SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 34
Baixar para ler offline
1
หลักการจัดความมั่นคง
ปลอดภัยของ
ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ (Part 2)
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
9 ก.ค. 2558
http://www.slideshare.net/nawanan
2
Outline
ตอนที่ 1 (สัปดาห์ที่แล้ว)
• ทาไมเราต้องแคร์เรื่อง Security & Privacy?
• Security/Privacy กับข้อมูลผู้ป่วย
• แนวปฏิบัติด้าน Security ของระบบ
ตอนที่ 2 (สัปดาห์นี้)
• กฎหมายด้าน Security/Privacy
• การใช้ Social Media ด้านสุขภาพ
3
กฎหมายด้าน Security
4
Confidentiality
• การรักษาความลับของข้อมูล
Integrity
• การรักษาความครบถ้วนและความ
ถูกต้องของข้อมูล
• ปราศจากการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ทา
ให้สูญหาย ทาให้เสียหาย หรือถูก
ทาลายโดยมิชอบ
Availability
• การรักษาสภาพพร้อมใช้งาน
หลักการของ Information Security
5
• พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550
– กาหนดการกระทาที่ถือเป็นความผิด และหน้าที่ของผู้ให้บริการ
• พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
• พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2551
– รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
– รับรองวิธีการส่งและรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ (electronic signature) และการรับฟัง
พยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเสริมการทา e-
transactions ให้น่าเชื่อถือ
– กาหนดให้มีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ
อานาจหน้าที่
กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย
6
• ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของ
ข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7)
• ให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีการลงลายมือชื่อแล้ว ถ้า (1) ใช้
วิธีการที่ระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อ และ (2) เป็นวิธีการที่เชื่อถือได้
(มาตรา 9)
• ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้กระทาตามวิธีการแบบปลอดภัยที่
กาหนดใน พรฎ. ให้สันนิษฐานว่าเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้ (มาตรา 25)
• คาขอ การอนุญาต การจดทะเบียน คาสั่งทางปกครอง การชาระเงิน
การประกาศ หรือการดาเนินการใดๆ ตามกฎหมายกับหน่วยงานของ
รัฐหรือโดยหน่วยงานของรัฐ ถ้าได้กระทาในรูปของข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดโดย พรฎ.
• ให้ถือว่ามีผลโดยชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 35)
ผลทางกฎหมายของ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
7
• พรฎ.กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549
– ประกาศ เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษา
ความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐ
พ.ศ. 2553
• กาหนดมาตรฐาน Security Policy ของหน่วยงานของรัฐที่มี
การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
– ประกาศ เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.
2553
• กาหนดมาตรฐาน Privacy Policy ของหน่วยงานของรัฐที่มี
การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
กฎหมายลาดับรองของ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
8
• พรฎ.ว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทา
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553
– ประกาศ เรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคง
ปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบ
ปลอดภัย พ.ศ. 2555
• กาหนดมาตรฐานความปลอดภัยตามวิธีการแบบ
ปลอดภัยแต่ละระดับ สาหรับ Critical Infrastructure
ของประเทศ
กฎหมายลาดับรองของ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
9
• มาตรา 25 ของ พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
– “ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใดที่ได้กระทาตามวิธีการแบบ
ปลอดภัยที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ให้สันนิษฐานว่าเป็น
วิธีการที่เชื่อถือได้
• พรฎ.ว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทาธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553
– วิธีการแบบปลอดภัย มี 3 ระดับ (พื้นฐาน, กลาง, เคร่งครัด)
– จาแนกตามประเภทของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ธุรกรรมที่มี
ผลกระทบต่อความมั่นคงหรือความสงบเรียบร้อยของประเทศ
หรือต่อสาธารณชน) หรือจาแนกตามหน่วยงาน (ธุรกรรมของ
หน่วยงานหรือองค์กรที่ถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานสาคัญของ
ประเทศ หรือ Critical Infrastructure)
“วิธีการแบบปลอดภัย”
10
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่อไปนี้
• ด้านการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
• ด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์
• ด้านประกันภัย
• ด้านหลักทรัพย์ของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์
• ธุรกรรมที่จัดเก็บ รวบรวม และให้บริการข้อมูลของบุคคล
หรือทรัพย์สินหรือทะเบียนต่างๆ ที่เป็นเอกสารมหาชนหรือที่
เป็นข้อมูลสาธารณะ
• ธุรกรรมในการให้บริการด้านสาธารณูปโภคและบริการ
สาธารณะที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
วิธีการแบบปลอดภัยในระดับเคร่งครัด
11
ให้หน่วยงานยึดถือหลักการประเมินความเสี่ยงของระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่ยอมรับเป็นการทั่วไป เป็น
แนวทางในการประเมินระดับผลกระทบ ซึ่งต้องประเมินผล
กระทบในด้านต่อไปนี้ด้วย (ผลกระทบจาก Worst Case
Scenario ใน 1 วัน)
• ผลกระทบต่อจานวนผู้ใช้บริการหรือผู้มีส่วนได้เสียที่อาจ
ได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย
– ต่า: ไม่มี
– ปานกลาง: ผลกระทบต่อร่างกายหรืออนามัย 1-1,000 คน
