SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 70
เรียบเรียงและบรรยายโดย นายไพโรจน์ บุตรดีวงษ์ 
ปรับปรุงล่าสุด 25 พ.ย. 54
อุบัติภัยเคมีครั้งร้ายแรงที่สุดในโลก 
Bhopal Disaster 
2 Dec. 1984 
- โรงงานผลิตยาฆ่าแมลงของ 
บริษัท ยูเนียนคาร์ไบด์ ที่ 
เมืองโบปาล ประเทศอินเดีย 
เกิดอุบัติเหตุทาให้แก๊สพิษ 
เช่น “เมทิลไอโซไซยาไนด์” 
และแก๊สพิษอื่นๆ รั่วไหล 
- ส่งผลให้มี 
ผู้เสียชีวิต กว่า 5,000 คน 
บาดเจ็บ กว่า 500,000 คน 
ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 
2
อุบัติเหตุเกิดขึ้นที่ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ 
เหตุเกิดเวลา 22:00 น. ของวันที่ 24 ก.ย. 2533 
รถบรรทุกแก๊ส LPG พลิกคว่า และเกิดการติดไฟ 
มีผู้เสียชีวิต 59 ศพ บาดเจ็บ 89 คน 
ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 
3
สารเคมีคืออะไร 
สารเคมีนั้นมีกชี่นิด 
เราเรียกชื่อสารเคมีอย่างไร 
สารเคมีแต่ละชนิดแตกต่าง 
กันอย่างไร 
4
สสารและพลังงาน 
สิ่งต่างๆ รอบตัวเรามีอยู่ 2 จา พวก ได้แก่ 
1. สสาร (matter) : คือ สิ่งที่มีมวล, ต้องการที่อยู่, และสัมผัสได้ 
2. พลังงาน (energy) : คือ สิ่งที่ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 
สสาร, สาร และสารเคมี 
คา ว่า “สสาร (matter), สาร (substance), หรือ สารเคมี (chemical)” 
นั้นเป็นคา ที่มีความหมายใกล้เคียงกันขึ้นอยู่กับบริบทหรือความมุ่งเน้นในการสื่อ 
ความหมาย แต่ในชั้นนี้ให้ถือว่ามีความหมายเหมือนกัน 
5
การจาแนกประเภทของสารเคมี 
สาร 
สารเนื้อเดียว คอลลอยด์สารเนื้อผสม 
6
การจาแนกประเภทของสารเคมี 
สาร 
สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม 
สารบริสุทธ์ิสารละลาย 
ธาตุ 
สารประกอบ 
คอลลอยด์ 
โซล 
เจล 
ละอองลอย 
อิมัลชัน 
โฟม 
แขวนลอย 
แยกชั้น 
ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 
7
การเรียกชื่อและรหัสประจาตัวสารเคมี 
คาบรรยาย (เรียกชื่อ) รหัสประจาตัว 
ชื่อทางเคมี 
ชื่อทางการค้า 
ชื่อเรียกอื่นๆ 
UN ID./No. 
CAS No. 
EC No. 
EUEINECS/ELINICS No. 
8
ที่มา : MSDS-ROC-1004-00.,SCG Chemical 
ตัวอย่างการเรียกชื่อและรหัสประจาตัวสารเคมี 
9
ตัวอย่างการเรียกชื่อและรหัสประจาตัวสารเคมี 
ที่มา : MSDS Epoxidized soybean oil., Qingdao Abel Technology 
10
สมบัติของสารเคมี 
 สถานะ (State) 
 การเปลี่ยนสถานะ (Transition of state) 
 ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity) 
 ความหนาแน่นไอ (Vapor density) 
 ความดันไอ (Vapor pressure) 
 ความเป็นกรด-เบส (Acid-base) 
 สมบัติด้านอัคคีภัย (Flammability) 
 สมบัติด้านความเป็นพิษ (Toxicity) 
11
ปกติสารเคมีมีอยู่ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง (Solid) ของเหลว 
(Liquid) และก๊าซ (Gas) สถานะของสารเคมีมีผลต่อลักษณะการ 
เกิดอันตราย เช่น 
สถานะ ลักษณะของสารเคมี ลักษณะอันตราย (ต่อสุขภาพ) 
ของแข็ง (Solid) แท่ง ผลึก เม็ด เกล็ด ผง ฝุ่น สัมผัสถูกผิวหนัง ตา หายใจเข้าไป การกินเข้าไป 
ของเหลว (Liquid) ของเหลว ก๊าซเหลว สัมผัสถูก/กระเด็นใส่ผิวหนัง ตา กินเข้าไป 
ก๊าซ (Gas) ก๊าซ ไอระเหย ละออง ควัน หายใจเข้าไป สัมผัสถูกผิวหนัง ตา 
12
ของแข็ง 
(Solid) 
13
ของเหลว 
(Liquid) 
14
ก๊าซ 
(Gas) 
15
การเปลี่ยนสถานะ 
16
จุดหลอมเหลว (Melting point) คือ อุณหภูมิที่สารเริ่มเปลี่ยนสถานะจาก 
ของแข็ง (solid) ไปเป็นของเหลว (liquid) 
จุดเดือด (Boiling point) คือ อุณหภูมิที่สารเปลี่ยนสถานะจาก 
ของเหลว (liquid) ไปเป็นแก๊ส (gas) 
17
ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity) 
• คือการเปรียบเทียบปริมาณเนื้อมวลหรือน้า หนักของสารกับน้า (water) ที่ปริมาตรเท่ากัน 
• โดยกา หนดให้น้า มีค่าความถ่วงจา เพาะเท่ากับ 1 
• วัตถุที่มีความถ่วงจา เพาะมากกว่า 1 จะจมน้า 
• วัตถุที่มีความถ่วงจา เพาะน้อยกว่า 1 จะลอยขึ้นบนผิวน้า 
• วัตถุที่มีความถ่วงจา เพาะใกล้เคียงกับ 1 จะแขวนลอยอยู่ในน้า 
ความหนาแน่น (Density) 
• คือ อัตราส่วนระหว่างปริมาณเนื้อมวล (น้า หนัก) ต่อ ปริมาตรของสาร 
• สารที่มีความหนาแน่นมาก ก็จะมีค่าความถ่วงจา เพาะมากด้วย 
18
ความหนาแน่นไอ (Vapor density) 
19
ความดันไอ (Vapor pressure) 
20
สภาพกรด-เบส (Acid-Base) 
• เราสามารถจาแนกสารเคมีตามสภาพความ 
เป็นกรด-เบสได้ 3 จาพวก โดยอาศัยค่า pH 
เป็นเกณฑ์ 
• pH น้อยกว่า 7 เป็น กรด (Acid) โดยค่า pH 
ยิ่งน้อย ความเป็นกรดยิ่งมีฤทธ์ิมาก 
• pH เท่ากับ 7 เป็นกลาง (Neutral) 
• pH มากกว่า 7 เป็น เบส (Base) โดยค่า pH 
ยิ่งมาก ความเป็นเบสยิ่งมีฤทธ์ิมาก 
21
จุดวาบไฟ (Flash point) 
22
สารเคมี ประเภท 
ACETONE สารไวไฟ 
MEK สารไวไฟ 
TOLUENE สารไวไฟ 
DOP สารติดไฟได้ 
EPOXY สารติดไฟได้ 
Cd-Ba-Zn Liquid 
Stabilizer 
สารติดไฟได้ 
23
