SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
ความนา
ใช้ช่วงศตรวรรษที่ ผ่านมา แหล่ งพลังงานที่ ใช้ส่วน
ใหญ่ได้จาก น้ ามันเชื้ อเพลิง แต่ความต้องการพลังงานที่
เพิ่มขึ้น และแหล่งผลิ ตที่มีอยู่จากัดทาไห้เกิ ดปั ญหาการ
ขาดแคลนน้ ามันจากเหตุดงกล่าวจึงได้มีการค้นคว้า และ
ั
พัฒนาแหล่ งพลังงาน เพื่อทดแทนพลังงงานจากน้ ามัน
เชื้อเพลิง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิงที่ให้พลังงาน
2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนหรื อวิธีทาของเซลล์เชื้อเพลิง

สมมุตฐาน
ิ
1. เซลล์เชื้อเพิลเป็ นเซลล์ที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็ นพลังงาน
ไฟฟ้ า
2. ขั้นตอนการนาเซลล์เชื้อเพลิงโดยใช้ ไฮโดรเจน กับ
ออกซิ เจน ทาปฏิกิริยากันในบีกเกอร์แล้วได้เป็ นพลังงาน
ขอบเขต
1. การทารายงานที่เพื่อศึกษาสาเหตุการขาดแคลนพลังงานและ
ศึกษาพลังงานที่มาทดแทนในที่คือเซลล์เชื้อเพลิง
2. พื้นที่ในการศึกษาข้อมูลในการทาโครงงานวิชาการคือจังหวัด
นครศรี ธรรมราช
3. เวลาในการศึกษาตั้งแต่ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ถึง กุมพา
พันธ์ พ.ศ.2557
1. แหล่งพลังงานและเชื้อเพลิง
พลังงานทั้งหมดในเอกภพมีจุดเริ่ มต้นมาจากสิ่ งเดียวกัน
คื อ ไฮโดรเจนไฮโดรเจนแต่ ล ะอะตอมของไฮโดรเจนมี
โปรตอนและอิเล็กตรอนอย่างละ 1 ตัวอะตอมของไฮโดรเจน
4 อะตอมจะรวมตัวกันกลายเป็ นอะตอมของฮีเลียมและได้
พลัง งานแผ่ รั ง สี อ อกมากระบวนการนี้ เรี ยกว่ า ปฏิ กิ ริ ยา
นิวเคลียร์แบบรวมตัว (Nuclear fusion)
2. เซลล์ เชื้อเพลิงคืออะไร
เซลล์เชื้อเพลิงคืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงผันพลังงานเคมีของ
เชื้ อเพลิง (ไฮโดรเจนหรื อเชื้ อเพลิ งไฮโดรเจนเข้มข้น) และ
ออกซิ เ จนเป็ นพลัง งานไฟฟ้ าโดยท างานคล้า ยกับ แบตเตอรี่ แ ต่
แตกต่างจากแบตเตอรี่ คือกาลังของเซลล์เชื้ อเพลิงจะไม่ลดลงและ
ไม่มีการประจุไฟใหม่เซลล์เชื้ อเพลิงจะให้กระแสไฟฟ้ าความร้อน
ั
และน้ าตราบเท่าที่เชื้อเพลิงและออกซิ เจนยังป้ อนให้กบเซลล์เซลล์
เชื้ อเพลิ งไม่ใช่ แหล่งพลังงานชนิ ดใหม่แต่เป็ นวิธีใหม่ของการใช้
พลังงานที่มีอยู่
3. ระบบเซลล์ เชื้อเพลิง
ระบบเซลล์เชื้อเพลิงมีส่วนประกอบหลายส่ วนสาหรับการทาหน้าที่
ต่างๆเช่น
- เก็บไฮโดรเจนหรื อเชื้อเพลิงอื่น
- สู บไฮโดรเจนเข้าขั้วบวกของชุดเซลล์เชื้อเพลิง
- สู บอากาศเข้าขั้วลบของชุดเซลล์เชื้อเพลิง
-ไล่นาที่เกิดขึ้นในชุดเซลล์เชื้อเพลิงออก
้
- ระบบควบคุมและตรวจสอบความปลอดภัย
- ปรับปรุ งกาลังเอาต์พตเพื่อทาให้กาลังที่ผลิตได้สามารถใช้
ุ
งานได้
การออกแบบเซลล์เชื้ อเพลิ งค่อนข้างซับซ้อนแปรเปลี่ ยนไป
ตามชนิ ดของเซลล์เชื้ อเพลิงและการประยุกต์ใช้งานอย่างไรก็ตาม
ระบบเซลล์เชื้อเพลิงประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่างคือ
1. ตัวแปรรู ปเชื้อเพลิง (Fuel processor)
2. อุปกรณ์แปลงผันพลังงาน (เซลล์เชื้ อเพลิงหรื อชุดเซลล์
เชื้อเพลิง)
3. ตัวแปลงผันกระแสไฟฟ้ า
4. ระบบนาความร้อนกลับมาใช้ใหม่
3.1 ตัวแปรรู ปเชื้อเพลิง
ส่ วนประกอบแรกของเซลล์เชื้อเพลิงคือตัวแปรรู ปเชื้อเพลิงทา
่
หน้าที่แปลงผันเชื้อเพลิงให้อยูในรู ปที่เซลล์เชื้อเพลิงสามารถนาไป
ใช้ได้ถาป้ อนไฮโดรเจนเข้าสู่ ระบบตัวแปรรู ป
้
เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง บางชนิ ด เช่ น เกลื อ คาร์ บ อเนตหลอมเหลว
(Molten carbonate) และออกไซด์แข็ง (Solid oxide) ทางานที่
