SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
สงครามครูเสด
เป็นสงครามระหว่างศาสนาคริสต์ กับ ศาสนาอิสลาม เพื่อปลดปล่อยกรุงเยรูซาเล็ม ซึ่งชาวคริสต์ 
เชื่อว่าเป็นดินแดนอันศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในการควบคุมของพวกมุสลิม
สาเหตุทางด้านการเมือง 
มีการเปลี่ยนอานาจในจักรวรรดิอาหรับเมื่อพวกเซลจุกเติร์ก (Seijuk Turk) เข้าไปมีอานาจ 
ในจักรวรรดอิาหรับ ซงึ่เป็นศาสนาอิสลาม และใน ค.ศ. 1071 กองทหารพวกนีก้็ได้เข้ารุกรานจักรวรรดิ 
ไบแซนไทน์ เมื่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไปแซนไทน์ได้ขอความช่วยเหลือไปยังคริสตจักรที่กรุงโรม 
สันตะปาปาเออร์บันที่ 2(Urban II) เรียกประชุมผู้นาทางศาสนาและขุนนางที่มีอานาจในเขต 
ต่างๆ ของฝรั่งเศสเพื่อให้ยุติการสู้รบแย่งชิงอานาจกัน และช่วยกันปกป้องศาสนาคริสต์ ซงึ่ในสมัยนัน้ 
สถาบันศาสนามีอานาจเหนือกว่าสถาบันกษัตริย์ จึงทาให้กษัติย์ต่างๆพากันเข้าร่วมสงครามครูเสดนี้ 
เป็นการตอบสนองนโยบายของสันตะปาปาเพื่อความมนั่คงทางการเมืองของตนด้วย
จิตรกรรมสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 เรียกประชุมผู้นาทางศาสนา 
และขุนนางร่วมรบเพื่อแย่งชิงดินแดนศักด์ิสิทธ์ิ
สาเหตุทางด้านศาสนา 
สันตะปาปาทรงชักชวนและนาทัพในสงครามครูเสดครัง้ที่ 1 ผู้เข้าร่วมสงครามซงึ่มีจานวนมากมาจาก 
ดินแดนต่างๆ ทวั่ยุโรป เพราะเชื่อว่าการไปรบเพื่อศาสนาจะเป็นการไถ่บาปที่ยิ่งใหญ่ ผู้ที่เสียชีวิตใน 
สงครามครูเสดจะได้ขึน้สวรรค์ สันตะปาปาทรงให้สัญญาว่าทรัพย์สินและครอบครัวของนักรบครูเสดจะ 
ได้รับความ คุ้มครองจากศาสนจักร นักรบที่มีหนีสิ้นจะได้รับการยกเว้นหนีแ้ละนักโทษคดีอาญาที่ไปร่วม 
รบก็จะได้รับอภัยโทษด้วย และผลจากการชักชวนของพระสันตะปาปาทาให้ขุนนาง พ่อค้า และ 
ประชาชนพากันเดินทางไปที่ดินแดนปาเลสไตน์
แผนที่การเดินทางของพวกขุนนาง พ่อค้า และประชาชนที่พากันเดินทางไปจักรวรรดิไบแซนไทน์ 
และดินแดนปาเลสไตน์
Crusader นักรบทางศาสนาผู้ซงึ่มีเครื่องหมายกางเขน
ซงึ่คนเหล่านีก้็มีเหตุผลอยู่หลายประการ คือ 
1. ชาวยุโรปในสมัยนัน้มีความศรัทธาศาสนาอย่างแรงกล้า ทาให้คนจานวนมากเดินทางไปทา 
สงคราม เนื่องจากจะได้ปลดเปลอื้งวิญญาณ และ สันตะปาปาทรงประกาศยกบาปให้กับคนพวกนี้ 
2. บุคคลที่ไม่มีที่ดินในยุโรป โดยเฉพาะขุนนางระดับล่าง และคนสามัญ ต้องการที่จะครอบครอง 
ดินแดนตะวันออกกลาง 
3. มีคนเป็นจานวนมากที่จะเดินทางไปแสวงโชค เพื่อความมงั่คงั่ในดินแดนตะวันออกกลาง 
4. สงครามครูเสดได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพ่อค้าในแหลมอิตาลี 
ซึ่งได้รับผลประโยชน์จากการขนส่งทหารและเสบียง อาหารให้กับกองทัพครูเสดไปยังปาเลสไตน์ 
