SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 76
ยินดีต้อนรับ เข้าสู่การเรียนสาระเทคนิคการตัดสินบาสเกตบอล รองศาสตราจารย์เฉลี่ย  พิมพันธุ์
เทคนิคการตัดสินบาสเกตบอล เนื้อหาที่นำเสนอประกอบด้วย บทที่ 1. ความสำคัญของการตัดสินบาสเกตบอล บทที่ 2. คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน บทที่ 3. อำนาจและหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล บทที่ 4. การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน บทที่ 5. หลักการตัดสินและการควบคุมการเล่น
บทที่ 1  :   ความสำคัญของการตัดสินบาสเกตบอล 1.  การพัฒนาการเกมการเล่นและการตัดสิน -  ดร . เจมส์  เอ .   ไนสมิท  ( James A. Naismith) -  ถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิกครั้งที่  11  พ . ศ .2479   กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมันนี 2.  หน่วยงานที่กำหนดมาตรฐานการเล่นและกติกา -  สหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ  ( Federation International De   Basketball Amateur)= ( FIBA) มีสมาชิกมากกว่า  157   ประเทศ   3.  ผู้ตัดสินเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้เกมสนุกและยุติธรรม เนื้อหาประกอบด้วย
สรุปท้ายบทที่  1   ความสำคัญของการตัดสินบาสเกตบอล กีฬาบาสเกตบอล เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมทั่วโลก โดยมี สหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติสนับสนุนส่งเสริมและควบคุม ปัญหาและอุปสรรคสำคัญประการหนึ่งของการดำเนินงาน คือ  คุณภาพของผู้ตัดสินที่ยังไม่ได้มาตรฐาน  วิธีการแก้ปัญหาวิธีหนึ่ง  คือ  การให้ความรู้เรื่องกฎกติกา  และเทคนิคการตัดสินอย่างถูกต้อง  โดยวิธีการศึกษา  จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ  แล้วนำไปฝึกปฏิบัติอย่างจริงจัง  ภายใต้การควบคุมดูแลของหน่วยงานที่รับผิดชอบ  ก็จะช่วยลดปัญหาด้านคุณภาพและความขาดแคลนผู้ตัดสินได้ ทดสอบ
1.   คุณลักษณะพื้นฐานที่ดีของผู้ตัดสิน บทที่  2  :  คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน 2.  คุณลักษณะพิเศษของตัดสินผู้ตัดสิน สรุปท้ายบทที่  2  คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน เนื้อหาประกอบด้วย
1. คุณลักษณะพื้นฐานที่ดีของผู้ตัดสิน 1.1  ความมุ่งมั่นในผลงานของตนเอง 1.2  สามารถควบคุมอารมณ์ 1.3  มีความตรงต่อเวลา 1.4  อดทนเมื่อมีอุปสรรค 1.5  มีความยุติธรรม 1.6  มีความศรัทธาในการเป็นผู้ตัดสิน 1.7  มีพฤติกรรมที่เป็นประชาธิปไตย 1.8  ซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 1.9  ปฏิบัติตามกฎระเบียบ 1.10  มีความประพฤติดี 1.11   มีความตั้งใจในการปฏิบัติหน้าที่ 1.12  มีความสุภาพเรียบร้อย 1.13  มีมนุษย์สัมพันธ์ดี 1.14  มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
2.1  มีความรู้ในกติกา   และเจตนารมณ์ของกติกา 2.2  ต้องฝึกการให้สัญญาณ 2.3  ฉลาดในการตัดสินเพื่อให้เกมสนุก 2.4  แต่งกายด้วยชุดสุภาพ 2.5  ต้องยึดแนวปฏิบัติที่เป็นสากล 2.6  แสวงหาความรู้กติกาที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ 2.  คุณลักษณะพิเศษของผู้ตัดสิน
Fairness Firmness สรุปท้ายบทที่  2   คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน Fitness
บทที่  3  อำนาจและหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล 4.   สรุปท้ายบทที่  3  อำนาจหน้าที่   ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล 1.   ความนำ 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน เนื้อหาประกอบด้วย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],1.   ความนำ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],A. ทั่วไป 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
7. ต้องแสดงสัญญาณมือ เมื่อมีการยิงประตูได้คะแนน    โดยไม่ต้องเป่านกหวีด 8.  ต้องเปลี่ยนตำแหน่งทุกครั้งหลังจากขานฟาวล์ในแดนหน้า    หรือตามความจำเป็น 9.  ไม่มีอำนาจในการโต้แย้งการตัดสินของผู้ตัดสินอีกคน 10. การแข่งขันระดับนานาชาติต้องสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
B. เฉพาะผู้ตัดสินที่หนึ่งเท่านั้น 1.   ตรวจสอบอุปกรณ์การแข่งขันว่าถูกต้องตามกติกาหรือไม่ 2.   ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ประจำโต๊ะการแข่งขัน 3.   ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นสวมใส่อุปกรณ์ที่อาจก่ออันตรายกับ   ผู้เล่น 4.   เป็นผู้ดำเนินการเล่นลูกกระโดดเริ่มเล่นของทุกช่วงเวลา 5.   เป็นผู้ชี้ขาดการได้ประตูหรือไม่ในกรณีที่มีความเห็นขัด   แย้งกัน 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
6.   ให้หยุดการแข่งขัน หรือปรับทีมให้แพ้ 7.   ชี้ขาดเมื่อผู้บันทึกกับผู้จับเวลาขัดแย้งกัน 8.   ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกการแข่งขันอย่าง   รอบคอบ รับรองคะแนนและเวลาที่เหลือ ในกรณีขัด   แย้งกัน 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
9.   ลงนามรับรองผลการแข่งขันในใบบันทึกการแข่งขันเมื่อ   การแข่งขันเสร็จสิ้นลง 10.   บันทึกเหตุการณ์ลงในใบบันทึกการแข่งขัน ถ้าผู้เล่นผู้   ฝึกสอนผู้ติดตามทีมแสดงออกไม่มีน้ำใจนักกีฬา 11.   มีอำนาจตัดสินสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในกติกา 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขเวลาและเหตุการณ์ดังนี้ C. การแก้ไขข้อผิดพลาด ผู้ตัดสินสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดได้  เช่น   จำนวน ฟาวล์บุคคล   หรือจำนวนฟาวล์ทีมของที่ผิด  การแจ้งฟาวล์ที่ ผิดพลาด  ให้คะแนนผิดข้าง ผิดตัวผู้ที่ได้โยนโทษ ผิดฝ่ายที่ ได้ครอบครองบอล หรือเวลาเดินไม่ตรง  เป็นต้น 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
แก้ไขได้ แก้ไขไม่ได้ 2.   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน START บอลตายนาฬิกาหยุดเดิน มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น บอลเข้าสู่การเล่น บอลดีนาฬิกาเดิน บอลเข้าสู่การเล่น บอลตายนาฬิกาหยุดเดิน บอลดีนาฬิกาเดิน