– สูง: ผลกระทบต่อร่างกายหรืออนามัย > 1,000 คน หรือต่อ
ชีวิตตั้งแต่ 1 คน
ระดับผลกระทบกับวิธีการแบบปลอดภัย
12
• แบ่งเป็น 11 หมวด (Domains)
– Security policy
– Organization of information security
– Asset management
– Human resources security
– Physical and environmental security
– Communications and operations management
– Access control
– Information systems acquisition, development and
maintenance
– Information security incident management
– Business continuity management
– Regulatory compliance
มาตรฐาน Security ตามวิธีการแบบปลอดภัย
13
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer-
Related Crimes)
ตัวอย่าง?
–อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crimes)
• เช่น Hacking, การเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับ, การดักฟังข้อมูล
–การกระทาความผิดที่มีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ (Crimes
Using Computers as Tools)
• เช่น การเผยแพร่ภาพลามก
• การโพสต์ข้อความที่เป็นภัยต่อความมั่นคง
• การตัดต่อภาพเพื่อให้ผู้อื่นเสียหาย
14
หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
• มาตรา 5 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการ
ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน
(Unauthorized access)
– เช่น การเจาะระบบ (hacking), การ hack รหัสผ่านคนอื่น
– การเข้าถึงทางกายภาพ หรือทางเครือข่ายก็ได้
• มาตรา 6 การเปิดเผยโดยมิชอบซึ่งมาตรการป้องกันการเข้าถึง
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะที่ได้ล่วงรู้มา ใน
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
– เช่น เปิดเผยรหัสผ่านของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
15
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 7 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน
การเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน (Unauthorized
access)
– เช่น การนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปพยายามถอดรหัสเพื่ออ่านเนื้อความ
• มาตรา 8 การกระทาโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้
ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์
และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้
บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้
– เช่น การดักฟังข้อมูลผ่านเครือข่าย
• มาตรา 9 การทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่า
ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
– เช่น การลบหรือแก้ไขข้อมูลของผู้อื่น โดยมีเจตนาร้าย
16
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 10 การกระทาโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์
ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทางาน
ตามปกติได้
– เช่น Denial of Service (DoS) Attack = การโจมตีให้เว็บล่ม
• มาตรา 11 การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคล
อื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็น
การรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข
– เช่น ส่ง spam e-mail
• มาตรา 13 การจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือใน
การกระทาความผิดตาม พรบ. นี้
– เช่น การเผยแพร่ซอฟต์แวร์เจาะระบบ
17
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 14
(1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม หรือ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความ
เสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
(2) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย
ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือ
ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
(3) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็น
ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด
เกี่ยวกับการก่อการร้าย
(4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอัน
ลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้
(5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1)-(4)
18
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 15 ความรับผิดกรณีผู้ให้บริการจงใจสนับสนุน
หรือยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา 14 ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน
• มาตรา 16 ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชน
ทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพ
ของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัด
ต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ
วิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสีย
ชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย
19
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
หมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่
• มาตรา 18 อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
(1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจง หรือส่ง
หลักฐาน
(2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการ
(3) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บ
(4) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์
(5) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูล
(6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูล หรืออุปกรณ์ที่เป็น
หลักฐาน
(7) ถอดรหัสลับของข้อมูล หรือสั่งให้บุคคลทาการถอดรหัสลับ
(8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จาเป็น
20
พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
• มาตรา 19-21 การยื่นคาร้องต่อศาลของพนักงานเจ้าหน้าที่
เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตาม พรบ. นี้
