SlideShare a Scribd company logo
1 of 86
1
โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์
Nuclear Power Plant
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ในการ
กระบวนการสร้างไอน้า เพื่อนาไอน้านั้นไปหมุนกังหันไอน้าใน
กระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ได้รับการ
พัฒนามานานกว่า 50 ปี จนทัดเทียมกับโรงไฟฟ้าแบบอื่นๆ
• การเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศเพื่อยกระดับ
มาตรฐานการครองชีพได้ส่งผลกระทบทาให้ความต้องการพลังงาน
ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นทุกปี การนาพลังงานนิวเคลียร์มาทดแทนเชื้อเพลิง
ธรรมชาติเพื่อนามาผลิตไฟฟ้า สามารถช่วยประหยัดทรัพยากร ซึ่งมีอยู่
จากัดไว้ใช้ประโยชน์อย่างอื่นที่จาเป็น
2
3
4
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
การผลิตพลังงานนิวเคลียร์ทาได้โดยการใช้อนุภาค
นิวตรอนทาปฏิกิริยาแตกตัวลูกโซ่กับวัสดุนิวเคลียร์
เรียกว่าเชื้อเพลิง รวมถึงการควบคุมปฏิกิริยาและพลังงาน
ที่เกิดขึ้นให้ได้ตามความต้องการเรียกว่าปฏิกรณ์นิวเคลียร์
ในการผลิตพลังงาน เชื้อเพลิงส่วนหนึ่งจะถูกแปรเปลี่ยน
เป็นเชื้อเพลิงรูปใหม่ วัสดุเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในรูปของแร่
ดิบตามธรรมชาตินั้นจาเป็นต้องนามาผ่านกรรมวิธีหลาย
ขั้นตอนเพื่อปรับสภาพและองค์ประกอบให้ได้รูปร่าง
ขนาดและส่วนผสมตามที่กาหนด หลังจากที่ใช้แล้วจะ
สามารถนากลับไปใช้ได้ใหม่ได้อีก แต่จะต้องระวังใน
เรื่องของความปลอดภัย
5
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
• 1934 - Enrico Fermi ได้ค้นพบปฏิกิริยา nuclear fission เป็นครั้งแรก
โดยการยิงนิวตรอนเข้าไปที่ธาตุยูเรเนียม
• 1942 - มีการทดลองสร้างเตาปฏิกรณ์ปรมาณูเป็นครั้งแรกที่
สหรัฐอเมริกา
• 1951 - สหรัฐอเมริกาได้มีการสร้างกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ได้เป็นครั้งแรก
• 1954 - โรงไฟฟ้าแบบพาวเวอร์กริด(ส่งจ่ายไฟฟ้าตามสาย)แห่งแรกของ
โลกได้เปิดทาการที่ประเทศรัสเซีย
• 1956 - ประเทศอังกฤษได้เปิดสถานีไฟฟ้านิวเคลียร์เชิงพาณิชย์แห่งแรก
6
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
The Ikata Nuclear Power Plant, Japan
A pressurizedwater reactor that cools by
secondary coolantexchange withthe ocean.
The Susquehanna Steam ElectricStation, a
boiling waterreactor in Pennsylvania, United
States. The reactors are located insidethe
rectangular containment buildings towards the
front of the cooling towers.
http://en.wikipedia.org/wiki/Nuclear_power_plant
7
• ประเทศเกาหลี
8
2009
9
Austria : Construction on the Zwentendorf
Nuclear plant finished in 1978, however a
referendum was passed that did not allow
startup. Nuclear power is illegal. (2012)
http://en.wikipedia.org/wiki/File:Nuclear_power_station.svg
10
As of 2012, countries such as Australia,
Austria, Denmark, Greece, Ireland,
Italy, Latvia, Liechtenstein, Luxembourg, Malta,
Portugal, Israel, Serbia, Malaysia, and Norway
have no nuclear power reactors and remain
opposed to nuclear power.
Austria : Nuclear reactions are forbidden by law.
Denmark : law prohibits production
Japan : As of April 2013, Japan had turned off all reactors in 2011,
and has restored two to power production
http://en.wikipedia.org/wiki/File:Nuclear_power_station.svg
11
2009
12
2012
2013
http://www.iaea.org/PRIS/WorldStatistics/OperationalReactorsByCountry.aspx
13
Total 438
2015
14
Total 443
http://www.iaea.org/PRIS/WorldStatistics/OperationalReactorsByCountry.aspx
15
2009
2013
16
Under construction 71 reactors
Net capacity of 69.6 GWe
2015
17
Under construction 66 reactors
Net capacity of 64.482 GWe
http://www.iaea.org/PRIS/WorldStatistics/UnderConstructionReactorsByCountry.aspx
18
แนวโน้มของการขยายตัวของพลังงานนิวเคลียร์
• สภาวะเศรษฐกิจ เมื่อเศรษฐกิจตกต่าการใช้
พลังงานก็น้อยลง
• ความไม่แน่นอนของแหล่งเชื้อเพลิง
• ความไม่แน่นอนของกระบวนการกฎ
ข้อบังคับ
• ข้อกีดกันทางการเงิน การต่อต้านการขึ้นค่า
กระแสไฟฟ้าและปัญหาการหาแหล่งเงินกู้
ระยะยาว
• การยอมรับพลังงานนิวเคลียร์จากประชาชน
• การเมืองภายในประเทศ
• แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติและราคา การค้นพบ
ทรัพยากรใหม่ ย่อมทาให้แผนพัฒนาประเทศ
เปลี่ยนแปลงราคาเชื้อเพลิงธรรมชาติที่สูงขึ้น
จะช่วยผลักดันการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์
• ปัจจัยทางสังคมการเจริญเติบโตของประชากร
การดารงชีวิตและมาตรฐานการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
• นโยบายพลังงานแห่งชาติ และการร่วมมือ
ระหว่างประเทศ ในการวางแผนพลังงานต้อง
ให้สอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ
19
20
คาสาคัญ ศัพท์เทคนิค
• โครงสร้างอะตอม (Atomic Structure) เป็นโครงสร้างของปรมาณูของ
ธาตุ ประกอบด้วย นิวเคลียส นิวเคลียสจะมีโปรตรอนซึ่งเป็นประจุบวก
อาจมีนิวตรอนซึ่งไม่มีประจุรวมอยู่ด้วย และมีอิเล็กตรอนซึ่งเป็นประจุ
ลบอยู่รอบๆ
• ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain Reaction) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากฟาสต์
นิวตรอน (Fast Neutron) ตัวหนึ่งพุ่งเข้าชนกับนิวเคลียสของธาตุ
กัมมันตรังสี เกิดการแตกตัวของนิวเคลียสตัวอื่นๆต่อไปเรื่อยๆ
21
คาสาคัญ ศัพท์เทคนิค
• ฟิวชัน (Fusion) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียส 2 นิวเคลียส หรือ
มากกว่า มารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสใหม่ที่มีเสถียรภาพมากกว่า และได้
ความร้อนออกมา แต่นิวเคลียสใหม่นี้จะมีน้าหนักน้อยกว่าผลรวม
นิวเคลียสที่หมดที่มีอยู่เดิมเพียงเล็กน้อย และปฏิกิริยานี้ควบคุมได้ยาก
• ฟิชชั่น (Fission) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสตัวหนึ่งแตกตัว
ออกเป็น 2 นิวเคลียส หรือมากกว่าและได้ความร้อนออกมา น้าหนักรวม
ของนิวเคลียสใหม่ทั้งหมดจะน้อยกว่าน้าหนักนิวเคลียสเดิม และ
ปฏิกิริยานี้สามารถควบคุมได้
22
หลักการทางานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
• พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานที่ให้ความร้อนสูง ทดแทนการใช้
เชื้อเพลิงฟอสซิล
• ข้อแตกต่างคือ จะแช่เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ไว้ในน้าภายในโครงสร้างปิด
สนิทเพื่อถ่ายเทความร้อนที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ไปต้มน้าโดยตรงได้
ไอน้า หรือนาความร้อนนั้นไปถ่ายเทให้กับน้าเพื่อเปลี่ยนเป็นไอน้า
• ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดความร้อนคือ ปฏิกิริยาฟิวชัน และ ปฏิกิริยาฟิชชัน
23
ปฏิกิริยาฟิวชัน
• เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์จากการรวมตัวของธาตุที่มี
น้าหนักเบา เช่น ไฮโดรเจน ภายใต้สภาวะเหมาะสมกลายเป็นธาตุใหม่
และปล่อยความร้อนออกมา
• ควบคุมยาก ปัจจุบันทาได้แค่เพียงการจาลองปฏิกิริยาในระดับ
ห้องปฏิบัติการ ยังไม่สามารถทาให้เกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องเพื่อการผลิต
ไฟฟ้าได้
24
25
ปฏิกิริยาฟิชชัน
• เป็นปฏิกิริยาที่ใช้ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วไป แม้ว่าจะค้นพบทีหลัง
• เป็นการนาอนุภาคนิวตรอนไปกระตุ้นธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม ทาให้
เกิดการแตกตัวเป็นธาตุใหม่ มีการปล่อยความร้อนออกมาพร้อมกับ
อนุภาคนิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม่อีกจานวนหนึ่ง เมื่อมีปริมาณยูเรเนียม
หนาแน่นเพียงพอและมีสภาวะที่เหมาะสม อนุภาคนิวตรอนที่เกิดขึ้น
ใหม่ จะกลับเข้าไปทาปฏิกิริยากับยูเรเนียมอย่างต่อเนื่อง ได้ความร้อน
ออกมาอย่างมากมาย
• การแตกตัวของยูเรเนียม 1 อะตอม จะให้พลังงาน 200 MeV
การเผาไหม้เชื้อเพลิงคาร์บอน 1 อะตอม จะให้พลังงาน 2-3 MeV
26
ปฏิกรณ์นิวเคลียร์
• พลังงานนิวเคลียร์เกิดจากกระบวนการใช้อนุภาคนิวตรอนทา
ปฏิกิริยาแตกตัวติดต่อกันเป็นลูกโซ่กับนิวเคลียสของธาตุหนัก ทา
ให้นิวเคลียสนั้นแตกแยกออกเป็น 2 ส่วน กลายเป็นนิวเคลียสใหม่ที่
มีมวลใกล้เคียงกันและน้าหนักเบากว่านิวเคลียสเดิม พร้อมกับเกิด
พลังงานขึ้นเป็นจานวนมาก ธาตุหนักคือธาตุที่มีจานวนโปรตอนใน
นิวเคลียสตั้งแต่ 92 ขึ้นไป เช่น ยูเรเนียม -235
27
• เมื่อทาให้นิวเคลียสชนิดที่ 1 ตัว แตกแยกจะได้พลังงานประมาณ
200 ล้านอิเลคตรอนโวลต์ ซึ่งคิดเทียบเป็นพลังงานความร้อนได้
3.2 x 10-11 วัตต์/วินาที ยูเรเนียม -235 หนัก 1 กรัม จะมีนิวเคลียสอยู่
จานวน 20x1021 ตัว ซึ่งถ้าหากทาให้แตกแยกได้หมดจะได้พลังงาน
ไฟฟ้าถึง 2.3 x 104 kWh พลังงานจานวนนี้หากผลิตด้วยถ่านหินที่มี
ความร้อนสูงจะต้องใช้ถ่านหินประมาณ 3 ตัน
28
29
ประเภทปฏิกรณ์
• แบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งาน
– ปฏิกรณ์วิจัย
– ปฏิกรณ์พลังงาน
• แบ่งตามชนิดการระบายความร้อน
– น้าธรรมดา
– น้าหนัก
– ก๊าซ
– สระน้า
• โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันในเชิงพาณิชย์
คือ
• ปฏิกรณ์น้าธรรมดา (Lignt water Reactor = LWR)
– แบบน้าเดือด (Boiler Water Reactor = BWR)
– แบบอัดความดันน้า (Pressurized Water Reactor = PWR)
• ปฏิกรณ์น้าหนัก (Heavy Water Reactor = HWR)
30
31http://www.iaea.org/PRIS/WorldStatistics/OperationalReactorsByType.aspx
32
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
• อุปกรณ์ที่ทาให้เกิดปฏิกิริยา
นิวเคลียร์ ควบคุมปฏิกิริยาการแตก
ตัวและควบคุมพลังงานที่เกิดขึ้นได้
ตามต้องการ
• ส่วนประกอบพื้นฐานได้แก่
เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ สารระบาย
ความร้อน และอุปกรณ์ควบคุม
ปฏิกิริยา
ส่วนประกอบของปฏิกรณ์
• ปฏิกรณ์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือแกนปฏิกรณ์และเตาปฏิกรณ์
33
แกนปฏิกรณ์
• ส่วนนี้เป็นหัวใจและอยู่กลางปฏิกรณ์ เป็นที่ซึ่งปฏิกิริยานิวเคลียสลูกโซ่
ดาเนินการและถูกควบคุม ประกอบด้วย
• เชื้อเพลิงยูเรเนียมและพลูโตเนียม
• สารหน่วงนิวตรอน (Moderator)
• สารระบายความร้อน (Coolant)
• แท่งควบคุม
34
ก. เชื้อเพลิงยูเรเนียมและพลูโตเนียม
35
36
1. เชื้อเพลิง (Fuel) อาจใช้ยูเรเนียม พลูโตเนียม เป็นต้น
2. มอเดอร์เรเตอร์ (Moderator)มีหน้าที่ทาให้
นิวตรอนวิ่งช้าลง
3. แท่งควบคุม (Control Rods) มีหน้าที่ควบคุมอัตรา