ขณะเดียวกันพ่อค้าเหล่านัน้ก็แสวงหาประโยชน์อื่นจากนักรบครูเสดด้วย ดังกรณีที่พ่อค้าเมืองเวนิส 
(Venice) เสนอจะลดค่าขนส่งที่มีมูลค่าสูงให้กับกองทัพครูเสดหากยินดียกทัพไปตีเมือง ซารา (Zare) 
ซงึ่เป็นเมืองท่าสาคัญบนฝั่งทะเลเอเดรียติก (Adriatic Sea) และเป็นคู่แข่งทางการค้าที่สาคัญของเว 
นิส
สงครามครูเสดนีด้าเนินอยู่ในช่วงเวลาเกือบ 200 ปี และชาวยุโรปยกทัพไปทาสงครามครูเสดรวม 6 ครัง้ 
เมื่อ ค.ศ. 1291 เมือเอเคอร์ (Acre) ซงึ่เป็นฐานที่มนั่ของพวกคริสเตียนในปาเลสไตน์แห่งสุดท้ายถูก 
พวกมุสลิมยึดครอง สงครามครูเสดก็ได้สิน้สุดลง
ผลกระทบของสงครามครูเสด 
ด้านการเมือง สงครามครูเสดส่งผลกระทบทางการเมืองอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ 
1. สงครามครูเสดทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปและโลกมุสลิมเสื่อมลงเนื่องจากทัง้สองฝ่ายต่าง 
มีอคติต่อกัน 
2. การที่นักรบครูเสดบุกยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลในสงครามครูเสดครัง้ที่ 4 ได้ทาให้จักรวรรดิไบ 
แซนไทน์อ่อนแออย่างมาก กระทงั่ไม่อาจต้านทานการรุกรานของพวกออตโตมันเติร์กและล่มสลาย 
ไปในที่สุด 
3. สงครามครูเสดมีผลให้ระบบฟิวดัลของยุโรปเสื่อมลง เนื่องจากขุนนางและอัศวินซึ่งปกครอง 
ดูแลแมเนอร์ของตนในเขตต่างๆ ต้องไปร่วมรบในสงครามครูเสด ทาให้กษัตริย์มีอานาจปกครอง 
ดินแดนต่างๆ เพิ่มขึน้ ซงึ่รวมถึงการจัดเก็บภาษีจากราษฎรและการเกณฑ์ทัพ กระทงั่สามารถ 
พัฒนารัฐชาติได้ในเวลาต่อมา
ด้านเศรษฐกิจ สงครามครูเสดส่งผลกระทบที่สาคัญทางเศรษฐกิจ คือ 
1. หลังสงครามครูเสดยุติลงแล้ว พ่อค้ายุโรปโดยเฉพาะในแหลมอิตาลีประสบปัญหาการเดินเรือในเขต 
ทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน เพราะเมืองท่าบางแห่งอยู่ใต้อานาจของพวกมุสลิมซงึ่มีคติต่อชาวยุโรป 
นอกจากนีพ้่อค้ายุโรปยังประสบปัญหาการขยายการค้ากับดินแดนตะวันออกตามเส้น ทางบกซึ่งต้อง 
ผ่านดินแดนของพวกมุสลิม ดังนัน้ชาวยุโรปจึงต้องพัฒนาเส้นทางทะเล โดยเฉพาะการเดินเรืออ้อม 
แอฟริกาไปยังเอเชียที่ประสบความสาเร็จในปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 15 และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง 
ทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติในเวลาต่อมา 
2. การติดต่อกับตะวันออกกลางในช่วงสงครามครูเสดทาให้ชาวยุโรปรู้จักบริโภคสนิค้า และผลิตภัณฑ์ 
จากตะวันออกกลาง เช่น ข้าว นา้ตาล มะนาว ผลแอปริคอต และผ้าป่านมัสลิน ซงึ่กลายเป็นสินค้าที่ 
ยุโรปนาเข้าเป็นประจา
ด้านสังคม สงครามครูเสดทาให้เกิดผลกระทบทางสังคม คือ 
1. สงครามครูเสดได้เปิดโลกทัศน์ของชาวยุโรปเกี่ยวกับ “โลกตะวันออก” โดยเฉพาะคาวมก้าวหน้า 
