SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
Baixar para ler offline
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 1
เฉลย PAT2 ฟิสิกส์ มีค. 54
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 2
วิธีคิด
จากนิยามความเร่งในขณะใดขณะหนึ่งa =
∆v
∆t
โดยที่ ∆v และ ∆t เป็นความเร็ว และเวลาที่เปลี่ยนไปในช่วง
สั้นๆ
ถ้าอัตราเร็วหรือขนาดของความเร็วกําลังเพิ่มขึ้น ขนาดความเร่งอาจจะคงที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงก็ได้
เช่นในช่วง1 วินาทีมีความเร็วเปลี่ยนเป็น 1 --> 2 --> 3--> 4 m/s ความเร่งจะคงที่เป็น1 m/s2
หรือเป็น 1 --> 2 --> 4 --> 7 m/s ความเร่งจะเพิ่มขึ้นเป็น1 --> 2--> 3 m/s2
หรือเป็น 1 --> 4 --> 6 --> 7 m/s ความเร่งจะลดลงเป็น 3 --> 2--> 1 m/s2
ตอบข้อ4.
โจทย์ข้อนี้ต้องคิดให้ละเอียดนิดหนึ่ง ถ้าดูเผินๆ อาจคิดว่าตอบข้อ1 ซึ่งยังไม่ใช่คําตอบที่ถูกต้องที่สุด การ
เข้าใจนิยามของอัตราเร็วและความเร่งให้ถ่องแท้รวมกับการรู้จักหาเหตุผลมารองรับคําตอบที่เลือก จึงจะทํา
ให้นักเรียนได้คําตอบที่ถูกต้องและมีความมั่นใจว่าทําถูกจริงๆ
การฝึกมากๆ จะทําให้นักเรียนมีทักษะในการคิด และเรียนได้อย่างสนุกอย่าเอาแต่เรียนหรือไปฟังคนอื่นพูด
โดยไม่มีเวลาฝึกคิดด้วยตัวเองเพราะนอกจากจะเสียเวลาแล้วยังไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 3
วิธีคิด
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงที่กระทํากับวัตถุ(ถุงทราย)
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน
∑ F = ma
จากรูป จะได้ F – fk = m(0)
∴ F = fk
ข้อ 1. ผิด เพราะ∑ F = ma = 0 N
ข้อ 2. ถูกต้อง fk = F = 2 N
ข้อ 3. ผิด
ข้อ 4. ผิดเพราะ F – fk = 0
ตอบข้อ2.
ข้อนี้มีแรงเนื่องจากนํ้าหนักถุงทราย mg และแรง
ปฏิกิริยาของพื้น N กระทํากับถุงทรายด้วย แต่แรงทั้ง
สองไม่มีผลต่อการวิเคราะห์โจทย์ จึงไม่ต้องนํามาคิด= 2 N
v คงตัว ∴ a = 0
fk
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 4
วิธีคิด
ลูกขนไก่ที่มีมวลเท่ากับวัตถุทรงกลม ลูกขนไก่จะมีปริมาตรมากกว่า
วัตถุทรงกลม และลูกขนไก่มีรูปทรงแตกต่างกันวัตถุทรงกลมมีความหนาแน่นมากกว่าลูกขนไก่ ผลของแรง
ต้านอากาศมีไม่มากนักวัตถุทรงกลมจึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ส่วนลูกขนไก่มีความ
หนาแน่นน้อยผลของแรงต้านอากาศมีมากลูกขนไก่จึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่ไม่เป็นแบบโพรเจกไทล์และ
เคลื่อนที่ไปได้ความสูงและระยะทางตามแนวระดับน้อยกว่าวัตถุทรงกลม
ตอบข้อ 4.
วัตถุทรงกลม ลูกขนไก่
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 5
วิธีคิด
ให้แนวแกนขนานลงมาตามพื้นเอียงเป็นแกนy
ข้อ ก. A ถึงพื้นก่อน B เพราะ (uAy = uA ) > uBy = 0
ข้อ ข. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันพราะ uAy = uBy = 0
ข้อ ค. B ถึงพื้นก่อน A เพราะuAy = 0 , uBy = uB sinθ > uAy
ข้อ ง. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันเมื่อ uA = uB และ θ = 90°
ตอบข้อ 4.
x
y
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 6
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์
จาก F = ma ถ้า F ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น a ลดลงสมํ่าเสมอ (m คงเดิม)
จาก a =
∆v
t
ถ้า a ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น
∆v
t
ลดลงสมํ่าเสมอ
พิจารณา
∆v
t
ลดลงสมํ่าเสมอ
ถ้าให้ t = 1 ทุกๆ ช่วงที่ v เปลี่ยน
∆v ลดลงสมํ่าเสมอ เช่น ∆v เป็น 4 → 3 → 2 → 1
จะได้v ดังเช่น 2 → 6 → 9 → 11 → 12 ---(1)
จาก(1) ,จะได้v2
เป็น 22
→ 62
→ 92
→ 112
→ 122
v2
เป็น 4 → 36 → 81 → 121 → 144
พลังงานจลน์ Ek = ½ mv2
เป็น ½ m(4) → ½ m(36) → ½ m(81) → ½ m(121) → ½ m(144)
พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(36) - ½ m(4)) → (½ m(81) - ½ m(36)) → (½ m(121) - ½ m(81)) → (½
m(144) - ½ m(121))
พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(32)) → (½ m(45)) → (½ m(40)) → (½ m(23))
∴ พลังงานจลน์เพิ่มขึ้นด้วยอัตราไม่สมํ่าเสมอ
ตอบข้อ 2.
a
F
m
Ek = ½ mv2
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 7
วิธีคิด
ความเร็วปลายของวัตถุในของเหลว เป็นความเร็วสูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่มีขนาดคงที่ค่าหนึ่งเสมอดังนั้นไม่ว่า
จะปล่อย หรือขว้างวัตถุลงมา ความเร็วปลายของวัตถุยังคงเท่ากัน
ความเร็วปลายขึ้นอยู่กับค่าความหนืด หนืดมากความเร็วปลายน้อยและความหนืดขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ โดย
ความหนืดจะลดลงถ้าอุณหภูมิของเหลวเพิ่มขึ้น
ตอบข้อ 3.
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่แรง และปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากรูป
mg
ในอากาศ
T1 = N1
mg FB
T2 = N2
ในนํ้า
𝜌𝜌
𝜌𝜌นํ้า
𝜌𝜌 = ?𝜌𝜌นํ้า
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 8
ในอากาศ T1 = mg = N1
ในนํ้า T2 + FB = mg
N2 + FB = N1
N2 + 𝜌𝜌นํ้าVจมg = N1 (FB = นํ้าหนักนํ้าที่มีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จม= mนํ้าg = 𝜌𝜌นํ้าVจมg)
N2 + 𝜌𝜌นํ้า
m
ρ
g = N1
N2 + 𝜌𝜌นํ้า
N1
ρ
= N1 (mg = N1)
𝜌𝜌นํ้า
N1
ρ
= N1 – N2
ρ = ( N1
N1− N2
) 𝜌𝜌นํ้า
ตอบข้อ 1.
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากนักเรียนไปกระทบหน้าผาจะใช้เวลาครึ่งหนึ่งของเวลาทั้งหมดจนได้รับเสียงสะท้อน