การเกิดปฏิกิริยาไม่ให้เกิดมากเกินไป ที่นิยมใช้คือ
แคดเมียม หรือโบรอน แคดเมียมจะเป็นตัวดูดกลืน
นิวตรอนไว้ได้ดีมาก ดังนั้นถ้าสอดแท่งแคดเมียมให้
ลึกเข้าไปในเครื่องมาก ๆ ก็จะดูดกลืนนิวตรอนไว้ได้
น้อยลงทุกทีและปฏิกิริยาลูกโซ่ก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น
4. สารระบายความร้อน (Coolant) เพื่อนาเอาความร้อน
ออกไปจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยอาจใช้น้า
ธรรมดาหรือโลหะโซเดียมหรือแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ ฮีเลียม อากาศเป็นต้น
เตาปฏิกรณ์
• เป็นภาชนะที่ห่อหุ้ม
แกนและอุปกรณ์
ทั้งหมด ซึ่งทนความ
กดดันและความร้อน
ได้สูงมาก ที่ฝาปิด-
เปิด มีช่องสาหรับใส่
น้าผ่านเข้าออก ใน
กรณีของปฏิกรณ์เป็น
แบบน้าเดือด จะมีไอ
น้าผ่านช่องทาง
เหล่านั้นแทน
37
http://decarbonisesa.com/2011/12/22/nuclear-power-a-
safe-option/
ระบบผลิตไอน้านิวเคลียร์
• โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์นั้นสามารถผลิตไอน้าได้ทั้งทางตรง
และทางอ้อม
38
39
ระบบผลิตไอน้านิวเคลียร์
• ทางตรง
ปฏิกรณ์จะทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์ผลิต
ไอน้า
• ทางอ้อม
น้าร้อนจากปฏิกรณ์จะถ่ายเทความ
ร้อนให้กับชุดเครื่องผลิตไอน้า
40
วงจรผลิตไฟฟ้านิวเคลียร์
http://www.45nuclearplants.com/
41
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
นิยมใช้
• ปฏิกรณ์น้าธรรมดา (Light Water Reactor LWR)
– แบบน้าเดือด (Boiler Water Reactor BWR)
– แบบอัดความดันน้า (Pressurized Water Reactor PWR)
• ปฏิกรณ์น้าหนัก (Heavy Water Reactor HWR หรือ CANDO)
ใช้น้ามวลหนัก D2O
42
โรงไฟฟ้าปฏิกรณ์น้าเดือดBWR
• เป็นแบบทางตรง น้ารับความ
ร้อนจากเชื้อเพลิงแล้ว
เปลี่ยนเป็นไอน้าเพื่อไปหมุน
กังหัน
• ความดันประมาณ 6-9 MPa
• อุณหภูมิน้าประมาณ 285 C
43
• เป็นแบบทางอ้อม น้ารับความร้อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ แล้วถ่ายเทความร้อน
ให้กับชุดผลิตไอน้า
• ความดันภายในหม้อปฏิกรณ์ประมาณ 15.6 MPa อุณหภูมิน้า ประมาณ 315 C
โรงไฟฟ้าปฏิกรณ์อัดแรงดัน PWR
44
โรงไฟฟ้าปฏิกรณ์น้าหนัก HWR หรือ CANDU
• ใช้น้ามวลหนักเป็นสารระบายความ
ร้อนและหน่วงความเร็วนิวตรอน
• น้ามวลหนักมีความดันประมาณ 10
MPa และมีอุณหภูมิประมาณ 310 C
• เป็นแบบทางอ้อม
http://ellsworthmaine.com
45
วัฏจักรเชื้อเพลิง
• วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เป็น
กระบวนการต่างๆ ที่ใช้ในการ
ผลิตเชื้อเพลิงเพื่อนาไปใช้กับ
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และ
รวมถึงการจัดการกับเชื้อเพลิง
นิวเคลียร์ที่ใช้แล้ว
when uranium is mined, enriched, and
manufactured into nuclear fuel, (1)
which is delivered to a nuclear power
plant. After usage in the power plant,
the spent fuel is delivered to a
reprocessing plant (2) or to a final
repository (3) for geological disposition.
In reprocessing 95% of spent fuel can
be recycled to be returned to usage in a
power plant (4).
46
47
รังสีและความร้อน
• รังสีปลดปล่อย
เข้าสู่บรรยากาศไม่เกิน 5 มิลลิเรม/ปี
รังสีของเหลวไม่เกิน 3 มิลลิเรม/ปี
• ความร้อนที่ระบายออก
สู่แหล่งน้าหรือ Cooling Tower
48
การรับรังสีโดยทั่วๆไปจาก
แหล่งต่างๆ
มิลลิแรม (mrem) มีค่าเท่ากับ 1 / 1000 แรม
(rem) แรม ย่อมาจาก roentgenequivalent man
หรือ mammal
เป็นหน่วยที่บอกถึงความเสียหายทางชีวภาพที่
เกิดกับคน จากรังสีชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่ง
เทียบเท่ากับความเสียหายทางชีวภาพที่เกิดจาก
รังสีแกมมา 1 rep (97 erg ต่อกรัมของเนื้อเยื่อ)
49
กากกัมมันตรังสี
กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบ่งตามระรับความแรงของรังสี
ได้ดังนี้
• กากกัมมันตรังสีระดับต่า ได้แก่ วัสดุปนเปื้อนรังสีเช่น ชุดปฏิบัติงาน
อุปกรณ์ เครื่องมือ รวมทั้งน้าที่ใช้ชาระล้างอุปกรณ์ ภายในโรงไฟฟ้า
• กากกัมมันตรังสีระดับกลาง ได้แก่ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับสารรังสี
โดยตรง เช่น ไส้กรองสารกัมมันตรังสี ท่อหุ้มเม็ดเชื้อเพลิง
• กากกัมมันตรังสีระดับสูง ได้แก่ สารกัมมันตรังสีที่เกิดใหม่รวมทั้งพลูโต
เนียม ภายในแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว ยูเรเนียมที่ยังเหลืออยู่บางส่วน และ
กากที่เกิดจากการสกัดเชื้อเพลิงมาใช้ใหม่
50
การจัดเก็บกากกัมมันตรังสี
• กากกัมมันตรังสีระดับต่าและระดับกลาง จะถูกนามาผ่านกระบวนการ
ขจัดกากและลดปริมาณลง แล้วบรรจุถังขนาด 200 ลิตร บุด้วยวัสดุกัน
รังสี แล้วนาไปเก็บในสถานที่เก็บกากบนพื้นดิน หรือฝังในระดับความ
ลึก ประมาณ 5-10 เมตร (ซึ่งมีอยู่หลายแบบ ตามความเหมาะสม)
51
• กากกัมมันตรังสีระดับสูง จะถูกอบให้แห้งแล้วนาไปหลอมให้เป็นเนื้อ
เดียวกัน กับแก้วชนิดพิเศษ(บอโรซิลิเคท) ที่ความร้อนสูงแล้วบรรจุลงถัง
และนาไปจัดเก็บในสถานที่ที่เหมาะสม ซึ่งถือว่ามีความปลอดภัยที่สุด
ในปัจจุปันคือการฝังลงในชั้นหินแข็งที่มีความลึกจากระดับผิวดินลงไป
มากกว่า 500 เมตรโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 1,000 เมกะวัตต์จะมีกาก
กัมมันตรังสีสูงประมาณ 10 ถังต่อปี (ขนาดถัง 200 ลิตร)
52
• เชื้อเพลิงที่ใช้แล้วไม่ถือว่าเป็นกากอย่าง
แท้จริงเพราะยังมีวัสดุมีค่าผสมอยู่ภายในเม็ด
เชื้อเพลิงได้แก่
• ยูเรเนียม-235ประมาณ ร้อยละ 1
• ยูเรเนียม-238 ประมาณ ร้อยละ 93
• พลูโตเนียม-239ประมาณ ร้อยละ 0.5
• และผลิตผลจากการเกิดปฏิกิริยาแตกตัว
ประมาณร้อยละ 5.5 ซึ่งเป็นไอโซโทปของ
ธาตุต่างๆ กว่า 200 ชนิด
• การจัดการเชื้อเพลิงที่ใช้แล้วซึ่งปกติจะอยู่ใน
รูปของมัดเชื้อเพลิงและถูกบรรจุในช่องเก็บ
(Rack) ซึ่งแช่อยู่ในบ่อน้าที่ในโรงไฟฟ้าซึ่ง
สามารถเก็บเชื้อเพลิงใช้แล้วได้ตลอดอายุการ
ใช้งานของโรงไฟฟ้าคือประมาณ 30-40 ปี
53
http://en.kernenergie.de/kernenergie/img/Themen/jb06-morsleben.jpg
http://www.alphabetics.info/international/2010/11/01/nuclear-energy/
54
Yucca Mountain nuclear
storage facility
55
ความร้อนที่ระบายออก
• ความร้อนที่เหลือจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ถูกระบายออกสู่แหล่งน้าหรือ
เข้าสู่ในบรรยากาศโดยหอระบายความร้อน (Cooling Tower)
• ปริมาณความร้อนที่เหลือใช้และจาเป็นต้องระบายความร้อนสู่
สิ่งแวดล้อมนั้นไม่ใช่เป็นสิ่งสาคัญแต่ความสาคัญอยู่ที่การควบคุมให้
ความร้อนที่ระบายออกมานั้นมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
ดังนั้นในกรณีที่ปริมาณความร้อนเหลือใช้จากโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่
ระบายทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมจะสูงกว่าโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงธรรมชาติ
56
สิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ และความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
• ด้านสิ่งแวดล้อม
• โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นโรงไฟฟ้าที่สะอาดเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าโดยไม่มีเขม่า ควัน หรือ
ก๊าซต่าง ๆ ที่ทาให้อากาศเสียหรือเกิดฝนกรดและภาวะเรือนกระจกเนื่องจากไม่มีการเผา
ไหม้เชื้อเพลิง สิ่งปลดปล่อยออกมาได้แก่รังสีและปริมาณความร้อน
• ด้านเศรษฐศาสตร์
– ถึงแม้ต้นทุนการผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะต่ากว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่เงินลงทุนในการ
ก่อสร้างจะสูงกว่า เนื่องจากต้องมาตรการความปลอดภัยในส่วนของการออกแบบ การ
ติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ทางด้านความปลอดภัยต่าง ๆ ถึงอย่างไรก็ตามต้นทุนการผลิต
ไฟฟ้าต่อหน่วยโดยเฉลี่ยจะถูกกว่าโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแบบอื่น ๆ เนื่องจากต้นทุนการ
ผลิตเชื้อเพลิงที่ต่ากว่าและใช้ปริมาณน้อยกว่า
57
• ด้านความปลอดภัย
– การดาเนินงานเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะต้องเป็นไปตามแนวปฏิบัติของทบวง
การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency =
IAEA) แห่งสหประชาชาติ นับตั้งแต่การเลือกสถานที่ตั้ง การออกแบบ การ
ก่อสร้างและติดตั้งการทดสอบและทดลองการเดินเครื่อง การบารุงรักษา
จนกระทั่งการเปลี่ยนเชื้อเพลิง มาตรการความปลอดภัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิด
พื้นฐานด้านความปลอดภัยแบบการป้องกันหลายชั้น
58
59
สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ
• สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
• www.oaep.go.th
• เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่กากับดูแลความปลอดภัยในการนาพลังงาน
นิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์
• การออกใบอนุญาตให้มีการใช้การควบคุมดูแลการใช้ของหน่วยงาน
ต่างๆ จนกระทั่งที่เลิกใช้แล้วให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติพลังงาน
ปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ.2504
60
สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ
• ภารกิจหลักในปัจจุบันคือ บริหารจัดการความปลอดภัย ในการใช้
พลังงานปรมาณูในทางสันติโดยการกากับ ดูแลการใช้พลังงานนิวเคลียร์
ภายในประเทศให้เป็นไปอย่างถูกต้อง และเกิดความปลอดภัยสูงสุดทั้ง
กับตัวผู้ใช้และประชาชนทั่วไป
61
ตัวอย่างอุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่สาคัญ
• The Three Mile Island
เกิดขึ้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่ 28
มีนาคม 1979 เนื่องจากขาดน้าหล่อเย็น
ในแกนเครื่องปฏิกรณ์ ทาให้เชื้อเพลิง
หลอมละลาย และเกิดการรั่วไหลของ
รังสีสู่ภายนอก ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือ
บาดเจ็บ แต่ส่งผลระยะยาวด้านสุขภาพ
http://en.wikipedia.org/wiki/Nuclear_and_radiation_accidents
62
อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
• The Chernobyl disaster
ในปี 1986 ที่เมือง Pripet สหภาพโซเวียต โรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์เชอร์โนบิลได้เกิดระเบิดซึ่งถือเป็นหายนะ
ทางนิวเคลียร์ที่ร้ายแรงที่สุดทางด้านพลเรือน ผล
ของระเบิด ทาให้กลุ่มควันที่มีฝุ่นกัมมันตรังสี
กระจายเข้าสู่ยุโรป การระเบิดเกิดขึ้นเนื่องจากการ
ทดลองที่ผิดพลาดทาให้แกนเครื่องปฏิกรณ์เครื่องที่
4 ละลายและเกิดการระเบิดมีผู้เสียชีวิต 31 คน ซึ่ง
ส่วนใหญ่เป็นเจ้าหน้าที่ดับเพลิง และอีกหลายพัน