และเทคโนโลยีของชาวตะวันออก เช่น การใช้ดินปืนในการทาสงคราม ต่อมาชาวยุโรปได้นาความรู้นี้ 
ไปพัฒนาเป็นอาวุธปืนและสามารถทาสงครามชนะชาว เอเชีย ทาให้ยุโรปกลายเป็นมหาอานาจของ 
โลก 
2. นักรบครูเสดมาจากดินแดนต่างๆ ในสังคมของระบบฟิวดัลที่ไม่มีโอกาสรู้จักโลกภายนอกมากนัก 
เมื่อได้พบปะเพื่อนนักรบอื่นๆ จึงได้แลกเปลี่ยนทัศนคติและองค์ความรู้ต่อกัน ทาให้เกิดการหล่อหลอม 
ทางด้านวัฒนธรรมและความคิดของชาวยุโรป โดยเฉพาะในการแสดงออกทางความคิดการ 
วิพากษ์วิจารณ์ และการเปิดรับแนวคิดใหม่ ซึ่งรากฐานของขบวนการมนุษย์นิยมที่เติบโตในสมัยฟื้นฟู 
ศิลปวิทยาการ และยังเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุดมการณ์เสรีนิยมของยุโรปสมัยใหม่
สงครามร้อยปี
เป็นสงครามระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส เริ่มขึน้ในปี ค.ศ. 1337 และสนิ้สุดในค.ศ. 1453 ซงึ่รวม 
แล้วเป็นระยะเวลากว่า 100 ปี โดยเหตุการณ์นีก้็ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองทางการเมือง 
และ สังคมในสมัยกลางอย่างสิน้เชิง ซงึ่เป็นต้นกาเนิดของความเป็นรัฐชาติสมัยใหม่
สาเหตุของสงคราม มีหลายประการ คือ 
1.ความขัดแย้งในเรื่องดินแดนระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส 
2.สิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส เนื่องจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 มีพระราชมารดาเป็นเจ้าหญิงฝรั่งเศส 
ใน ค.ศ. 1324 พระเจ้าชาลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สนิ้พระชนม์โดยไม่มีทายาท ทาให้ราชวงศ์กาเป 
เชียงสายตรงต้องสิน้สุดลง พระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษทรงเป็นพระนัดดาของพระเจ้าชาลส์ 
ที่ 4 เป็นพระญาติชายที่ใกล้ชิดที่สุดทางสายพระโลหิต จึงเป็นผู้มีสิทธิจะครองบัลลังก์มากที่สุด 
แต่ขุนนางฝรั่งเศส ไม่ต้องการให้กษัตริย์อังกฤษมาปกครองฝรั่งเศส จึงอ้างกฏบัตรซาลลิคของชน 
แฟรงก์โบราณว่า การสืบสันติวงศ์จะต้องผ่านทางผู้ชายเท่านัน้ และให้ฟิลิปเคานท์แห่งวาลัวส์ ที่ 
สืบเชือ้สายจากพระเจ้าฟิลิปที่ 3 ขึน้ครองราชย์เป็นพระเจ้าฟิลิปที่ 6 เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ 
วาลัวส์ ซึ่งเป็นสาขาของราชวงศ์กาเปเชียง
ในค.ศ. 1331 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ 3 ทรงยินยอมที่จะสละสิทธิ์ในบัลลังก์ฝรั่งเศสทัง้มวลแต่ 
ครองแคว้นกาสโคนีในค.ศ. 1333 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงทาสงครามกับสกอตแลนด์ ซึ่งเป็น 
พันธมิตรกับฝรั่งเศสตามสัญญาพันธมิตรเก่า (Auld Alliance) ทาให้พระเจ้าฟิลิปที่ 6 ทรง 
เห็นเป็นโอกาสจึงนาทัพบุกยึดแคว้นกาสโคนี แต่พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงปราบปรามสกอตแลนด์ 
อย่างรวดเร็ว และหันมาตอบโต้พระเจ้าฟิลิปได้ทัน 
พระเจ้าฟิลิปที่ 6 
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3
3. อังกฤษต้องการที่จะผนวกสกอตแลนด์ แต่สกอตแลนด์ได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสให้ต่อต้าน 
อังกฤษ ทาให้อังกฤษไม่พอใจ 
4. ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ฝรั่งเศสได้ขัดขวางการค้าระหว่างอังกฤษกับแคว้นฟลานเดอร์ 
(เบลเยี่ยมในปัจจุบัน) และขัดขวางอังกฤษในการครองแคว้นกาสโกนีเพื่อเป็นศูนย์กลางทางการค้า 
5. กษัตริย์ทัง้สองประเทศกาลังประสบปัญหาการขยายอานาจของเหล่าขุนนาง จึงต้องการใช้ 
สงครามดึงความสนใจของขุนนางและประชาชน
สถานการณ์ของสงคราม 
ในตอนแรกทัพเรือฝรั่งเศสสามารถโจมตีเมืองท่าอังกฤษได้หลายที่ แต่ลมก็เปลี่ยนทิศเมื่อทัพเรือ 
ฝรั่งเศสถูกทาลายล้างในการรบที่สลุยส์ (Sluys) ใน ค.ศ. 1341 ตระกูลดรือซ์แห่งแคว้นบรีตตานีสูญสนิ้ 
พระเจ้าเอ็ดวาร์ดและพระเจ้าฟิลิปจึงสู้รบกันเพื่อให้คนของตนได้ครองแคว้น บรีตตานีในค.ศ. 1346 
พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงสามารถขึน้บกได้ที่เมืองคัง (Caen) ในนอร์มังดี เป็นที่ตกใจแก่ชาวฝรั่งเศส พระ 
เจ้าฟิลิปแต่งทัพไปสู้ แต่พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงหลบหนีไปประเทศภาคต่า (Low Countries) ทัพฝรั่งเศส 
ตามมาทัน แต่พ่ายแพ้ยับเยินที่การรบที่เครซี (Crécy) ทาให้พระเจ้าเอ็ดวาร์ดต่อไปยึดเมืองท่าคาเลส์ข 
องฝรั่งเศสและยึดเป็นที่มนั่บนแผ่นดินฝรั่งเศสได้ในค.ศ. 1347ใน ค.ศ. 1348 ระหว่างที่ฝรั่งเศสกาลังลุก 
เป็นไฟด้วยสงคราม กาฬโรคก็ระบาดมาถึงฝรั่งเศสคร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจานวนมาก
เจ้าชายดาพระโอรสของพระเจ้าเอ็ดวาร์ด บุกอังกฤษจากกาสโคนี ชนะฝรั่งเศสในศึกปัวติเยร์ (Poitiers) จับ 
พระเจ้าชองแห่งฝรั่งเศสได้ ด้วยอานาจของฝรั่งเศสที่อ่อนแอลง ทาให้ตามชนบทไม่มีขื่อแปโจรอาละวาด ทา 
ให้ชาวบ้านก่อจลาจลกันมากมาย พระเจ้าเอ็ดวาร์ดเห็นโอกาสจึงทรงบุกอีกครัง้ แต่ถูกองค์รัชทายาทแห่ง 
ฝรั่งเศสต้านไว้ได้ จนทาสนธิสัญญาบรีติญญี (Bretigny)
และสงครามก็ได้เริ่มขึน้อีกครัง้ ในสมัยของพระเจ้าชาลส์ที่ 5 แห่งฝรั่งเศสทรงสามารถบุกยึดดินแดน 
คืนจากฝรั่งเศสได้ ด้วยความช่วยเหลือของขุนพลแบร์ทรันด์ เดอ เกอสแคลง (Bertrand de Guesclin) 
องค์ชายเอ็ดวาร์ดทรงติดพันอยู่กับสงครามในสเปน จนทรงปลีกพระองค์มาฝรั่งเศสได้ในค.ศ. 1371 
ฝ่ายอังกฤษตอบโต้โดยการปล้นสะดมทาลายล้าง (chevauchée) เมืองต่างๆของฝรั่งเศส แต่เดอเกอส 
แคลงก็ไม่หลงกลองค์ ชายเอ็ดวาร์ดสนิ้พระชนม์ในค.ศ. 1376 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดสนิ้พระชนม์ในค.ศ. 