อุ ณ หภู มิ สู ง เพี ย งพอที่ เ ชื้ อ เพลิ ง จะถู ก ปรั บ ปรุ ง ภายในตัว เซลล์
เชื้ อเพลิงเองเรี ยกว่าการปรั บปรุ งภายในเซลล์เชื้ อเพลิ งซึ่ งใช้การ
ปรั บ ปรุ ง ภายในยัง คงต้อ งการตัว ดัก เพื่ อ เอาสิ่ ง เจื อ ปนออกจาก
เชื้อเพลิงที่ยงไม่ได้ปรับปรุ งก่อนที่เชื้อเพลิงจะเข้าสู่ เซลล์เชื้อเพลิง
ั
3.2 อุปกรณ์ แปลงผันพลังงาน – ชุดเซลล์ เชื้อเพลิง
ชุ ด เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง เป็ นอุ ป กรณ์ แ ปลงผัน พลัง งานชุ ด เซลล์
เชื้อเพลิงจะผลิตพลังงานไฟฟ้ าในรู ปของไฟฟ้ ากระแสตรง (DC)
จากปฏิกิริยาเคมีซ่ ึ งเกิ ดขึ้นในเซลล์เชื้ อเพลิงเซลล์เชื้ อเพลิงแต่ละ
เซลล์โดยปกติให้แรงดันไฟฟ้ าน้อยกว่า 1 โวลต์เพื่อให้ได้กระแส
และแรงดันไฟฟ้ าสู งเพียงพอต่อการใช้งานจะต้องนาเซลล์เชื้อเพลิง
แต่ ล ะเซลล์ ม าต่ อ กั น อย่ า งอนุ กรมเป็ นชุ ด เซลล์ เ ชื้ อเพลิ ง
แรงดัน ไฟฟ้ าที่ ไ ด้จ ากชุ ด เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง ขึ้ น อยู่กับ จานวนเซลล์
่ ั
กระแสไฟฟ้ าขึ้นอยูกบพื้นที่ผิวทั้งหมดของแต่ละเซลล์
3.3ตัวแปลงผันและปรับแต่ งกระแสไฟฟ้ า
จุ ดประสงค์ของตัวแปลงผันและปรั บแต่งกระแสไฟฟ้ าเพื่ อ
ปรั บกระแสไฟฟ้ าที่ ได้ จ ากเซลล์ เ ชื้ อเพลิ งให้ เ หมาะสม
กระแสไฟฟ้ าที่เครื่ องใช้ไฟฟ้ าต้องการไม่ว่าจะเป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
เช่นมอเตอร์ไฟฟ้ าอย่างง่ายหรื อระบบการใช้กาลังไฟฟ้ าที่ซบซ้อน
ั
3.4 ระบบนาความร้ อนกลับมาใช้ ใหม่
ระบบเซลล์เชื้ อเพลิ งในเบื้ องต้นไม่ได้ใช้เพื่อการผลิ ตความ
ร้ อ นอย่า งไรก็ ต ามเซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง บางระบบได้ผ ลิ ต ความร้ อ น
ออกมาจานวนมากโดยเฉพาะเซลล์เชื้อเพลิงที่ทางานที่อุณหภูมิสูง
เช่ นระบบเกลื อ คาร์ บ อเนตหลอมเหลวและระบบออกไซด์แ ข็ง
พลังงานความร้ อนส่ วนเกิ นนี้ สามารถนาไปใช้ผลิตไอน้าหรื อน้า
ร้ อนหรื อกระแสไฟฟ้ าโดยผ่านกังหันก๊าซหรื อเทคโนโลยีอื่นซึ่ ง
เป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพโดยรวมทั้งหมดของระบบ
4. เซลล์ เชื้อเพลิงมีกแบบ
ี่
เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงส่ วนใหญ่ใช้ไฮโดรเจนเป็ นเชื้อเพลิง
ไฮโดรเจนสามารถได้จากการปรับปรุ งเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์ บอนแต่
ในทางปฏิบติยงคงมีปัญหาเรื่ องประสิ ทธิ ภาพที่ต่ากว่าทางทฤษฎี
ั ั
เพราะมี ก ารสู ญ เสี ยในกระบวนการปรั บ ปรุ งและเนื่ อ งจาก
คุ ณ สมบัติ ท างเทอร์ โ มไดนามิ ก ของไฮโดรเจนเมื่ อ เที ย บกับ
ไฮโดรคาร์บอน
เทคโนโลยีเซลล์เชื้ อเพลิงสามารถแบ่งได้หลายแบบเช่ นโดย
อุณหภูมิชนิ ดของเชื้ อเพลิ งหรื อพาหะประจุ แต่ ที่นิยมใช้กันมาก
ที่สุดแบ่งโดยชนิดของอิเล็กโทรไลต์
4.1 เซลล์ เชื้อเพลิงแบบเยืออิเล็กโทรไลต์ พอลิเมอร์
่
เรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่าเซลล์เชื้ อเพลิงแบบเยื่อแลกเปลี่ยนโปรตอน (Proton
exchange membrane fuel cells) เซลล์เชื้อเพลิงชนิ ดนี้ ให้ความหนาแน่นพลังงาน
สู งและมีขอได้เปรี ยบที่นาหนักเบาและปริ มาตรน้อยเมื่อเทียบกับเซลล์เชื้ อเพลิง
้
้
ชนิดอื่นเซลล์เชื้อเพลิงแบบเยืออิเล็กโทรไลต์พอลิเมอร์ ใช้พอลิเมอร์ แข็งเป็ นอิเล็ก
่
โทรไลต์และใช้แท่งคาร์ บอนพรุ นเป็ นขั้วไฟฟ้ าซึ่ งบรรจุ ทองคาขาวเป็ นตัวเร่ ง
ปฏิกิริยาในการแยกอิเล็กตรอนและโปรตอนของไฮโดรเจนเซลล์เชื้อเพลิงชนิ ดนี้
ต้องการไฮโดรเจนออกซิ เจนจากอากาศและน้าเท่านั้นในการทางาน

