SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 98
Baixar para ler offline
“Smart Farm-Smart Family
เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี”
พิสุทธิ์ ไพบูลย์รัตน์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
Changing World
โลกที่ไม่เหมือนเดิม
ประชากรโลกจะเพิ่มเป็นประมาณ 9,191 ล ้านคน in 2025 (UN)
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อภาคเกษตร
ศัตรูพืชชนิดใหม่
น้าที่หายากและมีค่ามากขึ้น และนามาซึ่งความขัดแย ้ง
ความต ้องการอาหารของประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น
เกิดความร่วมมือกันมากขึ้นในด ้านคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร
พื้นที่เพื่อการเกษตรลดลง
ความสมดุลของความต ้องการพืชเพื่ออาหารและพลังงาน
ปัญหาสังคมผู้สูงอายุกับภาคเกษตร
The World Competitiveness Ranking
Source: World Economic Forum 2014
31from 150
The Global Competitiveness index
No. 3 in AEC
ranking
Singapore2
Malaysia 20
Thailand 31
Indonesia 34
Philippines52
Vietnam 68
Laos PDR 93
Cambodia95
Myanmar 134
Some AEC related facts?
Asian Economic Community, by December 2015
Quality of Life
คุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผู้บริโภค
42 from 120 Quality-of-Life index
Source: The Economist, 2005
Look Back!
เราพร ้อมหรือยัง
• Aging society สังคมผู้สูงอายุ
• Lack of skill farm labors ขาดแรงงานที่มีความ
ชานาญ
• Labors shortage ขาดแคลนแรงงานภาคเกษตร
• Young generation is out of farm คนหนุ่มสาวไม่
อยากประกอบอาชีพเกษตร
• Cost of production ต ้นทุนการผลิตสูง
• Non-tariff barriers กฏ กติกาสากลที่เป็นข ้อจากัด
• Globalization markets ตลาดที่เปิดเป็นทั้งวิกฤต
และโอกาส
New Approach?
วิถีใหม่ของการเรียนรู้ เพื่อคุณภาพชีวิตของตน
Who are identified as the farmers?
Technological approach depends on target groups
Smart OfficersSmart Farmers
Smart Farm
Appropriated
Technologies
For 3 Smart
farmers
Volunteer
farmers
New farmers
generation
Farm Technical
students
Investors
Better Quality of Life
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของเกษตรกรและผู้บริโภค Vision
Mission
Values
ICT in Value Chain Management
การจัดการการผลิตและคุณภาพในห่วงโซ่การผลิต
Information as a Services
การบริการข้อมูลเพื่อการจัดการทรัพยากร
การผลิต
Knowledge as a Services-Smart Farmers
การบริการความรู้เพื่อการเตรียมพร้อมกับการ
เปลี่ยนแปลง
Location Based Services-Smart Farm
การบริการการจัดการเฉพาะพื้นที่
Risk reduction under Climate Variability
การจัดการลดความเสี่ยง
Knowledge Engineering
การจัดการความรู ้และการเข ้าถึง
Smart Farmers & Smart Farming
Services Innovation in Agriculture
นวัตกรรมบริการทางการเกษตร
NECTEC Smart Farm Flagship Initiative
Smart Farm Framework
Policies + vision + implementation
Technologies for Smart Farm
ICDT + Agriculturists + Human Sensing
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์
เข ้าไปสู่ระบบจัดการการเกษตร
การจัดการข้อมูลและความรู้
การผลิต คุณภาพ
มาตรฐานการผลิต
และสินค้า
การลด
ความเสี่ยง
การจัดการ
ความรู้
Reduce cost of
production and raising quality of life
by appropriated
information & communication