หาอัตราเร็วเสียงจาก v =
s
t
(เสียงเคลื่อนที่แนวตรงด้วยอัตราเร็วคงตัว)
v =
102
0.3
(t =
0.6
2
= 0.3 s)
v = 340 m/s
หาความถี่เสียง f
จาก v = f λ
λ = 0.5 m f = ?
tทั้งหมด = 0.6 s
s = 102 m
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 9
340 = f(0.5)
∴ f = 680 Hz
ตอบข้อ 4.
วิธีคิด
ข้อนี้ใช้กฎของเทอร์ริเซลลี และหลักของโพรเจกไทล์รวมกัน คล้ายกับแนวข้อสอบข้อ85 ตค.52 ในหนังสือ
ฟิสิกส์ PAT2ของครู
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
วิธีพิจารณานํ้าพุ่งไปไกล ใช้หลักโพรเจกไทล์ว่าsx = ux t
จากสูตรจะเห็นว่าถ้าความเร็วต้นของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux มีค่ามาก ค่าsx ก็น่าจะมากตาม
แต่ยังมี t อีกตัวที่มีผลต่อsx ด้วย
ค่า ux จะมากเมื่อรูเจาะอยู่ตํ่าใกล้ๆ ก้นภาชนะ ส่วนค่าt จะมากเมื่อรูเจาะอยู่สูงกว่าก้นภาชนะมากๆ แล้วมัน
ควรจะอยู่ตรงไหนดีหละนํ้าจึงจะพุ่งไปไกลสุด????..
h2
h1
ux
sx
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 10
เมี่อวาดรูปดู ให้ h1 เป็นความสูงจากผิวนํ้าถึงรูเจาะ และh2 เป็นความสูงจากรูเจาะถึงก้นภาชนะ
โดยที่ h1+ h2 = H
เราสามารถหาความเร็วของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux จากกฏของเทอร์ริเซลลี ได้ux = �2gh1
และหาเวลา t จากหลักของโพรเจกไทล์h2 = 0 + ½ gt2
ได้ t = �
2h2
g
ดังนั้น sx = ux t = �2gh1 �
2h2
g
sx = 2 �h1h2
จากสมการนี้จะเห็นว่าsx ขึ้นอยู่กับค่าh1 คูณกับh2
ลองแทนค่าในคําตอบที่โจทย์ให้มา โดยที่ h1+ h2 = H
ข้อ 1. h1h2 = (7/8)H (1/8)H = (7/64)H2
ข้อ 2. h1h2 = (3/4)H (1/4)H = (3/16)H2
ข้อ 3. h1h2 = (1/2)H (1/2)H = (1/4)H2
มีค่ามากที่สุด เป็นคําตอบที่ถูกต้อง
ตอบข้อ 3.
วิธีคิด
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากกฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์
พลังงานความร้อนที่ให้กับระบบมีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในที่เพิ่มขึ้น กับงานที่ทําโดยระบบ
หรือ ∆Q = ∆U + ∆W
∆Q = (3
2
NKB∆T) + ∆W ---(1)
จาก (1) ถ้า ∆T = 0แล้ว ∆Q = ∆W
ตอบข้อ 3.
∆Q
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 11
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากสมการการหาตําแหน่งแถบมืดของสลิตเดี่ยว a
x
L
= nλ
เมื่อ a , L , n คงเดิม ดังนั้น x ∝ λ
เนื่องจากอัตราเร็วแสงในนํ้าน้อยกว่าในอากาศ ดังนั้น ความยาวคลื่นแสงในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศด้วย
ดังนั้น ระยะx ในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศ
ตอบข้อ 3.
แถบมืดที่ 1 (N1)
a
λ
ฉากรับแสง
แถบสว่างกลาง(A0)
แถบมืดที่ 1 (N1)
L
x
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 12
วิธีคิด
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากสมการการแทรกสอดแบบเสริมของสลิตคู่
d
x
L
= nλ
แทนค่าn = 1 จะได้ x1 = (1)λ
L
d
4 cm/8 = 0.5 cm
แถบสว่างที่ 2 (A2) n = 2
แถบสว่างที่ 1 (A1) n = 1x2
d = ?
ฉากรับแสง
แถบสว่างกลาง (A0)
s1
s2
L = 2.0 m
x1 = 0.5 cm
สลิตคู่
λ = 650 nm
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 13
0.5x10-2
= (1)(650x10-9
)2.0
d
∴ d = 0.26 mm
ตอบข้อ 2.
วิธีคิด
เรื่องสมดุลของแรง และไฟฟ้าสถิต
วาดรูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับทรงกลม
เขียนสมการจากรูป
เมื่อทรงกลมอยู่ในสมดุล
แรงทางขวา= แรงทางซ้าย
F = T sin30
qE = q
∆V
d
= T sin 30
q
∆V
d
= T sin 30 ---(1)
แรงลง = แรงขึ้น
mg = T cos 30 --- (2)
(1)/(2) , q
∆V
dmg
= tan 30
d
Tsin30
Tcos30T
30°
mg
+q
+
+
+
+
+
-
-
-
-
-
F = qE
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 14
∆V =
mgd
q√3
ตอบข้อ 2. (สทศ. ตอบข้อ 1. มีใครไปโวยคนออกสอบบ้างหรือยัง...)
วิธีคิด
สมมติหลอดไฟแต่ละดวงมีความต้านทานเท่ากับR
ขณะยังไม่สับสวิตช์S กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน A B และ C , Rรวม = 3R
ได้ IA = IB = IC =
V
3R
หลังสับสวิตช์S ลง ลวด xy ซึ่งไม่มีความต้านทาน (Rxy = 0) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านลวดxy และไม่มี
กระแสไหลผ่านหลอด B กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน A , C จะมากขึ้น, Rรวม = 2R
ได้ IA = IC =
V
2R
ตอบข้อ 2.
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 15
วิธีคิด
ข้อนี้เกินหลักสูตร
ก. ผิด พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ UC เปรียบได้กับพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริงEp
ข. ถูกต้อง
ค. ผิด k เปรียบได้กับ
1
C
ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/95/index95.htm
ตอบข้อ 1.
วิธีคิด
จาก ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ λ =
h
mv
เมื่อ h , m คงตัว จะได้λ ∝
1
v
ดังนั้น
λ4
λ2
=
v2
v4
หาค่า v2 , v4 จาก Ek = - En = -
E1
n2
(แบบเรียน สสวท. หลักสูตร 2551 บทที่ 19 หน้า 126, 127 )
Ek2 = - E2 Ek4 = - E4
½ mv2
2
= -
E1
22
---(1) ½ mv4
2
= - E1
42 ---(2)
(1)/(2) ,
v2
2
v4
2 =
42
22
v2
v4
=
4
2
ดังนั้น
λ4
λ2
=
v2
v4
= 2
ตอบข้อ 2.
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 16
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีของB เท่ากับ 2 เท่าของ A