ปฏิกริยาทีเ่ กิดขึนทีข้วไฟฟาในเซลล์ เป็ นดังนี้
ิ
้ ่ ั ้
ปฏิกิริยาที่ข้ วบวก : 2H2
ั
4H+ + 4eปฏิกิริยาที่ข้ วลบ : O2 + 4H+ + 4eั
2H2O
ปฏิกิริยารวม : 2H2 + O2
2H2O + พลังงาน
4.2 เซลล์ เชื้อเพลิงแบบใช้ เมทิลแอลกอฮอล์ โดยตรง
เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง ส่ ว นใหญ่ ใ ห้ ก าลัง ด้ว ยไฮโดรเจนซึ่ งสามารถ
ป้ อนเข้าสู่ระบบของเซลล์เชื้อเพลิงโดยตรงหรื อสามารถผลิตขึ้นภายใน
ระบบเซลล์เชื้อเพลิงโดยการปรับปรุ งเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเข้มข้น

ปฏิกิริยาเซลล์เชื้อเพลิง PEM มาตรฐาน
ปฏิกิริยาที่ข้วบวก : CH3OH+ H2O
ั
CO2 + 6H+ + 6eปฏิกิริยาที่ข้วลบ : O2 + 6H+ + 6eั
3H2O 23
ปฏิกิริยารวม : CH3OH + O2
CO2 + 2H2O 23
5. การใช้ งานเซลล์ เชื้อเพลิง
เซลล์เชื้อเพลิงสามารถนาไปใช้งานได้หลากหลายเพราะมันคือ
แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้ าชนิดหนึ่งในขณะนี้ผผลิตรถยนต์ส่วนใหญ่
ู้
กาลังสร้างรถยนต์ที่ใช้เซลล์เชื้อเพลิงเพื่อการพาณิ ชย์เซลล์เชื้อเพลิง
สามารถใช้เป็ นแหล่งกาลังสาหรับรถยนต์เรื อรถไฟเครื่ องบินหรื อ
แม้แต่รถจักรยานเครื่ องขายสิ นค้าแบบหยอดเหรี ยญ ฯลฯ

ภาพการใช้เซลล์เชื้อเพลิงในรถยนต์
6. เซลล์ เชื้อเพลิงกับอนาคต
เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการปฏิวติการ
ั
ผลิตพลังงานไฟฟ้ าเทคโนโลยีน้ ีเหมาะสาหรับการกระจายระบบการผลิต
และส่ งกาลังไฟฟ้ าไปยังที่ต่างๆเพื่อลดการสู ญเสี ยในสายส่ งกาลังไฟฟ้ าเมื่อ
มีการกระจายโรงงานไฟฟ้ าออกไปยังที่ต่างๆสายส่ งกาลังไฟฟ้ าที่มีความ
ยาวหลายร้อยกิโลเมตรก็ไม่มีความจาเป็ นทาให้ลดการลงทุนในด้านการส่ ง
กาลังไฟฟ้ า
รายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกเพื่อการนาไปใช้ในอนาคต ผู้จดทา
ั
ได้ดาเนินการ ดังนี้