ก่อนฤดูกาลแข่งขัน 1.   ตรวจสุขภาพ   และเสริมสร้างสมรรถภาพอยู่เสมอ 2.   ทบทวนกติกาอย่างละเอียด 3.   ฝึกการให้สัญญาณนกหวี  /  สัญญาณมือให้คล่อง 4.   ฝึกตัดสินเป็นประจำกับเกมที่ไม่เป็นทางการก่อนแล้ว   ค่อย ๆ เลื่อนชั้น 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
5.   เข้าประชุมสัมมนากติกาให้ทันสมัยอยู่เสมอ 6.   จัดเตรียมอุปกรณ์ส่วนตัวให้พร้อมดังนี้   6.1   เสื้อเชิ้ตสีเทาอย่างน้อย  2  ตัว   6.2   กางเกงขายาวสีดำ  เข็มขัดสีดำ   6.3   รองเท้าหนังพื้นยางหรือรองเท้ากีฬาสีดำ    6.4   ถุงเท้าชนิดหนาและอ่อนนุ่ม 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
6.5  ผ้าเช็ดหน้า  อย่างน้อย  2  ผืน   6.6  นกหวีด  ควรมีอย่างน้อย  2  ตัว มีสายคล้องคอสีดำ 1.   บันทึกเตือนความจำ วันเวลา   และสถานแข่งขัน 2.   รักษาสุขภาพ ไม่นอนดึก ไม่ดื่มของมึนเมา 3.   ทบทวนกติกา ก่อนวันตัดสิน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
4.   จัดเตรียมอุปกรณ์การตัดสินให้พร้อม ล่วงหน้า ถ้าไม่    ครบจะได้จัดหาได้ทัน  โดยเฉพาะนกหวีด 5.   จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม   ถ้าไม่สามารถไปตัดสินได้ต้องแจ้ง    กรรมการจัดการแข่งขันหรือเจ้าภาพทราบล่วงหน้าถึงเวลา   การแข่งขันในสูจิบัตร ไม่น้อยกว่า  48  ชั่วโมง 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน ก่อนวันตัดสิน
1.  ก่อนการเดินทางไปสนามแข่งขันตรวจอุปกรณ์   และเครื่องแต่งตัวอีกครั้งหนึ่ง   2.  ควรถึงสนามก่อนเวลาแข่งขันอย่างน้อย  1  ชั่วโมง   และแจ้งให้ฝ่ายจัดการแข่งขันทราบด้วย   วันทำการแข่งขัน ก่อนถึงเวลาการแข่งขัน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
3.  เปลี่ยนเครื่องแต่งตัวทันที 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
4.  ผู้ตัดสินควรซักซ้อมหรือทบทวนแนวปฏิบัติร่วมกัน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
5.  ทำการอบอุ่นร่างกาย ยืดเส้นยืดสาย 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
6.  ผู้ตัดสินควรลงสนามพร้อมกันก่อนถึงเวลาการแข่งขัน   อย่างน้อย  20  นาที 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน 7.  สำรวจสนามและอุปกรณ์
8.  ทำความรู้จัก และสนทนากับเจ้าหน้าที่ประจำโต๊ะการแข่งขัน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
( ปล่อยลูกบอลสูง  1.80  เมตร ต้องเด้งขึ้นมาไม่น้อยกว่า  1.20-1.40  เมตร ) 9.  ทดสอบความแข็งของลูกบอลว่าได้มาตรฐานหรือไม่ 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
10.   ขณะที่นักกีฬาอบอุ่นร่างกายต้องคอยสังเกตพฤติกรรม   ของ   ผู้เล่น ผู้ฝึกสอนหรือผู้ติดตามทีม โดยเฉพาะการโน้มห่วง 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
11.   ก่อนถึงเวลาการแข่งขัน  20  นาที ต้องให้เสี่ยงเลือกแดน  ( ยกเว้นทีมเยียน - เหย้า )  ผู้ฝึกสอนส่งรายชื่อนักกีฬา และ  10  นาทีก่อนแข่งขัน ต้องให้ผู้ฝึก ยืนยันรายชื่อผู้เล่น  5  คนแรกของทีม  3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
12.   ให้เวลาสำหรับพิธีการ  6  นาที ก่อนการแข่งขัน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
13.  แจ้งเวลาเหลือ  3  นาที และ 1  นาที  ก่อนทำการแข่งขัน  ต้องระมัดระวังบุคลิกภาพให้ดีที่สุด เพราะเป็นนาทีระทึกใจ 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
1.  เด็ดขาดแต่สุภาพ 2.  ไม่ควรเปลี่ยนคำตัดสิน 3. ACTIVE  ตลอดเวลา  ให้สัญญาณชัดเจน 4.  การนับเวลาในใจตามกติกา ต้องแม่น    (3,5   และ   8  วินาที ) 5.  สามารถเตือนผู้เล่นได้เท่าที่จำเป็น  ( ให้พิจารณา   ระดับทีม ) 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน ขณะทำการแข่งขัน
6.  เคลื่อนตัวให้อยู่ในตำแหน่งความรับผิดชอบ   ของตนโดยเร็ว 7.  อย่าคิดว่าตัวเองเป็นพระเอก  ต้องให้เกียรติ   ผู้ตัดสินอีกคน 8.  ถ้ามีการขอเวลานอกต้องแจ้งจำนวนครั้งของ   การขอเวลานอกให้ทีมที่ขอทราบ  ต้องจำฝ่าย   ที่จะได้ส่งบอล หรือผู้เล่นคนใดจะต้องโยนโทษ    หรือเล่นลูกกระโดด   3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
9.  จับลูกบอลไว้ก่อน ก่อนที่จะยื่นให้ผู้เล่น อย่าแตะเป็นพิธี 10.   ไม่แน่ใจว่าฝ่ายใดได้ส่งบอลให้มองไปที่ผู้ตัดสินอีกคน 11.  ต้องรู้ทันกลโกง หรือ ชั้นเชิงที่ผู้เล่นจะนำมาใช้  12.  ขณะที่ขอเวลานอกผู้ตัดสินต้องยืนให้ถูกตำแหน่งที่   กำหนด 13.  ถ้าตัดสินขัดแย้งกัน ให้ดูผู้ตัดสินที่หนึ่งก่อน   14.  ถ้าระบุโทษต่างกันให้เอาโทษที่หนักกว่า 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันแล้ว 1.  ตรวจสอบความถูกต้องในใบบันทึกการแข่งขัน 2.  ลงนามรับรอง 3.  ไม่ต้องรอรับการขอบคุณ หรือสนทนา หรือแสดง   ความยินดี 4.  เมื่อถูกขอร้องให้อธิบาย ต้องอธิบายด้วยสุภาพ   และ   เป็นจริง 5.  ไม่เป็นคนให้ข่าว หรือวิพากษ์วิจารณ์ผลการแข่งขัน 3.   การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
4.   สรุปท้ายบทที่  3   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน  ตามกติกาสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติกำหนดไว้  มีความมุ่งหมายเพื่อให้การแข่งขันอยู่ภายใต้กฎการแข่งขัน ผู้ตัดสินต้องรักษา   และดำเนินการให้เป็นไปตามนั้น เพื่อความเป็นธรรมแก่คู่แข่งขัน  ดังนั้นผู้ตัดสินต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ประสานและช่วยเหลือกันตลอดเวลา โดยมีอำนาจในการตัดสินก่อนถึงเวลาแข่งขันจะเริ่มขึ้น  20  นาที และสิ้นสุดเมื่อผู้ตัดสินได้ลงนามในใบบันทึกการแข่งขันแล้ว   ข้อผิดพลาดในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตัดสิน หรือเจ้าหน้าทีประจำโต๊ะการแข่งขัน
สามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้ แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขเวลาหรือเหตุการณ์ที่กำหนดไว้ ถ้าผ่านพ้นไปแล้วจะแก้ไขไม่ได้ ผู้ตัดสินจะต้องปฏิบัติตนเองดังนี้ 1.  ก่อนฤดูกาลแข่งขัน ต้องเตรียมร่างกาย  และฝึก   การตัดสิน 2.  ก่อนวันไปตัดสิน ต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม   3.  วันทำการแข่งขัน ต้องถึงสนามแข่งขันไม่น้อยกว่า  1  ชั่วโมง 4.   สรุปท้ายบทที่  3   อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล
บทที่  4.  การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน 4.   สรุปท้ายบทที่  4  การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน 1.   ความนำ 2.   การให้สัญญาณนกหวีด 3.   การให้สัญญาณมือ
การให้สัญญาณของผู้ตัดสินแบ่งเป็น  2  ชนิด คือ การให้สัญญาณนกหวีด  และการให้สัญญาณมือ  ผู้ตัดสินมักจะกระทำต่อเนื่องกัน โดยเริ่มจากการให้สัญญาณนกหวีดก่อน แล้วตามด้วยสัญญาณมือ  ผู้เล่น ผู้ฝึกสอนและ   เจ้าหน้าที่ประจำโต๊ะการแข่งขัน   ต้องเอาใจใส่กับสัญญาณเหล่านี้ เพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ และการแข่งขัน 1.   ความนำ
1.  สวมสายนกหวีดคล้องคอให้เรียบร้อยก่อนเสมอ 2.  คาบนกหวีดไว้ก่อนที่บอลเข้าสู่การเล่น  (Ball goes into play) 3.  อย่าคาบนกหวีดลึกเกินไป เพียงใช้ฟันหน้าและริมฝีปากคาบ   เท่านั้น 4.  ก่อนเป่าให้สูดลมหายใจ แล้วเป่าออกตามสัญญาณเสียงที่   ต้องการ 5.  เป่าไปแล้ว ถ้ายังไม่ใช้ทันที ให้ปล่อยนกหวีดออกก่อน หลักปฏิบัติ 2.   การให้สัญญาณนกหวีด
7.  ให้สัญญาณนกหวีดทุกครั้งต้องเป็นเสียงเดียว  ( เสียงยาว   ธรรมดาสำหรับการผิดระเบียบ การขอเวลานอก และ   การขอเปลี่ยนตัว  เสียงยาวหนักแน่นสำหรับการฟาวล์    เสียงสั้นหนักแน่นสำหรับลูกบอลออกจากสนาม 8.  ต้องฝึกเป่าให้เคยชิน และชำนาญ 9.  อย่าให้สัญญาณนกหวีดโดยไม่จำเป็น 2.   การให้สัญญาณนกหวีด
3.   การให้สัญญาณมือ 1. Scoring
3.   การให้สัญญาณมือ 2. Clock - Related
3.   การให้สัญญาณมือ 3. Administrative
3.   การให้สัญญาณมือ 4. Violations
3.   การให้สัญญาณมือ 4. Violations
3.   การให้สัญญาณมือ 4. Violations
3.   การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 1  :  Number of player
3.   การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 1  :  Number of player
3.   การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 1  :  Number of player
3.   การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 2  : Type of foul
3.   การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 2  : Type of foul
3.   การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 2  : Type of foul
3.   การให้สัญญาณมือ 5.  Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step)   Step 3  : Number of Free-throw(s) awarded หรือ
3.   การให้สัญญาณมือ 6 . Free-Throw Administration   ( 2 Steps)   Step 1  : In Restricted area
3.   การให้สัญญาณมือ 6. Free-Throw Administration   ( 2 Steps)   Step 2  : Outside the Restricted area
การให้สัญญาณของผู้ตัดสินบาสเกตบอล มี  2  ชนิด คือ 1.  การให้สัญญาณนกหวีด 2.  การให้สัญญาณมือ ทั้งสองสัญญาณนี้มักจะกระทำควบคู่กัน โดยเริ่มจากสัญญาณนกหวีดก่อน แล้วตามด้วยสัญญาณมือ 4.   สรุปท้ายบทที่  4   การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน
บทที่  5  :  หลักการตัดสินและการควบคุมการเล่น เนื้อหาประกอบด้วย 1.   ความนำ 2.  หลักการตัดสินบาสเกตบอล 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
การทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้ตัดสินบาสเกตบอลได้อย่างดีเยี่ยม  นับเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยให้คนหันมานิยมกีฬา บาสเกตบอลยิ่งขึ้น  ขณะเดียวกัน ผู้ตัดสินก็จะได้รับการยอมรับจากผู้เล่น ผู้ฝึกสอน คนดูและผู้ที่เกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้นด้วย ถือ เป็นความภาคภูมิใจ   และเกียรติที่ได้รับอย่างสูงสุด  เพื่อให้ผู้ตัดสินได้มีโอกาสบรรลุเป้าหมายดังกล่าว  ผู้ตัดสินต้องเข้าใจหลัก การตัดสิน และการควบคุมการเล่นอย่างถ่องแท้เสียก่อน  แล้วนำไปปฏิบัติให้เกิดความถูกต้อง   และชำนาญ 1.   ความนำ
1.  ต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันตลอดเวลา 2.  ต้องตัดสินด้วยความเฉียบขาดและแน่นอนไม่ลังเลใจ 3.  ต้องเคลื่อนที่และเปลี่ยนตำแหน่งตามที่  FIBA  กำหนด 4.  ต้องพยายามให้การแข่งขันสนุก  เพราะคนดูต้องการดูเกม   แข่งขัน มากกว่าดูผู้ตัดสิน 5.  ตัดสินให้ทันเกม  อย่าปล่อยให้เกิดการเล่นที่รุนแรง 2.  หลักการตัดสินบาสเกตบอล
1.  การเริ่มเล่น 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 2.  การดำเนินการเล่นลูกกระโดด 1 2
2.  การดำเนินการเล่นลูกกระโดด  ( ต่อ ) 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 3 4
3.  ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด 1.  เล่นที่วงกลมกลาง ถ้าบอลรุกไปทางขวามือ 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 4.  ถ้าบอลรุกไปทางขวามือ  ( ต่อเนื่อง ) 3.  ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 4.  ถ้าบอลรุกไปทางซ้ายมือ 3.  ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 4.  ถ้าบอลรุกไปทางซ้ายมือ  ( ต่อเนื่อง ) 3.  ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด
4.  ตำแหน่งการยืน และความรับผิดชอบ 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
5.  พื้นที่เขตความรับผิดชอบของผู้ตัดสิน เมื่อบอลอยู่แดนหน้า แบ่งเป็น  6  เขตดังนี้ 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 6 .   ตำแหน่งการยืน   และความ   รับผิดชอบของผู้ตัดสินตาม   ( Trail   official)
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 6.   ตำแหน่งการยืน   และความ   รับผิดชอบของผู้ตัดสินตาม   ( Trail   official) ( ต่อ )
7 .   ตำแหน่งการยืนและความรับผิดชอบของผู้ตัดสินตาม    (Trail   official) ผู้ตัดสินตามรับผิดชอบ ร่วมกับผู้ตัดสินนำในเขต สีเทาเข้ม 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
7 .   ตำแหน่งการยืน   และความ   รับผิดชอบของผู้ตัดสินนำ   (Lead   official) 3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
3.  การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 7 .   ตำแหน่งการยืน   และความ   รับผิดชอบของผู้ตัดสินนำ   (Lead   official) ( ต่อ )
สวัสดี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสารวัชรพล เที่ยงปา
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบkrutitirut
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์Kruple Ratchanon
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 