คนได้รับผลกระทบมีเด็กหลายคนเสียชีวิตจากการ
ป่วยเนื่องจากรังสี ทางการยูเครนออกมาแถลงว่ามี
ประชาชนได้รับผลกระทบทางสุขภาพจากอุบัติเหตุ
ครั้งนี้นับล้านคน
63
อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเอเชีย
• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Tokaimura
ในปี 1999 ที่ประเทศญี่ปุ่น การเกิดอุบัติเหตุครั้ง
นี้ไม่ได้เกิดขึ้นในส่วนที่เป็นปฏิกรณ์นิวเคลียร์
และไม่ได้เกิดขึ้นในขั้นตอนของวัฎจักรเชื้อเพลิง
ช่วงการสกัดเชื้อเพลิงมาใช้ใหม่ แต่อุบัติเหตุครั้ง
นี้เกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการที่เตรียมเชื้อเพลิง
จานวนน้อยเพียงเพื่อป้อนให้ปฏิกรณ์วิจัย Joyo
ซึ่งเป็นปฏิกรณ์ชนิดเพาะเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่
เตรียมขึ้นมีปริมาณยูเรเนียมสูงจนก่อให้เกิด
ปฏิกิริยาแตกตัว (fission) และเกิดสาร
กัมมันตรังสีจากปฏิกิริยาในทันทีแม้จะไม่เกิด
การระเบิดใดๆ มีผู้เสียชีวิตทันที 2 คน และได้รับ
บาดเจ็บรวมไปถึงรับรังสีมากกว่าปกติมากมาย
(กว่าพันคน)
64
อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเอเชีย
• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Mihama
เกิดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2004 ไม่ได้เกิดจาก
เชื้อเพลิงรังสีใดๆ แต่เกิดจากการขาดน้าหล่อเย็น
ในระบบกังหัน ทาให้เกิดการรั่วไหลของไอน้า
ความดันและอุณหภูมิสูง(270 C) มีผู้เสียชีวิตจาก
ไอน้าลวก 5 คน นับเป็นจานวนผู้เสียชีวิตมาก
ที่สุดเนื่องจากอุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใน
ประเทศญี่ปุ่น
65
• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมาไดอิชิ
เป็นการเกิดอุบัติเหตุในปี 2011 ซึ่งเป็น
ผลกระทบที่เกิดจากการเกิดสึนามิครั้งที่
ร้ายแรงที่สุดของประเทศญี่ปุ่น และนับว่า
เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
ที่ร้ายแรงในรอบ 25 ปี ผู้คนต้องอพยพ
ออกจากบ้านเรือนเป็นจานวนถึง 50,000
ครัวเรือนเนื่องจากการรั่วไหลของสาร
กัมมันตภาพรังสีสู่อากาศ ดิน และน้า มี
ผู้เสียชีวิตและผู้ป่วยจากการรับสาร
กัมมันตภาพรังสีอย่างต่อเนื่องจนถึง
ปัจจุบัน
66
1) Unit 1: Explosion, roof blown off (12 March)
2) Unit 2: Explosion (15 March), Contaminated
water in underground trench, possible leak
from suppression chamber
3) Unit 3: Explosion, most of concrete building
destroyed (14 March), Possible plutonium leak
4) Unit 4: Fire (15 March), Water level in spent
fuel pools partly restored
5) Multiple trenches: probable source of
contaminated water, partly underground,
leaked stopped (6 April)
67
ไทยให้ญี่ปุ่นยืมโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ (29 มีนาคม 2554)
• ไทยให้ญี่ปุ่นยืมโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ 244 เมกะวัตต์มูลค่า 90 ล้านบาท 3-5 ปี เพื่อช่วยแก้ปัญหา
ขาดแคลนไฟฟ้าในโตเกียวและจังหวัดใกล้เคียง
• น.พ.วรรณรัตน์ ชาญนุกูล รมว.พลังงาน เปิดเผยภายหลังเป็นประธานส่งมอบโรงไฟฟ้าให้
ประเทศญี่ปุ่น ว่า รัฐบาลไทยได้อนุมัติให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส่ง
โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซหนองจอกไปติดตั้งที่ญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราว 3-5 ปี จานวน 2 เครื่อง
• นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) กล่าวว่า สาเหตุที่
เลือกโรงไฟฟ้าหนองจอก เนื่องจากไม่ได้มีการเดินเครื่องผลิตไฟฟ้า และกฟผ.ได้ปลดอออกจาก
ระบบผลิตไฟฟ้าหลักของประเทศไปแล้ว เพราะเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้น้ามันดีเซล เป็นเชื้อเพลิงมี
ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าสูง ซึ่งจะนามาใช้งานเฉพาะกรณีกาลังการผลิตไฟฟ้าไม่เพียงพอเท่านั้น
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย
• ประเทศไทยมีความคิดที่จะสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ เริ่มจากการ
ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เริ่มศึกษาความเหมาะสมของ
โครงการและเลือกสถานที่ตั้งในปี 2510
• ต่อมารัฐบาลได้เห็นชอบโครงการ และกาหนดใช้ปฏิกรณ์แบบน้าเดือด
(BWR) ขนาด 600 เมกะวัตต์ในปี 2513 ที่อาเภออ่าวไผ่จังหวัดชลบุรี
• หลังจากนั้น กฟผ. ได้เสนอขออนุมัติเพื่อเปิดประมูลโรงไฟฟ้ าพลังงาน
นิวเคลียร์ ในปี พ.ศ. 2519 แต่เนื่องจากมีปัญหาเรื่องผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โดยเฉพาะในประเด็นที่สาธารณะชน
ส่วนใหญ่เป็นห่วงเรื่องการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีและเรื่องการ
กาจัดกากของนิวเคลียร์ ซึ่งไม่สามารถหาข้อยุติได้
68
• อย่างไรก็ดีจากการค้นพบแหล่งลิกไนต์ขนาดใหญ่ที่จังหวัดลาปางและ
ต่อมาได้มีการค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติที่อ่าวไทย ทาให้การไฟฟ้าฝ่าย
ผลิตแห่งประเทศไทยได้ชะลอโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
ออกไปโดยไม่มีกาหนด และหันไปก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน
ลิกไนต์และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง
แทน ดังนั้นโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่รัฐบาลตั้งใจจะให้
เกิดขึ้นจึงหยุดไป
69
• ต่อมาได้มีแนวคิดเริ่มโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นมาอีกครั้ง
เมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้ทาการ
สารวจและศึกษาสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ และได้สถาน
ที่ตั้งที่เหมาะสม จานวน 5 แห่ง แต่เนื่องจากไม่มีนโยบายที่แน่ชัด
โครงการจึงไม่ได้ดาเนินการต่อ
• จนกระทั่งถึงปี 2550 รัฐบาลจึงตระหนักถึงปัญหาการผลิตไฟฟ้ า ปัญหา
คือ ปัจจุบันประเทศไทยต้องนาเข้าน้ามันประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของ
ความต้องการใช้ภายในประเทศ คิดเป็นมูลค่าถึงประมาณ 1.03 ล้านล้าน
บาทต่อปี และต้องพึ่งพิงการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติถึง 70
เปอร์เซ็นต์ราคาเชื้อเพลิงก็เพิ่มขึ้นมากตามราคาน้ามัน รวมทั้งกับปัญหา
ภาวะโลกร้อน จึงทาให้เกิดความต้องการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงาน
นิวเคลียร์
70
• โดยคณะรัฐมนตรี ได้อนุมัติให้บรรจุไว้ในแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้า
ของประเทศไทย ในปี 2563 จานวน 1,000 เมกะวัตต์และอีก 1,000 เมกะ
วัตต์ในปี 2564 รวมทั้งเห็นชอบให้จัดตั้งสานักพัฒนาโครงการ
โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นภายในกระทรวงพลังงาน เพื่อจัดทาแผน
เตรียมความพร้อมในด้านการศึกษาความเป็นไปได้
• การคัดเลือกพื้นที่ซึ่งเป็นสถานที่ตั้ง การกากับดูแลด้านความปลอดภัย
และการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดเตรียมด้านบุคคลากร และการ
คัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ
การสร้างการยอมรับของประชาชนต่อโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ทั้งนี้
รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับคณะรัฐมนตรี ในการ
ตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการดังกล่าวนี้หรือไม่ในต้นปี 2554
71
72
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย
• 18 กรกฎาคม 2551
• สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ พร้อมเสนอเทคโนโลยีตัวเลือกสาหรับ
ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทยให้รัฐบาลพิจารณา หลัง
เดินทางศึกษาระบบสร้างความปลอดภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใน
สาธารณรัฐเกาหลี
73
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย
• พบว่าเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมแบ่งประเภทเป็น เทคโนโลยีของแคนนาดาที่ใช้ยูเร
เนี่ยมธรรมชาติมาใช้ผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์โดยตรง และเทคโนโลยีการผลิต BWR
• เทคโนโลยีที่มีการใช้มากที่สุดถึงร้อยละ 60 ทั้งในประเทศญี่ปุ่นและเกาหลี คือ
เทคโนโลยี BWR ที่มีระบบระบายความร้อนที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยมากถึงร้อยละ25
• การจัดทาข้อมูลพื้นฐานการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทยต้องใช้เวลา
การศึกษารายละเอียดเกือบทุกด้านอาทิ สถานที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เทคโนโลยีที่
เหมาะสม การยอมรับจากประชาชนรวมถึงความพร้อมของบุคคลากรที่จะลงมือก่อสร้าง
จริง ซึ่งคาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 3 ปี จึงจะสามารถเสนอเทคโนโลยีการก่อสร้างให้กับ
รัฐบาลได้
• รัฐบาลได้ตั้งเป้ าที่จะก่อสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ 4 แห่งแรก ให้แล้วเสร็จ
ภายในปี 2563
74
สยามรัฐ 6 ก.ย. 53 http://www.siamrath.co.th/?q=node/65785
• กฟผ.เผยผลศึกษาเตรียมพร้อมก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เสร็จ 99%
เตรียมเสนอพื้นที่ 5 แห่งให้ครม.พิจารณาตัดสิน ธ.ค. นี้ ขณะที่วงใน
กระทรวงพลังงานชี้ พื้นที่เป้าหมายจริงอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์และ
อุบลราชธานี ระบุเตรียมโครงการสร้างความเข้าใจกับชาวบ้านใน 2
จังหวัดเป็นพิเศษแล้ว
• แหล่งข่าวการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) กล่าวว่า สาหรับผล
การศึกษาเตรียมความพร้อมก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะมีการ
นาเสนอพื้นที่ที่ใช้ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งสิ้น 5 แห่ง ให้ครม.
พิจารณา ได้แก่ พื้นที่ในจังหวัดนครสวรรค์ 1 แห่ง จังหวัด
นครศรีธรรมราช 1 แห่ง จังหวัดตราด 1 แห่ง และพื้นที่ในจังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี 2 แห่ง
75
https://www.facebook.com/notes/252644228184656/
76
• แหล่งข่าวกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า พื้นที่เป้าหมายจริงในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์ คือ จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยขณะนี้ได้มีคาสั่งให้
จัดทาโครงการพัฒนาการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในพื้นที่
จังหวัดนครสวรรค์และอุบลราชธานีเป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวยังไม่มี
กระแสต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มากนัก
• นอกจากนี้พื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องอาศัยแหล่งน้าขนาดใหญ่สาหรับ