technology for farm management
Farm data management,
Information Technology for
GAP Assessment,
Ubiquitous Sensors Networks
การบูรณาการ
เทคโนโลยีเพื่อการ
ผลิตทาง
การเกษตร
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Field server
Sensors network
Mobile application
Voice recognition
Ontology
Knowledge Engineering
Big Data management
UAV
Photonic
Image Processing,
DSS
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอิเล็กทรอนิกส์
เข ้าไปสู่ระบบจัดการการเกษตร
Smart Farm-Precision
farming
การทาการเกษตรที่อาศัยข้อมูล
และเทคโนโลยี
Brand & Trust for Thai Agricultural
Products, Information Integration
between G2G, and G2C, Boosting
GAP Certification Farms
Mobile GAP Assessment
System,
IT Package for Traceability
System,
การบูรณาการ
เทคโนโลยีเพื่อการ
จัดการมาตรฐานการ
ผลิตและมาตรฐาน
สินค้า
Mobile application,
Sensors for quality control,
E-Nose,
RFID,
QR code,
Moisture measurement sensors,
Image processing,
Photonic,
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอิเล็กทรอนิกส์
เข ้าไปสู่ระบบจัดการการเกษตร
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Longan Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Food Safety
ความปลอดภัยในการบริโภค
สินค้ามีคุณภาพ มาตรฐาน
Reduce production lost from
natural disaster and pests
Pest tracking & warning system,
Agriculture weather forecasting,
Mitigation procedure for
seasoning
Shift,
,
การบูรณาการ
เทคโนโลยีเพื่อจัดการ
ลดความเสี่ยงของภาค
เกษตรจากภัย
ธรรมชาติและการ
ระบาดของโรคแมลง
Telemetering system,
Simulation model,
DSS,
Sensors network,
GIS/RS,
Water management system
UAV
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอิเล็กทรอนิกส์
เข ้าไปสู่ระบบจัดการการเกษตร
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Longan Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Food Security
เทคโนโลยีที่ช่วยเตือนภัย ลด
ความสูญเสีย และสร้างความ
มั่นคงทางอาหาร
New generation of farmers,
Increasing number of knowledge
Workers, and facilitators
Agriculture advisory,
Knowledge services,
Village that Learn,
การจัดการข้อมูลและ
ความรู้เพื่อพัฒนา
เกษตรกรและ
เจ้าหน้าที่
Telemetering system,
Simulation model,
DSS,
Sensors network,
GIS/RS,
Water management system,
Knowledge engineering,
Ontology,
Speech recognition,
เทคโนโลยีด้าน
การจัดการความรู้
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Longan Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Smart Farmers/Officers
การพัฒนาเกษตรกรในการทา
การเกษตรด้วยข้อมูล
Smart Farm in Food Supply Chain
รู้เรา...
เก็บข ้อมูลอย่างเป็นระบบ
วางแผนและจัดการจากข ้อมูล
เชื่อมโยงและแบ่งปัน
UAV
การใช้เครื่องบินไร้คนขับขนาดเล็ก ในการถ่ายภาพพื้นที่ เพื่อ
นามาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่
ตัวอย่างภาพถ่ายแบบ RGB และ NIR
ตัวอย่างภาพจากพื้นที่ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ ้านห ้วยขมิ้น
อ.หนองแค จ.สระบุรี
จากภาพถ่ายนามาลงข ้อมูลในพื้นที่ เช่น ข ้อมูลเจ ้าของนา ข ้อมูล
ดิน ข ้อมูลการจัดการนาในแต่สมาชิก
Low HighSpatial Resolution
การวัดค่าความหนาแน่นของใบพืช