สมบัติด้านอัคคีภัยอื่นๆ 
24
Lethal Dose Fifty : LD50
Lethal Concentration Fifty : LC50 
26
สารเคมีที่มีพิษต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย 
ที่มา : คู่มือการจัดการความปลอดภัยสารเคมี 
สาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 
27
28
แหล่งข้อมูลความเป็นอันตรายของสารเคมี 
ป้ายประกาศ (Placard) 
ติดที่รถบรรทุก และถังบรรจุขนาดใหญ่ 
ฉลาก (Label) 
ติดที่บรรจุภัณฑ์ 
เอกสาร (Sheet) 
แฟ้มรวบรวมเอกสาร 
29
ระบบการจาแนกความเป็นอันตรายของสารเคมี 
ระบบ GHS 
ระบบ UN 
ระบบ NFPA 
เป็นระบบการจาแนกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมีที่เป็น 
ระบบเดียวกันทั่วโลก โดยเน้นการสื่อสารกับผู้ใช้งานผ่านฉลาก 
(Label) และเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety data 
sheet : SDS) 
เป็นระบบการจาแนกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมีโดยเน้น 
การสื่อสารในการขนส่ง โดยผ่าน ป้าย DOT placard ซึ่งมักติด 
อยู่กับรถบรรทุกวัตถุอันตราย 
เป็นระบบการจาแนกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมีโดยเน้น 
การสื่อสารกับผู้ใช้งาน โดยผ่านสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยม 4 รูป โดย 
จาแนกความอันตรายด้วยสี และตัวเลขบอกระดับความอันตราย 
(NFPA 704) 
30
การจาแนกประเภทความอันตรายของสารเคมี 
ตามระบบ GHS 
การจาแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบ 
เดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonized System of 
Classification and Labelling of Chemicals - GHS) 
แบ่งประเภทของความเป็นอันตราย ดังนี้ 
1. ความเป็นอันตรายทางกายภาพ 
แบ่งเป็น 16 กลุ่มความเป็นอันตราย 
2. ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพและ 
สิ่งแวดล้อม 
แบ่งเป็น 10 กลุ่มความเป็นอันตราย 
31
1. วัตถุระเบิด 
2. ก๊าซไวไฟ 
3. สารละลองลอยไวไฟ 
4. ก๊าซออกซิไดส์ 
5. ก๊าซภายใต้ความดัน 
6. ของเหลวไวไฟ 
7. ของแข็งไวไฟ 
8. สารเคมีที่ทา ปฏิกิริยาได้เอง 
9. ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ 
10. ของแข็งที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ 
11. สารเคมีที่เกิดความร้อนได้เอง 
12. สารเคมีที่สัมผัสน้า แล้วให้แก๊สไวไฟ 
13. ของเหลวออกซิไดส์ 
14. ของแข็งออกซิไดส์ 
15. สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ 
16. สารที่กัดกร่อนโลหะ 
32
1. ความเป็นพิษเฉียบพลัน 
2. การกัดกร่อน/ระคายเคืองต่อผิวหนัง 
3. การทาลายดวงตาอย่างรุนแรง/การระคายเคืองต่อดวงตา 
4. การทาให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง 
5. การกลายพันธ์ุของเซลล์สืบพันธ์ุ 
6. ความสามารถในการก่อมะเร็ง 
7. ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธ์ุ 
8. ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง-การได้รับสัมผัสครั้งเดียว 
9. ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง-การได้รับสัมผัสซ้า 
10. ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมทางน้า 
33
ฉลากสารเคมีตามระบบ GHS 
องค์ประกอบของฉลาก 
1. ข้อมูลผลิตภัณฑ์, ส่วนประกอบ 
2. รูปสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตราย (GHS 
pictograms) มี 9 รูป 
3. คา สัญญาณแสดงระดับความอันตราย มี 2 
คา ได้แก่ “อันตราย” และ “ระวัง” 
4. ข้อความอธิบายลักษณะความเป็นอันตราย 
เป็นข้อความสั้นๆ และกระชับ 
5. ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตรายและการ 
จัดการอื่นๆ 
6. ข้อมูลผู้ผลิต/ผู้จัดจา หน่าย 
34
ฉลากสารเคมีตามระบบ GHS 
ระวัง 
เป็นอันตรายเมื่อสูดหายใจเข้าไป 
เก็บให้พ้นมือเด็ก 
ข้อควรระวัง : 
-ให้สวมหน้ากากและถุงมือขณะฉีดพ่น 
-หากสัมผัสตาให้รีบล้างด้วยน้า สะอาดและรีบ 
ไปพบแพทย์ 
ชื่อผลิตภัณฑ์ : AAA 
ชื่อสารเคมี : 2,4-ดี ไอโซบิวทิล เอสเทอร์ 
(2,4-D isobutyl ester) 
ชื่อผู้ผลิต : บริษัท xxxx จา กัด 
99 ถนนเศรษฐกิจ 1 
อ.เมือง จ.สมุทรสาคร 
โทร xxxxxxxx 
โทรสาร xxxxxxxx 
35
ฉลากสารเคมีตามระบบ GHS 
36
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
SDS (อาจเรียกว่า MSDS) คือ เอกสารที่แสดงข้อมูลเฉพาะ 
ของสารเคมีแต่ละตัวเกี่ยวกับลักษณะอันตราย พิษ วิธีใช้ การเก็บ 
รักษา การขนส่ง การกาจัดและการจัดการอื่นๆ เพื่อให้การดาเนินการ 
เกี่ยวกับสารเคมีนั้นเป็นไปอย่างถูกต้องและปลอดภัย 
37
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
1 ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี หรือสารผสม และ 
บริษัทผู้ผลิตและ/หรือ จา หน่าย 
(Identification of the substance or mixture 
and of the supplier) 
• ตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ตามระบบ GHS (GHS product identifier) 