1377 และเดอเกอสแคลงสิน้ชีวิตในค.ศ. 1380 เมื่อผู้นาทัพสิน้ชีวิตไปหมดแล้ว สงครามก็สงบลงอีก 
ครัง้ จนทาสัญญาสงบศึกในค.ศ. 1389 
พระเจ้าชาลส์ที่5
สงครามร้อยปีหยุดยาวเพราะฝรั่งเศสตกอยู่ในสงครามกลางเมืองระหว่างตระกูลอาร์มันญัค 
(Armagnac) และ ดยุคแห่งเบอร์กันดี เพราะพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 ทรงมีพระสติไม่สมประกอบ ทาให้แย่ง 
อานาจกันปกครองบ้านเมือง และขอให้อังกฤษช่วย แต่อังกฤษเองก็กาลังมีสงครามกลางเมือง และเวลส์ 
และไอร์แลนด์ก่อกบฎ สกอตแลนด์บุกเมื่อ อังกฤษสงบแล้ว พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ก็ทรงนาทัพบุกฝรั่งเศสใน 
ค.ศ. 1415 และชนะฝรั่งเศสขาดรอยที่การรบที่อแกงคูร์ต ได้ดยุคแห่งเบอร์กันดีมาเป็นพวก และยึด 
ฝรั่งเศสตอนเหนือไว้ได้ทัง้หมดในค.ศ. 1419 พระเจ้าเฮนรีทรงเฝ้าพระเจ้าชาลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสซงึ่ทรง 
พระสติไม่สมประกอบ ทาสัญญาให้พระโอรสพระเจ้าเฮนรีขึน้ครองฝรั่งเศสเมื่อพระเจ้าชาลส์สนิ้พระชนม์ 
แต่ทัพสกอตแลนต์ก็มาช่วยขัดขวางเอาไว้ เมื่อพระเจ้าชาลส์สิน้พระชนม์ พระเจ้าเฮนรีที่6 แห่งอังกฤษ ก็ 
ขึน้เป็นกษัตริย์ฝรั่งเศส แต่ตระกูลอาร์มันญัคยังคงจงรักภัคดีต่อองค์รัชทายาทฝรั่งเศส
ใน ค.ศ. 1428 อังกฤษล้อมเมืองออร์เลียงส์ จึงทาให้เกิดวีรสตรีโจนออฟอาร์ค (Joan of Arc หรือ ฌานดาก) เสนอตัว 
ขับไล่ทัพอังกฤษ 
กล่าวว่านางเห็นนิมิตว่าพระเจ้าให้เธอปลดปล่อย ฝรั่งเศสจากอังกฤษ จนสามารถขับไล่ทัพอังกฤษออกไปได้ในที่สุด 
ซงึ่สามารถเอาชนะอังกฤษได้หลายครัง้ และยังสามารถเปิดทางให้องค์รัชทายาทสามารถยึดเมืองแรงส์เพื่อราชาภิเษก 
พระเจ้าชาลส์ที่ 7 นับเป็นจุดเปลี่ยนในสงครามร้อยปี แต่โยนแห่งอาร์คถูกพวกเบอร์กันดีจับได้จึงถูกศาลศาสนาตัดสินว่า 
เป็นแม่มด จะต้องถูกลงโทษโดยการเผาทัง้เป็น วีรกรรมนีจึ้งถูกยกยอ่งและสร้างความคิดเรื่องชาตินิยมให้กับชาวฝรั่งเศส
หลังจากนัน้ฝรั่งเศสก็ได้ยึดดินแดนที่เสียไปจากอังกฤษแป็นจานวนมาก และสงครามก็ได้ยุติลงใน 
พระเจ้าชาลส์ที่ 7 ในปีค.ศ. 1453 
ผลกระทบจากสงครามร้อยปี 
ต่อประเทศอังกฤษ 
1.ทาให้กษัตริย์อังกฤษหันมาสนพระทัยกิจการภายในประเทศมากขึน้ โดยเฉพาะการทาการค้ากับ 
ต่างประเทศ 
2.ทาให้อานาจของรัฐสภาอังกฤษมีมากขึน้เพื่อต่อรองกับกษัตริย์ 
3.ขุนนางเสียชีวิตและยากจนลง ทาให้กษัตริย์อังกฤษสามารถรวมอานาจไว้ที่ส่วนกลางได้
ต่อฝรั่งเศส 
1.ส่งเสริมอานาจเด็ดขาดให้แก่กษัตริย์ในการปรับปรุงกองทัพเพื่อปราบปรามขุนนาง และทาสงครามกับ 
ต่างชาติ 