ด้วยเครื่องมือวัด (LAI Measurement )
การวัดค่าความหนาแน่นของต้นพืช
ด้วยการตรวจนับ โดยเกษตกร(Rice density measurement by farmers)
แสดงข้อมูลแปลงส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิตข้าว (Agriculture information in field)
การมีส่วนร่วมของเกษตรกรและนักวิจัย
(Participation & Collaboration)
การเก็บข ้อมูลภาคสนามจากอุปกรณ์ สถานีอัตโนมัติ และ
การช่วยให ้ข ้อมูลของสมาชิก
UAV, multi-spectrum camera, GPS, automatic fertilizer
releasing
Commercial Variable Application/Yield Mapping Systems
SST SoftwareZUKOSHA
Fertilizer/Chemical Spraying
Business
รู้สภาพอากาศ(เฉพาะถิ่น)...รู้การเปลี่ยนแปลง
ด ้วยระบบการตรวจวัดข ้อมูลขนาดเล็ก
นาไปสู่การเฝ้าระวัง และการปรับการผลิตให ้เข ้ากับสภาพแวดล ้อมที่เปลี่ยนแปลง
Climate variability- effect of temperature to rice yield
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
Phenomics Study
Effect of micro-climate to longan flowering and fruit setting
การศึกษาการตอบสนองของพืชต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉพาะถิ่น
understanding
Phenotyping that interact with micro-climate
ทาความเข ้าใจกับปัญหาเพื่อหาทางลดความเสียหาย
ข ้อมูลจากสถานีตรวจอากาศขนาดเล็ก เพื่อให ้ทราบการเปลี่ยนแปลงของ
สภาพอากาศ ที่เป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อนาไปสู่การเตรียมรับมือกับสิ่งที่
เกิดขึ้นด ้วยการจัดการ
<ชื่อวาระ>
เว็บแสดงผล http://agritronics.nstda.or.th
ภาพอนาคต ที่จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ เก็บข้อมูลภาคสนามมากขึ้น และ
การประมวลผลข้อมูลที่กลับมาเป็ นการบริการผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่
ข ้อมูลนาไปสู่การจัดการผลผลิตที่ดีขึ้น
และลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล ้อม
การตรวจสอบมาตรฐานการผลิต
คุณภาพและความเชื่อมั่น
ความปลอดภัยของผู้บริโภคและผู้ผลิต
รายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของเกษตรกร
Quality Assessment
with sensors, photonic, image processing and mobile application
ระบบตรวจสอบคุณภาพผลผลิต
Quality Assessment
Image processing for oil palm ripening
ระบบตรวจสอบเปอร์เซนต์ความสุกของผลปาล์ม
Bunch Analysis
Using photonics to identify oil contents
ระบบตรวจสอบปริมาณน้ามันในผลปาล์ม
Silk Quality Assessment
ระบบตรวจสอบคุณภาพเส ้นไหม
Silk worm's egg counter
ระบบตรวจสอบมาตรฐานการผลิตข้าว
Mobile GAP Assessment System
Farm boundary identification
ความร่วมมือกับกรมการข้าว
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มทร.ล้านนา
และชุมชนบ้านสามขา
เทคโนโลยีด้านเมล็ดพันธุ์และการผลิต
<ชื่อวาระ>
เครื่องตรวจขนาดเมล็ดข้าว
 วัดความความ ความยาว และ ความหนา ได้พร้อมกัน
 วิเคราะห์ระดับสีของข้าวสาร
 วิเคราห์ระดับท้องไข่ของข้าวสาร
<ชื่อวาระ>
เครื่องตรวจเมล็ดข้าวแดงและข้าวเหนียวที่ปนมากับข้าวเจ้า
อุปกรณ์ตรวจสอบเมล็ดข ้าวปน (ข ้าวแดง ข ้าวท ้องไข่)
Weevil (Sitophilus oryzae) eradication machine
by microwave energy
เครื่องฆ่ามอดด ้วยไมโครเวฟ
อุปกรณ์ที่ใช ้ตรวจสอบความชื้นของข ้าวเปลือก
ระบบติดตามการเจริญของต้นข้าว
ในระนาบสามมิติ
• ลักษณะทางกายภาพของทรงพุ่มของต้นข้าวในสามมิติที่ให้
ความละเอียดในการวัด 110 ไมโครเมตร และ ความถูกต้อง