• การบ่งชี้ด้วยวิธีอื่น ๆ 
• ข้อแนะนาในการใช้สารเคมีและข้อห้ามต่าง ๆ ในการใช้ 
• รายละเอียดผู้จา หน่าย (ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ฯลฯ) 
• หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน 
2 ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย(Hazards 
identification) 
• การจาแนกประเภทสาร/ของผสมตามระบบ GHS และข้อมูลใน 
ระดับชาติหรือระดับภูมิภาค 
• องค์ประกอบฉลากตามระบบ GHS รวมถึงข้อความที่เป็นคา เตือน 
(precautionary statements) (สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายอาจจัดให้มี 
ในลักษณะของสัญลักษณ์ที่นามาใช้ใหม่ได้ (graphical reproduction) 
เป็นสีดาและขาวหรือชื่อสัญลักษณ์ เช่น เปลวไฟ กะโหลกและ 
กระดูกไขว้) 
• ความเป็นอันตรายอื่นที่ไม่มีผลในการจา แนกประเภท (เช่น ความ 
เป็นอันตรายจากการระเบิดของผงฝุ่น (dust explosion hazard)) หรือ 
ที่ไม่ครอบคลุมโดยระบบGHS 
38
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
3 องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม 
(Composition /information on 
ingredients) 
สาร 
• เอกลักษณ์ของสารเคมี 
• ชื่อทั่วไป ชื่อพ้อง ฯลฯ 
• หมายเลข CAS, หมายเลข EC ฯลฯ 
• สิ่งเจือปนและการทาสารปรุงแต่งให้เสถียร (Impurities and 
stabilizing additives) ที่ตัวเองต้องผ่านการจาแนกประเภทและที่มี 
ส่วนในการจา แนกประเภทสาร 
ของผสม 
• เอกลักษณ์ของสารเคมีและค่าความเข้มข้นหรืออัตราความเข้มข้น 
ของส่วนประกอบที่เป็นอันตรายภายใต้ความหมายของ GHS และ 
แสดงค่าสูงกว่าระดับของจุดตัด 
หมายเหตุ: สาหรับข้อมูลส่วนประกอบ พนักงานเจ้าหน้าที่ออกกฎ 
สาหรับ CBI ให้มีความสาคัญเหนือกว่ากฎสาหรับการบ่งชี้ผลิลิัภั์ 
39
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
4 มาตรการปฐมพยาบาล (First-aid measures) • บรรยายถึงมาตรการที่จา เป็น โดยแยกย่อยออกเป็นข้อ ๆ ตาม 
เส้นทางการรับสัมผัสสาร เช่น การสูดดม การสัมผัสทางดวงตาหรือ 
ทางผิวหนังและการกลืนกิน 
• อาการ/ผลกระทบที่สาคัญ ๆ การเกิดผลเฉียบพลันหรือมีการหน่วง 
เวลาการเกิด 
• การระบุเกี่ยวกับข้อควรพิจารณาทางการแพทย์ในทันทีทันใดและ 
การบา บัดพิเศษที่ต้องดา เนินการ ถ้าจา เป็น 
5 มาตรการผจญเพลิง (Fire-fighting 
measures) 
• สารดับเพลิงที่เหมาะสม (และไม่เหมาะสม) 
• ความเป็นอันตรายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมี (เช่น ลักษณะของ 
ผลิตภัณฑ์ลุกติดไฟได้ที่เป็นอันตราย) 
• อุปกรณ์ป้องกันพิเศษและการเตือนภัยสาหรับนักผจญเพลิง 
40
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
6 มาตรการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหลของ 
สารโดยอุบัติเหตุ (Accidental release 
measures) 
• มาตรการความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
และมาตรการฉุกเฉิน 
• มาตรการป้องกันสิ่งแวดล้อม 
• วิธีการและวัสดุสา หรับกักเก็บและกอบกู้ 
7 การขนถ่ายเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ 
(Handling and storage) 
• มาตรการป้องกันสา หรับการขนถ่ายเคลื่อนย้ายอย่างปลอดภัย 
• เงื่อนไขการจัดเก็บอย่างปลอดภัย รวมทั้งความเข้ากันไม่ได้ของสาร 
8 การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันส่วน 
บุคคล (Exposure controls/personal 
protection) 
• การควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เช่น ค่าที่ยอมให้สัมผัสได้ในขณะ 
ปฏิบัติงาน (occupational exposure limit values) หรือตัวบ่งชี้ทาง 
ชีวภาพ 
• การควบคุมทางวิศวกรรมที่เหมาะสม 
• มาตรการป้องกันส่วนบุคคล เช่น อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 
41
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
9 คุณสมบัติทางกายภาพและ ทางเคมี 
(Physical and chemical properties) 
• สภาพปรากฏ (สถานะทางกายภาพ สี เป็นต้น) 
• กลิ่น • ระดับค่าขีดจา กัดของกลิ่น (Odour threshold) 
• ค่าความเป็นกรดด่าง (pH) 
• จุดหลอมละลาย/จุดเยือกแข็ง (melting point/freezing point) 
• จุดเริ่มเดือดและช่วงของการเดือด (initial boiling point and boiling range) 
• จุดวาบไฟ (flash point) 
• อัตราการระเหย (evaporation rate) 
• ความสามารถในการลุกติดไฟได้ (ของแข็ง ก๊าซ) (flammability (solid, gas)) 
• ขีดจา กัดความไวไฟ ขีดบน/ขีดล่าง หรือค่าจา กัดการระเบิด (upper/lower 
flammability or explosive limits) 
• ความดันไอ (vapour pressure) 
• ความหนาแน่นไอ (vapour density) 
• ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (relative density) 
• ความสามารถในการละลายได้ (solubility(ies)) 
42
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
10 ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา 