ระบายความร้อน ซึ่งจังหวัดนครสวรรค์อยู่ติดกับแม่เจ้าพระยา และจังหวัด
อุบลราชธานีอยู่ติดกับแม่น้าโขง ซึ่งจะอาศัยแม่น้าดังกล่าวในการผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานนิวเคลียร์ได้ แต่เบื้องต้นอาจต้องสร้างอ่างเก็บน้าขึ้นมาใหม่โดยให้อยู่ติด
กับแม่น้าเป็นสาคัญ เนื่องจากป้องกันปัญหาขาดแคลนน้าในฤดูร้อน หรือป้องกัน
ปัญหาน้าหลากในฤดูฝน เป็นต้น
77
• ผลการคัดเลือกสถานที่ตั้ง 5 แห่ง จากสถานที่ทั้ง 17 แห่ง
• ผลประเมินด้านวิศวกรรม
จากคะแนนเต็ม 500 คะแนน อ.สิรินธร อุบลราชธานี ได้คะแนนสูงสุดเมื่อเทียบกับ
พื้นที่อื่น คือ 399 คะแนน
• ผลประเมินความเหมาะสมด้านสิ่งแวดล้อม
จากคะแนนเต็ม 500 คะแนน คันธุลี อ.ท่าชนะ สุราษฎร์ธานี ได้คะแนนสูงสุดคือ
391 คะแนน
• รวมผลประเมินด้านวิศวกรรม และสิ่งแวดล้อม
จากคะแนนเต็ม 1,000 คะแนน อ.สิรินธร อุบลราชธานี ได้คะแนนสูงสุดคือ 741
คะแนน รองลงมา คือ พนมรอก นครสวรรค์ได้738 คะแนน
สรุปจากรายงานเลือกสถานที่ตั้ง
78
สรุปจากรายงาน
• ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
• พื้นที่ที่ใช้ต้นทุนต่าที่สุดสาหรับการก่อสร้าง คือ อ.สิรินธร อุบลราชธานี
จานวน 5,254 ล้านบาท
• พื้นที่ที่ใช้ต้นทุนมากที่สุดคือ บ้านท้องเนียน นครศรีธรรมราช จานวน
30,371 ล้านบาท รองลงมาคือ บ้านปากน้า ละแม ชุมพร ซึ่งต้องลงทุน
เป็นจานวน 229,623 บาท
79
เมื่อเพื่อนบ้านแข่งผุดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฐานะไทยตกอยู่ในวงล้อม!!!
• หนังสือพิมพ์แนวหน้า -- ศุกร์ที่ 17 ธันวาคม 2553
• เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย หรือแม้กระทั่งกัมพูชาและพม่า ก็มีข่าวแว่วๆว่ากาลัง
ศึกษาเพื่อเดินหน้าสร้าง "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์" ถ้าเกิดขึ้นจริงนั่นเท่ากับว่า "เมืองไทย" ที่
อยู่ในวงล้อมของประเทศต่างๆที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตั้งอยู่จะมีทางเลือกอยู่2 ทาง คือ 1.
เตรียมตัวเป็นผู้ซื้อที่ดี และ 2.เดินหน้าสร้างเพื่อไม่ต้องพึ่งพิงพลังงานจากต่างประเทศมาก
เกินไป
• เวลานี้รัฐบาลอินโดนีเซีย และเวียดนามได้ตัดสินใจบรรจุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่ในแผนที่
จะดาเนินการก่อสร้างแล้วโดยปี 2563-2564 จะได้เห็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เกิดขึ้นเป็น
แห่งแรกในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะในเวียดนาม ซึ่งห่างจาก จ.มุกดาหารเพียง 250
กิโลเมตรเท่านั้น
80
• คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ(กพช.) ได้เห็นชอบในแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของ
ประเทศไทย ปี 2553-2573(พีดีพี 2010) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 โดยกาหนดให้มี "โรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์" บรรจุอยู่ในแผน 5 โรง ขนาดกาลงผลิตโรงละ 1,000 เมกะวัตต์โดยเครื่องที่ 1 จะเข้า
ระบบปี 2563 , เครื่องที่ 2 , 3 , 4 และ 5 จะเข้าระบบปี 2564 , 2567 , 2568 และ 2571 ตามลาดับ ก็
ทาให้เกิดข้อสงสัยจากหลายฝ่ายว่าเวลานี้ไทยมีความจาเป็นต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้นหรือยัง
81
PDP2010 Rev.3
82
• http://www.eco-business.com/news/thailand-freezes-nuclear-power-plant-plans/
• Thailand freezes nuclear power plant plans (March 17th, 2011)
• Thailand has frozen its plans to build its own nuclearpower plants in the wake of the ongoing nuclear
crisis in Japan following a series of meltdowns at the quake-hit power complexin Fukushima.
• Mr Abhisit ‘personally does not favour the construction ofnuclear plants in Thailand.
• The U-turn by the government is certainto cheervarious civil groups that recently formedan alliance
to protest against the planned constructionof nuclear powerplants in up to eight short listed
provinces.
• Thailand’s decision to suspend its atomic power plans indefinitely followsa similar action by
Switzerland, which last week froze its proposal to replace and build new nuclearplants.
• Malaysia, which had intentionsto establishits first atomic power plant by 2021, has now said it wants
to learn from Japan before making its next move. India, meanwhile,will undergoa safety review of
its 20 reactors before committingto a plan to spend US$175 billionon nuclear energyover the next
20 years.
• Indonesia – which is planningfour plantsby 2025 – are of the view that governmentsshould look at
nuclear power as a secure energy supply to reduce global dependence onfossil fuels.
ไฟฟ้ านิวเคลียร์ในอาเซียน วันพุธที่ 17 เมษายน 2013
http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=179146:2013-04-17-06-00-27&catid=231:aec-news&Itemid=621#.VT9ToyGqqko
• สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศที่มีความคืบหน้าในการก่อสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์มากที่สุดก็คือ ประเทศ
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยรัฐสภาอนุมัติพิมพ์เขียวก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาตั้งแต่ปลายปี
2552 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกตั้งที่ทางตอนเหนือของจังหวัดนินห์ถ่วน และจังหวัดนี้อยู่ทางตอนใต้ของ
เวียดนาม ห่างจากประเทศไทยประมาณ 900 กิโลเมตรจากจังหวัดศรีสะเกษ โดยได้รับการสนับสนุนด้าน
เทคโนโลยีจากประเทศรัสเซีย ค่าก่อสร้างประมาณ 10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จะเริ่มก่อสร้างในปี 2557
และเดินเครื่องในปี 2563
• รัฐบาลเวียดนามวางแผนว่า ในช่วงแรกจะก่อสร้างโรงไฟฟ้าทั้งหมด 8 แห่ง ก่อนที่จะมีการก่อสร้างเพิ่มเติม
โดยอาศัยความร่วมมือจากประเทศญี่ปุ่นตามแผนก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้ได้10 แห่ง หรือประมาณ
80,000 เมกกะวัตต์ ภายในปี 2573
• ประเทศกัมพูชาก็มีแผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ขึ้นที่จังหวัดเกาะกง ชายแดนกัมพูชา-ไทย แต่ไม่มีข่าว
อะไรคืบหน้านัก คิดว่าคงไม่อาจเกิดขึ้นได้ง่ายๆ เนื่องจากใช้เงินลงทุนมหาศาล ขณะที่ประชากรมีจานวน
เล็กน้อยประมาณ 15 ล้านคน
• ขณะที่ประเทศสิงคโปร์นั้น รัฐบาลได้มอบหมายให้แต่ละส่วนที่เกี่ยวข้อง ไปทาการศึกษาวิจัยอย่างละเอียด
ถึงความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศ แม้ว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญจานวนมากเตือนว่า
หากเกิดอุบัติเหตุขึ้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของสิงคโปร์ ประเทศนี้ทั้งประเทศอาจไม่สามารถอยู่รอดได้
• ขณะที่ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย ยังเดินย่ารอยเดิม คือ ยังไม่มี 83
Thailand rules out Nuclear power, says will look at coal to meet energy needs
Aug 11, 2014 http://www.firstpost.com/world/thailand-rules-nuclear-power-says-will-look-coal-meet-energy-needs-1658985.html
• Bangkok: Ruling out constructionof nuclear power plants, Thailand's military juntahas said it
will look into coal powered power plants to meet energyneeds of the country.
• National Council for Peace and Order chief Gen Prayuth Chan-ocha said officials have been
asked to come up with an energy plan that is secure, affordable and sustainable.
• A robust strategy to address energy issues is needed to achieveenergy security,he said.
• Noting that building a nuclearplant was not possible, Gen Prayuth said he had asked authorities
to study the possibilityand necessity ofbuilding a coal-fired powerplant and examine its
impacts on human healthand the environment.
• However, he did not specify as where the coal-firedpower plants would be built. He also
stressed the need of renewable energysources.
84
• วารสาร “การเงินธนาคาร” ฉบับเดือนมีนาคม ที่กาลังวางแผง มีรายงาน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ของประเทศ
เพื่อนบ้านไทยค่อนข้างละเอียดว่า “เวียดนาม” กาลังเริ่มก่อสร้าง “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรก” ที่ “เมืองนินห์
ถ่วน” ในปีหน้า 2014 นี้แล้ว เมืองนินห์ถ่วน อยู่ห่างจาก จังหวัดอุบลราชธานี 800 กิโลเมตร และอยู่ห่างจาก
จังหวัดศรีสะเกษ 900 กิโลเมตร รัฐบาลเวียดนามจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งหมด 8 โรง
• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์นินห์ถ่วน มีทั้งหมด 4 โรง มีกาลังการผลิตโรงละ 1,000 เมกะวัตต์ รวม 4,000 เมกะวัตต์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรก จะสร้างเสร็จและเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าได้ในปี 2020 หรือในอีก 7 ปีข้างหน้า
ส่วนอีก 3 โรงที่เหลือจะทยอยเปิดปีละโรงจนถึงปี 2024
• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของเวียดนาม เป็น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์รัสเซียเวียดนามซื้อจากรัสเซียเมื่อปี 2553
ในราคา 5,600 ล้านดอลลาร์ 168,000 ล้านบาท
• ข้อมูลในวารสาร “การเงินธนาคาร” รายงานต่อไปว่า ในปี 2015 อีกสองปีข้างหน้า เวียดนามจะเริ่มก่อสร้าง
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เฟสสองอีก 4 โรง เป็น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จากญี่ปุ่น โรงแรกจะสร้างเสร็จและเริ่มผลิต
ไฟฟ้าได้ในปี 2021 จากนั้นจะทยอยเปิดอีกปีละโรงจนครบ 4 โรงในปี 2025
• หมายความว่า ในอีก 12 ปี ข้างหน้า เวียดนาม จะมี โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 8 โรง ที่อยู่ห่างจากไทยไม่ถึง 1,000
กิโลเมตร มีกาลังการผลิตไฟฟ้า 8,000 เมกะวัตต์ ขณะที่ไทยยังอยู่ในขั้นอนุบาล แค่เขียนแผนอนาคตไว้อย่าง
เลื่อนลอยและไร้จุดหมาย
85
โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์เวียดนาม สร้างจ่อไทยแค่ 800 กม.
โดย ลม เปลี่ยนทิศ 21 มี.ค. 2556 http://www.thairath.co.th/content/333556
86
http://gentleseas.blogspot.com/2013/10/vietnam-signs-
ambiguous-nuclear.html
http://gentleseas.blogspot.com/2013/10/vietnam-signs-
ambiguous-nuclear.html