50 ไมโครเมตร (วัดที่ระยะ 1-1.5 เมตร จากต้น)
• ข้อมูลพื้นที่ใบ, ขนาดของกิ่งก้าน, ความสูง, ความยาวของ
ลาปล้อง และ ระดับสีใบ
• ระบบบันทึกและอ่านข้อมูลแบบอัตโนมัติด้วย RFID
Pest monitoring and warning
Image processing, mobile application, mathematical model
ระบบการเฝ้าระวังและเตือนภัยศัตรูพืช
ระบบการเฝ้ าระวังและเตือนภัยศัรูพืช
<ชื่อวาระ>
ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์การแพร่
ระบาด ของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล
Insect Shot :
โปรแกรมช่วยถ่ายภาพแมลงที่
มีขนาดเล็ก
Insect Server:
โปรแกรมช่วยส่งภาพถ่ายไปยัง
เครื่องแม่ข่าย
ปีที่1 พัฒนา Web Application และอบรม
การใช้
ปีที่ 2 เก็บข้อมูลภาพจากเว็บที่แต่ละศูนย์ข้าวส่ง
1. ข้อมูลภาพและจานวน
เพลี้ยจากเว็บนามาเป็นข้อมูล
สอนให้ระบบคอมพิวเตอร์
2. พัฒนาโมเดลการรู้จา
เพลี้ย ให้ได้โปรแกรมการตรวจ
นับเพลี้ยที่มีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น
ปีที่ 2 สร้างศาลาเก็บข้อมูลเพลี้ยจากเครื่องกับดัก
และพัฒนา Mobil Application
52/25
<ชื่อวาระ>
การสร้างแบบจาลองการเคลื่อนย้ายประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลจากข้อมูลการ
ระบาด
1. สร้างแบบจาลองการเคลื่อนย้ายประชากร
เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลจากข้อมูลรายงาน
การระบาดย้อนหลังรายสัปดาห์ด้วยการ
สร้าง decision rules บน
เส้นทางการอพยพแบบ Delaunay
Edge ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดจะได้
ความถูกต้องประมาณ 85%
2. ในอนาคต การเพิ่มประสิทธิภาพความ
ถูกต้องของแบบจาลอง อาจเพิ่มเติมพันธุ์
ข้าว อายุและจานวนเพลี้ยฯ ข้อมูลศัตรู
ธรรมชาติ เป็นต้น
3. ต้องมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลการระบาดราย
สัปดาห์เข้ากับระบบพยากรณ์การอพยพนี้
เพื่อสามารถทานายการอพยพได้อัตโนมัติ
53/25
การนับเพลี้ยด้วย
Mobile Phone
ระบบฐานข้อมูล
สนับสนุนการ
วิเคราะห์การระบาด
แบบจาลองการ
อพยพเพลี้ยฯ
(Refined)
ระบบรายงาน
สถานการณ์
การระบาด
ระบบพยากรณ์
การอพยพ
ระบบสารสนเทศ
การเตือนภัยการระบาด
ศัตรูข้าว
Soil testing – Tailor made fertilizer
Image processing, mobile application for fertilizer calculation
การตรวจสอบคุณสมบัติดินและธาตุอาหารเพื่อเตรียมความพร ้อมสาหรับการผลิต
<ชื่อวาระ>
1. การคานวณสัดส่วนแม่ปุ๋ ย (Calculation):- คานวณสัดส่วนโดยน้าหนักของแม่ปุ๋ ยในการผสมปุ๋ ยเคมีขนาด
หน่วย (กระสอบ) ละ 50 กิโลกรัม ตามสูตรปุ๋ ยที่ผู้ใช้ระบุ โดยแสดงผลลัพธ์เป็นน้าหนักของแม่ปุ๋ ยจานวน 3 ตัว (Urea,
DAP และ MOP) และสารตัวเติม (Filler) (ในกรณีที่ต้องการใช้)
2. การตรวจสอบสูตรจากสัดส่วนแม่ปุ๋ ย (Verification):- คานวณสัดส่วนน้าหนักของแม่ปุ๋ ยว่าประกอบกัน
แล้วเป็นปุ๋ ยผสมสูตรอะไร และเทียบกับมาตรฐานอุตสาหกรรมปุ๋ ยว่าผ่านตามมาตรฐานที่กาหนดของปุ๋ ยสูตรที่ระบุ
หรือไม่
3. ข้อแนะนาการให้ปุ๋ ยจากฐานข้อมูล (Database):- ข้อมูลค่าธาตุอาหารที่เหมาะสมของพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ
โดยข้อมูลจะดึงมาจากฐานข้อมูลบนเครื่องแม่ข่ายซึ่งจะได้รวบรวมข้อมูลมาจากข้อแนะนาของหน่วยงานภาครัฐ
55/25
Mobile Application (Android) เพื่อช่วยคานวณการผสมปุ๋ ยเคมีจากแม
<ชื่อวาระ>
แอพ “ใบข้าว” สำหรับประเมินควำมต้องกำรธำตุอำหำรไนโตรเจนของพืช
ระยะแตกกอ
Color level < 3: Urea fertilizer 12 kg./r
Color level = 3: Urea fertilizer 8.5 kg.