• มาตรา 26 ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทาง
คอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่า 90 วัน นับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่
ระบบคอมพิวเตอร์...
• ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จาเป็น
เพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้อง
เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน นับตั้งแต่การใช้บริการ
สิ้นสุดลง
21
กฎหมายด้าน Privacy
22
หลักจริยธรรมที่เกี่ยวกับ Privacy
• Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของผู้ป่วย)
• Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย)
• Non-maleficence (หลักการไม่ทาอันตรายต่อผู้ป่วย)
“First, Do No Harm.”
23
Hippocratic Oath
...
What I may see or hear in the course of
treatment or even outside of the treatment
in regard to the life of men, which on no
account one must spread abroad, I will keep
myself holding such things shameful to be
spoken about.
...
http://en.wikipedia.org/wiki/Hippocratic_Oath
24
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Privacy
• พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
• มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วน
บุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้น
เสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์
ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้อง
เปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิ
ตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมาย
อื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่
ของตนไม่ได้
25
ประมวลกฎหมายอาญา
• มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็น
เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร
คนจาหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วย
ในการประกอบอาชีพนั้น แล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่
น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน
หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
• ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผย
ความลับของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น
ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษ
เช่นเดียวกัน
26
คาประกาศสิทธิผู้ป่วย
• เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ
พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้
1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ
การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย
3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ
ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จาเป็น
4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจาเป็นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่า
ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่
5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน
6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้
7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมาย
8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทาวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ
ส่วนตัวของบุคคลอื่น
10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง
ได้
7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่
จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่
ตามกฎหมาย
27http://www.prasong.com/สื่อสารมวลชน/แพยสภาสอบจริยธรรมหมอต/
Social Media Case Study
28
ข้อความจริง บน
• "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ
... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไปแล้ว มา ฉายรังสีต่อ
ที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย
คนไข้ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่าง
คนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้ไป กทม.
บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์
ครับ"
ข้อมูลผู้ป่วย บน Social Media
29
แนวทางการคุ้มครอง Privacy ของข้อมูลผู้ป่วย
• นอกเหนือจากมาตรการด้าน Security
– Informed Consent เกี่ยวกับแนวทางการเก็บบันทึกและ
เปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย
– สร้างวัฒนธรรมที่ให้ความสาคัญกับความเป็นส่วนตัวของ
ข้อมูลผู้ป่วย
– มีกระบวนการสร้างความตระหนัก + สอนผู้ใช้งาน
– มีการกาหนดกฎระเบียบและนโยบายด้านความปลอดภัย
สารสนเทศขององค์กร และบังคับใช้ (enforce) นโยบาย
ดังกล่าว
– มีกระบวนการบริหารจัดการด้าน Privacy และ Security ที่
ต่อเนื่อง สม่าเสมอ
30
เหตุผลที่ต้องสร้างความตระหนัก + สอนผู้ใช้งาน เรื่อง Security
http://c2.likes-media.com/img/c88376b3e79ac46a289879d2178e9b41.600x.jpg
http://likes.com/comedy/best-facebook-fails-ever?fb_action_ids=854715637875685&fb_action_types=og.likes&page=10
31
Facebook Privacy Settings
32
Facebook Privacy Settings
33
• กฎหมายสาคัญที่เป็นกรอบในการกาหนดแนว
ทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ พรบ.ว่าด้วย
การกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.
2550
• การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยบุคลากรทาง
การแพทย์ อาจส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยได้ และต้อง
อยู่บนพื้นฐานของหลักจริยธรรมและกฎหมาย
รวมทั้งต้องหาทางป้องกันปัญหาที่อาจเกิดต่อผู้ป่วย
จากการใช้งานระบบสารสนเทศ
สรุป
34
สรุป
• Privacy และ Security เป็นสอง concepts ที่
มีความสาคัญสาหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่
ดูแลผู้ป่วย และจาเป็นจะต้องให้ความสาคัญใน
การคุ้มครองข้อมูลผู้ป่วยอย่างเต็มที่