ถ้าต้องการให้จํานวนลูกเต๋าขึ้นหน้าแต้มสีของการทอดครั้งแรกเท่ากันจะต้องใช้ลูกเต๋าB จํานวน
600
2
= 300
ลูก
ตอบข้อ 2.
วิธีคิด
เริ่มจากวาดรูปตามข้อมูลที่โจทย์ให้มา พยามแปลงความหมายโจทย์ให้เป็นภาพก่อน
A จํานวน 600 ลูก
โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ
1
6
A
B จํานวน ? ลูก
โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ
2
6
B
F = ?
2 kg
4 kg
𝜇𝜇s = 0.4
𝜇𝜇k = 0.2
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 17
โจทย์ระบุหลังจากออกแรงF ผลักกล่องล่าง กล่องบนเริ่มไถลหมายความว่ายังไม่ไถลโดยกล่องทั้งสอง
เคลื่อนที่ติดไปด้วยกันด้วยความเร่งa ในทิศทางเดียวกันกับแรงF ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน และ
การที่กล่องบนเคลื่อนที่ติดไปกับกล่องล่างได้เพราะมีแรงเสียดทานระหว่างผิวกล่องทั้งสองกระทําโดยแรง
เสียดทานที่กระทํากับกล่องบนเป็นแรง(ภายนอก) จากกล่องล่างตามรูปมีทิศทางไปทางขวามือเพราะกล่อง
บนพยามไถลไปทางซ้าย แรงเสียดทานจึงมีทิศต้านการเคลื่อนที่ไปทางขวามือ และการที่กล่องบนเริ่มไถล
แสดงว่าแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเป็นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด ไม่ใช่แรงเสียดทานจลน์ซึ่งเกิดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่
ไปแล้ว
พิจารณาที่กล่องใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับกล่องทั้งสอง
เมื่อได้ความเร่งa จากการพิจารณาที่กล่องบน หาแรงF โดยการยุบมวลทั้งสองก้อนรวมกันโดยรูปที่ได้จะ
เป็นดังนี้
ตอบ F = 23.52 N
fs21 เป็นแรงเสียดทานสถิตที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่
กิริยา-ปฎิกิริยา กับ fs12 ซึ่งเป็น แรงเสียดทานสถิตที่กล่องบนกระทํากับ
กล่องล่าง ขนาด fs21 = fs12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน
N21 เป็นแรงปฎิกิริยาที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่กิริยา-
ปฎิกิริยา กับ N12 ซึ่งเป็น แรงปฎิกิริยาที่กล่องบนกระทํากับกล่องล่าง
ขนาด N21 = N12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน
fs21
m1g
N21
a
m1
m2g
N12
N2
fs12
F = ?
m2
a
F = ?
m = m1+ m2
m = 2+ 4 = 6 kg
a = 3.92 m/s2
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 18
วิธีคิด
ข้อนี้ใช้หลักกฎการอนุรักษ์พลังงานหาขนาดความเร็วที่จุดตํ่าสุดก่อน แล้วหาความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุ
จากการเคลื่อนที่แบบวงกลม ลองทําเองข้อนี้ง่ายสุดๆ ในบรรดาข้อสอบอัตนัย4 คะแนนเอาไปเลย..
ตอบ 19.60 หรือ 2g
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
หา T2 จาก P2V2 = nRT2
(2x105
)(1x10-3
) = (2/R)(R)T2
T2 = 100 K
จาก ∆Q = ∆U + ∆W
∆Q = (3
2
nR∆T) + ∆W
n = 2/Rโมล
T1 = 300 K
n = 2/Rโมล
V2 = 1x10-3
m3
P2 = 2x105
N/m2
T2 = ?
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 19
0 = (3
2
(2/R)(R)(100 – 300) + ∆W
∴ ∆W = 600.00 J
ตอบ 600.00 J
ข้อสังเกต โจทย์ข้อนี้น่าจะเปลี่ยนข้อความ ถ้าลูกสูบถูกอัด มาเป็น ถ้าลูกสูบขยายตัวเพราะอุณหภูมิของแก๊ส
ภายหลังลดลง และเกิดงานที่กระทําโดยแก๊สในกระบอกสูบ
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
หาระยะภาพ s’ จาก
1
f
=
1
s
+
1
s′
โดยที่ f = +4 , s = +2
1
4
=
1
2
+
1
s′
1
s′
=
1
4
–
1
2
1
s′
=
1−2
4
1
s′
= -
1
4
s’ = -4 cm (เป็น - เกิดภาพเสมือน หลังกระจก)
y = ?
s = 2 cm
f = 4 cm
FC
y’ = 2 cm
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 20
หาขนาดภาพ y’ จาก M =
y′
y
=
s′
s
y = y’ (
s
s′
)
y = 2 (
2
4
)
∴ y = 1.00 cm
ตอบ 1.00 cm
วิธีคิด
เรื่องไฟฟ้าและแม่เหล็ก
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับเส้นลวดและปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
สมมติออกแรง F1 กระทํากับลวดตัวนําในทิศจากซ้ายไปขวาดังรูป เมื่อเส้นลวดเคลื่อนที่ตัดผ่าน
สนามแม่เหล็กทําให้เกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําE และกระแสเหนี่ยวนําI ในเส้นลวด
เมื่อกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนํา I ไหลในเส้นลวด จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กF2 = IℓB กระทํา ซึ่งเมื่อ F1
= F2 จะทําให้เส้นลวดเคลื่อนที่แบบไม่มีความเร่ง คือความเร็วคงตัวตามที่โจทย์กําหนด
R = 2 Ω F2
I v = 3 m/s
F1 = ? 0.1 m
x B = 2 เทสลา
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 21
หาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําE จาก E = vℓB (ตรงนี้ดูเหมือนจะเกินหลักสูตรไปหน่อย..)
E = (3)(0.1)(2) = 0.6 โวลต์
จาก F2 = IℓB
F2 =
E
R
ℓB
F2 =
0.6
2
(0.1)(2) = 0.06 N
ดังนั้น F1 = F2 = 0.06 N
ตอบ 0.06N
วิธีคิด
เขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้น
C6
14
→ N7
14
+ e−1
0
+ พลังงาน
หาผลต่างมวลระหว่างนิวเคลียสผลผลิตกับนิวเคลียสตั้งต้น
เนื่องจากมวลของ e−1
0
น้อยมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส
ผลต่างมวลเท่ากับ 14.003242u - 14.003 074u = 0.000168 u
∴ พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเท่ากับ (0.000168 u)(930) = 0.16 MeV
ตอบ 0.16 MeV
แนะนําหนังสือ อ.จรัญ บุระตะ
คู่มือ เรียนรู้ด้วยตนเอง ฟิสิกส์ เล่ม1 -5 คู่มือ GAT ตอนที่ 1 ความถนัดทั่วไป