Color level > 3: Urea fertilizer 5 kg./
ระยะสร้างรวงอ่อน
Color level < 3: Urea fertilizer 16 kg./r
Color level = 3: Urea fertilizer 12.5 kg./
Color level > 3: Urea fertilizer 9 kg./ra
• บอกระดับสีใบได้ 5 ระดับ
• ประเมินการขาดธาตุโปแตสเซียมได้
• ทางานบนระบบ Android
2.2 ขึ้นไป
คุณสมบัติเบื้องต้น
เครื่องผสมปุ๋ ยอัตโนมัติ
57
Measurement
Tank
Container
Mixing Tank
Release Valve
SMS (GSM)
for each
Primary Fertilizer
Urea
46-0-0
Weight
Sensor
Screw Conveyor
Valve
Stop
Release
Printer
Embedded
System Controller
Fertilizer Mixing Machine
Serial I/F
4
4
Release Valve
Key2
Connector Connector
D5
D6
D7
D8
D9
D10
Connector
Key1
Control Board
D
1
D
2
D
3
D
4
DAP
18-46-0
MOP
0-0-60
Filler
• เครื่องผสมปุ๋ ยเคมีแบบอัตโนมัติ กาลังการผสมประมาณ 5 ตันต่อวัน
• การทางานโดยป้อนสูตรปุ๋ ยผสมและจานวนกระสอบที่ต้องการ (สามารถรับคา
สั่งจาก SMS ได้ด้วย) เครื่องจะการคานวณและผสมปุ๋ ยจากแม่ปุ๋ ย Urea,
DAP, MOP และ Filter ให้ได้ตามสูตรและจานวนกระสอบที่ระบุ
• โครงการวิจัยร่วม ระหว่าง NECTEC (ออกแบบระบบควบคุม) และ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน (ออกแบบตัวเครื่อง) โดยมี บ.
น้าตาลบุรีรัมย์ จากัด ร่วมสนับสนุนปุ๋ ยและการทดสอบภาคสนาม
การจัดการใช ้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ
เตรียมพร ้อมกับ
Water foot print
Water harvest
Methane emission
เทคโนโลยีการปลูกแบบเปียกสลับแห ้ง
การนาไปสู่การควบคุมปริมาณน้าที่เหมาะสม
•เซนต์เซอร์วัดความชื้นดิน
• เซนต์เซอร์วัดอุณหภูมิ
• ระบบสื่อสาร
• โมเดลการขาดน้าของข ้าว
• โปรแกรมแสดงผลบนมือถือ
• solar water pump เครื่องสูบน้าพลังแสงอาทิตย์
ระบบการให ้น้าในแปลงขนาดใหญ่
Dip irrigation/fertigation for cassava
เพิ่มผลผลิตมันสาปะหลังด ้วยการให ้น้าระบบท่อ
ระบบการให ้น้าและปุ๋ ยในสวนผลไม ้
การคาดการณ์ปริมาณฝน การคานวนความต้องการน้าของพืช
Water requirement and rain fall prediction
New designed greenhouse
for vegetables and ornamental plants
การออกแบบเชิงวิศวกรรมสาหรับโรงเรือนปลูกพืชเขตร ้อน
New structure design for tropical condition
sensors and automatically control
more high quality and safety products, insect control
Future plant factory
for high value seed production
แนวคิดใหม่สาหรับการทาการเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม
การจัดการ การเรียนรู้
Human sensing – Crown Sourcing
การเตรียมพร ้อมสาหรับเกษตรกรรุ่นใหม่
การจัดการทรัพยากรการผลิต
คน
เทคโนโลยี
ความรู้
เรียนรู้
การใช ้ประโยชน์
... บนโจทย์ของชุมชนและพื้นที่
Village that Learn
Human sensing – Crown Sourcing
Learning by Doing
Location Based Services
แนวปฏิบัติ
• Co-creation ความร่วมมือ...ร่วมใจ
• Problems Based/Area Based
มองที่ปัญหาเชิงพื้นที่ร่วมกัน
• Learning by Doing เรียนรู้ด ้วยการลงมือทา
• Value Proposition
แบ่งปันประสบการณ์และผลประโยชน์
• Scalability ขยายเครือข่ายอย่างมีขอบเขต
Wheel of Knowledge
Village That Learn: the implementation of smart
technology for smart farmers
วิถีใหม่ของ แนวคิด การเรียนรู้ การจัดการ ด ้านการเกษตร
New mindset & new mind map
from problem based, finding solution
New mindset & new mind map
concept and guideline of thinking