Mais procurados (20)

ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสารแผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง  กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
แผนการจัดการเรียนรู้ Active Learning เรื่อง กราฟิกเพื่อการสื่อสาร
 
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบแผนการจัดประสบการณ์   หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วย ฉันรักฤดูหนาว- 4 ขวบ
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
ปพ5 ปีการศึกษา2553 รายปี ชั้น ม3 วิชาคณิตศาสตร์
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

Semelhante a Basketball ตัดสิน

โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งnuk2537
 
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งnuk2537
 
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งnuk2537
 
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งnuk2537
 
กติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลกติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลsamaitiger
 
กีฬาแชร์บอล.pptx
กีฬาแชร์บอล.pptxกีฬาแชร์บอล.pptx
กีฬาแชร์บอล.pptxssuser97783d
 
Ball [compatibility mode]
Ball [compatibility mode]Ball [compatibility mode]
Ball [compatibility mode]krupitsa
 

Semelhante a Basketball ตัดสิน (7)

โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
 
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
 
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
 
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่งโครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
โครงงาน ซ้อมบอลยังไงถึงจะเก่ง
 
กติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอลกติกาบาสเกตบอล
กติกาบาสเกตบอล
 
กีฬาแชร์บอล.pptx
กีฬาแชร์บอล.pptxกีฬาแชร์บอล.pptx
กีฬาแชร์บอล.pptx
 
Ball [compatibility mode]
Ball [compatibility mode]Ball [compatibility mode]
Ball [compatibility mode]
 