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
Jiraporn
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
เฉลย กสพท. ชีววิทยา 2559
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

Destaque

ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
Lupin F'n
 
Pat 2 ตุลา2555
Pat 2  ตุลา2555 Pat 2  ตุลา2555
Pat 2 ตุลา2555
Watcharinz
 

Destaque (14)

Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59Pat2 ต.ค. 59
Pat2 ต.ค. 59
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
ข้อสอบ PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
ข้อสอบ PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ข้อสอบ PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
ข้อสอบ PAT2 ความถนัดทางวิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 
Pat 2 ตุลา2555
Pat 2  ตุลา2555 Pat 2  ตุลา2555
Pat 2 ตุลา2555
 
Pat2 มี.ค. 57
Pat2 มี.ค. 57Pat2 มี.ค. 57
Pat2 มี.ค. 57
 
Pat2 มี.ค. 56
Pat2 มี.ค. 56Pat2 มี.ค. 56
Pat2 มี.ค. 56
 
Pat2 มี.ค. 55
Pat2 มี.ค. 55Pat2 มี.ค. 55
Pat2 มี.ค. 55
 
Pat2 เม.ย. 57
Pat2 เม.ย. 57Pat2 เม.ย. 57
Pat2 เม.ย. 57
 
Pat2 พ.ย. 57
Pat2 พ.ย. 57Pat2 พ.ย. 57
Pat2 พ.ย. 57
 

Semelhante a Pat2 ฟิสิกส์

7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
Mashmallow Korn
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
AreeyaNualjon
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
sarwsw
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
kroosarisa
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
kroosarisa
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
kroosarisa
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
krurutsamee
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University
 