วิธีการรวบรวมข้ อมูล
รายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกเพื่อการนาไปใช้ในอนาคต มี วิธีการ
รวบรวมข้อมูล ดังนี้
1.ศึกษาโดยค้นคว้าจากเอกสาร หนังสื อที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทางเลือก
2.ศึกษาค้นคว้าจากเว็บไซต์ต่างๆ ในอินเตอร์ เน็ต
3.สัมภาษณ์สอบถามจากรุ่ นพี่ช้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 และครู อาจารย์ บุคคล
ั
ที่มีความชานาญเชี่ยวชาลทางด้านนี้
1.ได้ศึกษาเกี่ ยวกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมีที่ให้พลังงานตั้งแต่อดี ต
จนถึงปั จจุบน ในการศึกษาครั้งนี้ ทาให้ผศึกษาได้รู้ว่า การศึกษา
ั
ู้
แนวทางในการผลิ ต พลัง งานจากเซลล์ไ ฟฟ้ าเคมี หรื อ เซลล์
เชื้อเพลิง จนถึงปั จจุบน มีความสาคัญอย่างมากในชีวิตประจาวัน
ั
ของนักเรี ยนและมนุษย์ชาติ
2.ศึ ก ษาข้อดี และข้อเสี ยของของเซลล์ไ ฟฟ้ าเคมี ต่างๆ ใน
การศึกษาศึกษาข้อดีและข้อเสี ยของเซลล์ไฟฟ้ าเคมีต่างๆ นี้ ก็ทา
ให้ผูศึกษาได้รู้ถึงข้อผิดพลาดของของการผลิตเซลล์ ไฟฟ้ าเคมี
้
เป็ นต้น และข้อดีของเซลล์ไฟฟ้ าเคมีต่างๆนั้น
สรุป
การจัดทารายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกในอนาคต
สามารถสรุ ปได้ ดังนี้
ในการศึ ก ษาครั้ งนี้ ท าให้นัก เรี ย นได้มี ค วามรู ้ ใ นการหา
พลังงานทางเลือกใหม่เพื่ออนาคต ทาให้นักเรี ยนทันเหตุการณ์
ข่าวสารการศึกษา ทั้งในเรื่ องค้นคว้าพลังงานใหม่เพื่ออนาคต ซึ่ง
ในปั จจุบน ศึกในปั จจุบนมีหนังสื อที่รวบรวมการทาการค้นคว้า
ั
ั
มากมาย ซึ่งทาให้นกเรี ยนได้มีความรู ้และความเข้าใจมากยิงขึ้น
ั
่
อภิปรายผล
การจัดทารายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกในอนาคต
สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้
ที่ได้มาศึกษาค้นคว้าพลังงานทางเลือกก็คือ ในปั จจุบนผูจดทาได้
ั ้ั
เห็นถึงความสาคัญของพลังงานที่ใช้ และพลังงานเหล่านี้ กาลังจะหมด
ไปจากโลกของเราแล้วไม่ช้าก็นาน ผูจดทาจึงอยากจะศึกษาเกี่ ยวกับ
้ั
พลังงานใหม่ๆ ที่ไม่เป็ นพิษต่อสิ่ งแวดล้อมและไห้พลังงานสู ง คณะ
ผูจดทาจึ งได้คิดว่า เซลล์เชื้ อเพลิ ง ( เซลล์ไฟฟ้ าเคมี ) เป็ นพลังงาน
้ั
ทางเลือกชนิ ดหนึ่ งที่ไห้พลังงานสู งและไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม ซึ้ งเป็ น
เหตุผลที่ได้จดทารายงานเล่มนี้
ั
สาราญ พฤกษ์สุนทร. พ.ศ.2544. ไฟฟ้ าเคมี. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์, นนทบุรี
สาราญ พฤกษ์สุนทร. พ.ศ. 2551. ไฟฟ้ าเคมีเชิงปฏิบติการ. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์
ั
นนทบุรี
สาราญ พฤกษ์สุนทร. พ.ศ. 2556. ไฟฟ้ าเคมี. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์, นนทบุรี
อุไรวรรญศิวกุล. พ.ศ.2556. เซลล์อิเล็กโทรไลต์. บริ ษทเจ้าพระยาระบบการพิมพ์,
ั
กรุ งเทพมหานคร
คณาจารย์ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . พ.ศ. 2543.
ปฏิบติการเคมีเชิงประยุกต์. โรงพิมพ์ โอ. เอส. พริ้ นติ้งเฮ้าส์, กรุ งเทพมหานคร
ั
ฟิ สิ กส์ราชมงคล. พ.ศ.2542. พลังงานแห่งอนาคต( ออนไลน์ ). สื บค้นจาก
http://www.rmutphysics.com(วันที่คนข้อมูล 13 มกราคม พ.ศ. 2557 )
้
สถาบันวิจยค้นคว้าพลังงานแห่งอนาคต. พ.ศ. 2545. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ( ออนไลน์ )
ั
http://www.rdi.ku.ac.th( วันที่คนข้อมูล14 มกราคม พ.ศ.2557 )
้

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a พลังงานแห่งอนาคต

09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์Kobwit Piriyawat
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6orohimaro
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าmetinee
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าmetinee
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนiczexy
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนiczexy
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนiczexy
 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวันเชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวันnuyzaa5
 
เซลล์เชื้อเพลิง
เซลล์เชื้อเพลิงเซลล์เชื้อเพลิง
เซลล์เชื้อเพลิงPinkk Putthathida
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 

Semelhante a พลังงานแห่งอนาคต (14)

09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
 
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทนโครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
โครงการ ไบโอดีเซลพลังงานทดแทน
 
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวันเชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
 
เซลล์เชื้อเพลิง
เซลล์เชื้อเพลิงเซลล์เชื้อเพลิง
เซลล์เชื้อเพลิง
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 