Olean Business Institute, Boston
New learning environment
learning and practice based on technology
ลาปา
Data collection
open classroom
Learning how to utilizes data?
How to collect and use data in daily life?
คอมพิวเตอร์และฐานความรู้
ชุมชน
Learning by Doing
leading to solve community problems
New mindset & new mind map
from problem based, finding solution
New mindset & new mind map
concept and guideline of thinking
Olean Business Institute, Boston
New learning environment
learning and practice based on technology
ลาปา
Data collection
open classroom
Learning how to utilizes data?
How to collect and use data in daily life?
คอมพิวเตอร์และฐานความรู้
ชุมชน
Learning by Doing
leading to solve community problems
Knowledge Management
Agricultural Information Services
Data as a Services
Platform as a Sevices
นวัตกรรมบริการด้านการเกษตร
Agricultural Innovation Services
• การให้บริการข้อมูลเพื่อการจัดการผ่านโปรแกรมบนมือถือ
• การให้บริการเครื่องจักรกลการเกษตร
• การให้บริการข้อมูลเพื่อการเฝ้าระวัง
• การให้บริการข้อมูลทางการตลาด
• การให้บริการข้อมูลด้านการขนส่งสินค้าเกษตร
Agricultural Information Services
การเชื่อมต่อระหว่างผู้ให ้บริการและผู้รับบริการ
Conceptual Services System
Designing process 6 attributes
Interaction
Participation
Accessibility
of Services
Core services
Enabling
services
Enhancing
services
Value creation Value network
Value density
interchan
ge
Add value Realize
value
Services
Concept
Step of works
Designing process for agricultural services
co-creation
Value in context
Absorb variety
Services offering
Services design
Business canvas
Services blueprint
Physical
evident
Guiding
principle
Package
Of Offering
Innovation
Technolog
y
InputPlatform/
Knowledge
As a services
Key Success
• Co-creation
• Problem/Area Based
• Learning by Doing
• Value Proposition
• Scalability
What is an emerging technologies for
information services?
• Sensors network
• Mobile application
• Image processing and photonics
• Knowledge as a services
• Remote sensing, GIS and spatial analysis
• UAV
• Modeling
Co-creation
How to share knowledge to services experiences and skill?
Academic
Communities Private
Fertilizer
company
Fertilizer sprayers
Rice Department
NECTEC
AIT, U. of Tokyo,
Chubu U.
Network of farmers
Farmers
member
Rice Planting Machine
Agricultural Services – Platform as a Services
Tailor made fertilizer services
Understanding soil condition, right fertilizer formula, right time
Safe cost, safe time,
better quality of rice and life
การให ้บริการฝึกอบรมความสามารถเฉพาะทาง
ด ้านการจัดการการเกษตร
การให ้บริการแรงงานที่มีความสามารถสูงเฉพาะด ้าน
การสร้างเครือข่ายบันทึกและสังเคราะห์ข้อมูลระดับพื้นที่
Agricultural Information Services
New design for
smarter tropical greenhouse
New farm and orchard
management
New approaches for
Rice and field crops
production
More precisely data collecting and management
เรียนรู้ร่วมกัน....เพื่อสร ้างสังคมที่มี
คุณภาพชีวิต(และจิตใจ)ที่ดี
เกษตรกร นักวิจัย
ภาคเอกชน