Basketball ตัดสิน

  • 2. เทคนิคการตัดสินบาสเกตบอล เนื้อหาที่นำเสนอประกอบด้วย บทที่ 1. ความสำคัญของการตัดสินบาสเกตบอล บทที่ 2. คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน บทที่ 3. อำนาจและหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล บทที่ 4. การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน บทที่ 5. หลักการตัดสินและการควบคุมการเล่น
  • 3. บทที่ 1 : ความสำคัญของการตัดสินบาสเกตบอล 1. การพัฒนาการเกมการเล่นและการตัดสิน - ดร . เจมส์ เอ . ไนสมิท ( James A. Naismith) - ถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 11 พ . ศ .2479 กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมันนี 2. หน่วยงานที่กำหนดมาตรฐานการเล่นและกติกา - สหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ ( Federation International De Basketball Amateur)= ( FIBA) มีสมาชิกมากกว่า 157 ประเทศ 3. ผู้ตัดสินเป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้เกมสนุกและยุติธรรม เนื้อหาประกอบด้วย
  • 4. สรุปท้ายบทที่ 1 ความสำคัญของการตัดสินบาสเกตบอล กีฬาบาสเกตบอล เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมทั่วโลก โดยมี สหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติสนับสนุนส่งเสริมและควบคุม ปัญหาและอุปสรรคสำคัญประการหนึ่งของการดำเนินงาน คือ คุณภาพของผู้ตัดสินที่ยังไม่ได้มาตรฐาน วิธีการแก้ปัญหาวิธีหนึ่ง คือ การให้ความรู้เรื่องกฎกติกา และเทคนิคการตัดสินอย่างถูกต้อง โดยวิธีการศึกษา จัดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ แล้วนำไปฝึกปฏิบัติอย่างจริงจัง ภายใต้การควบคุมดูแลของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ก็จะช่วยลดปัญหาด้านคุณภาพและความขาดแคลนผู้ตัดสินได้ ทดสอบ
  • 5. 1. คุณลักษณะพื้นฐานที่ดีของผู้ตัดสิน บทที่ 2 : คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน 2. คุณลักษณะพิเศษของตัดสินผู้ตัดสิน สรุปท้ายบทที่ 2 คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน เนื้อหาประกอบด้วย
  • 6. 1. คุณลักษณะพื้นฐานที่ดีของผู้ตัดสิน 1.1 ความมุ่งมั่นในผลงานของตนเอง 1.2 สามารถควบคุมอารมณ์ 1.3 มีความตรงต่อเวลา 1.4 อดทนเมื่อมีอุปสรรค 1.5 มีความยุติธรรม 1.6 มีความศรัทธาในการเป็นผู้ตัดสิน 1.7 มีพฤติกรรมที่เป็นประชาธิปไตย 1.8 ซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ 1.9 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ 1.10 มีความประพฤติดี 1.11 มีความตั้งใจในการปฏิบัติหน้าที่ 1.12 มีความสุภาพเรียบร้อย 1.13 มีมนุษย์สัมพันธ์ดี 1.14 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
  • 7. 2.1 มีความรู้ในกติกา และเจตนารมณ์ของกติกา 2.2 ต้องฝึกการให้สัญญาณ 2.3 ฉลาดในการตัดสินเพื่อให้เกมสนุก 2.4 แต่งกายด้วยชุดสุภาพ 2.5 ต้องยึดแนวปฏิบัติที่เป็นสากล 2.6 แสวงหาความรู้กติกาที่เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ 2. คุณลักษณะพิเศษของผู้ตัดสิน
  • 8. Fairness Firmness สรุปท้ายบทที่ 2 คุณลักษณะที่ดีของผู้ตัดสิน Fitness
  • 9. บทที่ 3 อำนาจและหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล 4. สรุปท้ายบทที่ 3 อำนาจหน้าที่ ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล 1. ความนำ 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน เนื้อหาประกอบด้วย
  • 10.
  • 11.
  • 12. 7. ต้องแสดงสัญญาณมือ เมื่อมีการยิงประตูได้คะแนน โดยไม่ต้องเป่านกหวีด 8. ต้องเปลี่ยนตำแหน่งทุกครั้งหลังจากขานฟาวล์ในแดนหน้า หรือตามความจำเป็น 9. ไม่มีอำนาจในการโต้แย้งการตัดสินของผู้ตัดสินอีกคน 10. การแข่งขันระดับนานาชาติต้องสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
  • 13. B. เฉพาะผู้ตัดสินที่หนึ่งเท่านั้น 1. ตรวจสอบอุปกรณ์การแข่งขันว่าถูกต้องตามกติกาหรือไม่ 2. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ประจำโต๊ะการแข่งขัน 3. ไม่อนุญาตให้ผู้เล่นสวมใส่อุปกรณ์ที่อาจก่ออันตรายกับ ผู้เล่น 4. เป็นผู้ดำเนินการเล่นลูกกระโดดเริ่มเล่นของทุกช่วงเวลา 5. เป็นผู้ชี้ขาดการได้ประตูหรือไม่ในกรณีที่มีความเห็นขัด แย้งกัน 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
  • 14. 6. ให้หยุดการแข่งขัน หรือปรับทีมให้แพ้ 7. ชี้ขาดเมื่อผู้บันทึกกับผู้จับเวลาขัดแย้งกัน 8. ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกการแข่งขันอย่าง รอบคอบ รับรองคะแนนและเวลาที่เหลือ ในกรณีขัด แย้งกัน 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