2.รัฐสภา ได้ยอมรับอานาจของสถาบันกษัตริย์ฝรั่งเศส ทาให้กษัตริย์สามารถรวมอานาจเข้าสู่พระองค์ จน 
ต่อมาได้พัฒนาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในเวลาต่อมา 
3.กระตุ้นความคิดชาตินิยมในหมู่ชาวฝรั่งเศส
ความเสื่อมของศาสนาในช่วงปลายสมัยกลาง 
มีสาเหตุสาคัญ คือ 
1. การเกิดลัทธิชาตินิยมและรัฐชาติก่อตัวขึน้ในสมัยยุโรปกษัตริย์สามารถปกครองขุนนางได้ 
2. ประชาชนสนับสนุนอานาจของกษัตริย์มากขึน้ 
3. เกิดการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกษัตริย์ฝรั่งเศสกับสันตะปาปา 
ซงึ่ชัยชนะเป็นของพระเจ้าฟิลิปที่ 4และได้แต่งตัง้พระสันตะปาปาองค์ใหม่ 
4. ความแตกแยกภายในของศาสนจักรอย่างรุนแรงจนถึงขัน้มีสันตะปาปา 
2องค์ในเวลาเดียวกัน เหตุการณ์ในยุติลงแต่ก็ทาให้คริสตจักรอ่อนแอลง 
5.ทาให้เกิดความแตกแยกและเสื่อมศรัทธาในหมู่คริสต์ศาสนิกชน
การสนิ้สุดสมัยกลาง 
การค้าขยายตามเมืองต่างๆทวั่ยุโรป เกิดชนชัน้กลาง เช่น พ่อค้า แพทย์ ครู นักกฎหมาย แทรก 
ระหว่างชนชัน้สูงอย่างพวกขุนนาง และชนชัน้ต่าอย่างชาวนาและช่างฝีมือ ระบบฟิวดัลของขุน 
นางอ่อนแอลง ประชาชนสนใจที่จะแสวงหาความรู้นอกศาสนจักรจึงทาให้อานาจของสาสนจักร 
เสื่อมลง และเริ่มสนใจอารยธรรมกรีกโบราณ และโรมัน ซงึ่นาไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปะ ทาให้แตกต่างจาก 
สมัยกลางที่ศาสนาเข้ามามีอานาจอย่างมาก
อารยธรรมสมัยกลาง
• ในสมัยกลางนัน้สังคมตะวันตกตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสถาบันคริสต์ศาสนาและ 
การปกครองระบบฟิวดัล ทาให้อารยธรรมส่วนใหญ่ของสมัยกลางเกิดจากการ 
ส่งเสริมและทานุบารุงของพระและขุนนางเป็นส่วนใหญ่ ศิลปะและวัฒนธรรมที่ 
สาคัญของโลกตะวันตกมีดังนี้
สถาปัตยกรรม 
• 1. แบบโรมาเนสก์ (Romannesque) 
• 2. แบบกอทิก หรือ กอโกธิค (Gothic) 
• ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการสร้างวัดและมหาวิหารในคริสต์ศาสนา โดยศิลปะแบบโร 
มาเนสก์เจริญรุ่งเรืองในช่วงก่อนศตวรรษที่11 และในสมัยศตวรรษที่12-13 ซงึ่อยู่ใน 
ช่วงเวลาแห่งตวามเจริญที่เรียกว่า สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High middle 
ages) ศิลปะโรมาเนสก์ก็พัฒนากลายเป็นศิลปะรูปแบบโกธิค
• แบบโรมาเนสก์ ( Romannesque ) สืบทอดจากโรมัน อาคาร 
ประกอบด้วยประตูหน้าต่างโค้งกลมแบบสถาปัตนกรรมโรมัน กระเบือ้งปูพืน้ขนาด 
ใหญ่ บานหน้าต่างเล็กและเรียวยาว กาแพงหนา บรรยากาศภายในทึมและมืด 
ครึม้ มองภายนอกเหมือนป้อมปราการ มีภาพหินโมเสกประดับ อาจใช้เป็นที่หลบ 