More Related Content

What's hot

พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 

What's hot (20)

หู
หูหู
หู
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 

More from nuchida suwapaet

โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)nuchida suwapaet
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55nuchida suwapaet
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังnuchida suwapaet
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้นnuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2nuchida suwapaet
 

More from nuchida suwapaet (20)

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
 
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
บทที่ 1 และ 2 ภาคปลาย.2555
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลังเศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
เศรษฐศาสตร์โรงจักรต้นกำลัง
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
 
E G A T
E G A TE G A T
E G A T
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
 

บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)

  • 2. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ในการ กระบวนการสร้างไอน้า เพื่อนาไอน้านั้นไปหมุนกังหันไอน้าใน กระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ได้รับการ พัฒนามานานกว่า 50 ปี จนทัดเทียมกับโรงไฟฟ้าแบบอื่นๆ • การเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศเพื่อยกระดับ มาตรฐานการครองชีพได้ส่งผลกระทบทาให้ความต้องการพลังงาน ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นทุกปี การนาพลังงานนิวเคลียร์มาทดแทนเชื้อเพลิง ธรรมชาติเพื่อนามาผลิตไฟฟ้า สามารถช่วยประหยัดทรัพยากร ซึ่งมีอยู่ จากัดไว้ใช้ประโยชน์อย่างอื่นที่จาเป็น 2
  • 3. 3
  • 4. 4 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ การผลิตพลังงานนิวเคลียร์ทาได้โดยการใช้อนุภาค นิวตรอนทาปฏิกิริยาแตกตัวลูกโซ่กับวัสดุนิวเคลียร์ เรียกว่าเชื้อเพลิง รวมถึงการควบคุมปฏิกิริยาและพลังงาน ที่เกิดขึ้นให้ได้ตามความต้องการเรียกว่าปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ในการผลิตพลังงาน เชื้อเพลิงส่วนหนึ่งจะถูกแปรเปลี่ยน เป็นเชื้อเพลิงรูปใหม่ วัสดุเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในรูปของแร่ ดิบตามธรรมชาตินั้นจาเป็นต้องนามาผ่านกรรมวิธีหลาย ขั้นตอนเพื่อปรับสภาพและองค์ประกอบให้ได้รูปร่าง ขนาดและส่วนผสมตามที่กาหนด หลังจากที่ใช้แล้วจะ สามารถนากลับไปใช้ได้ใหม่ได้อีก แต่จะต้องระวังใน เรื่องของความปลอดภัย
  • 5. 5 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • 1934 - Enrico Fermi ได้ค้นพบปฏิกิริยา nuclear fission เป็นครั้งแรก โดยการยิงนิวตรอนเข้าไปที่ธาตุยูเรเนียม • 1942 - มีการทดลองสร้างเตาปฏิกรณ์ปรมาณูเป็นครั้งแรกที่ สหรัฐอเมริกา • 1951 - สหรัฐอเมริกาได้มีการสร้างกระแสไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ได้เป็นครั้งแรก • 1954 - โรงไฟฟ้าแบบพาวเวอร์กริด(ส่งจ่ายไฟฟ้าตามสาย)แห่งแรกของ โลกได้เปิดทาการที่ประเทศรัสเซีย • 1956 - ประเทศอังกฤษได้เปิดสถานีไฟฟ้านิวเคลียร์เชิงพาณิชย์แห่งแรก
  • 6. 6 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ The Ikata Nuclear Power Plant, Japan A pressurizedwater reactor that cools by secondary coolantexchange withthe ocean. The Susquehanna Steam ElectricStation, a boiling waterreactor in Pennsylvania, United States. The reactors are located insidethe rectangular containment buildings towards the front of the cooling towers. http://en.wikipedia.org/wiki/Nuclear_power_plant
  • 9. 9 Austria : Construction on the Zwentendorf Nuclear plant finished in 1978, however a referendum was passed that did not allow startup. Nuclear power is illegal. (2012) http://en.wikipedia.org/wiki/File:Nuclear_power_station.svg
  • 10. 10 As of 2012, countries such as Australia, Austria, Denmark, Greece, Ireland, Italy, Latvia, Liechtenstein, Luxembourg, Malta, Portugal, Israel, Serbia, Malaysia, and Norway have no nuclear power reactors and remain opposed to nuclear power. Austria : Nuclear reactions are forbidden by law. Denmark : law prohibits production Japan : As of April 2013, Japan had turned off all reactors in 2011, and has restored two to power production http://en.wikipedia.org/wiki/File:Nuclear_power_station.svg
  • 16. 2013 16 Under construction 71 reactors Net capacity of 69.6 GWe
  • 17. 2015 17 Under construction 66 reactors Net capacity of 64.482 GWe http://www.iaea.org/PRIS/WorldStatistics/UnderConstructionReactorsByCountry.aspx
  • 18. 18
  • 19. แนวโน้มของการขยายตัวของพลังงานนิวเคลียร์ • สภาวะเศรษฐกิจ เมื่อเศรษฐกิจตกต่าการใช้ พลังงานก็น้อยลง • ความไม่แน่นอนของแหล่งเชื้อเพลิง • ความไม่แน่นอนของกระบวนการกฎ ข้อบังคับ • ข้อกีดกันทางการเงิน การต่อต้านการขึ้นค่า กระแสไฟฟ้าและปัญหาการหาแหล่งเงินกู้ ระยะยาว • การยอมรับพลังงานนิวเคลียร์จากประชาชน • การเมืองภายในประเทศ • แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติและราคา การค้นพบ ทรัพยากรใหม่ ย่อมทาให้แผนพัฒนาประเทศ เปลี่ยนแปลงราคาเชื้อเพลิงธรรมชาติที่สูงขึ้น จะช่วยผลักดันการพัฒนาพลังงานนิวเคลียร์ • ปัจจัยทางสังคมการเจริญเติบโตของประชากร การดารงชีวิตและมาตรฐานการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม • นโยบายพลังงานแห่งชาติ และการร่วมมือ ระหว่างประเทศ ในการวางแผนพลังงานต้อง ให้สอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ 19
  • 20. 20 คาสาคัญ ศัพท์เทคนิค • โครงสร้างอะตอม (Atomic Structure) เป็นโครงสร้างของปรมาณูของ ธาตุ ประกอบด้วย นิวเคลียส นิวเคลียสจะมีโปรตรอนซึ่งเป็นประจุบวก อาจมีนิวตรอนซึ่งไม่มีประจุรวมอยู่ด้วย และมีอิเล็กตรอนซึ่งเป็นประจุ ลบอยู่รอบๆ • ปฏิกิริยาลูกโซ่ (Chain Reaction) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดจากฟาสต์ นิวตรอน (Fast Neutron) ตัวหนึ่งพุ่งเข้าชนกับนิวเคลียสของธาตุ กัมมันตรังสี เกิดการแตกตัวของนิวเคลียสตัวอื่นๆต่อไปเรื่อยๆ
  • 21. 21 คาสาคัญ ศัพท์เทคนิค • ฟิวชัน (Fusion) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียส 2 นิวเคลียส หรือ มากกว่า มารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสใหม่ที่มีเสถียรภาพมากกว่า และได้ ความร้อนออกมา แต่นิวเคลียสใหม่นี้จะมีน้าหนักน้อยกว่าผลรวม นิวเคลียสที่หมดที่มีอยู่เดิมเพียงเล็กน้อย และปฏิกิริยานี้ควบคุมได้ยาก • ฟิชชั่น (Fission) เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสตัวหนึ่งแตกตัว ออกเป็น 2 นิวเคลียส หรือมากกว่าและได้ความร้อนออกมา น้าหนักรวม ของนิวเคลียสใหม่ทั้งหมดจะน้อยกว่าน้าหนักนิวเคลียสเดิม และ ปฏิกิริยานี้สามารถควบคุมได้
  • 22. 22 หลักการทางานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานที่ให้ความร้อนสูง ทดแทนการใช้ เชื้อเพลิงฟอสซิล • ข้อแตกต่างคือ จะแช่เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ไว้ในน้าภายในโครงสร้างปิด สนิทเพื่อถ่ายเทความร้อนที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ไปต้มน้าโดยตรงได้ ไอน้า หรือนาความร้อนนั้นไปถ่ายเทให้กับน้าเพื่อเปลี่ยนเป็นไอน้า • ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดความร้อนคือ ปฏิกิริยาฟิวชัน และ ปฏิกิริยาฟิชชัน
  • 23. 23 ปฏิกิริยาฟิวชัน • เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบนดวงอาทิตย์จากการรวมตัวของธาตุที่มี น้าหนักเบา เช่น ไฮโดรเจน ภายใต้สภาวะเหมาะสมกลายเป็นธาตุใหม่ และปล่อยความร้อนออกมา • ควบคุมยาก ปัจจุบันทาได้แค่เพียงการจาลองปฏิกิริยาในระดับ ห้องปฏิบัติการ ยังไม่สามารถทาให้เกิดปฏิกิริยาต่อเนื่องเพื่อการผลิต ไฟฟ้าได้
  • 24. 24
  • 25. 25 ปฏิกิริยาฟิชชัน • เป็นปฏิกิริยาที่ใช้ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วไป แม้ว่าจะค้นพบทีหลัง • เป็นการนาอนุภาคนิวตรอนไปกระตุ้นธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม ทาให้ เกิดการแตกตัวเป็นธาตุใหม่ มีการปล่อยความร้อนออกมาพร้อมกับ อนุภาคนิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม่อีกจานวนหนึ่ง เมื่อมีปริมาณยูเรเนียม หนาแน่นเพียงพอและมีสภาวะที่เหมาะสม อนุภาคนิวตรอนที่เกิดขึ้น ใหม่ จะกลับเข้าไปทาปฏิกิริยากับยูเรเนียมอย่างต่อเนื่อง ได้ความร้อน ออกมาอย่างมากมาย • การแตกตัวของยูเรเนียม 1 อะตอม จะให้พลังงาน 200 MeV การเผาไหม้เชื้อเพลิงคาร์บอน 1 อะตอม จะให้พลังงาน 2-3 MeV
  • 26. 26
  • 27. ปฏิกรณ์นิวเคลียร์ • พลังงานนิวเคลียร์เกิดจากกระบวนการใช้อนุภาคนิวตรอนทา ปฏิกิริยาแตกตัวติดต่อกันเป็นลูกโซ่กับนิวเคลียสของธาตุหนัก ทา ให้นิวเคลียสนั้นแตกแยกออกเป็น 2 ส่วน กลายเป็นนิวเคลียสใหม่ที่ มีมวลใกล้เคียงกันและน้าหนักเบากว่านิวเคลียสเดิม พร้อมกับเกิด พลังงานขึ้นเป็นจานวนมาก ธาตุหนักคือธาตุที่มีจานวนโปรตอนใน นิวเคลียสตั้งแต่ 92 ขึ้นไป เช่น ยูเรเนียม -235 27
  • 28. • เมื่อทาให้นิวเคลียสชนิดที่ 1 ตัว แตกแยกจะได้พลังงานประมาณ 200 ล้านอิเลคตรอนโวลต์ ซึ่งคิดเทียบเป็นพลังงานความร้อนได้ 3.2 x 10-11 วัตต์/วินาที ยูเรเนียม -235 หนัก 1 กรัม จะมีนิวเคลียสอยู่ จานวน 20x1021 ตัว ซึ่งถ้าหากทาให้แตกแยกได้หมดจะได้พลังงาน ไฟฟ้าถึง 2.3 x 104 kWh พลังงานจานวนนี้หากผลิตด้วยถ่านหินที่มี ความร้อนสูงจะต้องใช้ถ่านหินประมาณ 3 ตัน 28
  • 29. 29 ประเภทปฏิกรณ์ • แบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งาน – ปฏิกรณ์วิจัย – ปฏิกรณ์พลังงาน • แบ่งตามชนิดการระบายความร้อน – น้าธรรมดา – น้าหนัก – ก๊าซ – สระน้า
  • 30. • โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่นิยมใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุบันในเชิงพาณิชย์ คือ • ปฏิกรณ์น้าธรรมดา (Lignt water Reactor = LWR) – แบบน้าเดือด (Boiler Water Reactor = BWR) – แบบอัดความดันน้า (Pressurized Water Reactor = PWR) • ปฏิกรณ์น้าหนัก (Heavy Water Reactor = HWR) 30