Semelhante a Pat2 ฟิสิกส์ (15)

7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54Conc phy กสพท54
Conc phy กสพท54
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติบทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
Phy1
Phy1Phy1
Phy1
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 

Mais de Prang Pikawat

ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
Prang Pikawat
 
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
Prang Pikawat
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
Prang Pikawat
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
Prang Pikawat
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
Prang Pikawat
 
เฉลย O net 52 ภาษาไทย
เฉลย O net 52 ภาษาไทยเฉลย O net 52 ภาษาไทย
เฉลย O net 52 ภาษาไทย
Prang Pikawat
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
Prang Pikawat
 
เฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษ
Prang Pikawat
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
Prang Pikawat
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
Prang Pikawat
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
Prang Pikawat
 
แบบสำรวจ
แบบสำรวจแบบสำรวจ
แบบสำรวจ
Prang Pikawat
 

Mais de Prang Pikawat (13)

ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
 
เฉลย O net 52 ภาษาไทย
เฉลย O net 52 ภาษาไทยเฉลย O net 52 ภาษาไทย
เฉลย O net 52 ภาษาไทย
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทยข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
ข้อสอบ O net 52 ภาษาไทย
 
เฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 52 ภาษาอังกฤษ
 
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
ข้อสอบ O net 52 ภาษาอังกฤษ
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
แบบสำรวจ
แบบสำรวจแบบสำรวจ
แบบสำรวจ
 