(Stability and reactivity) 
• ความเสถียรทางเคมี 
• ความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย 
• สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง (เช่น การคายประจุไฟฟ้าสถิต แรงกระแทก หรือ 
การสั่นสะเทือน) 
• วัสดุที่เข้ากันไม่ได้ 
• เกิดการแตกตัวเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย 
11 ข้อมูลด้านพิษวิทยา (Toxicological 
information) 
กระชับแต่บรรยายถึงผลของความเป็นพิษที่หลากหลายและข้อมูลที่มีอยู่ 
เพื่อระบุผลกระทบอย่างสมบูรณ์และเข้าใจได้ ประกอบด้วย: 
• ข้อมูลเกี่ยวกับเส้นทางของการรับสัมผัสที่อาจเกิดขึ้น (การหายใจ การ 
กลืนกิน การสัมผัสทางผิวหนังและดวงตา); 
• อาการที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะทางกายภาพ ทางเคมีและทางพิษวิทยา; 
• ผลกระทบฉับพลันและที่มีการหน่วงเวลา (Delayed and immediate 
effects) และผลเรื้อรัง (chronic effects) จากการรับสัมผัสระยะสั้นและ 
ระยะยาว (short- and long-term exposure); 
• มาตรการเชิงตัวเลข (Numerical measures) ของค่าความเป็นพิษ (เช่น 
การคา นวณค่าความเป็นพิษเฉียบพลัน)
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
12 ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ 
(Ecological information) 
• ความเป็นพิษต่อระบบนิเวศน์ (ทางน้า และบนพื้นโลก ถ้ามี) 
• ความคงอยู่นาน (persistence) และความสามารถในการย่อยสลาย 
(degradability) 
• ความสามารถในการสะสมทางชีวภาพ (Bio-accumulative potential) 
• สภาพที่เคลื่อนที่ได้ในดิน (Mobility in soil) 
• ผลร้ายกระทบร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นอื่น ๆ 
13 ข้อพิจารณาในการกาจัด 
(Disposal considerations) 
• อธิบายถึงสิ่งตกค้างและข้อมูลเกี่ยวกับของเสียเพื่อการเคลื่อนย้ายอย่าง 
ปลอดภัยและใช้วิธีการกา จัดที่ถูกต้อง โดยรวมไปถึงการกา จัดบรรจุภัณฑ์ 
ที่ได้รับการปนเปื้อน 
44
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) 
ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 
14 ข้อมูลสาหรับการขนส่ง 
(Transport information) 
• หมายเลข UN 
• ชื่อที่ถูกต้องในการขนส่งตาม UN 
• ประเภทความเป็นอันตรายสาหรับการขนส่ง 
• กลุ่มการบรรจุ (ถ้ามี) 
• การเกิดมลภาวะทางทะเล (มี/ไม่มี) 
• ข้อควรระวังพิเศษที่ผู้ใช้จา เป็นต้องตระหนักหรือจา เป็นต้องปฏิบัติ 
ตามในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งหรือการบรรทุกทั้งภายในหรือ 
ภายนอกสถานประกอบการ 
15 ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ (Transport 
information) 
ให้ระบุกฎระเบียบ ข้อมูลทางด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และ 
สิ่งแวดล้อม เฉพาะสา หรับผลิตภัณฑ์ที่จัดทา 
16 ข้อมูลอื่น (Other information) ประกอบด้วยข้อมูลการจัดทาและการปรับปรุงแก้ไข SDS 
45
การจาแนกประเภทความอันตรายของสารเคมี 
ตามระบบ UN 
DOT PLACARD 
Department of Transportation 
- ติดกับรถบรรทุกวัตถุอันตราย 
- แบ่งวัตถุอันตรายเป็น 9 ประเภท 
46
วัตถุระเบิด (Explosive) 
47
แก๊สภายใต้ความดัน 
(Compressed Gasses) 
48
ของเหลวไวไฟ 
(Flammable Liquid) 
49
ของแข็งไวไฟ 
สารติดไฟได้ด้วยตัวเอง 
สารที่สัมผัสน้าแล้วได้แก๊สไวไฟ 
50
สารออกซิไดส์ 
และสารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ 
51
สารเป็นพิษและสารติดเชื้อโรค 
52
สารกัมมันตรังสี 
53
สารกัดกร่อน 
54
สารหรือวัตถุอื่นที่อาจเป็นอันตรายได้ 
55
การจาแนกประเภทความอันตรายของสารเคมี 
ตามระบบ NFPA 
56
57
ลดปริมาณการสัมผัสหรือได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 
ลดระยะเวลาในการสัมผัสหรือได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 
รู้วิธีการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี 
รู้วิธีการบรรเทาอันตรายเมื่อเกิดอันตรายจากสารเคมี 
58
ลดปริมาณการสัมผัสหรือได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 
ใช้อุปกรณ์ป้องกัน (PPE) 
ทา งานกับสารเคมีที่อยู่ในระบบปิด 
ไม่รับประทานอาหารในสถานที่ 
ปฏิบัติงานหรือสถานที่จัดเก็บ 
สารเคมี 
59
ลดระยะเวลาในการสัมผัสหรือได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย 
ชาระล้างร่างกายบริเวณที่สัมผัสสารเคมี 
เปลี่ยนเครื่องแต่งกายหลังจากทางานเสร็จ 
เวลาพักควรอยู่ในบริเวณที่มีอากาศบริสุทธ์ิ 
60
รู้วิธีการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากสารเคมี 
ศึกษาจากเอกสารข้อมูลความปลอดภัย 
รู้วิธีการบรรเทาอันตรายเมื่อเกิดอันตรายจากสารเคมี 
การบรรเทาอัคคีภัย 
การจัดการสารเคมีหกรั่วไหล 
61
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในการทางานกับสารเคมี 
62
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในการทางานกับสารเคมี 
63
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลในการทางานกับสารเคมี 
64
องค์ประกอบของการเกิดไฟ 
1. ออกซิเจน 
2. เชื้อเพลิง 
3. แหล่งกาเนิด 
ความร้อน 
65
สารดับเพลิง (Extinguisher agent) 
66
การจัดการสารเคมีที่หกรั่วไหล 
กรณีไม่รุนแรง (Minor) 
แจ้งผู้ที่อยู่ในบริเวณที่เกิดเหตุทราบ 
หลีกเลี่ยงการสูดดมไอ/แก๊สจากสารเคมีที่หกรั่วไหล 
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย (PPE) ที่เหมาะสม 
จากัดพื้นที่การรั่วไหลให้อยู่ในวงแคบ 
ใช้วัสดุทา ลายฤทธ์ิกรด-เบส และ วัสดุดูดซับ จากนั้นเก็บ 
ใส่ภาชนะสาหรับบรรจุของเสีย 
ทาความสะอาดพื้นที่
การทาความสะอาดสารเคมีที่หกรั่วไหลกรณีไม่รุนแรง 
68
การจัดการสารเคมีที่หกรั่วไหล 
กรณีรุนแรง (Major) 
ช่วยเหลือ/ปฐมพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับ 
สารเคมี และเคลื่อนย้ายออกนอกพื้นที่เกิดเหตุ 
แจ้งเตือนภัยให้ผู้อยู่ในพื้นที่เกิดเหตุทราบเพอื่อพยพ 
หากมีสารเคมีที่สามารถติดไฟได้ ให้ทาการปิด/ทาลาย 
แหล่งกาเนิดความร้อน/ประกายไฟ 
ปิดประตู/หน้าต่างในบริเวณที่เกิดเหตุ 
โทรแจ้งสายด่วน 1650 หรือ 191 
69
อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง9tong30
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 

Mais procurados (20)

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
Petrolium
PetroliumPetrolium
Petrolium
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 

อบรมความรู้เรื่อง สารเคมี [ปรับปรุง ครั้งที่ 4]

  • 2. อุบัติภัยเคมีครั้งร้ายแรงที่สุดในโลก Bhopal Disaster 2 Dec. 1984 - โรงงานผลิตยาฆ่าแมลงของ บริษัท ยูเนียนคาร์ไบด์ ที่ เมืองโบปาล ประเทศอินเดีย เกิดอุบัติเหตุทาให้แก๊สพิษ เช่น “เมทิลไอโซไซยาไนด์” และแก๊สพิษอื่นๆ รั่วไหล - ส่งผลให้มี ผู้เสียชีวิต กว่า 5,000 คน บาดเจ็บ กว่า 500,000 คน ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 2
  • 3. อุบัติเหตุเกิดขึ้นที่ ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ เหตุเกิดเวลา 22:00 น. ของวันที่ 24 ก.ย. 2533 รถบรรทุกแก๊ส LPG พลิกคว่า และเกิดการติดไฟ มีผู้เสียชีวิต 59 ศพ บาดเจ็บ 89 คน ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 3
  • 5. สสารและพลังงาน สิ่งต่างๆ รอบตัวเรามีอยู่ 2 จา พวก ได้แก่ 1. สสาร (matter) : คือ สิ่งที่มีมวล, ต้องการที่อยู่, และสัมผัสได้ 2. พลังงาน (energy) : คือ สิ่งที่ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ สสาร, สาร และสารเคมี คา ว่า “สสาร (matter), สาร (substance), หรือ สารเคมี (chemical)” นั้นเป็นคา ที่มีความหมายใกล้เคียงกันขึ้นอยู่กับบริบทหรือความมุ่งเน้นในการสื่อ ความหมาย แต่ในชั้นนี้ให้ถือว่ามีความหมายเหมือนกัน 5
  • 7. การจาแนกประเภทของสารเคมี สาร สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สารบริสุทธ์ิสารละลาย ธาตุ สารประกอบ คอลลอยด์ โซล เจล ละอองลอย อิมัลชัน โฟม แขวนลอย แยกชั้น ที่มา : วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี 7
  • 8. การเรียกชื่อและรหัสประจาตัวสารเคมี คาบรรยาย (เรียกชื่อ) รหัสประจาตัว ชื่อทางเคมี ชื่อทางการค้า ชื่อเรียกอื่นๆ UN ID./No. CAS No. EC No. EUEINECS/ELINICS No. 8
  • 9. ที่มา : MSDS-ROC-1004-00.,SCG Chemical ตัวอย่างการเรียกชื่อและรหัสประจาตัวสารเคมี 9
  • 11. สมบัติของสารเคมี  สถานะ (State)  การเปลี่ยนสถานะ (Transition of state)  ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity)  ความหนาแน่นไอ (Vapor density)  ความดันไอ (Vapor pressure)  ความเป็นกรด-เบส (Acid-base)  สมบัติด้านอัคคีภัย (Flammability)  สมบัติด้านความเป็นพิษ (Toxicity) 11
  • 12. ปกติสารเคมีมีอยู่ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง (Solid) ของเหลว (Liquid) และก๊าซ (Gas) สถานะของสารเคมีมีผลต่อลักษณะการ เกิดอันตราย เช่น สถานะ ลักษณะของสารเคมี ลักษณะอันตราย (ต่อสุขภาพ) ของแข็ง (Solid) แท่ง ผลึก เม็ด เกล็ด ผง ฝุ่น สัมผัสถูกผิวหนัง ตา หายใจเข้าไป การกินเข้าไป ของเหลว (Liquid) ของเหลว ก๊าซเหลว สัมผัสถูก/กระเด็นใส่ผิวหนัง ตา กินเข้าไป ก๊าซ (Gas) ก๊าซ ไอระเหย ละออง ควัน หายใจเข้าไป สัมผัสถูกผิวหนัง ตา 12
  • 17. จุดหลอมเหลว (Melting point) คือ อุณหภูมิที่สารเริ่มเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็ง (solid) ไปเป็นของเหลว (liquid) จุดเดือด (Boiling point) คือ อุณหภูมิที่สารเปลี่ยนสถานะจาก ของเหลว (liquid) ไปเป็นแก๊ส (gas) 17