  • 33. ส่วนประกอบของปฏิกรณ์ • ปฏิกรณ์ประกอบด้วย 2 ส่วน คือแกนปฏิกรณ์และเตาปฏิกรณ์ 33
  • 34. แกนปฏิกรณ์ • ส่วนนี้เป็นหัวใจและอยู่กลางปฏิกรณ์ เป็นที่ซึ่งปฏิกิริยานิวเคลียสลูกโซ่ ดาเนินการและถูกควบคุม ประกอบด้วย • เชื้อเพลิงยูเรเนียมและพลูโตเนียม • สารหน่วงนิวตรอน (Moderator) • สารระบายความร้อน (Coolant) • แท่งควบคุม 34
  • 36. 36 1. เชื้อเพลิง (Fuel) อาจใช้ยูเรเนียม พลูโตเนียม เป็นต้น 2. มอเดอร์เรเตอร์ (Moderator)มีหน้าที่ทาให้ นิวตรอนวิ่งช้าลง 3. แท่งควบคุม (Control Rods) มีหน้าที่ควบคุมอัตรา การเกิดปฏิกิริยาไม่ให้เกิดมากเกินไป ที่นิยมใช้คือ แคดเมียม หรือโบรอน แคดเมียมจะเป็นตัวดูดกลืน นิวตรอนไว้ได้ดีมาก ดังนั้นถ้าสอดแท่งแคดเมียมให้ ลึกเข้าไปในเครื่องมาก ๆ ก็จะดูดกลืนนิวตรอนไว้ได้ น้อยลงทุกทีและปฏิกิริยาลูกโซ่ก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น 4. สารระบายความร้อน (Coolant) เพื่อนาเอาความร้อน ออกไปจากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยอาจใช้น้า ธรรมดาหรือโลหะโซเดียมหรือแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ฮีเลียม อากาศเป็นต้น
  • 37. เตาปฏิกรณ์ • เป็นภาชนะที่ห่อหุ้ม แกนและอุปกรณ์ ทั้งหมด ซึ่งทนความ กดดันและความร้อน ได้สูงมาก ที่ฝาปิด- เปิด มีช่องสาหรับใส่ น้าผ่านเข้าออก ใน กรณีของปฏิกรณ์เป็น แบบน้าเดือด จะมีไอ น้าผ่านช่องทาง เหล่านั้นแทน 37 http://decarbonisesa.com/2011/12/22/nuclear-power-a- safe-option/
  • 41. 41 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ นิยมใช้ • ปฏิกรณ์น้าธรรมดา (Light Water Reactor LWR) – แบบน้าเดือด (Boiler Water Reactor BWR) – แบบอัดความดันน้า (Pressurized Water Reactor PWR) • ปฏิกรณ์น้าหนัก (Heavy Water Reactor HWR หรือ CANDO) ใช้น้ามวลหนัก D2O
  • 43. 43 • เป็นแบบทางอ้อม น้ารับความร้อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ แล้วถ่ายเทความร้อน ให้กับชุดผลิตไอน้า • ความดันภายในหม้อปฏิกรณ์ประมาณ 15.6 MPa อุณหภูมิน้า ประมาณ 315 C โรงไฟฟ้าปฏิกรณ์อัดแรงดัน PWR
  • 44. 44 โรงไฟฟ้าปฏิกรณ์น้าหนัก HWR หรือ CANDU • ใช้น้ามวลหนักเป็นสารระบายความ ร้อนและหน่วงความเร็วนิวตรอน • น้ามวลหนักมีความดันประมาณ 10 MPa และมีอุณหภูมิประมาณ 310 C • เป็นแบบทางอ้อม http://ellsworthmaine.com
  • 45. 45 วัฏจักรเชื้อเพลิง • วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เป็น กระบวนการต่างๆ ที่ใช้ในการ ผลิตเชื้อเพลิงเพื่อนาไปใช้กับ เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และ รวมถึงการจัดการกับเชื้อเพลิง นิวเคลียร์ที่ใช้แล้ว when uranium is mined, enriched, and manufactured into nuclear fuel, (1) which is delivered to a nuclear power plant. After usage in the power plant, the spent fuel is delivered to a reprocessing plant (2) or to a final repository (3) for geological disposition. In reprocessing 95% of spent fuel can be recycled to be returned to usage in a power plant (4).
  • 46. 46
  • 47. 47 รังสีและความร้อน • รังสีปลดปล่อย เข้าสู่บรรยากาศไม่เกิน 5 มิลลิเรม/ปี รังสีของเหลวไม่เกิน 3 มิลลิเรม/ปี • ความร้อนที่ระบายออก สู่แหล่งน้าหรือ Cooling Tower
  • 48. 48 การรับรังสีโดยทั่วๆไปจาก แหล่งต่างๆ มิลลิแรม (mrem) มีค่าเท่ากับ 1 / 1000 แรม (rem) แรม ย่อมาจาก roentgenequivalent man หรือ mammal เป็นหน่วยที่บอกถึงความเสียหายทางชีวภาพที่ เกิดกับคน จากรังสีชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่ง เทียบเท่ากับความเสียหายทางชีวภาพที่เกิดจาก รังสีแกมมา 1 rep (97 erg ต่อกรัมของเนื้อเยื่อ)
  • 49. 49 กากกัมมันตรังสี กากกัมมันตรังสีจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบ่งตามระรับความแรงของรังสี ได้ดังนี้ • กากกัมมันตรังสีระดับต่า ได้แก่ วัสดุปนเปื้อนรังสีเช่น ชุดปฏิบัติงาน อุปกรณ์ เครื่องมือ รวมทั้งน้าที่ใช้ชาระล้างอุปกรณ์ ภายในโรงไฟฟ้า • กากกัมมันตรังสีระดับกลาง ได้แก่ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับสารรังสี โดยตรง เช่น ไส้กรองสารกัมมันตรังสี ท่อหุ้มเม็ดเชื้อเพลิง • กากกัมมันตรังสีระดับสูง ได้แก่ สารกัมมันตรังสีที่เกิดใหม่รวมทั้งพลูโต เนียม ภายในแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว ยูเรเนียมที่ยังเหลืออยู่บางส่วน และ กากที่เกิดจากการสกัดเชื้อเพลิงมาใช้ใหม่
  • 50. 50 การจัดเก็บกากกัมมันตรังสี • กากกัมมันตรังสีระดับต่าและระดับกลาง จะถูกนามาผ่านกระบวนการ ขจัดกากและลดปริมาณลง แล้วบรรจุถังขนาด 200 ลิตร บุด้วยวัสดุกัน รังสี แล้วนาไปเก็บในสถานที่เก็บกากบนพื้นดิน หรือฝังในระดับความ ลึก ประมาณ 5-10 เมตร (ซึ่งมีอยู่หลายแบบ ตามความเหมาะสม)
  • 51. 51 • กากกัมมันตรังสีระดับสูง จะถูกอบให้แห้งแล้วนาไปหลอมให้เป็นเนื้อ เดียวกัน กับแก้วชนิดพิเศษ(บอโรซิลิเคท) ที่ความร้อนสูงแล้วบรรจุลงถัง และนาไปจัดเก็บในสถานที่ที่เหมาะสม ซึ่งถือว่ามีความปลอดภัยที่สุด ในปัจจุปันคือการฝังลงในชั้นหินแข็งที่มีความลึกจากระดับผิวดินลงไป มากกว่า 500 เมตรโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขนาด 1,000 เมกะวัตต์จะมีกาก กัมมันตรังสีสูงประมาณ 10 ถังต่อปี (ขนาดถัง 200 ลิตร)
  • 52. 52 • เชื้อเพลิงที่ใช้แล้วไม่ถือว่าเป็นกากอย่าง แท้จริงเพราะยังมีวัสดุมีค่าผสมอยู่ภายในเม็ด เชื้อเพลิงได้แก่ • ยูเรเนียม-235ประมาณ ร้อยละ 1 • ยูเรเนียม-238 ประมาณ ร้อยละ 93 • พลูโตเนียม-239ประมาณ ร้อยละ 0.5 • และผลิตผลจากการเกิดปฏิกิริยาแตกตัว ประมาณร้อยละ 5.5 ซึ่งเป็นไอโซโทปของ ธาตุต่างๆ กว่า 200 ชนิด • การจัดการเชื้อเพลิงที่ใช้แล้วซึ่งปกติจะอยู่ใน รูปของมัดเชื้อเพลิงและถูกบรรจุในช่องเก็บ (Rack) ซึ่งแช่อยู่ในบ่อน้าที่ในโรงไฟฟ้าซึ่ง สามารถเก็บเชื้อเพลิงใช้แล้วได้ตลอดอายุการ ใช้งานของโรงไฟฟ้าคือประมาณ 30-40 ปี
  • 55. 55
  • 56. ความร้อนที่ระบายออก • ความร้อนที่เหลือจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ถูกระบายออกสู่แหล่งน้าหรือ เข้าสู่ในบรรยากาศโดยหอระบายความร้อน (Cooling Tower) • ปริมาณความร้อนที่เหลือใช้และจาเป็นต้องระบายความร้อนสู่ สิ่งแวดล้อมนั้นไม่ใช่เป็นสิ่งสาคัญแต่ความสาคัญอยู่ที่การควบคุมให้ ความร้อนที่ระบายออกมานั้นมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ดังนั้นในกรณีที่ปริมาณความร้อนเหลือใช้จากโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ ระบายทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมจะสูงกว่าโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงธรรมชาติ 56
  • 57. สิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ และความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • ด้านสิ่งแวดล้อม • โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นโรงไฟฟ้าที่สะอาดเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าโดยไม่มีเขม่า ควัน หรือ ก๊าซต่าง ๆ ที่ทาให้อากาศเสียหรือเกิดฝนกรดและภาวะเรือนกระจกเนื่องจากไม่มีการเผา ไหม้เชื้อเพลิง สิ่งปลดปล่อยออกมาได้แก่รังสีและปริมาณความร้อน • ด้านเศรษฐศาสตร์ – ถึงแม้ต้นทุนการผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์จะต่ากว่าเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่เงินลงทุนในการ ก่อสร้างจะสูงกว่า เนื่องจากต้องมาตรการความปลอดภัยในส่วนของการออกแบบ การ ติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ทางด้านความปลอดภัยต่าง ๆ ถึงอย่างไรก็ตามต้นทุนการผลิต ไฟฟ้าต่อหน่วยโดยเฉลี่ยจะถูกกว่าโรงไฟฟ้าพลังความร้อนแบบอื่น ๆ เนื่องจากต้นทุนการ ผลิตเชื้อเพลิงที่ต่ากว่าและใช้ปริมาณน้อยกว่า 57
  • 58. • ด้านความปลอดภัย – การดาเนินงานเรื่องโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะต้องเป็นไปตามแนวปฏิบัติของทบวง การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ (International Atomic Energy Agency = IAEA) แห่งสหประชาชาติ นับตั้งแต่การเลือกสถานที่ตั้ง การออกแบบ การ ก่อสร้างและติดตั้งการทดสอบและทดลองการเดินเครื่อง การบารุงรักษา จนกระทั่งการเปลี่ยนเชื้อเพลิง มาตรการความปลอดภัยพัฒนาขึ้นจากแนวคิด พื้นฐานด้านความปลอดภัยแบบการป้องกันหลายชั้น 58
  • 59. 59 สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ • สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • www.oaep.go.th • เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่กากับดูแลความปลอดภัยในการนาพลังงาน นิวเคลียร์มาใช้ประโยชน์ • การออกใบอนุญาตให้มีการใช้การควบคุมดูแลการใช้ของหน่วยงาน ต่างๆ จนกระทั่งที่เลิกใช้แล้วให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติพลังงาน ปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ.2504
  • 60. 60 สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ • ภารกิจหลักในปัจจุบันคือ บริหารจัดการความปลอดภัย ในการใช้ พลังงานปรมาณูในทางสันติโดยการกากับ ดูแลการใช้พลังงานนิวเคลียร์ ภายในประเทศให้เป็นไปอย่างถูกต้อง และเกิดความปลอดภัยสูงสุดทั้ง กับตัวผู้ใช้และประชาชนทั่วไป
  • 61. 61 ตัวอย่างอุบัติเหตุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่สาคัญ • The Three Mile Island เกิดขึ้นที่ประเทศสหรัฐอเมริกา วันที่ 28 มีนาคม 1979 เนื่องจากขาดน้าหล่อเย็น ในแกนเครื่องปฏิกรณ์ ทาให้เชื้อเพลิง หลอมละลาย และเกิดการรั่วไหลของ รังสีสู่ภายนอก ไม่มีผู้เสียชีวิตหรือ บาดเจ็บ แต่ส่งผลระยะยาวด้านสุขภาพ http://en.wikipedia.org/wiki/Nuclear_and_radiation_accidents
  • 62. 62 อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ • The Chernobyl disaster ในปี 1986 ที่เมือง Pripet สหภาพโซเวียต โรงไฟฟ้า นิวเคลียร์เชอร์โนบิลได้เกิดระเบิดซึ่งถือเป็นหายนะ ทางนิวเคลียร์ที่ร้ายแรงที่สุดทางด้านพลเรือน ผล ของระเบิด ทาให้กลุ่มควันที่มีฝุ่นกัมมันตรังสี กระจายเข้าสู่ยุโรป การระเบิดเกิดขึ้นเนื่องจากการ ทดลองที่ผิดพลาดทาให้แกนเครื่องปฏิกรณ์เครื่องที่ 4 ละลายและเกิดการระเบิดมีผู้เสียชีวิต 31 คน ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นเจ้าหน้าที่ดับเพลิง และอีกหลายพัน คนได้รับผลกระทบมีเด็กหลายคนเสียชีวิตจากการ ป่วยเนื่องจากรังสี ทางการยูเครนออกมาแถลงว่ามี ประชาชนได้รับผลกระทบทางสุขภาพจากอุบัติเหตุ ครั้งนี้นับล้านคน