  • 15. 9. ลงนามรับรองผลการแข่งขันในใบบันทึกการแข่งขันเมื่อ การแข่งขันเสร็จสิ้นลง 10. บันทึกเหตุการณ์ลงในใบบันทึกการแข่งขัน ถ้าผู้เล่นผู้ ฝึกสอนผู้ติดตามทีมแสดงออกไม่มีน้ำใจนักกีฬา 11. มีอำนาจตัดสินสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในกติกา 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
  • 16. แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขเวลาและเหตุการณ์ดังนี้ C. การแก้ไขข้อผิดพลาด ผู้ตัดสินสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดได้ เช่น จำนวน ฟาวล์บุคคล หรือจำนวนฟาวล์ทีมของที่ผิด การแจ้งฟาวล์ที่ ผิดพลาด ให้คะแนนผิดข้าง ผิดตัวผู้ที่ได้โยนโทษ ผิดฝ่ายที่ ได้ครอบครองบอล หรือเวลาเดินไม่ตรง เป็นต้น 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน
  • 17. แก้ไขได้ แก้ไขไม่ได้ 2. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน START บอลตายนาฬิกาหยุดเดิน มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้น บอลเข้าสู่การเล่น บอลดีนาฬิกาเดิน บอลเข้าสู่การเล่น บอลตายนาฬิกาหยุดเดิน บอลดีนาฬิกาเดิน
  • 18. ก่อนฤดูกาลแข่งขัน 1. ตรวจสุขภาพ และเสริมสร้างสมรรถภาพอยู่เสมอ 2. ทบทวนกติกาอย่างละเอียด 3. ฝึกการให้สัญญาณนกหวี / สัญญาณมือให้คล่อง 4. ฝึกตัดสินเป็นประจำกับเกมที่ไม่เป็นทางการก่อนแล้ว ค่อย ๆ เลื่อนชั้น 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 19. 5. เข้าประชุมสัมมนากติกาให้ทันสมัยอยู่เสมอ 6. จัดเตรียมอุปกรณ์ส่วนตัวให้พร้อมดังนี้ 6.1 เสื้อเชิ้ตสีเทาอย่างน้อย 2 ตัว 6.2 กางเกงขายาวสีดำ เข็มขัดสีดำ 6.3 รองเท้าหนังพื้นยางหรือรองเท้ากีฬาสีดำ 6.4 ถุงเท้าชนิดหนาและอ่อนนุ่ม 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 20. 6.5 ผ้าเช็ดหน้า อย่างน้อย 2 ผืน 6.6 นกหวีด ควรมีอย่างน้อย 2 ตัว มีสายคล้องคอสีดำ 1. บันทึกเตือนความจำ วันเวลา และสถานแข่งขัน 2. รักษาสุขภาพ ไม่นอนดึก ไม่ดื่มของมึนเมา 3. ทบทวนกติกา ก่อนวันตัดสิน 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 21. 4. จัดเตรียมอุปกรณ์การตัดสินให้พร้อม ล่วงหน้า ถ้าไม่ ครบจะได้จัดหาได้ทัน โดยเฉพาะนกหวีด 5. จะด้วยเหตุผลใดก็ตาม ถ้าไม่สามารถไปตัดสินได้ต้องแจ้ง กรรมการจัดการแข่งขันหรือเจ้าภาพทราบล่วงหน้าถึงเวลา การแข่งขันในสูจิบัตร ไม่น้อยกว่า 48 ชั่วโมง 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน ก่อนวันตัดสิน
  • 22. 1. ก่อนการเดินทางไปสนามแข่งขันตรวจอุปกรณ์ และเครื่องแต่งตัวอีกครั้งหนึ่ง 2. ควรถึงสนามก่อนเวลาแข่งขันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง และแจ้งให้ฝ่ายจัดการแข่งขันทราบด้วย วันทำการแข่งขัน ก่อนถึงเวลาการแข่งขัน 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 23. 3. เปลี่ยนเครื่องแต่งตัวทันที 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 25. 5. ทำการอบอุ่นร่างกาย ยืดเส้นยืดสาย 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 26. 6. ผู้ตัดสินควรลงสนามพร้อมกันก่อนถึงเวลาการแข่งขัน อย่างน้อย 20 นาที 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน 7. สำรวจสนามและอุปกรณ์
  • 27. 8. ทำความรู้จัก และสนทนากับเจ้าหน้าที่ประจำโต๊ะการแข่งขัน 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 28. ( ปล่อยลูกบอลสูง 1.80 เมตร ต้องเด้งขึ้นมาไม่น้อยกว่า 1.20-1.40 เมตร ) 9. ทดสอบความแข็งของลูกบอลว่าได้มาตรฐานหรือไม่ 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 29. 10. ขณะที่นักกีฬาอบอุ่นร่างกายต้องคอยสังเกตพฤติกรรม ของ ผู้เล่น ผู้ฝึกสอนหรือผู้ติดตามทีม โดยเฉพาะการโน้มห่วง 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 30. 11. ก่อนถึงเวลาการแข่งขัน 20 นาที ต้องให้เสี่ยงเลือกแดน ( ยกเว้นทีมเยียน - เหย้า ) ผู้ฝึกสอนส่งรายชื่อนักกีฬา และ 10 นาทีก่อนแข่งขัน ต้องให้ผู้ฝึก ยืนยันรายชื่อผู้เล่น 5 คนแรกของทีม 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 31. 12. ให้เวลาสำหรับพิธีการ 6 นาที ก่อนการแข่งขัน 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 32. 13. แจ้งเวลาเหลือ 3 นาที และ 1 นาที ก่อนทำการแข่งขัน ต้องระมัดระวังบุคลิกภาพให้ดีที่สุด เพราะเป็นนาทีระทึกใจ 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 33. 1. เด็ดขาดแต่สุภาพ 2. ไม่ควรเปลี่ยนคำตัดสิน 3. ACTIVE ตลอดเวลา ให้สัญญาณชัดเจน 4. การนับเวลาในใจตามกติกา ต้องแม่น (3,5 และ 8 วินาที ) 5. สามารถเตือนผู้เล่นได้เท่าที่จำเป็น ( ให้พิจารณา ระดับทีม ) 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน ขณะทำการแข่งขัน