Pat2 ฟิสิกส์

  • 2. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 2 วิธีคิด จากนิยามความเร่งในขณะใดขณะหนึ่งa = ∆v ∆t โดยที่ ∆v และ ∆t เป็นความเร็ว และเวลาที่เปลี่ยนไปในช่วง สั้นๆ ถ้าอัตราเร็วหรือขนาดของความเร็วกําลังเพิ่มขึ้น ขนาดความเร่งอาจจะคงที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงก็ได้ เช่นในช่วง1 วินาทีมีความเร็วเปลี่ยนเป็น 1 --> 2 --> 3--> 4 m/s ความเร่งจะคงที่เป็น1 m/s2 หรือเป็น 1 --> 2 --> 4 --> 7 m/s ความเร่งจะเพิ่มขึ้นเป็น1 --> 2--> 3 m/s2 หรือเป็น 1 --> 4 --> 6 --> 7 m/s ความเร่งจะลดลงเป็น 3 --> 2--> 1 m/s2 ตอบข้อ4. โจทย์ข้อนี้ต้องคิดให้ละเอียดนิดหนึ่ง ถ้าดูเผินๆ อาจคิดว่าตอบข้อ1 ซึ่งยังไม่ใช่คําตอบที่ถูกต้องที่สุด การ เข้าใจนิยามของอัตราเร็วและความเร่งให้ถ่องแท้รวมกับการรู้จักหาเหตุผลมารองรับคําตอบที่เลือก จึงจะทํา ให้นักเรียนได้คําตอบที่ถูกต้องและมีความมั่นใจว่าทําถูกจริงๆ การฝึกมากๆ จะทําให้นักเรียนมีทักษะในการคิด และเรียนได้อย่างสนุกอย่าเอาแต่เรียนหรือไปฟังคนอื่นพูด โดยไม่มีเวลาฝึกคิดด้วยตัวเองเพราะนอกจากจะเสียเวลาแล้วยังไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย
  • 3. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 3 วิธีคิด พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงที่กระทํากับวัตถุ(ถุงทราย) จากกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน ∑ F = ma จากรูป จะได้ F – fk = m(0) ∴ F = fk ข้อ 1. ผิด เพราะ∑ F = ma = 0 N ข้อ 2. ถูกต้อง fk = F = 2 N ข้อ 3. ผิด ข้อ 4. ผิดเพราะ F – fk = 0 ตอบข้อ2. ข้อนี้มีแรงเนื่องจากนํ้าหนักถุงทราย mg และแรง ปฏิกิริยาของพื้น N กระทํากับถุงทรายด้วย แต่แรงทั้ง สองไม่มีผลต่อการวิเคราะห์โจทย์ จึงไม่ต้องนํามาคิด= 2 N v คงตัว ∴ a = 0 fk
  • 4. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 4 วิธีคิด ลูกขนไก่ที่มีมวลเท่ากับวัตถุทรงกลม ลูกขนไก่จะมีปริมาตรมากกว่า วัตถุทรงกลม และลูกขนไก่มีรูปทรงแตกต่างกันวัตถุทรงกลมมีความหนาแน่นมากกว่าลูกขนไก่ ผลของแรง ต้านอากาศมีไม่มากนักวัตถุทรงกลมจึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ส่วนลูกขนไก่มีความ หนาแน่นน้อยผลของแรงต้านอากาศมีมากลูกขนไก่จึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่ไม่เป็นแบบโพรเจกไทล์และ เคลื่อนที่ไปได้ความสูงและระยะทางตามแนวระดับน้อยกว่าวัตถุทรงกลม ตอบข้อ 4. วัตถุทรงกลม ลูกขนไก่
  • 5. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 5 วิธีคิด ให้แนวแกนขนานลงมาตามพื้นเอียงเป็นแกนy ข้อ ก. A ถึงพื้นก่อน B เพราะ (uAy = uA ) > uBy = 0 ข้อ ข. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันพราะ uAy = uBy = 0 ข้อ ค. B ถึงพื้นก่อน A เพราะuAy = 0 , uBy = uB sinθ > uAy ข้อ ง. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันเมื่อ uA = uB และ θ = 90° ตอบข้อ 4. x y
  • 6. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 6 วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ จาก F = ma ถ้า F ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น a ลดลงสมํ่าเสมอ (m คงเดิม) จาก a = ∆v t ถ้า a ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น ∆v t ลดลงสมํ่าเสมอ พิจารณา ∆v t ลดลงสมํ่าเสมอ ถ้าให้ t = 1 ทุกๆ ช่วงที่ v เปลี่ยน ∆v ลดลงสมํ่าเสมอ เช่น ∆v เป็น 4 → 3 → 2 → 1 จะได้v ดังเช่น 2 → 6 → 9 → 11 → 12 ---(1) จาก(1) ,จะได้v2 เป็น 22 → 62 → 92 → 112 → 122 v2 เป็น 4 → 36 → 81 → 121 → 144 พลังงานจลน์ Ek = ½ mv2 เป็น ½ m(4) → ½ m(36) → ½ m(81) → ½ m(121) → ½ m(144) พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(36) - ½ m(4)) → (½ m(81) - ½ m(36)) → (½ m(121) - ½ m(81)) → (½ m(144) - ½ m(121)) พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(32)) → (½ m(45)) → (½ m(40)) → (½ m(23)) ∴ พลังงานจลน์เพิ่มขึ้นด้วยอัตราไม่สมํ่าเสมอ ตอบข้อ 2. a F m Ek = ½ mv2
  • 7. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 7 วิธีคิด ความเร็วปลายของวัตถุในของเหลว เป็นความเร็วสูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่มีขนาดคงที่ค่าหนึ่งเสมอดังนั้นไม่ว่า จะปล่อย หรือขว้างวัตถุลงมา ความเร็วปลายของวัตถุยังคงเท่ากัน ความเร็วปลายขึ้นอยู่กับค่าความหนืด หนืดมากความเร็วปลายน้อยและความหนืดขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ โดย ความหนืดจะลดลงถ้าอุณหภูมิของเหลวเพิ่มขึ้น ตอบข้อ 3. วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่แรง และปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากรูป mg ในอากาศ T1 = N1 mg FB T2 = N2 ในนํ้า 𝜌𝜌 𝜌𝜌นํ้า 𝜌𝜌 = ?𝜌𝜌นํ้า
  • 8. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 8 ในอากาศ T1 = mg = N1 ในนํ้า T2 + FB = mg N2 + FB = N1 N2 + 𝜌𝜌นํ้าVจมg = N1 (FB = นํ้าหนักนํ้าที่มีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จม= mนํ้าg = 𝜌𝜌นํ้าVจมg) N2 + 𝜌𝜌นํ้า m ρ g = N1 N2 + 𝜌𝜌นํ้า N1 ρ = N1 (mg = N1) 𝜌𝜌นํ้า N1 ρ = N1 – N2 ρ = ( N1 N1− N2 ) 𝜌𝜌นํ้า ตอบข้อ 1. วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากนักเรียนไปกระทบหน้าผาจะใช้เวลาครึ่งหนึ่งของเวลาทั้งหมดจนได้รับเสียงสะท้อน หาอัตราเร็วเสียงจาก v = s t (เสียงเคลื่อนที่แนวตรงด้วยอัตราเร็วคงตัว) v = 102 0.3 (t = 0.6 2 = 0.3 s) v = 340 m/s หาความถี่เสียง f จาก v = f λ λ = 0.5 m f = ? tทั้งหมด = 0.6 s s = 102 m