  • 18. ความถ่วงจาเพาะ (Specific gravity) • คือการเปรียบเทียบปริมาณเนื้อมวลหรือน้า หนักของสารกับน้า (water) ที่ปริมาตรเท่ากัน • โดยกา หนดให้น้า มีค่าความถ่วงจา เพาะเท่ากับ 1 • วัตถุที่มีความถ่วงจา เพาะมากกว่า 1 จะจมน้า • วัตถุที่มีความถ่วงจา เพาะน้อยกว่า 1 จะลอยขึ้นบนผิวน้า • วัตถุที่มีความถ่วงจา เพาะใกล้เคียงกับ 1 จะแขวนลอยอยู่ในน้า ความหนาแน่น (Density) • คือ อัตราส่วนระหว่างปริมาณเนื้อมวล (น้า หนัก) ต่อ ปริมาตรของสาร • สารที่มีความหนาแน่นมาก ก็จะมีค่าความถ่วงจา เพาะมากด้วย 18
  • 21. สภาพกรด-เบส (Acid-Base) • เราสามารถจาแนกสารเคมีตามสภาพความ เป็นกรด-เบสได้ 3 จาพวก โดยอาศัยค่า pH เป็นเกณฑ์ • pH น้อยกว่า 7 เป็น กรด (Acid) โดยค่า pH ยิ่งน้อย ความเป็นกรดยิ่งมีฤทธ์ิมาก • pH เท่ากับ 7 เป็นกลาง (Neutral) • pH มากกว่า 7 เป็น เบส (Base) โดยค่า pH ยิ่งมาก ความเป็นเบสยิ่งมีฤทธ์ิมาก 21
  • 23. สารเคมี ประเภท ACETONE สารไวไฟ MEK สารไวไฟ TOLUENE สารไวไฟ DOP สารติดไฟได้ EPOXY สารติดไฟได้ Cd-Ba-Zn Liquid Stabilizer สารติดไฟได้ 23
  • 27. สารเคมีที่มีพิษต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย ที่มา : คู่มือการจัดการความปลอดภัยสารเคมี สาหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 27
  • 28. 28
  • 29. แหล่งข้อมูลความเป็นอันตรายของสารเคมี ป้ายประกาศ (Placard) ติดที่รถบรรทุก และถังบรรจุขนาดใหญ่ ฉลาก (Label) ติดที่บรรจุภัณฑ์ เอกสาร (Sheet) แฟ้มรวบรวมเอกสาร 29
  • 30. ระบบการจาแนกความเป็นอันตรายของสารเคมี ระบบ GHS ระบบ UN ระบบ NFPA เป็นระบบการจาแนกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมีที่เป็น ระบบเดียวกันทั่วโลก โดยเน้นการสื่อสารกับผู้ใช้งานผ่านฉลาก (Label) และเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety data sheet : SDS) เป็นระบบการจาแนกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมีโดยเน้น การสื่อสารในการขนส่ง โดยผ่าน ป้าย DOT placard ซึ่งมักติด อยู่กับรถบรรทุกวัตถุอันตราย เป็นระบบการจาแนกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมีโดยเน้น การสื่อสารกับผู้ใช้งาน โดยผ่านสัญลักษณ์รูปสี่เหลี่ยม 4 รูป โดย จาแนกความอันตรายด้วยสี และตัวเลขบอกระดับความอันตราย (NFPA 704) 30
  • 31. การจาแนกประเภทความอันตรายของสารเคมี ตามระบบ GHS การจาแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบ เดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals - GHS) แบ่งประเภทของความเป็นอันตราย ดังนี้ 1. ความเป็นอันตรายทางกายภาพ แบ่งเป็น 16 กลุ่มความเป็นอันตราย 2. ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม แบ่งเป็น 10 กลุ่มความเป็นอันตราย 31
  • 32. 1. วัตถุระเบิด 2. ก๊าซไวไฟ 3. สารละลองลอยไวไฟ 4. ก๊าซออกซิไดส์ 5. ก๊าซภายใต้ความดัน 6. ของเหลวไวไฟ 7. ของแข็งไวไฟ 8. สารเคมีที่ทา ปฏิกิริยาได้เอง 9. ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ 10. ของแข็งที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ 11. สารเคมีที่เกิดความร้อนได้เอง 12. สารเคมีที่สัมผัสน้า แล้วให้แก๊สไวไฟ 13. ของเหลวออกซิไดส์ 14. ของแข็งออกซิไดส์ 15. สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ 16. สารที่กัดกร่อนโลหะ 32
  • 33. 1. ความเป็นพิษเฉียบพลัน 2. การกัดกร่อน/ระคายเคืองต่อผิวหนัง 3. การทาลายดวงตาอย่างรุนแรง/การระคายเคืองต่อดวงตา 4. การทาให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง 5. การกลายพันธ์ุของเซลล์สืบพันธ์ุ 6. ความสามารถในการก่อมะเร็ง 7. ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธ์ุ 8. ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง-การได้รับสัมผัสครั้งเดียว 9. ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง-การได้รับสัมผัสซ้า 10. ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมทางน้า 33
  • 34. ฉลากสารเคมีตามระบบ GHS องค์ประกอบของฉลาก 1. ข้อมูลผลิตภัณฑ์, ส่วนประกอบ 2. รูปสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตราย (GHS pictograms) มี 9 รูป 3. คา สัญญาณแสดงระดับความอันตราย มี 2 คา ได้แก่ “อันตราย” และ “ระวัง” 4. ข้อความอธิบายลักษณะความเป็นอันตราย เป็นข้อความสั้นๆ และกระชับ 5. ข้อควรปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตรายและการ จัดการอื่นๆ 6. ข้อมูลผู้ผลิต/ผู้จัดจา หน่าย 34
  • 35. ฉลากสารเคมีตามระบบ GHS ระวัง เป็นอันตรายเมื่อสูดหายใจเข้าไป เก็บให้พ้นมือเด็ก ข้อควรระวัง : -ให้สวมหน้ากากและถุงมือขณะฉีดพ่น -หากสัมผัสตาให้รีบล้างด้วยน้า สะอาดและรีบ ไปพบแพทย์ ชื่อผลิตภัณฑ์ : AAA ชื่อสารเคมี : 2,4-ดี ไอโซบิวทิล เอสเทอร์ (2,4-D isobutyl ester) ชื่อผู้ผลิต : บริษัท xxxx จา กัด 99 ถนนเศรษฐกิจ 1 อ.เมือง จ.สมุทรสาคร โทร xxxxxxxx โทรสาร xxxxxxxx 35