  • 63. 63 อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเอเชีย • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Tokaimura ในปี 1999 ที่ประเทศญี่ปุ่น การเกิดอุบัติเหตุครั้ง นี้ไม่ได้เกิดขึ้นในส่วนที่เป็นปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และไม่ได้เกิดขึ้นในขั้นตอนของวัฎจักรเชื้อเพลิง ช่วงการสกัดเชื้อเพลิงมาใช้ใหม่ แต่อุบัติเหตุครั้ง นี้เกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการที่เตรียมเชื้อเพลิง จานวนน้อยเพียงเพื่อป้อนให้ปฏิกรณ์วิจัย Joyo ซึ่งเป็นปฏิกรณ์ชนิดเพาะเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ เตรียมขึ้นมีปริมาณยูเรเนียมสูงจนก่อให้เกิด ปฏิกิริยาแตกตัว (fission) และเกิดสาร กัมมันตรังสีจากปฏิกิริยาในทันทีแม้จะไม่เกิด การระเบิดใดๆ มีผู้เสียชีวิตทันที 2 คน และได้รับ บาดเจ็บรวมไปถึงรับรังสีมากกว่าปกติมากมาย (กว่าพันคน)
  • 64. 64 อุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในเอเชีย • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ Mihama เกิดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น ในปี 2004 ไม่ได้เกิดจาก เชื้อเพลิงรังสีใดๆ แต่เกิดจากการขาดน้าหล่อเย็น ในระบบกังหัน ทาให้เกิดการรั่วไหลของไอน้า ความดันและอุณหภูมิสูง(270 C) มีผู้เสียชีวิตจาก ไอน้าลวก 5 คน นับเป็นจานวนผู้เสียชีวิตมาก ที่สุดเนื่องจากอุบัติเหตุจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใน ประเทศญี่ปุ่น
  • 65. 65 • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชิมาไดอิชิ เป็นการเกิดอุบัติเหตุในปี 2011 ซึ่งเป็น ผลกระทบที่เกิดจากการเกิดสึนามิครั้งที่ ร้ายแรงที่สุดของประเทศญี่ปุ่น และนับว่า เป็นอุบัติเหตุที่เกิดกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ที่ร้ายแรงในรอบ 25 ปี ผู้คนต้องอพยพ ออกจากบ้านเรือนเป็นจานวนถึง 50,000 ครัวเรือนเนื่องจากการรั่วไหลของสาร กัมมันตภาพรังสีสู่อากาศ ดิน และน้า มี ผู้เสียชีวิตและผู้ป่วยจากการรับสาร กัมมันตภาพรังสีอย่างต่อเนื่องจนถึง ปัจจุบัน
  • 66. 66 1) Unit 1: Explosion, roof blown off (12 March) 2) Unit 2: Explosion (15 March), Contaminated water in underground trench, possible leak from suppression chamber 3) Unit 3: Explosion, most of concrete building destroyed (14 March), Possible plutonium leak 4) Unit 4: Fire (15 March), Water level in spent fuel pools partly restored 5) Multiple trenches: probable source of contaminated water, partly underground, leaked stopped (6 April)
  • 67. 67 ไทยให้ญี่ปุ่นยืมโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ (29 มีนาคม 2554) • ไทยให้ญี่ปุ่นยืมโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ 244 เมกะวัตต์มูลค่า 90 ล้านบาท 3-5 ปี เพื่อช่วยแก้ปัญหา ขาดแคลนไฟฟ้าในโตเกียวและจังหวัดใกล้เคียง • น.พ.วรรณรัตน์ ชาญนุกูล รมว.พลังงาน เปิดเผยภายหลังเป็นประธานส่งมอบโรงไฟฟ้าให้ ประเทศญี่ปุ่น ว่า รัฐบาลไทยได้อนุมัติให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส่ง โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซหนองจอกไปติดตั้งที่ญี่ปุ่นเป็นการชั่วคราว 3-5 ปี จานวน 2 เครื่อง • นายสุทัศน์ ปัทมสิริวัฒน์ ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) กล่าวว่า สาเหตุที่ เลือกโรงไฟฟ้าหนองจอก เนื่องจากไม่ได้มีการเดินเครื่องผลิตไฟฟ้า และกฟผ.ได้ปลดอออกจาก ระบบผลิตไฟฟ้าหลักของประเทศไปแล้ว เพราะเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้น้ามันดีเซล เป็นเชื้อเพลิงมี ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าสูง ซึ่งจะนามาใช้งานเฉพาะกรณีกาลังการผลิตไฟฟ้าไม่เพียงพอเท่านั้น
  • 68. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย • ประเทศไทยมีความคิดที่จะสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ เริ่มจากการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เริ่มศึกษาความเหมาะสมของ โครงการและเลือกสถานที่ตั้งในปี 2510 • ต่อมารัฐบาลได้เห็นชอบโครงการ และกาหนดใช้ปฏิกรณ์แบบน้าเดือด (BWR) ขนาด 600 เมกะวัตต์ในปี 2513 ที่อาเภออ่าวไผ่จังหวัดชลบุรี • หลังจากนั้น กฟผ. ได้เสนอขออนุมัติเพื่อเปิดประมูลโรงไฟฟ้ าพลังงาน นิวเคลียร์ ในปี พ.ศ. 2519 แต่เนื่องจากมีปัญหาเรื่องผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โดยเฉพาะในประเด็นที่สาธารณะชน ส่วนใหญ่เป็นห่วงเรื่องการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีและเรื่องการ กาจัดกากของนิวเคลียร์ ซึ่งไม่สามารถหาข้อยุติได้ 68
  • 69. • อย่างไรก็ดีจากการค้นพบแหล่งลิกไนต์ขนาดใหญ่ที่จังหวัดลาปางและ ต่อมาได้มีการค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติที่อ่าวไทย ทาให้การไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทยได้ชะลอโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ออกไปโดยไม่มีกาหนด และหันไปก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ลิกไนต์และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง แทน ดังนั้นโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ที่รัฐบาลตั้งใจจะให้ เกิดขึ้นจึงหยุดไป 69
  • 70. • ต่อมาได้มีแนวคิดเริ่มโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2534 โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้ทาการ สารวจและศึกษาสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ และได้สถาน ที่ตั้งที่เหมาะสม จานวน 5 แห่ง แต่เนื่องจากไม่มีนโยบายที่แน่ชัด โครงการจึงไม่ได้ดาเนินการต่อ • จนกระทั่งถึงปี 2550 รัฐบาลจึงตระหนักถึงปัญหาการผลิตไฟฟ้ า ปัญหา คือ ปัจจุบันประเทศไทยต้องนาเข้าน้ามันประมาณ 80 เปอร์เซ็นต์ของ ความต้องการใช้ภายในประเทศ คิดเป็นมูลค่าถึงประมาณ 1.03 ล้านล้าน บาทต่อปี และต้องพึ่งพิงการผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติถึง 70 เปอร์เซ็นต์ราคาเชื้อเพลิงก็เพิ่มขึ้นมากตามราคาน้ามัน รวมทั้งกับปัญหา ภาวะโลกร้อน จึงทาให้เกิดความต้องการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงาน นิวเคลียร์ 70
  • 71. • โดยคณะรัฐมนตรี ได้อนุมัติให้บรรจุไว้ในแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้า ของประเทศไทย ในปี 2563 จานวน 1,000 เมกะวัตต์และอีก 1,000 เมกะ วัตต์ในปี 2564 รวมทั้งเห็นชอบให้จัดตั้งสานักพัฒนาโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ขึ้นภายในกระทรวงพลังงาน เพื่อจัดทาแผน เตรียมความพร้อมในด้านการศึกษาความเป็นไปได้ • การคัดเลือกพื้นที่ซึ่งเป็นสถานที่ตั้ง การกากับดูแลด้านความปลอดภัย และการลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม การจัดเตรียมด้านบุคคลากร และการ คัดเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมทั้งการสร้างความรู้ ความเข้าใจ และ การสร้างการยอมรับของประชาชนต่อโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ทั้งนี้ รัฐบาลได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับคณะรัฐมนตรี ในการ ตัดสินใจว่าจะดาเนินโครงการดังกล่าวนี้หรือไม่ในต้นปี 2554 71
  • 72. 72 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย • 18 กรกฎาคม 2551 • สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ พร้อมเสนอเทคโนโลยีตัวเลือกสาหรับ ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทยให้รัฐบาลพิจารณา หลัง เดินทางศึกษาระบบสร้างความปลอดภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใน สาธารณรัฐเกาหลี
  • 73. 73 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทย • พบว่าเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมแบ่งประเภทเป็น เทคโนโลยีของแคนนาดาที่ใช้ยูเร เนี่ยมธรรมชาติมาใช้ผลิตเชื้อเพลิงนิวเคลียร์โดยตรง และเทคโนโลยีการผลิต BWR • เทคโนโลยีที่มีการใช้มากที่สุดถึงร้อยละ 60 ทั้งในประเทศญี่ปุ่นและเกาหลี คือ เทคโนโลยี BWR ที่มีระบบระบายความร้อนที่ช่วยเพิ่มความปลอดภัยมากถึงร้อยละ25 • การจัดทาข้อมูลพื้นฐานการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศไทยต้องใช้เวลา การศึกษารายละเอียดเกือบทุกด้านอาทิ สถานที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ เทคโนโลยีที่ เหมาะสม การยอมรับจากประชาชนรวมถึงความพร้อมของบุคคลากรที่จะลงมือก่อสร้าง จริง ซึ่งคาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 3 ปี จึงจะสามารถเสนอเทคโนโลยีการก่อสร้างให้กับ รัฐบาลได้ • รัฐบาลได้ตั้งเป้ าที่จะก่อสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ 4 แห่งแรก ให้แล้วเสร็จ ภายในปี 2563
  • 74. 74 สยามรัฐ 6 ก.ย. 53 http://www.siamrath.co.th/?q=node/65785 • กฟผ.เผยผลศึกษาเตรียมพร้อมก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เสร็จ 99% เตรียมเสนอพื้นที่ 5 แห่งให้ครม.พิจารณาตัดสิน ธ.ค. นี้ ขณะที่วงใน กระทรวงพลังงานชี้ พื้นที่เป้าหมายจริงอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์และ อุบลราชธานี ระบุเตรียมโครงการสร้างความเข้าใจกับชาวบ้านใน 2 จังหวัดเป็นพิเศษแล้ว • แหล่งข่าวการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.) กล่าวว่า สาหรับผล การศึกษาเตรียมความพร้อมก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จะมีการ นาเสนอพื้นที่ที่ใช้ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งสิ้น 5 แห่ง ให้ครม. พิจารณา ได้แก่ พื้นที่ในจังหวัดนครสวรรค์ 1 แห่ง จังหวัด นครศรีธรรมราช 1 แห่ง จังหวัดตราด 1 แห่ง และพื้นที่ในจังหวัดสุ ราษฎร์ธานี 2 แห่ง