Mais de punloveh

กลุ่ม7
กลุ่ม7กลุ่ม7
กลุ่ม7punloveh
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6punloveh
 
กลุ่ม5
กลุ่ม5กลุ่ม5
กลุ่ม5punloveh
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3punloveh
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3punloveh
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4punloveh
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3punloveh
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3punloveh
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2punloveh
 

Mais de punloveh (11)

กลุ่ม7
กลุ่ม7กลุ่ม7
กลุ่ม7
 
กลุ่ม6
กลุ่ม6กลุ่ม6
กลุ่ม6
 
กลุ่ม5
กลุ่ม5กลุ่ม5
กลุ่ม5
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3
 
กลุ่ม3
กลุ่ม3กลุ่ม3
กลุ่ม3
 
กลุ่ม2
กลุ่ม2กลุ่ม2
กลุ่ม2
 
ฟฟฟ
ฟฟฟฟฟฟ
ฟฟฟ
 
TEST
TESTTEST
TEST
 

พลังงานแห่งอนาคต

  • 1.
  • 2. ความนา ใช้ช่วงศตรวรรษที่ ผ่านมา แหล่ งพลังงานที่ ใช้ส่วน ใหญ่ได้จาก น้ ามันเชื้ อเพลิง แต่ความต้องการพลังงานที่ เพิ่มขึ้น และแหล่งผลิ ตที่มีอยู่จากัดทาไห้เกิ ดปั ญหาการ ขาดแคลนน้ ามันจากเหตุดงกล่าวจึงได้มีการค้นคว้า และ ั พัฒนาแหล่ งพลังงาน เพื่อทดแทนพลังงงานจากน้ ามัน เชื้อเพลิง
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับเซลล์เชื้อเพลิงที่ให้พลังงาน 2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนหรื อวิธีทาของเซลล์เชื้อเพลิง สมมุตฐาน ิ 1. เซลล์เชื้อเพิลเป็ นเซลล์ที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็ นพลังงาน ไฟฟ้ า 2. ขั้นตอนการนาเซลล์เชื้อเพลิงโดยใช้ ไฮโดรเจน กับ ออกซิ เจน ทาปฏิกิริยากันในบีกเกอร์แล้วได้เป็ นพลังงาน
  • 5. 1. แหล่งพลังงานและเชื้อเพลิง พลังงานทั้งหมดในเอกภพมีจุดเริ่ มต้นมาจากสิ่ งเดียวกัน คื อ ไฮโดรเจนไฮโดรเจนแต่ ล ะอะตอมของไฮโดรเจนมี โปรตอนและอิเล็กตรอนอย่างละ 1 ตัวอะตอมของไฮโดรเจน 4 อะตอมจะรวมตัวกันกลายเป็ นอะตอมของฮีเลียมและได้ พลัง งานแผ่ รั ง สี อ อกมากระบวนการนี้ เรี ยกว่ า ปฏิ กิ ริ ยา นิวเคลียร์แบบรวมตัว (Nuclear fusion)
  • 6. 2. เซลล์ เชื้อเพลิงคืออะไร เซลล์เชื้อเพลิงคืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงผันพลังงานเคมีของ เชื้ อเพลิง (ไฮโดรเจนหรื อเชื้ อเพลิ งไฮโดรเจนเข้มข้น) และ ออกซิ เ จนเป็ นพลัง งานไฟฟ้ าโดยท างานคล้า ยกับ แบตเตอรี่ แ ต่ แตกต่างจากแบตเตอรี่ คือกาลังของเซลล์เชื้ อเพลิงจะไม่ลดลงและ ไม่มีการประจุไฟใหม่เซลล์เชื้ อเพลิงจะให้กระแสไฟฟ้ าความร้อน ั และน้ าตราบเท่าที่เชื้อเพลิงและออกซิ เจนยังป้ อนให้กบเซลล์เซลล์ เชื้ อเพลิ งไม่ใช่ แหล่งพลังงานชนิ ดใหม่แต่เป็ นวิธีใหม่ของการใช้ พลังงานที่มีอยู่
  • 7. 3. ระบบเซลล์ เชื้อเพลิง ระบบเซลล์เชื้อเพลิงมีส่วนประกอบหลายส่ วนสาหรับการทาหน้าที่ ต่างๆเช่น - เก็บไฮโดรเจนหรื อเชื้อเพลิงอื่น - สู บไฮโดรเจนเข้าขั้วบวกของชุดเซลล์เชื้อเพลิง - สู บอากาศเข้าขั้วลบของชุดเซลล์เชื้อเพลิง -ไล่นาที่เกิดขึ้นในชุดเซลล์เชื้อเพลิงออก ้ - ระบบควบคุมและตรวจสอบความปลอดภัย - ปรับปรุ งกาลังเอาต์พตเพื่อทาให้กาลังที่ผลิตได้สามารถใช้ ุ งานได้
