนฝั่งและ
ออกดาแบบ Day trip ในอุทยาน
• ที่พักมีตั้งแต่ระดับ 5 ดาวจนถึงกระต๊อบ
สาหรับ Backpackers
• นักท่องเที่ยวประมาณ 25,000 คนต่อปี
• มีสายการบินตรงจากต่างประเทศ
ที่มา: Developing a diversified portfolio of sustainable financing options for Bunaken National marine Park, MV Erdmam, USAID’s Natural Resources Management Programme, Indonesia
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken อินโดนีเซีย
รัฐบาลสนับสนุน
งบประมาณประจาปี
ระบบการจัดเก็บ
ค่าธรรมเนียม
แบบกระจายอานาจ
การสนับสนุน
จากภาคเอกชน
งบประมาณ
จากหน่วยงานภาครัฐ
ระบบอาสาสมัคร
ต่างประเทศ
ทุนสนับสนุน
จากแหล่งทุน
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken อินโดนีเซีย
ชุมชน
ผู้ประกอบการ
ร้านดาน้า
นักวิชาการ
องค์กร
พัฒนา
เอกชน
การ
ท่องเที่ยว
ท้องถิ่น
กรม
ประมง
ท้องถิ่น
หน่วยงาน
ด้าน
สิ่งแวดล้อม
แนวทางโครงการ PES ในระบบนิเวศทะลและชายฝั่ง
แนวทางโครงการ PES ในระบบนิเวศทะลและชายฝั่ง
กองทุนอนุรักษ์ตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ด้านการเงิน
(Business Plan for Tarutao)
แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมตะรุเตา
(Tarutao Management Plan)
หน่วยงานภาครัฐ
(งบจังหวัด อบจ.)
% ค่าธรรมเนียม
พิเศษ
ค่าบารุงสวล.
จากผู้ประกอบการ
โรงแรม ที่พัก
% สมาคมธุรกิจท่องเที่ยว
/ระดมทุน
% ประมูลเลขทะเบียนสวย
รักษ์อันดามัน
กิจกรรมอนุรักษ์ ฟื้นฟู สารวจวิจัย
สร้างจิตสานึก ให้ความรู้ เฝ้าระวัง
% บริษัทนาเที่ยวของ
มาเลเซีย
radda.larpnun@undp.org
ขอบคุณค่ะ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57
ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57
ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57ณัฐพล บัวพันธ์
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2yah2527
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1yah2527
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาyah2527
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
อาหารไทย4ภาค
อาหารไทย4ภาคอาหารไทย4ภาค
อาหารไทย4ภาคPear Sompinit
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมAor's Sometime
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 

Mais procurados (20)

แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57
ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57
ฎีกาผ้าป่าการศึกษาส้มป่อย57
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1
 
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
ฎีกาผ้าป่าเพื่อการศึกษา57
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
อาหารไทย4ภาค
อาหารไทย4ภาคอาหารไทย4ภาค
อาหารไทย4ภาค
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรมวรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณคดีและวรรณกรรม
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
carrying capacity
carrying capacitycarrying capacity
carrying capacity
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 

Destaque

FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยpongpangud13
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยchickyshare
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 

Destaque (20)

FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
Eco
EcoEco
Eco
 
Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014Thailand tourism cluster in 2014
Thailand tourism cluster in 2014
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
สถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย
สถาปัตยกรรมไทย
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทยวัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
วัด พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 

Semelhante a แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)

ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3บัณฑิต ป้านสวาท
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติyah2527
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programguestd73ff2
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยpiyanatpatitang
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)AmPere Si Si
 

Semelhante a แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) (12)

ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami program
 
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุยผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
ผลกระทบด้านบวกและด้านลบของเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมของเกาะสมุย
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
04
0404
04
 
Sci Project
Sci ProjectSci Project
Sci Project
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
 

แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)