  • 76. 76 • แหล่งข่าวกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า พื้นที่เป้าหมายจริงในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์ คือ จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยขณะนี้ได้มีคาสั่งให้ จัดทาโครงการพัฒนาการสื่อสารสาธารณะเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในพื้นที่ จังหวัดนครสวรรค์และอุบลราชธานีเป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวยังไม่มี กระแสต่อต้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มากนัก • นอกจากนี้พื้นที่ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต้องอาศัยแหล่งน้าขนาดใหญ่สาหรับ ระบายความร้อน ซึ่งจังหวัดนครสวรรค์อยู่ติดกับแม่เจ้าพระยา และจังหวัด อุบลราชธานีอยู่ติดกับแม่น้าโขง ซึ่งจะอาศัยแม่น้าดังกล่าวในการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานนิวเคลียร์ได้ แต่เบื้องต้นอาจต้องสร้างอ่างเก็บน้าขึ้นมาใหม่โดยให้อยู่ติด กับแม่น้าเป็นสาคัญ เนื่องจากป้องกันปัญหาขาดแคลนน้าในฤดูร้อน หรือป้องกัน ปัญหาน้าหลากในฤดูฝน เป็นต้น
  • 77. 77 • ผลการคัดเลือกสถานที่ตั้ง 5 แห่ง จากสถานที่ทั้ง 17 แห่ง • ผลประเมินด้านวิศวกรรม จากคะแนนเต็ม 500 คะแนน อ.สิรินธร อุบลราชธานี ได้คะแนนสูงสุดเมื่อเทียบกับ พื้นที่อื่น คือ 399 คะแนน • ผลประเมินความเหมาะสมด้านสิ่งแวดล้อม จากคะแนนเต็ม 500 คะแนน คันธุลี อ.ท่าชนะ สุราษฎร์ธานี ได้คะแนนสูงสุดคือ 391 คะแนน • รวมผลประเมินด้านวิศวกรรม และสิ่งแวดล้อม จากคะแนนเต็ม 1,000 คะแนน อ.สิรินธร อุบลราชธานี ได้คะแนนสูงสุดคือ 741 คะแนน รองลงมา คือ พนมรอก นครสวรรค์ได้738 คะแนน สรุปจากรายงานเลือกสถานที่ตั้ง
  • 78. 78 สรุปจากรายงาน • ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ • พื้นที่ที่ใช้ต้นทุนต่าที่สุดสาหรับการก่อสร้าง คือ อ.สิรินธร อุบลราชธานี จานวน 5,254 ล้านบาท • พื้นที่ที่ใช้ต้นทุนมากที่สุดคือ บ้านท้องเนียน นครศรีธรรมราช จานวน 30,371 ล้านบาท รองลงมาคือ บ้านปากน้า ละแม ชุมพร ซึ่งต้องลงทุน เป็นจานวน 229,623 บาท
  • 79. 79 เมื่อเพื่อนบ้านแข่งผุดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฐานะไทยตกอยู่ในวงล้อม!!! • หนังสือพิมพ์แนวหน้า -- ศุกร์ที่ 17 ธันวาคม 2553 • เวียดนาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย หรือแม้กระทั่งกัมพูชาและพม่า ก็มีข่าวแว่วๆว่ากาลัง ศึกษาเพื่อเดินหน้าสร้าง "โรงไฟฟ้านิวเคลียร์" ถ้าเกิดขึ้นจริงนั่นเท่ากับว่า "เมืองไทย" ที่ อยู่ในวงล้อมของประเทศต่างๆที่มีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ตั้งอยู่จะมีทางเลือกอยู่2 ทาง คือ 1. เตรียมตัวเป็นผู้ซื้อที่ดี และ 2.เดินหน้าสร้างเพื่อไม่ต้องพึ่งพิงพลังงานจากต่างประเทศมาก เกินไป • เวลานี้รัฐบาลอินโดนีเซีย และเวียดนามได้ตัดสินใจบรรจุโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อยู่ในแผนที่ จะดาเนินการก่อสร้างแล้วโดยปี 2563-2564 จะได้เห็นโรงไฟฟ้านิวเคลียร์เกิดขึ้นเป็น แห่งแรกในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะในเวียดนาม ซึ่งห่างจาก จ.มุกดาหารเพียง 250 กิโลเมตรเท่านั้น
  • 80. 80 • คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ(กพช.) ได้เห็นชอบในแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของ ประเทศไทย ปี 2553-2573(พีดีพี 2010) เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2553 โดยกาหนดให้มี "โรงไฟฟ้า นิวเคลียร์" บรรจุอยู่ในแผน 5 โรง ขนาดกาลงผลิตโรงละ 1,000 เมกะวัตต์โดยเครื่องที่ 1 จะเข้า ระบบปี 2563 , เครื่องที่ 2 , 3 , 4 และ 5 จะเข้าระบบปี 2564 , 2567 , 2568 และ 2571 ตามลาดับ ก็ ทาให้เกิดข้อสงสัยจากหลายฝ่ายว่าเวลานี้ไทยมีความจาเป็นต้องมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ขึ้นหรือยัง
  • 82. 82 • http://www.eco-business.com/news/thailand-freezes-nuclear-power-plant-plans/ • Thailand freezes nuclear power plant plans (March 17th, 2011) • Thailand has frozen its plans to build its own nuclearpower plants in the wake of the ongoing nuclear crisis in Japan following a series of meltdowns at the quake-hit power complexin Fukushima. • Mr Abhisit ‘personally does not favour the construction ofnuclear plants in Thailand. • The U-turn by the government is certainto cheervarious civil groups that recently formedan alliance to protest against the planned constructionof nuclear powerplants in up to eight short listed provinces. • Thailand’s decision to suspend its atomic power plans indefinitely followsa similar action by Switzerland, which last week froze its proposal to replace and build new nuclearplants. • Malaysia, which had intentionsto establishits first atomic power plant by 2021, has now said it wants to learn from Japan before making its next move. India, meanwhile,will undergoa safety review of its 20 reactors before committingto a plan to spend US$175 billionon nuclear energyover the next 20 years. • Indonesia – which is planningfour plantsby 2025 – are of the view that governmentsshould look at nuclear power as a secure energy supply to reduce global dependence onfossil fuels.
  • 83. ไฟฟ้ านิวเคลียร์ในอาเซียน วันพุธที่ 17 เมษายน 2013 http://www.thanonline.com/index.php?option=com_content&view=article&id=179146:2013-04-17-06-00-27&catid=231:aec-news&Itemid=621#.VT9ToyGqqko • สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศที่มีความคืบหน้าในการก่อสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์มากที่สุดก็คือ ประเทศ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม โดยรัฐสภาอนุมัติพิมพ์เขียวก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มาตั้งแต่ปลายปี 2552 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกตั้งที่ทางตอนเหนือของจังหวัดนินห์ถ่วน และจังหวัดนี้อยู่ทางตอนใต้ของ เวียดนาม ห่างจากประเทศไทยประมาณ 900 กิโลเมตรจากจังหวัดศรีสะเกษ โดยได้รับการสนับสนุนด้าน เทคโนโลยีจากประเทศรัสเซีย ค่าก่อสร้างประมาณ 10,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จะเริ่มก่อสร้างในปี 2557 และเดินเครื่องในปี 2563 • รัฐบาลเวียดนามวางแผนว่า ในช่วงแรกจะก่อสร้างโรงไฟฟ้าทั้งหมด 8 แห่ง ก่อนที่จะมีการก่อสร้างเพิ่มเติม โดยอาศัยความร่วมมือจากประเทศญี่ปุ่นตามแผนก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ให้ได้10 แห่ง หรือประมาณ 80,000 เมกกะวัตต์ ภายในปี 2573 • ประเทศกัมพูชาก็มีแผนที่จะสร้างโรงไฟฟ้ านิวเคลียร์ขึ้นที่จังหวัดเกาะกง ชายแดนกัมพูชา-ไทย แต่ไม่มีข่าว อะไรคืบหน้านัก คิดว่าคงไม่อาจเกิดขึ้นได้ง่ายๆ เนื่องจากใช้เงินลงทุนมหาศาล ขณะที่ประชากรมีจานวน เล็กน้อยประมาณ 15 ล้านคน • ขณะที่ประเทศสิงคโปร์นั้น รัฐบาลได้มอบหมายให้แต่ละส่วนที่เกี่ยวข้อง ไปทาการศึกษาวิจัยอย่างละเอียด ถึงความเป็นไปได้ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในประเทศ แม้ว่าจะมีผู้เชี่ยวชาญจานวนมากเตือนว่า หากเกิดอุบัติเหตุขึ้นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของสิงคโปร์ ประเทศนี้ทั้งประเทศอาจไม่สามารถอยู่รอดได้ • ขณะที่ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย ยังเดินย่ารอยเดิม คือ ยังไม่มี 83
  • 84. Thailand rules out Nuclear power, says will look at coal to meet energy needs Aug 11, 2014 http://www.firstpost.com/world/thailand-rules-nuclear-power-says-will-look-coal-meet-energy-needs-1658985.html • Bangkok: Ruling out constructionof nuclear power plants, Thailand's military juntahas said it will look into coal powered power plants to meet energyneeds of the country. • National Council for Peace and Order chief Gen Prayuth Chan-ocha said officials have been asked to come up with an energy plan that is secure, affordable and sustainable. • A robust strategy to address energy issues is needed to achieveenergy security,he said. • Noting that building a nuclearplant was not possible, Gen Prayuth said he had asked authorities to study the possibilityand necessity ofbuilding a coal-fired powerplant and examine its impacts on human healthand the environment. • However, he did not specify as where the coal-firedpower plants would be built. He also stressed the need of renewable energysources. 84
  • 85. • วารสาร “การเงินธนาคาร” ฉบับเดือนมีนาคม ที่กาลังวางแผง มีรายงาน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ของประเทศ เพื่อนบ้านไทยค่อนข้างละเอียดว่า “เวียดนาม” กาลังเริ่มก่อสร้าง “โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรก” ที่ “เมืองนินห์ ถ่วน” ในปีหน้า 2014 นี้แล้ว เมืองนินห์ถ่วน อยู่ห่างจาก จังหวัดอุบลราชธานี 800 กิโลเมตร และอยู่ห่างจาก จังหวัดศรีสะเกษ 900 กิโลเมตร รัฐบาลเวียดนามจะสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั้งหมด 8 โรง • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์นินห์ถ่วน มีทั้งหมด 4 โรง มีกาลังการผลิตโรงละ 1,000 เมกะวัตต์ รวม 4,000 เมกะวัตต์ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรก จะสร้างเสร็จและเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าได้ในปี 2020 หรือในอีก 7 ปีข้างหน้า ส่วนอีก 3 โรงที่เหลือจะทยอยเปิดปีละโรงจนถึงปี 2024 • โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แห่งแรกของเวียดนาม เป็น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์รัสเซียเวียดนามซื้อจากรัสเซียเมื่อปี 2553 ในราคา 5,600 ล้านดอลลาร์ 168,000 ล้านบาท • ข้อมูลในวารสาร “การเงินธนาคาร” รายงานต่อไปว่า ในปี 2015 อีกสองปีข้างหน้า เวียดนามจะเริ่มก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เฟสสองอีก 4 โรง เป็น โรงไฟฟ้านิวเคลียร์จากญี่ปุ่น โรงแรกจะสร้างเสร็จและเริ่มผลิต ไฟฟ้าได้ในปี 2021 จากนั้นจะทยอยเปิดอีกปีละโรงจนครบ 4 โรงในปี 2025 • หมายความว่า ในอีก 12 ปี ข้างหน้า เวียดนาม จะมี โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 8 โรง ที่อยู่ห่างจากไทยไม่ถึง 1,000 กิโลเมตร มีกาลังการผลิตไฟฟ้า 8,000 เมกะวัตต์ ขณะที่ไทยยังอยู่ในขั้นอนุบาล แค่เขียนแผนอนาคตไว้อย่าง เลื่อนลอยและไร้จุดหมาย 85 โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์เวียดนาม สร้างจ่อไทยแค่ 800 กม. โดย ลม เปลี่ยนทิศ 21 มี.ค. 2556 http://www.thairath.co.th/content/333556

Editor's Notes

  1. 1
  2. 4