  • 8. การออกแบบเซลล์เชื้ อเพลิ งค่อนข้างซับซ้อนแปรเปลี่ ยนไป ตามชนิ ดของเซลล์เชื้ อเพลิงและการประยุกต์ใช้งานอย่างไรก็ตาม ระบบเซลล์เชื้อเพลิงประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่างคือ 1. ตัวแปรรู ปเชื้อเพลิง (Fuel processor) 2. อุปกรณ์แปลงผันพลังงาน (เซลล์เชื้ อเพลิงหรื อชุดเซลล์ เชื้อเพลิง) 3. ตัวแปลงผันกระแสไฟฟ้ า 4. ระบบนาความร้อนกลับมาใช้ใหม่
  • 9. 3.1 ตัวแปรรู ปเชื้อเพลิง ส่ วนประกอบแรกของเซลล์เชื้อเพลิงคือตัวแปรรู ปเชื้อเพลิงทา ่ หน้าที่แปลงผันเชื้อเพลิงให้อยูในรู ปที่เซลล์เชื้อเพลิงสามารถนาไป ใช้ได้ถาป้ อนไฮโดรเจนเข้าสู่ ระบบตัวแปรรู ป ้ เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง บางชนิ ด เช่ น เกลื อ คาร์ บ อเนตหลอมเหลว (Molten carbonate) และออกไซด์แข็ง (Solid oxide) ทางานที่ อุ ณ หภู มิ สู ง เพี ย งพอที่ เ ชื้ อ เพลิ ง จะถู ก ปรั บ ปรุ ง ภายในตัว เซลล์ เชื้ อเพลิงเองเรี ยกว่าการปรั บปรุ งภายในเซลล์เชื้ อเพลิ งซึ่ งใช้การ ปรั บ ปรุ ง ภายในยัง คงต้อ งการตัว ดัก เพื่ อ เอาสิ่ ง เจื อ ปนออกจาก เชื้อเพลิงที่ยงไม่ได้ปรับปรุ งก่อนที่เชื้อเพลิงจะเข้าสู่ เซลล์เชื้อเพลิง ั
  • 10. 3.2 อุปกรณ์ แปลงผันพลังงาน – ชุดเซลล์ เชื้อเพลิง ชุ ด เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง เป็ นอุ ป กรณ์ แ ปลงผัน พลัง งานชุ ด เซลล์ เชื้อเพลิงจะผลิตพลังงานไฟฟ้ าในรู ปของไฟฟ้ ากระแสตรง (DC) จากปฏิกิริยาเคมีซ่ ึ งเกิ ดขึ้นในเซลล์เชื้ อเพลิงเซลล์เชื้ อเพลิงแต่ละ เซลล์โดยปกติให้แรงดันไฟฟ้ าน้อยกว่า 1 โวลต์เพื่อให้ได้กระแส และแรงดันไฟฟ้ าสู งเพียงพอต่อการใช้งานจะต้องนาเซลล์เชื้อเพลิง แต่ ล ะเซลล์ ม าต่ อ กั น อย่ า งอนุ กรมเป็ นชุ ด เซลล์ เ ชื้ อเพลิ ง แรงดัน ไฟฟ้ าที่ ไ ด้จ ากชุ ด เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง ขึ้ น อยู่กับ จานวนเซลล์ ่ ั กระแสไฟฟ้ าขึ้นอยูกบพื้นที่ผิวทั้งหมดของแต่ละเซลล์
  • 11. 3.3ตัวแปลงผันและปรับแต่ งกระแสไฟฟ้ า จุ ดประสงค์ของตัวแปลงผันและปรั บแต่งกระแสไฟฟ้ าเพื่ อ ปรั บกระแสไฟฟ้ าที่ ได้ จ ากเซลล์ เ ชื้ อเพลิ งให้ เ หมาะสม กระแสไฟฟ้ าที่เครื่ องใช้ไฟฟ้ าต้องการไม่ว่าจะเป็ นเครื่ องใช้ไฟฟ้ า เช่นมอเตอร์ไฟฟ้ าอย่างง่ายหรื อระบบการใช้กาลังไฟฟ้ าที่ซบซ้อน ั
  • 12. 3.4 ระบบนาความร้ อนกลับมาใช้ ใหม่ ระบบเซลล์เชื้ อเพลิ งในเบื้ องต้นไม่ได้ใช้เพื่อการผลิ ตความ ร้ อ นอย่า งไรก็ ต ามเซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง บางระบบได้ผ ลิ ต ความร้ อ น ออกมาจานวนมากโดยเฉพาะเซลล์เชื้อเพลิงที่ทางานที่อุณหภูมิสูง เช่ นระบบเกลื อ คาร์ บ อเนตหลอมเหลวและระบบออกไซด์แ ข็ง พลังงานความร้ อนส่ วนเกิ นนี้ สามารถนาไปใช้ผลิตไอน้าหรื อน้า ร้ อนหรื อกระแสไฟฟ้ าโดยผ่านกังหันก๊าซหรื อเทคโนโลยีอื่นซึ่ ง เป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพโดยรวมทั้งหมดของระบบ