  • 9. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 9 340 = f(0.5) ∴ f = 680 Hz ตอบข้อ 4. วิธีคิด ข้อนี้ใช้กฎของเทอร์ริเซลลี และหลักของโพรเจกไทล์รวมกัน คล้ายกับแนวข้อสอบข้อ85 ตค.52 ในหนังสือ ฟิสิกส์ PAT2ของครู พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป วิธีพิจารณานํ้าพุ่งไปไกล ใช้หลักโพรเจกไทล์ว่าsx = ux t จากสูตรจะเห็นว่าถ้าความเร็วต้นของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux มีค่ามาก ค่าsx ก็น่าจะมากตาม แต่ยังมี t อีกตัวที่มีผลต่อsx ด้วย ค่า ux จะมากเมื่อรูเจาะอยู่ตํ่าใกล้ๆ ก้นภาชนะ ส่วนค่าt จะมากเมื่อรูเจาะอยู่สูงกว่าก้นภาชนะมากๆ แล้วมัน ควรจะอยู่ตรงไหนดีหละนํ้าจึงจะพุ่งไปไกลสุด????.. h2 h1 ux sx
  • 10. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 10 เมี่อวาดรูปดู ให้ h1 เป็นความสูงจากผิวนํ้าถึงรูเจาะ และh2 เป็นความสูงจากรูเจาะถึงก้นภาชนะ โดยที่ h1+ h2 = H เราสามารถหาความเร็วของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux จากกฏของเทอร์ริเซลลี ได้ux = �2gh1 และหาเวลา t จากหลักของโพรเจกไทล์h2 = 0 + ½ gt2 ได้ t = � 2h2 g ดังนั้น sx = ux t = �2gh1 � 2h2 g sx = 2 �h1h2 จากสมการนี้จะเห็นว่าsx ขึ้นอยู่กับค่าh1 คูณกับh2 ลองแทนค่าในคําตอบที่โจทย์ให้มา โดยที่ h1+ h2 = H ข้อ 1. h1h2 = (7/8)H (1/8)H = (7/64)H2 ข้อ 2. h1h2 = (3/4)H (1/4)H = (3/16)H2 ข้อ 3. h1h2 = (1/2)H (1/2)H = (1/4)H2 มีค่ามากที่สุด เป็นคําตอบที่ถูกต้อง ตอบข้อ 3. วิธีคิด พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากกฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ พลังงานความร้อนที่ให้กับระบบมีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในที่เพิ่มขึ้น กับงานที่ทําโดยระบบ หรือ ∆Q = ∆U + ∆W ∆Q = (3 2 NKB∆T) + ∆W ---(1) จาก (1) ถ้า ∆T = 0แล้ว ∆Q = ∆W ตอบข้อ 3. ∆Q
  • 11. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 11 วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากสมการการหาตําแหน่งแถบมืดของสลิตเดี่ยว a x L = nλ เมื่อ a , L , n คงเดิม ดังนั้น x ∝ λ เนื่องจากอัตราเร็วแสงในนํ้าน้อยกว่าในอากาศ ดังนั้น ความยาวคลื่นแสงในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศด้วย ดังนั้น ระยะx ในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศ ตอบข้อ 3. แถบมืดที่ 1 (N1) a λ ฉากรับแสง แถบสว่างกลาง(A0) แถบมืดที่ 1 (N1) L x
  • 12. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 12 วิธีคิด พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากสมการการแทรกสอดแบบเสริมของสลิตคู่ d x L = nλ แทนค่าn = 1 จะได้ x1 = (1)λ L d 4 cm/8 = 0.5 cm แถบสว่างที่ 2 (A2) n = 2 แถบสว่างที่ 1 (A1) n = 1x2 d = ? ฉากรับแสง แถบสว่างกลาง (A0) s1 s2 L = 2.0 m x1 = 0.5 cm สลิตคู่ λ = 650 nm
  • 13. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 13 0.5x10-2 = (1)(650x10-9 )2.0 d ∴ d = 0.26 mm ตอบข้อ 2. วิธีคิด เรื่องสมดุลของแรง และไฟฟ้าสถิต วาดรูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับทรงกลม เขียนสมการจากรูป เมื่อทรงกลมอยู่ในสมดุล แรงทางขวา= แรงทางซ้าย F = T sin30 qE = q ∆V d = T sin 30 q ∆V d = T sin 30 ---(1) แรงลง = แรงขึ้น mg = T cos 30 --- (2) (1)/(2) , q ∆V dmg = tan 30 d Tsin30 Tcos30T 30° mg +q + + + + + - - - - - F = qE
  • 14. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 14 ∆V = mgd q√3 ตอบข้อ 2. (สทศ. ตอบข้อ 1. มีใครไปโวยคนออกสอบบ้างหรือยัง...) วิธีคิด สมมติหลอดไฟแต่ละดวงมีความต้านทานเท่ากับR ขณะยังไม่สับสวิตช์S กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน A B และ C , Rรวม = 3R ได้ IA = IB = IC = V 3R หลังสับสวิตช์S ลง ลวด xy ซึ่งไม่มีความต้านทาน (Rxy = 0) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านลวดxy และไม่มี กระแสไหลผ่านหลอด B กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน A , C จะมากขึ้น, Rรวม = 2R ได้ IA = IC = V 2R ตอบข้อ 2.
  • 15. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 15 วิธีคิด ข้อนี้เกินหลักสูตร ก. ผิด พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ UC เปรียบได้กับพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริงEp ข. ถูกต้อง ค. ผิด k เปรียบได้กับ 1 C ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/95/index95.htm ตอบข้อ 1. วิธีคิด จาก ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ λ = h mv เมื่อ h , m คงตัว จะได้λ ∝ 1 v ดังนั้น λ4 λ2 = v2 v4 หาค่า v2 , v4 จาก Ek = - En = - E1 n2 (แบบเรียน สสวท. หลักสูตร 2551 บทที่ 19 หน้า 126, 127 ) Ek2 = - E2 Ek4 = - E4 ½ mv2 2 = - E1 22 ---(1) ½ mv4 2 = - E1 42 ---(2) (1)/(2) , v2 2 v4 2 = 42 22 v2 v4 = 4 2 ดังนั้น λ4 λ2 = v2 v4 = 2 ตอบข้อ 2.