  • 34. 6. เคลื่อนตัวให้อยู่ในตำแหน่งความรับผิดชอบ ของตนโดยเร็ว 7. อย่าคิดว่าตัวเองเป็นพระเอก ต้องให้เกียรติ ผู้ตัดสินอีกคน 8. ถ้ามีการขอเวลานอกต้องแจ้งจำนวนครั้งของ การขอเวลานอกให้ทีมที่ขอทราบ ต้องจำฝ่าย ที่จะได้ส่งบอล หรือผู้เล่นคนใดจะต้องโยนโทษ หรือเล่นลูกกระโดด 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 35. 9. จับลูกบอลไว้ก่อน ก่อนที่จะยื่นให้ผู้เล่น อย่าแตะเป็นพิธี 10. ไม่แน่ใจว่าฝ่ายใดได้ส่งบอลให้มองไปที่ผู้ตัดสินอีกคน 11. ต้องรู้ทันกลโกง หรือ ชั้นเชิงที่ผู้เล่นจะนำมาใช้ 12. ขณะที่ขอเวลานอกผู้ตัดสินต้องยืนให้ถูกตำแหน่งที่ กำหนด 13. ถ้าตัดสินขัดแย้งกัน ให้ดูผู้ตัดสินที่หนึ่งก่อน 14. ถ้าระบุโทษต่างกันให้เอาโทษที่หนักกว่า 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 36. หลังเสร็จสิ้นการแข่งขันแล้ว 1. ตรวจสอบความถูกต้องในใบบันทึกการแข่งขัน 2. ลงนามรับรอง 3. ไม่ต้องรอรับการขอบคุณ หรือสนทนา หรือแสดง ความยินดี 4. เมื่อถูกขอร้องให้อธิบาย ต้องอธิบายด้วยสุภาพ และ เป็นจริง 5. ไม่เป็นคนให้ข่าว หรือวิพากษ์วิจารณ์ผลการแข่งขัน 3. การปฏิบัติตนของผู้ตัดสิน
  • 37. 4. สรุปท้ายบทที่ 3 อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสิน ตามกติกาสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติกำหนดไว้ มีความมุ่งหมายเพื่อให้การแข่งขันอยู่ภายใต้กฎการแข่งขัน ผู้ตัดสินต้องรักษา และดำเนินการให้เป็นไปตามนั้น เพื่อความเป็นธรรมแก่คู่แข่งขัน ดังนั้นผู้ตัดสินต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ประสานและช่วยเหลือกันตลอดเวลา โดยมีอำนาจในการตัดสินก่อนถึงเวลาแข่งขันจะเริ่มขึ้น 20 นาที และสิ้นสุดเมื่อผู้ตัดสินได้ลงนามในใบบันทึกการแข่งขันแล้ว ข้อผิดพลาดในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตัดสิน หรือเจ้าหน้าทีประจำโต๊ะการแข่งขัน
  • 38. สามารถแก้ไขให้ถูกต้องได้ แต่ต้องอยู่ในเงื่อนไขเวลาหรือเหตุการณ์ที่กำหนดไว้ ถ้าผ่านพ้นไปแล้วจะแก้ไขไม่ได้ ผู้ตัดสินจะต้องปฏิบัติตนเองดังนี้ 1. ก่อนฤดูกาลแข่งขัน ต้องเตรียมร่างกาย และฝึก การตัดสิน 2. ก่อนวันไปตัดสิน ต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม 3. วันทำการแข่งขัน ต้องถึงสนามแข่งขันไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 4. สรุปท้ายบทที่ 3 อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสินบาสเกตบอล
  • 39. บทที่ 4. การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน 4. สรุปท้ายบทที่ 4 การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน 1. ความนำ 2. การให้สัญญาณนกหวีด 3. การให้สัญญาณมือ
  • 40. การให้สัญญาณของผู้ตัดสินแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ การให้สัญญาณนกหวีด และการให้สัญญาณมือ ผู้ตัดสินมักจะกระทำต่อเนื่องกัน โดยเริ่มจากการให้สัญญาณนกหวีดก่อน แล้วตามด้วยสัญญาณมือ ผู้เล่น ผู้ฝึกสอนและ เจ้าหน้าที่ประจำโต๊ะการแข่งขัน ต้องเอาใจใส่กับสัญญาณเหล่านี้ เพื่อประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ และการแข่งขัน 1. ความนำ
  • 41. 1. สวมสายนกหวีดคล้องคอให้เรียบร้อยก่อนเสมอ 2. คาบนกหวีดไว้ก่อนที่บอลเข้าสู่การเล่น (Ball goes into play) 3. อย่าคาบนกหวีดลึกเกินไป เพียงใช้ฟันหน้าและริมฝีปากคาบ เท่านั้น 4. ก่อนเป่าให้สูดลมหายใจ แล้วเป่าออกตามสัญญาณเสียงที่ ต้องการ 5. เป่าไปแล้ว ถ้ายังไม่ใช้ทันที ให้ปล่อยนกหวีดออกก่อน หลักปฏิบัติ 2. การให้สัญญาณนกหวีด
  • 42. 7. ให้สัญญาณนกหวีดทุกครั้งต้องเป็นเสียงเดียว ( เสียงยาว ธรรมดาสำหรับการผิดระเบียบ การขอเวลานอก และ การขอเปลี่ยนตัว เสียงยาวหนักแน่นสำหรับการฟาวล์ เสียงสั้นหนักแน่นสำหรับลูกบอลออกจากสนาม 8. ต้องฝึกเป่าให้เคยชิน และชำนาญ 9. อย่าให้สัญญาณนกหวีดโดยไม่จำเป็น 2. การให้สัญญาณนกหวีด
  • 43. 3. การให้สัญญาณมือ 1. Scoring
  • 44. 3. การให้สัญญาณมือ 2. Clock - Related
  • 45. 3. การให้สัญญาณมือ 3. Administrative
  • 46. 3. การให้สัญญาณมือ 4. Violations
  • 47. 3. การให้สัญญาณมือ 4. Violations
  • 48. 3. การให้สัญญาณมือ 4. Violations
  • 49. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 1 : Number of player