  • 37. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) SDS (อาจเรียกว่า MSDS) คือ เอกสารที่แสดงข้อมูลเฉพาะ ของสารเคมีแต่ละตัวเกี่ยวกับลักษณะอันตราย พิษ วิธีใช้ การเก็บ รักษา การขนส่ง การกาจัดและการจัดการอื่นๆ เพื่อให้การดาเนินการ เกี่ยวกับสารเคมีนั้นเป็นไปอย่างถูกต้องและปลอดภัย 37
  • 38. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 1 ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี หรือสารผสม และ บริษัทผู้ผลิตและ/หรือ จา หน่าย (Identification of the substance or mixture and of the supplier) • ตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ตามระบบ GHS (GHS product identifier) • การบ่งชี้ด้วยวิธีอื่น ๆ • ข้อแนะนาในการใช้สารเคมีและข้อห้ามต่าง ๆ ในการใช้ • รายละเอียดผู้จา หน่าย (ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ฯลฯ) • หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน 2 ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย(Hazards identification) • การจาแนกประเภทสาร/ของผสมตามระบบ GHS และข้อมูลใน ระดับชาติหรือระดับภูมิภาค • องค์ประกอบฉลากตามระบบ GHS รวมถึงข้อความที่เป็นคา เตือน (precautionary statements) (สัญลักษณ์ความเป็นอันตรายอาจจัดให้มี ในลักษณะของสัญลักษณ์ที่นามาใช้ใหม่ได้ (graphical reproduction) เป็นสีดาและขาวหรือชื่อสัญลักษณ์ เช่น เปลวไฟ กะโหลกและ กระดูกไขว้) • ความเป็นอันตรายอื่นที่ไม่มีผลในการจา แนกประเภท (เช่น ความ เป็นอันตรายจากการระเบิดของผงฝุ่น (dust explosion hazard)) หรือ ที่ไม่ครอบคลุมโดยระบบGHS 38
  • 39. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 3 องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม (Composition /information on ingredients) สาร • เอกลักษณ์ของสารเคมี • ชื่อทั่วไป ชื่อพ้อง ฯลฯ • หมายเลข CAS, หมายเลข EC ฯลฯ • สิ่งเจือปนและการทาสารปรุงแต่งให้เสถียร (Impurities and stabilizing additives) ที่ตัวเองต้องผ่านการจาแนกประเภทและที่มี ส่วนในการจา แนกประเภทสาร ของผสม • เอกลักษณ์ของสารเคมีและค่าความเข้มข้นหรืออัตราความเข้มข้น ของส่วนประกอบที่เป็นอันตรายภายใต้ความหมายของ GHS และ แสดงค่าสูงกว่าระดับของจุดตัด หมายเหตุ: สาหรับข้อมูลส่วนประกอบ พนักงานเจ้าหน้าที่ออกกฎ สาหรับ CBI ให้มีความสาคัญเหนือกว่ากฎสาหรับการบ่งชี้ผลิลิัภั์ 39
  • 40. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 4 มาตรการปฐมพยาบาล (First-aid measures) • บรรยายถึงมาตรการที่จา เป็น โดยแยกย่อยออกเป็นข้อ ๆ ตาม เส้นทางการรับสัมผัสสาร เช่น การสูดดม การสัมผัสทางดวงตาหรือ ทางผิวหนังและการกลืนกิน • อาการ/ผลกระทบที่สาคัญ ๆ การเกิดผลเฉียบพลันหรือมีการหน่วง เวลาการเกิด • การระบุเกี่ยวกับข้อควรพิจารณาทางการแพทย์ในทันทีทันใดและ การบา บัดพิเศษที่ต้องดา เนินการ ถ้าจา เป็น 5 มาตรการผจญเพลิง (Fire-fighting measures) • สารดับเพลิงที่เหมาะสม (และไม่เหมาะสม) • ความเป็นอันตรายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมี (เช่น ลักษณะของ ผลิตภัณฑ์ลุกติดไฟได้ที่เป็นอันตราย) • อุปกรณ์ป้องกันพิเศษและการเตือนภัยสาหรับนักผจญเพลิง 40
  • 41. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 6 มาตรการจัดการเมื่อมีการหกและรั่วไหลของ สารโดยอุบัติเหตุ (Accidental release measures) • มาตรการความปลอดภัยส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล และมาตรการฉุกเฉิน • มาตรการป้องกันสิ่งแวดล้อม • วิธีการและวัสดุสา หรับกักเก็บและกอบกู้ 7 การขนถ่ายเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ (Handling and storage) • มาตรการป้องกันสา หรับการขนถ่ายเคลื่อนย้ายอย่างปลอดภัย • เงื่อนไขการจัดเก็บอย่างปลอดภัย รวมทั้งความเข้ากันไม่ได้ของสาร 8 การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันส่วน บุคคล (Exposure controls/personal protection) • การควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เช่น ค่าที่ยอมให้สัมผัสได้ในขณะ ปฏิบัติงาน (occupational exposure limit values) หรือตัวบ่งชี้ทาง ชีวภาพ • การควบคุมทางวิศวกรรมที่เหมาะสม • มาตรการป้องกันส่วนบุคคล เช่น อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล 41
  • 42. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 9 คุณสมบัติทางกายภาพและ ทางเคมี (Physical and chemical properties) • สภาพปรากฏ (สถานะทางกายภาพ สี เป็นต้น) • กลิ่น • ระดับค่าขีดจา กัดของกลิ่น (Odour threshold) • ค่าความเป็นกรดด่าง (pH) • จุดหลอมละลาย/จุดเยือกแข็ง (melting point/freezing point) • จุดเริ่มเดือดและช่วงของการเดือด (initial boiling point and boiling range) • จุดวาบไฟ (flash point) • อัตราการระเหย (evaporation rate) • ความสามารถในการลุกติดไฟได้ (ของแข็ง ก๊าซ) (flammability (solid, gas)) • ขีดจา กัดความไวไฟ ขีดบน/ขีดล่าง หรือค่าจา กัดการระเบิด (upper/lower flammability or explosive limits) • ความดันไอ (vapour pressure) • ความหนาแน่นไอ (vapour density) • ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (relative density) • ความสามารถในการละลายได้ (solubility(ies)) 42