  • 16. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 16 วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีของB เท่ากับ 2 เท่าของ A ถ้าต้องการให้จํานวนลูกเต๋าขึ้นหน้าแต้มสีของการทอดครั้งแรกเท่ากันจะต้องใช้ลูกเต๋าB จํานวน 600 2 = 300 ลูก ตอบข้อ 2. วิธีคิด เริ่มจากวาดรูปตามข้อมูลที่โจทย์ให้มา พยามแปลงความหมายโจทย์ให้เป็นภาพก่อน A จํานวน 600 ลูก โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ 1 6 A B จํานวน ? ลูก โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ 2 6 B F = ? 2 kg 4 kg 𝜇𝜇s = 0.4 𝜇𝜇k = 0.2
  • 17. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 17 โจทย์ระบุหลังจากออกแรงF ผลักกล่องล่าง กล่องบนเริ่มไถลหมายความว่ายังไม่ไถลโดยกล่องทั้งสอง เคลื่อนที่ติดไปด้วยกันด้วยความเร่งa ในทิศทางเดียวกันกับแรงF ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน และ การที่กล่องบนเคลื่อนที่ติดไปกับกล่องล่างได้เพราะมีแรงเสียดทานระหว่างผิวกล่องทั้งสองกระทําโดยแรง เสียดทานที่กระทํากับกล่องบนเป็นแรง(ภายนอก) จากกล่องล่างตามรูปมีทิศทางไปทางขวามือเพราะกล่อง บนพยามไถลไปทางซ้าย แรงเสียดทานจึงมีทิศต้านการเคลื่อนที่ไปทางขวามือ และการที่กล่องบนเริ่มไถล แสดงว่าแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเป็นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด ไม่ใช่แรงเสียดทานจลน์ซึ่งเกิดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ ไปแล้ว พิจารณาที่กล่องใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับกล่องทั้งสอง เมื่อได้ความเร่งa จากการพิจารณาที่กล่องบน หาแรงF โดยการยุบมวลทั้งสองก้อนรวมกันโดยรูปที่ได้จะ เป็นดังนี้ ตอบ F = 23.52 N fs21 เป็นแรงเสียดทานสถิตที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่ กิริยา-ปฎิกิริยา กับ fs12 ซึ่งเป็น แรงเสียดทานสถิตที่กล่องบนกระทํากับ กล่องล่าง ขนาด fs21 = fs12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน N21 เป็นแรงปฎิกิริยาที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่กิริยา- ปฎิกิริยา กับ N12 ซึ่งเป็น แรงปฎิกิริยาที่กล่องบนกระทํากับกล่องล่าง ขนาด N21 = N12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน fs21 m1g N21 a m1 m2g N12 N2 fs12 F = ? m2 a F = ? m = m1+ m2 m = 2+ 4 = 6 kg a = 3.92 m/s2
  • 18. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 18 วิธีคิด ข้อนี้ใช้หลักกฎการอนุรักษ์พลังงานหาขนาดความเร็วที่จุดตํ่าสุดก่อน แล้วหาความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุ จากการเคลื่อนที่แบบวงกลม ลองทําเองข้อนี้ง่ายสุดๆ ในบรรดาข้อสอบอัตนัย4 คะแนนเอาไปเลย.. ตอบ 19.60 หรือ 2g วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป หา T2 จาก P2V2 = nRT2 (2x105 )(1x10-3 ) = (2/R)(R)T2 T2 = 100 K จาก ∆Q = ∆U + ∆W ∆Q = (3 2 nR∆T) + ∆W n = 2/Rโมล T1 = 300 K n = 2/Rโมล V2 = 1x10-3 m3 P2 = 2x105 N/m2 T2 = ?
  • 19. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 19 0 = (3 2 (2/R)(R)(100 – 300) + ∆W ∴ ∆W = 600.00 J ตอบ 600.00 J ข้อสังเกต โจทย์ข้อนี้น่าจะเปลี่ยนข้อความ ถ้าลูกสูบถูกอัด มาเป็น ถ้าลูกสูบขยายตัวเพราะอุณหภูมิของแก๊ส ภายหลังลดลง และเกิดงานที่กระทําโดยแก๊สในกระบอกสูบ วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป หาระยะภาพ s’ จาก 1 f = 1 s + 1 s′ โดยที่ f = +4 , s = +2 1 4 = 1 2 + 1 s′ 1 s′ = 1 4 – 1 2 1 s′ = 1−2 4 1 s′ = - 1 4 s’ = -4 cm (เป็น - เกิดภาพเสมือน หลังกระจก) y = ? s = 2 cm f = 4 cm FC y’ = 2 cm
  • 20. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 20 หาขนาดภาพ y’ จาก M = y′ y = s′ s y = y’ ( s s′ ) y = 2 ( 2 4 ) ∴ y = 1.00 cm ตอบ 1.00 cm วิธีคิด เรื่องไฟฟ้าและแม่เหล็ก พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับเส้นลวดและปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป สมมติออกแรง F1 กระทํากับลวดตัวนําในทิศจากซ้ายไปขวาดังรูป เมื่อเส้นลวดเคลื่อนที่ตัดผ่าน สนามแม่เหล็กทําให้เกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําE และกระแสเหนี่ยวนําI ในเส้นลวด เมื่อกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนํา I ไหลในเส้นลวด จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กF2 = IℓB กระทํา ซึ่งเมื่อ F1 = F2 จะทําให้เส้นลวดเคลื่อนที่แบบไม่มีความเร่ง คือความเร็วคงตัวตามที่โจทย์กําหนด R = 2 Ω F2 I v = 3 m/s F1 = ? 0.1 m x B = 2 เทสลา
  • 21. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 21 หาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําE จาก E = vℓB (ตรงนี้ดูเหมือนจะเกินหลักสูตรไปหน่อย..) E = (3)(0.1)(2) = 0.6 โวลต์ จาก F2 = IℓB F2 = E R ℓB F2 = 0.6 2 (0.1)(2) = 0.06 N ดังนั้น F1 = F2 = 0.06 N ตอบ 0.06N วิธีคิด เขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้น C6 14 → N7 14 + e−1 0 + พลังงาน หาผลต่างมวลระหว่างนิวเคลียสผลผลิตกับนิวเคลียสตั้งต้น เนื่องจากมวลของ e−1 0 น้อยมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส ผลต่างมวลเท่ากับ 14.003242u - 14.003 074u = 0.000168 u ∴ พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเท่ากับ (0.000168 u)(930) = 0.16 MeV ตอบ 0.16 MeV แนะนําหนังสือ อ.จรัญ บุระตะ คู่มือ เรียนรู้ด้วยตนเอง ฟิสิกส์ เล่ม1 -5 คู่มือ GAT ตอนที่ 1 ความถนัดทั่วไป