  • 13. 4. เซลล์ เชื้อเพลิงมีกแบบ ี่ เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงส่ วนใหญ่ใช้ไฮโดรเจนเป็ นเชื้อเพลิง ไฮโดรเจนสามารถได้จากการปรับปรุ งเชื้อเพลิงไฮโดรคาร์ บอนแต่ ในทางปฏิบติยงคงมีปัญหาเรื่ องประสิ ทธิ ภาพที่ต่ากว่าทางทฤษฎี ั ั เพราะมี ก ารสู ญ เสี ยในกระบวนการปรั บ ปรุ งและเนื่ อ งจาก คุ ณ สมบัติ ท างเทอร์ โ มไดนามิ ก ของไฮโดรเจนเมื่ อ เที ย บกับ ไฮโดรคาร์บอน เทคโนโลยีเซลล์เชื้ อเพลิงสามารถแบ่งได้หลายแบบเช่ นโดย อุณหภูมิชนิ ดของเชื้ อเพลิ งหรื อพาหะประจุ แต่ ที่นิยมใช้กันมาก ที่สุดแบ่งโดยชนิดของอิเล็กโทรไลต์
  • 14. 4.1 เซลล์ เชื้อเพลิงแบบเยืออิเล็กโทรไลต์ พอลิเมอร์ ่ เรี ยกอีกอย่างหนึ่ งว่าเซลล์เชื้ อเพลิงแบบเยื่อแลกเปลี่ยนโปรตอน (Proton exchange membrane fuel cells) เซลล์เชื้อเพลิงชนิ ดนี้ ให้ความหนาแน่นพลังงาน สู งและมีขอได้เปรี ยบที่นาหนักเบาและปริ มาตรน้อยเมื่อเทียบกับเซลล์เชื้ อเพลิง ้ ้ ชนิดอื่นเซลล์เชื้อเพลิงแบบเยืออิเล็กโทรไลต์พอลิเมอร์ ใช้พอลิเมอร์ แข็งเป็ นอิเล็ก ่ โทรไลต์และใช้แท่งคาร์ บอนพรุ นเป็ นขั้วไฟฟ้ าซึ่ งบรรจุ ทองคาขาวเป็ นตัวเร่ ง ปฏิกิริยาในการแยกอิเล็กตรอนและโปรตอนของไฮโดรเจนเซลล์เชื้อเพลิงชนิ ดนี้ ต้องการไฮโดรเจนออกซิ เจนจากอากาศและน้าเท่านั้นในการทางาน ปฏิกริยาทีเ่ กิดขึนทีข้วไฟฟาในเซลล์ เป็ นดังนี้ ิ ้ ่ ั ้ ปฏิกิริยาที่ข้ วบวก : 2H2 ั 4H+ + 4eปฏิกิริยาที่ข้ วลบ : O2 + 4H+ + 4eั 2H2O ปฏิกิริยารวม : 2H2 + O2 2H2O + พลังงาน
  • 15. 4.2 เซลล์ เชื้อเพลิงแบบใช้ เมทิลแอลกอฮอล์ โดยตรง เซลล์เ ชื้ อ เพลิ ง ส่ ว นใหญ่ ใ ห้ ก าลัง ด้ว ยไฮโดรเจนซึ่ งสามารถ ป้ อนเข้าสู่ระบบของเซลล์เชื้อเพลิงโดยตรงหรื อสามารถผลิตขึ้นภายใน ระบบเซลล์เชื้อเพลิงโดยการปรับปรุ งเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเข้มข้น ปฏิกิริยาเซลล์เชื้อเพลิง PEM มาตรฐาน ปฏิกิริยาที่ข้วบวก : CH3OH+ H2O ั CO2 + 6H+ + 6eปฏิกิริยาที่ข้วลบ : O2 + 6H+ + 6eั 3H2O 23 ปฏิกิริยารวม : CH3OH + O2 CO2 + 2H2O 23
  • 16. 5. การใช้ งานเซลล์ เชื้อเพลิง เซลล์เชื้อเพลิงสามารถนาไปใช้งานได้หลากหลายเพราะมันคือ แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้ าชนิดหนึ่งในขณะนี้ผผลิตรถยนต์ส่วนใหญ่ ู้ กาลังสร้างรถยนต์ที่ใช้เซลล์เชื้อเพลิงเพื่อการพาณิ ชย์เซลล์เชื้อเพลิง สามารถใช้เป็ นแหล่งกาลังสาหรับรถยนต์เรื อรถไฟเครื่ องบินหรื อ แม้แต่รถจักรยานเครื่ องขายสิ นค้าแบบหยอดเหรี ยญ ฯลฯ ภาพการใช้เซลล์เชื้อเพลิงในรถยนต์
  • 17. 6. เซลล์ เชื้อเพลิงกับอนาคต เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงแสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการปฏิวติการ ั ผลิตพลังงานไฟฟ้ าเทคโนโลยีน้ ีเหมาะสาหรับการกระจายระบบการผลิต และส่ งกาลังไฟฟ้ าไปยังที่ต่างๆเพื่อลดการสู ญเสี ยในสายส่ งกาลังไฟฟ้ าเมื่อ มีการกระจายโรงงานไฟฟ้ าออกไปยังที่ต่างๆสายส่ งกาลังไฟฟ้ าที่มีความ ยาวหลายร้อยกิโลเมตรก็ไม่มีความจาเป็ นทาให้ลดการลงทุนในด้านการส่ ง กาลังไฟฟ้ า