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Pisuth paiboonrat
 
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)Prachyanun Nilsook
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiPisuth paiboonrat
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculturePisuth paiboonrat
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Pisuth paiboonrat
 
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)ssuser52106f
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยsomporn Isvilanonda
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)somporn Isvilanonda
 

Mais procurados (20)

Mahidol ag
Mahidol agMahidol ag
Mahidol ag
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Ku01
Ku01Ku01
Ku01
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Agriculture)
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
20100513 ku-smart farm
20100513 ku-smart farm20100513 ku-smart farm
20100513 ku-smart farm
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm20100905 wp ch3-smart farm
20100905 wp ch3-smart farm
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)
เกษตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Agriculture)
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
20120817 sf-sig-services
20120817 sf-sig-services20120817 sf-sig-services
20120817 sf-sig-services
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
 

Destaque

Nov10 intro ontology_development
Nov10 intro ontology_developmentNov10 intro ontology_development
Nov10 intro ontology_developmentDoae Initiative
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Yการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation YPrachyanun Nilsook
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศPuntika Siriammart
 
Nov10 ontology for_orchids
Nov10 ontology for_orchidsNov10 ontology for_orchids
Nov10 ontology for_orchidsDoae Initiative
 
2009 Sala Design Group Portfolio
2009 Sala Design Group Portfolio2009 Sala Design Group Portfolio
2009 Sala Design Group Portfoliosdyde
 
Case study on Resort
Case study on ResortCase study on Resort
Case study on ResortImtiaz Ahmad
 

Destaque (8)

Nov10 intro ontology_development
Nov10 intro ontology_developmentNov10 intro ontology_development
Nov10 intro ontology_development
 
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Yการจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศเพื่อการมีสุขภาพดีในยุค Generation Y
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Nov10 ontology for_orchids
Nov10 ontology for_orchidsNov10 ontology for_orchids
Nov10 ontology for_orchids
 
Semantic web and library
Semantic web and librarySemantic web and library
Semantic web and library
 
2009 Sala Design Group Portfolio
2009 Sala Design Group Portfolio2009 Sala Design Group Portfolio
2009 Sala Design Group Portfolio
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์เครือข่ายสังคมออนไลน์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
 
Case study on Resort
Case study on ResortCase study on Resort
Case study on Resort
 

Semelhante a Smart farm smart family

Semelhante a Smart farm smart family (17)

20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace
 
20120301 sf-cmm
20120301 sf-cmm20120301 sf-cmm
20120301 sf-cmm
 
Traceability platform concept
Traceability platform  conceptTraceability platform  concept
Traceability platform concept
 
Traceability platform concept
Traceability platform  conceptTraceability platform  concept
Traceability platform concept
 
Traceability platform concept
Traceability platform  conceptTraceability platform  concept
Traceability platform concept
 
Fertilizer services offering
Fertilizer services offeringFertilizer services offering
Fertilizer services offering
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
Poster e gov day
Poster e gov dayPoster e gov day
Poster e gov day
 
20120528 fertilizer services
20120528 fertilizer services20120528 fertilizer services
20120528 fertilizer services
 
Poster e-Government day(update)
Poster e-Government day(update)Poster e-Government day(update)
Poster e-Government day(update)
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
20120718 services offering
20120718 services offering20120718 services offering
20120718 services offering
 
Poster e gov day
Poster e gov dayPoster e gov day
Poster e gov day
 
Thai Arguriculture
Thai Arguriculture Thai Arguriculture
Thai Arguriculture
 
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
RUN-DC#10@NaresuanUniv20190315
 
20130109 ag services(APAN Hawaii)
20130109 ag services(APAN Hawaii)20130109 ag services(APAN Hawaii)
20130109 ag services(APAN Hawaii)
 
20121015 nectec-arda
20121015 nectec-arda20121015 nectec-arda
20121015 nectec-arda
 

Mais de Pisuth paiboonrat

Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculturePisuth paiboonrat
 
E-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiencesE-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiencesPisuth paiboonrat
 
รู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อรู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อPisuth paiboonrat
 
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้Pisuth paiboonrat
 

Mais de Pisuth paiboonrat (13)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Fao final2
Fao final2Fao final2
Fao final2
 
E-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiencesE-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiences
 
รู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อรู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อ
 
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
 
Ku 56
Ku 56Ku 56
Ku 56
 
Fertilizer Service
Fertilizer ServiceFertilizer Service
Fertilizer Service
 

Smart farm smart family