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Introduction to Security & Privacy - Part 2 (Suan Dusit, July 9, 2015)

ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3Tarn'Zz LaLa
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศNawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555wandee8167
 
IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)
IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)
IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศกลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศLhing Srijandaree
 
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
IT Security & Risk Management (August 26, 2019)
IT Security & Risk Management (August 26, 2019)IT Security & Risk Management (August 26, 2019)
IT Security & Risk Management (August 26, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์Kannaree Jar
 
Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)
Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)
Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Patient Privacy and Security of Health Information for Dental Students
Patient Privacy and Security of Health Information for Dental StudentsPatient Privacy and Security of Health Information for Dental Students
Patient Privacy and Security of Health Information for Dental StudentsNawanan Theera-Ampornpunt
 

Semelhante a Introduction to Security & Privacy - Part 2 (Suan Dusit, July 9, 2015) (20)

ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ...
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3กลุ่ม Power3
กลุ่ม Power3
 
IT Security & Risk Management
IT Security & Risk ManagementIT Security & Risk Management
IT Security & Risk Management
 
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบทางจริยธรรม และประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555จริยธรรมและคุณธรรม2555
จริยธรรมและคุณธรรม2555
 
IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)
IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)
IT Security & Risk Management (TMI HITQIF v.1.2)
 
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศกลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
กลุ่ม ICT จรรยาบรรณสารสนเทศ
 
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
 
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
 
IT Security & Risk Management (August 26, 2019)
IT Security & Risk Management (August 26, 2019)IT Security & Risk Management (August 26, 2019)
IT Security & Risk Management (August 26, 2019)
 
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)
Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)
Cybersecurity & Personal Data Protection (December 23, 2020)
 
Patient Privacy and Security of Health Information for Dental Students
Patient Privacy and Security of Health Information for Dental StudentsPatient Privacy and Security of Health Information for Dental Students
Patient Privacy and Security of Health Information for Dental Students
 

Mais de Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Mais de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

Introduction to Security & Privacy - Part 2 (Suan Dusit, July 9, 2015)