  • 50. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 1 : Number of player
  • 51. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 1 : Number of player
  • 52. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 2 : Type of foul
  • 53. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 2 : Type of foul
  • 54. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 2 : Type of foul
  • 55. 3. การให้สัญญาณมือ 5. Reporting a foul to the Scorer’s table ( 3 step) Step 3 : Number of Free-throw(s) awarded หรือ
  • 56. 3. การให้สัญญาณมือ 6 . Free-Throw Administration ( 2 Steps) Step 1 : In Restricted area
  • 57. 3. การให้สัญญาณมือ 6. Free-Throw Administration ( 2 Steps) Step 2 : Outside the Restricted area
  • 58. การให้สัญญาณของผู้ตัดสินบาสเกตบอล มี 2 ชนิด คือ 1. การให้สัญญาณนกหวีด 2. การให้สัญญาณมือ ทั้งสองสัญญาณนี้มักจะกระทำควบคู่กัน โดยเริ่มจากสัญญาณนกหวีดก่อน แล้วตามด้วยสัญญาณมือ 4. สรุปท้ายบทที่ 4 การให้สัญญาณของผู้ตัดสิน
  • 59. บทที่ 5 : หลักการตัดสินและการควบคุมการเล่น เนื้อหาประกอบด้วย 1. ความนำ 2. หลักการตัดสินบาสเกตบอล 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 60. การทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้ตัดสินบาสเกตบอลได้อย่างดีเยี่ยม นับเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยให้คนหันมานิยมกีฬา บาสเกตบอลยิ่งขึ้น ขณะเดียวกัน ผู้ตัดสินก็จะได้รับการยอมรับจากผู้เล่น ผู้ฝึกสอน คนดูและผู้ที่เกี่ยวข้องมากยิ่งขึ้นด้วย ถือ เป็นความภาคภูมิใจ และเกียรติที่ได้รับอย่างสูงสุด เพื่อให้ผู้ตัดสินได้มีโอกาสบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ผู้ตัดสินต้องเข้าใจหลัก การตัดสิน และการควบคุมการเล่นอย่างถ่องแท้เสียก่อน แล้วนำไปปฏิบัติให้เกิดความถูกต้อง และชำนาญ 1. ความนำ
  • 61. 1. ต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันตลอดเวลา 2. ต้องตัดสินด้วยความเฉียบขาดและแน่นอนไม่ลังเลใจ 3. ต้องเคลื่อนที่และเปลี่ยนตำแหน่งตามที่ FIBA กำหนด 4. ต้องพยายามให้การแข่งขันสนุก เพราะคนดูต้องการดูเกม แข่งขัน มากกว่าดูผู้ตัดสิน 5. ตัดสินให้ทันเกม อย่าปล่อยให้เกิดการเล่นที่รุนแรง 2. หลักการตัดสินบาสเกตบอล
  • 62. 1. การเริ่มเล่น 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 63. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 2. การดำเนินการเล่นลูกกระโดด 1 2
  • 64. 2. การดำเนินการเล่นลูกกระโดด ( ต่อ ) 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 3 4
  • 65. 3. ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด 1. เล่นที่วงกลมกลาง ถ้าบอลรุกไปทางขวามือ 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 66. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 4. ถ้าบอลรุกไปทางขวามือ ( ต่อเนื่อง ) 3. ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด
  • 67. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 4. ถ้าบอลรุกไปทางซ้ายมือ 3. ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด
  • 68. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 4. ถ้าบอลรุกไปทางซ้ายมือ ( ต่อเนื่อง ) 3. ทิศทางการวิ่งของผู้ตัดสินภายหลังการเล่นลูกกระโดด
  • 69. 4. ตำแหน่งการยืน และความรับผิดชอบ 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 70. 5. พื้นที่เขตความรับผิดชอบของผู้ตัดสิน เมื่อบอลอยู่แดนหน้า แบ่งเป็น 6 เขตดังนี้ 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 71. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 6 . ตำแหน่งการยืน และความ รับผิดชอบของผู้ตัดสินตาม ( Trail official)
  • 72. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 6. ตำแหน่งการยืน และความ รับผิดชอบของผู้ตัดสินตาม ( Trail official) ( ต่อ )
  • 73. 7 . ตำแหน่งการยืนและความรับผิดชอบของผู้ตัดสินตาม (Trail official) ผู้ตัดสินตามรับผิดชอบ ร่วมกับผู้ตัดสินนำในเขต สีเทาเข้ม 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 74. 7 . ตำแหน่งการยืน และความ รับผิดชอบของผู้ตัดสินนำ (Lead official) 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล
  • 75. 3. การควบคุมการเล่นบาสเกตบอล 7 . ตำแหน่งการยืน และความ รับผิดชอบของผู้ตัดสินนำ (Lead official) ( ต่อ )