  • 18. รายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกเพื่อการนาไปใช้ในอนาคต ผู้จดทา ั ได้ดาเนินการ ดังนี้ วิธีการรวบรวมข้ อมูล รายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกเพื่อการนาไปใช้ในอนาคต มี วิธีการ รวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1.ศึกษาโดยค้นคว้าจากเอกสาร หนังสื อที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทางเลือก 2.ศึกษาค้นคว้าจากเว็บไซต์ต่างๆ ในอินเตอร์ เน็ต 3.สัมภาษณ์สอบถามจากรุ่ นพี่ช้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 และครู อาจารย์ บุคคล ั ที่มีความชานาญเชี่ยวชาลทางด้านนี้
  • 19. 1.ได้ศึกษาเกี่ ยวกับเซลล์ไฟฟ้ าเคมีที่ให้พลังงานตั้งแต่อดี ต จนถึงปั จจุบน ในการศึกษาครั้งนี้ ทาให้ผศึกษาได้รู้ว่า การศึกษา ั ู้ แนวทางในการผลิ ต พลัง งานจากเซลล์ไ ฟฟ้ าเคมี หรื อ เซลล์ เชื้อเพลิง จนถึงปั จจุบน มีความสาคัญอย่างมากในชีวิตประจาวัน ั ของนักเรี ยนและมนุษย์ชาติ 2.ศึ ก ษาข้อดี และข้อเสี ยของของเซลล์ไ ฟฟ้ าเคมี ต่างๆ ใน การศึกษาศึกษาข้อดีและข้อเสี ยของเซลล์ไฟฟ้ าเคมีต่างๆ นี้ ก็ทา ให้ผูศึกษาได้รู้ถึงข้อผิดพลาดของของการผลิตเซลล์ ไฟฟ้ าเคมี ้ เป็ นต้น และข้อดีของเซลล์ไฟฟ้ าเคมีต่างๆนั้น
  • 20. สรุป การจัดทารายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกในอนาคต สามารถสรุ ปได้ ดังนี้ ในการศึ ก ษาครั้ งนี้ ท าให้นัก เรี ย นได้มี ค วามรู ้ ใ นการหา พลังงานทางเลือกใหม่เพื่ออนาคต ทาให้นักเรี ยนทันเหตุการณ์ ข่าวสารการศึกษา ทั้งในเรื่ องค้นคว้าพลังงานใหม่เพื่ออนาคต ซึ่ง ในปั จจุบน ศึกในปั จจุบนมีหนังสื อที่รวบรวมการทาการค้นคว้า ั ั มากมาย ซึ่งทาให้นกเรี ยนได้มีความรู ้และความเข้าใจมากยิงขึ้น ั ่
  • 21. อภิปรายผล การจัดทารายงาน เรื่ อง พลังงานทางเลือกในอนาคต สามารถอภิปรายผลได้ ดังนี้ ที่ได้มาศึกษาค้นคว้าพลังงานทางเลือกก็คือ ในปั จจุบนผูจดทาได้ ั ้ั เห็นถึงความสาคัญของพลังงานที่ใช้ และพลังงานเหล่านี้ กาลังจะหมด ไปจากโลกของเราแล้วไม่ช้าก็นาน ผูจดทาจึงอยากจะศึกษาเกี่ ยวกับ ้ั พลังงานใหม่ๆ ที่ไม่เป็ นพิษต่อสิ่ งแวดล้อมและไห้พลังงานสู ง คณะ ผูจดทาจึ งได้คิดว่า เซลล์เชื้ อเพลิ ง ( เซลล์ไฟฟ้ าเคมี ) เป็ นพลังงาน ้ั ทางเลือกชนิ ดหนึ่ งที่ไห้พลังงานสู งและไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม ซึ้ งเป็ น เหตุผลที่ได้จดทารายงานเล่มนี้ ั
  • 22. สาราญ พฤกษ์สุนทร. พ.ศ.2544. ไฟฟ้ าเคมี. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์, นนทบุรี สาราญ พฤกษ์สุนทร. พ.ศ. 2551. ไฟฟ้ าเคมีเชิงปฏิบติการ. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์ ั นนทบุรี สาราญ พฤกษ์สุนทร. พ.ศ. 2556. ไฟฟ้ าเคมี. โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์, นนทบุรี อุไรวรรญศิวกุล. พ.ศ.2556. เซลล์อิเล็กโทรไลต์. บริ ษทเจ้าพระยาระบบการพิมพ์, ั กรุ งเทพมหานคร คณาจารย์ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . พ.ศ. 2543. ปฏิบติการเคมีเชิงประยุกต์. โรงพิมพ์ โอ. เอส. พริ้ นติ้งเฮ้าส์, กรุ งเทพมหานคร ั ฟิ สิ กส์ราชมงคล. พ.ศ.2542. พลังงานแห่งอนาคต( ออนไลน์ ). สื บค้นจาก http://www.rmutphysics.com(วันที่คนข้อมูล 13 มกราคม พ.ศ. 2557 ) ้ สถาบันวิจยค้นคว้าพลังงานแห่งอนาคต. พ.ศ. 2545. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ( ออนไลน์ ) ั http://www.rdi.ku.ac.th( วันที่คนข้อมูล14 มกราคม พ.ศ.2557 ) ้