  • 2. 2 Outline ตอนที่ 1 (สัปดาห์ที่แล้ว) • ทาไมเราต้องแคร์เรื่อง Security & Privacy? • Security/Privacy กับข้อมูลผู้ป่วย • แนวปฏิบัติด้าน Security ของระบบ ตอนที่ 2 (สัปดาห์นี้) • กฎหมายด้าน Security/Privacy • การใช้ Social Media ด้านสุขภาพ
  • 4. 4 Confidentiality • การรักษาความลับของข้อมูล Integrity • การรักษาความครบถ้วนและความ ถูกต้องของข้อมูล • ปราศจากการเปลี่ยนแปลงแก้ไข ทา ให้สูญหาย ทาให้เสียหาย หรือถูก ทาลายโดยมิชอบ Availability • การรักษาสภาพพร้อมใช้งาน หลักการของ Information Security
  • 5. 5 • พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 – กาหนดการกระทาที่ถือเป็นความผิด และหน้าที่ของผู้ให้บริการ • พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 • พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 – รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ – รับรองวิธีการส่งและรับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การใช้ลายมือชื่อ อิเล็กทรอนิกส์ (electronic signature) และการรับฟัง พยานหลักฐานที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อส่งเสริมการทา e- transactions ให้น่าเชื่อถือ – กาหนดให้มีคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และ อานาจหน้าที่ กฎหมายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย
  • 6. 6 • ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของ ข้อความใด เพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ (มาตรา 7) • ให้ถือว่าข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ มีการลงลายมือชื่อแล้ว ถ้า (1) ใช้ วิธีการที่ระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อ และ (2) เป็นวิธีการที่เชื่อถือได้ (มาตรา 9) • ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้กระทาตามวิธีการแบบปลอดภัยที่ กาหนดใน พรฎ. ให้สันนิษฐานว่าเป็นวิธีการที่เชื่อถือได้ (มาตรา 25) • คาขอ การอนุญาต การจดทะเบียน คาสั่งทางปกครอง การชาระเงิน การประกาศ หรือการดาเนินการใดๆ ตามกฎหมายกับหน่วยงานของ รัฐหรือโดยหน่วยงานของรัฐ ถ้าได้กระทาในรูปของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดโดย พรฎ. • ให้ถือว่ามีผลโดยชอบด้วยกฎหมาย (มาตรา 35) ผลทางกฎหมายของ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 7. 7 • พรฎ.กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 – ประกาศ เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษา ความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 • กาหนดมาตรฐาน Security Policy ของหน่วยงานของรัฐที่มี การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ – ประกาศ เรื่อง แนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2553 • กาหนดมาตรฐาน Privacy Policy ของหน่วยงานของรัฐที่มี การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ กฎหมายลาดับรองของ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 8. 8 • พรฎ.ว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553 – ประกาศ เรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบ ปลอดภัย พ.ศ. 2555 • กาหนดมาตรฐานความปลอดภัยตามวิธีการแบบ ปลอดภัยแต่ละระดับ สาหรับ Critical Infrastructure ของประเทศ กฎหมายลาดับรองของ พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
  • 9. 9 • มาตรา 25 ของ พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ – “ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ใดที่ได้กระทาตามวิธีการแบบ ปลอดภัยที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ให้สันนิษฐานว่าเป็น วิธีการที่เชื่อถือได้ • พรฎ.ว่าด้วยวิธีการแบบปลอดภัยในการทาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553 – วิธีการแบบปลอดภัย มี 3 ระดับ (พื้นฐาน, กลาง, เคร่งครัด) – จาแนกตามประเภทของธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ธุรกรรมที่มี ผลกระทบต่อความมั่นคงหรือความสงบเรียบร้อยของประเทศ หรือต่อสาธารณชน) หรือจาแนกตามหน่วยงาน (ธุรกรรมของ หน่วยงานหรือองค์กรที่ถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานสาคัญของ ประเทศ หรือ Critical Infrastructure) “วิธีการแบบปลอดภัย”
  • 10. 10 ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่อไปนี้ • ด้านการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ • ด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ • ด้านประกันภัย • ด้านหลักทรัพย์ของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ • ธุรกรรมที่จัดเก็บ รวบรวม และให้บริการข้อมูลของบุคคล หรือทรัพย์สินหรือทะเบียนต่างๆ ที่เป็นเอกสารมหาชนหรือที่ เป็นข้อมูลสาธารณะ • ธุรกรรมในการให้บริการด้านสาธารณูปโภคและบริการ สาธารณะที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา วิธีการแบบปลอดภัยในระดับเคร่งครัด
  • 11. 11 ให้หน่วยงานยึดถือหลักการประเมินความเสี่ยงของระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่ยอมรับเป็นการทั่วไป เป็น แนวทางในการประเมินระดับผลกระทบ ซึ่งต้องประเมินผล กระทบในด้านต่อไปนี้ด้วย (ผลกระทบจาก Worst Case Scenario ใน 1 วัน) • ผลกระทบต่อจานวนผู้ใช้บริการหรือผู้มีส่วนได้เสียที่อาจ ได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรืออนามัย – ต่า: ไม่มี – ปานกลาง: ผลกระทบต่อร่างกายหรืออนามัย 1-1,000 คน – สูง: ผลกระทบต่อร่างกายหรืออนามัย > 1,000 คน หรือต่อ ชีวิตตั้งแต่ 1 คน ระดับผลกระทบกับวิธีการแบบปลอดภัย
  • 12. 12 • แบ่งเป็น 11 หมวด (Domains) – Security policy – Organization of information security – Asset management – Human resources security – Physical and environmental security – Communications and operations management – Access control – Information systems acquisition, development and maintenance – Information security incident management – Business continuity management – Regulatory compliance มาตรฐาน Security ตามวิธีการแบบปลอดภัย