  • 43. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 10 ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา (Stability and reactivity) • ความเสถียรทางเคมี • ความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย • สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง (เช่น การคายประจุไฟฟ้าสถิต แรงกระแทก หรือ การสั่นสะเทือน) • วัสดุที่เข้ากันไม่ได้ • เกิดการแตกตัวเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตราย 11 ข้อมูลด้านพิษวิทยา (Toxicological information) กระชับแต่บรรยายถึงผลของความเป็นพิษที่หลากหลายและข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อระบุผลกระทบอย่างสมบูรณ์และเข้าใจได้ ประกอบด้วย: • ข้อมูลเกี่ยวกับเส้นทางของการรับสัมผัสที่อาจเกิดขึ้น (การหายใจ การ กลืนกิน การสัมผัสทางผิวหนังและดวงตา); • อาการที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะทางกายภาพ ทางเคมีและทางพิษวิทยา; • ผลกระทบฉับพลันและที่มีการหน่วงเวลา (Delayed and immediate effects) และผลเรื้อรัง (chronic effects) จากการรับสัมผัสระยะสั้นและ ระยะยาว (short- and long-term exposure); • มาตรการเชิงตัวเลข (Numerical measures) ของค่าความเป็นพิษ (เช่น การคา นวณค่าความเป็นพิษเฉียบพลัน)
  • 44. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 12 ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ (Ecological information) • ความเป็นพิษต่อระบบนิเวศน์ (ทางน้า และบนพื้นโลก ถ้ามี) • ความคงอยู่นาน (persistence) และความสามารถในการย่อยสลาย (degradability) • ความสามารถในการสะสมทางชีวภาพ (Bio-accumulative potential) • สภาพที่เคลื่อนที่ได้ในดิน (Mobility in soil) • ผลร้ายกระทบร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นอื่น ๆ 13 ข้อพิจารณาในการกาจัด (Disposal considerations) • อธิบายถึงสิ่งตกค้างและข้อมูลเกี่ยวกับของเสียเพื่อการเคลื่อนย้ายอย่าง ปลอดภัยและใช้วิธีการกา จัดที่ถูกต้อง โดยรวมไปถึงการกา จัดบรรจุภัณฑ์ ที่ได้รับการปนเปื้อน 44
  • 45. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet : SDS) ข้อ ประเด็น ประเด็นย่อย 14 ข้อมูลสาหรับการขนส่ง (Transport information) • หมายเลข UN • ชื่อที่ถูกต้องในการขนส่งตาม UN • ประเภทความเป็นอันตรายสาหรับการขนส่ง • กลุ่มการบรรจุ (ถ้ามี) • การเกิดมลภาวะทางทะเล (มี/ไม่มี) • ข้อควรระวังพิเศษที่ผู้ใช้จา เป็นต้องตระหนักหรือจา เป็นต้องปฏิบัติ ตามในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งหรือการบรรทุกทั้งภายในหรือ ภายนอกสถานประกอบการ 15 ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ (Transport information) ให้ระบุกฎระเบียบ ข้อมูลทางด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และ สิ่งแวดล้อม เฉพาะสา หรับผลิตภัณฑ์ที่จัดทา 16 ข้อมูลอื่น (Other information) ประกอบด้วยข้อมูลการจัดทาและการปรับปรุงแก้ไข SDS 45
  • 46. การจาแนกประเภทความอันตรายของสารเคมี ตามระบบ UN DOT PLACARD Department of Transportation - ติดกับรถบรรทุกวัตถุอันตราย - แบ่งวัตถุอันตรายเป็น 9 ประเภท 46
  • 57. 57
  • 59. ลดปริมาณการสัมผัสหรือได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย ใช้อุปกรณ์ป้องกัน (PPE) ทา งานกับสารเคมีที่อยู่ในระบบปิด ไม่รับประทานอาหารในสถานที่ ปฏิบัติงานหรือสถานที่จัดเก็บ สารเคมี 59
  • 65. องค์ประกอบของการเกิดไฟ 1. ออกซิเจน 2. เชื้อเพลิง 3. แหล่งกาเนิด ความร้อน 65
  • 67. การจัดการสารเคมีที่หกรั่วไหล กรณีไม่รุนแรง (Minor) แจ้งผู้ที่อยู่ในบริเวณที่เกิดเหตุทราบ หลีกเลี่ยงการสูดดมไอ/แก๊สจากสารเคมีที่หกรั่วไหล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย (PPE) ที่เหมาะสม จากัดพื้นที่การรั่วไหลให้อยู่ในวงแคบ ใช้วัสดุทา ลายฤทธ์ิกรด-เบส และ วัสดุดูดซับ จากนั้นเก็บ ใส่ภาชนะสาหรับบรรจุของเสีย ทาความสะอาดพื้นที่
  • 69. การจัดการสารเคมีที่หกรั่วไหล กรณีรุนแรง (Major) ช่วยเหลือ/ปฐมพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับ สารเคมี และเคลื่อนย้ายออกนอกพื้นที่เกิดเหตุ แจ้งเตือนภัยให้ผู้อยู่ในพื้นที่เกิดเหตุทราบเพอื่อพยพ หากมีสารเคมีที่สามารถติดไฟได้ ให้ทาการปิด/ทาลาย แหล่งกาเนิดความร้อน/ประกายไฟ ปิดประตู/หน้าต่างในบริเวณที่เกิดเหตุ โทรแจ้งสายด่วน 1650 หรือ 191 69