  • 13. 13 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 การกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (Computer- Related Crimes) ตัวอย่าง? –อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crimes) • เช่น Hacking, การเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับ, การดักฟังข้อมูล –การกระทาความผิดที่มีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ (Crimes Using Computers as Tools) • เช่น การเผยแพร่ภาพลามก • การโพสต์ข้อความที่เป็นภัยต่อความมั่นคง • การตัดต่อภาพเพื่อให้ผู้อื่นเสียหาย
  • 14. 14 หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ • มาตรา 5 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการ ป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน (Unauthorized access) – เช่น การเจาะระบบ (hacking), การ hack รหัสผ่านคนอื่น – การเข้าถึงทางกายภาพ หรือทางเครือข่ายก็ได้ • มาตรา 6 การเปิดเผยโดยมิชอบซึ่งมาตรการป้องกันการเข้าถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทาขึ้นเป็นการเฉพาะที่ได้ล่วงรู้มา ใน ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น – เช่น เปิดเผยรหัสผ่านของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
  • 15. 15 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 7 การเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกัน การเข้าถึงโดยเฉพาะและมาตรการนั้นมิได้มีไว้สาหรับตน (Unauthorized access) – เช่น การนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปพยายามถอดรหัสเพื่ออ่านเนื้อความ • มาตรา 8 การกระทาโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไว้เพื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้ บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ – เช่น การดักฟังข้อมูลผ่านเครือข่าย • มาตรา 9 การทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไม่ว่า ทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ – เช่น การลบหรือแก้ไขข้อมูลของผู้อื่น โดยมีเจตนาร้าย
  • 16. 16 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 10 การกระทาโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทางาน ตามปกติได้ – เช่น Denial of Service (DoS) Attack = การโจมตีให้เว็บล่ม • มาตรา 11 การส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคล อื่นโดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว อันเป็น การรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่นโดยปกติสุข – เช่น ส่ง spam e-mail • มาตรา 13 การจาหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคาสั่งเพื่อนาไปใช้เป็นเครื่องมือใน การกระทาความผิดตาม พรบ. นี้ – เช่น การเผยแพร่ซอฟต์แวร์เจาะระบบ
  • 17. 17 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 14 (1) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความ เสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน (2) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดย ประการที่น่าจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (3) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ อันเป็น ความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิด เกี่ยวกับการก่อการร้าย (4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่มีลักษณะอัน ลามกและข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (5) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1)-(4)
  • 18. 18 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 15 ความรับผิดกรณีผู้ให้บริการจงใจสนับสนุน หรือยินยอมให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา 14 ใน ระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน • มาตรา 16 ผู้ใดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชน ทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพ ของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัด ต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือ วิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อื่นนั้นเสีย ชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย
  • 19. 19 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 หมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่ • มาตรา 18 อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ (1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลมาให้ถ้อยคา ส่งคาชี้แจง หรือส่ง หลักฐาน (2) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการ (3) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บ (4) ทาสาเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (5) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูล (6) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูล หรืออุปกรณ์ที่เป็น หลักฐาน (7) ถอดรหัสลับของข้อมูล หรือสั่งให้บุคคลทาการถอดรหัสลับ (8) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จาเป็น
  • 20. 20 พรบ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • มาตรา 19-21 การยื่นคาร้องต่อศาลของพนักงานเจ้าหน้าที่ เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ตาม พรบ. นี้ • มาตรา 26 ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทาง คอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่า 90 วัน นับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์... • ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จาเป็น เพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการนับตั้งแต่เริ่มใช้บริการและต้อง เก็บรักษาไว้เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน นับตั้งแต่การใช้บริการ สิ้นสุดลง
  • 22. 22 หลักจริยธรรมที่เกี่ยวกับ Privacy • Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของผู้ป่วย) • Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย) • Non-maleficence (หลักการไม่ทาอันตรายต่อผู้ป่วย) “First, Do No Harm.”
  • 23. 23 Hippocratic Oath ... What I may see or hear in the course of treatment or even outside of the treatment in regard to the life of men, which on no account one must spread abroad, I will keep myself holding such things shameful to be spoken about. ... http://en.wikipedia.org/wiki/Hippocratic_Oath
  • 24. 24 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ Privacy • พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 • มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วน บุคคล ผู้ใดจะนาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้น เสียหายไม่ได้ เว้นแต่การเปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้อง เปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือสิทธิ ตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมาย อื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ ของตนไม่ได้
  • 25. 25 ประมวลกฎหมายอาญา • มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็น เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุงครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วย ในการประกอบอาชีพนั้น แล้วเปิดเผยความลับนั้นในประการที่ น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ • ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผย ความลับของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษ เช่นเดียวกัน
  • 26. 26 คาประกาศสิทธิผู้ป่วย • เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพกับผู้ป่วย ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเข้าใจอันดีและเป็นที่ไว้วางใจซึ่งกันและกัน แพทยสภา สภาการ พยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการควบคุมการประกอบโรคศิลปะ จึงได้ร่วมกันออกประกาศรับรองสิทธิของผู้ป่วยไว ้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิพื้นฐานที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ 2. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิ การเมือง เพศ อายุ และ ลักษณะของความเจ็บป่วย 3. ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจน จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถเลือกตัดสินใจ ในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพปฏิบัติต่อตน เว้นแต่เป็นการช่วยเหลือรีบด่วนหรือ จาเป็น 4. ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจาเป็นแก่กรณี โดยไม่คานึงว่า ผู้ป่วยจะร้อง ขอความช่วยเหลือหรือไม่ 5. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล และประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่เป็น ผู้ให้บริการแก่ตน 6. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ที่มิได้เป็นผู้ให้บริ การแก่ตน และมีสิทธิในการขอเปลี่ยนผู้ให้บริการ และสถานบริการได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมาย 8. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วน ในการตัดสินใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทาวิจัยของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ 9. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏใน เวชระเบียนเมื่อร้องขอ ทั้งนี้ ข้อมูลดังกล่าวต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิ ส่วนตัวของบุคคลอื่น 10.บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยที่เป็นเด็กอายุยังไม่เกิน สิบแปดปีบริบูรณ์ ผู้บกพร่องทางกายหรือจิต ซึ่งไม่สามารถใช้สิทธิด้วยตนเอง ได้ 7. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง จากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัด เว้นแต่ จะได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยหรือการปฏิบัติหน้าที่ ตามกฎหมาย
  • 28. 28 ข้อความจริง บน • "อาจารย์ครับ เมื่อวาน ผมออก OPD เจอ คุณ ... คนไข้... ที่อาจารย์ผ่าไปแล้ว มา ฉายรังสีต่อ ที่... ตอนนี้ Happy ดี ไม่ค่อยปวด เดินได้สบาย คนไข้ฝากขอบคุณอาจารย์อีกครั้ง -- อีกอย่าง คนไข้ช่วงนี้ไม่ค่อยสะดวกเลยไม่ได้ไป กทม. บอกว่าถ้าพร้อมจะไป Follow-up กับอาจารย์ ครับ" ข้อมูลผู้ป่วย บน Social Media
  • 29. 29 แนวทางการคุ้มครอง Privacy ของข้อมูลผู้ป่วย • นอกเหนือจากมาตรการด้าน Security – Informed Consent เกี่ยวกับแนวทางการเก็บบันทึกและ เปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย – สร้างวัฒนธรรมที่ให้ความสาคัญกับความเป็นส่วนตัวของ ข้อมูลผู้ป่วย – มีกระบวนการสร้างความตระหนัก + สอนผู้ใช้งาน – มีการกาหนดกฎระเบียบและนโยบายด้านความปลอดภัย สารสนเทศขององค์กร และบังคับใช้ (enforce) นโยบาย ดังกล่าว – มีกระบวนการบริหารจัดการด้าน Privacy และ Security ที่ ต่อเนื่อง สม่าเสมอ
  • 30. 30 เหตุผลที่ต้องสร้างความตระหนัก + สอนผู้ใช้งาน เรื่อง Security http://c2.likes-media.com/img/c88376b3e79ac46a289879d2178e9b41.600x.jpg http://likes.com/comedy/best-facebook-fails-ever?fb_action_ids=854715637875685&fb_action_types=og.likes&page=10
  • 33. 33 • กฎหมายสาคัญที่เป็นกรอบในการกาหนดแนว ทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ พรบ.ว่าด้วย การกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยบุคลากรทาง การแพทย์ อาจส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยได้ และต้อง อยู่บนพื้นฐานของหลักจริยธรรมและกฎหมาย รวมทั้งต้องหาทางป้องกันปัญหาที่อาจเกิดต่อผู้ป่วย จากการใช้งานระบบสารสนเทศ สรุป
  • 34. 34 สรุป • Privacy และ Security เป็นสอง concepts ที่ มีความสาคัญสาหรับบุคลากรทางการแพทย์ที่ ดูแลผู้ป่วย และจาเป็นจะต้องให้ความสาคัญใน การคุ้มครองข้อมูลผู้ป่วยอย่างเต็มที่