ภัยของประชาชนเมื่อเกิดอันตรายจากศัตรูได้ เป็นศิลปะที่เป็นแบบอย่างของการ 
ก่อสร้างโดยทวั่ไปในระหว่างสมัยกลางตอนต้น
• แบบกอทิก ( Gothic ) พัฒนามาจากศิลปะแบบโรมาเนสก์ มีลักษณะโปร่งบาง 
และดูอ่อนช้อยกว่า จุดเด่นคือใช้อิฐปูนคา้ยันข้างนอก และใช้เสาหินรองรับนา้หนัก 
จากหลังคา ประตูหน้าต่างโค้งแหลมขนาดกว้างเพื่อแสงสว่างจะได้ส่องผ่านได้ บน 
กาแพงสามารถประดับด้วยกระจกสี (stained glass) ขนาดใหญ่สีสัน 
งดงาม ภายในประดับด้วยรูปแกะสลักของนักบุญตามลักษณะที่เหมือนจริงตาม 
ธรรมชาติ
^ Saint Chapelle 
< Orvieto Cathedral
• ความแตกต่างระหว่างศิลปะแบบโรมาเนสก์และแบบกอทิก แสดงให้เห็นว่าในสมัย 
กลางยุครุ่งโรจน์เริ่มมีความรู้สึกนึกคิดเรื่องความสวยงามของธรรมชาติและมนุษย์ 
มากขึน้ และแสดงให้เห็นถึงความสามารถทางสติปัญญาและอัจฉริยะของศิลปินใน 
สมัยกลางได้เป็นอย่างดี
วรรณกรรม 
• วรรณกรรมในสมัยกลางนอกจากจะเน้นเรื่องราวความเชื่อในคริสต์ศาสนา ยังมี 
วรรณกรรมทางโลกด้วย แต่งด้วยภาษาละตินซึ่งถือว่าเป็นภาษาหนังสือที่เป็นสากล 
และเป็นภาษาสาคัญทางศาสนา
• วรรณกรรมทางศาสนาที่สาคัญและมีผลต่อแนวความคิดของคริสต์ศาสนิกชนในสมัยกลาง 
ได้แก่ 
• เทวนคร (The City of God) เขียนโดยนักบุญออกัสติน (St. Augustine) 
ในสมัยปลายจักรวรรดิโรมัน (ค.ศ. 345-430) เป็นเรื่องราวการสร้างโลกตามคริสต์ศาสนา 
• มหาเทววิทยา (Summa Theologica) เขียนโดยนักบุญทอมัส อะไควนัส (St. 
Thomas Aquinas) ค.ศ.1224-1274 ใช้สอนในวิชาเทววิทยาในมหาวิทยาลัย เป็น 
เรื่องเกี่ยวกับความเชื่อและศรัทธาในคริสต์ศาสนาอย่างมีเหตุผล
วรรณกรรมทางโลกในสมัยกลาง อาจจะ แบ่งได้เป็น5 ประเภท 
• 1.มหากาพย์ (epic) ในฝรั่งเศสเรียกว่า ชองซองเดอเจสต์ (Chanson de 
Geste) เป็นเรื่องราวของวีรกรรมของวีรบุรุษที่สร้างไว้ในอดีต นิยมประพันธ์ด้วย 
โคลงกลอน แพร่หลายใน คริสต์ศตวรรษที่ 11-12
• วรรณกรรมประเภทนีที้่สาคัญ ได้แก่ ชองซอง 
เดอโรลองด์ (Chanson de 
Roland) เป็นเรื่องราวการต่อสู้ของโร 
ลองด์ ทหารคนสนิทของจักรพรรดิชาญเลอ 
มาญ กับกองทัพของพวกซาราเซ็นที่เป็น 
มุสลิมเดินทัพมาจากสเปนเพื่อพิชิตยุโรป 
ตะวันตก กองทัพของโรลองด์ถูกพวกมุสลิม 
โจมตีในเทือกเขาพิเรนีส และเสียชีวิตในสนาม 
รบ สะท้อนถึงทัศนคติ ความกล้าหาญ ความ 
เสียสละของนักรบ อุดมการณ์ จริยธรรม และ 
ความมีศรัทธาในคริสต์ศาสนา จึงเป็นที่นิยม 
ของชนชัน้สูงโดยเฉพาะพวกนักรบ
• 2.นิยายวีรคติ หรือนิยายโรมานซ์ 
(romance) 
• เป็นเรื่องราวความจงรักภัคดีของอัศวิน 
ต่อเจ้าและขุนนาง และความรักแบบ 
เทิดทูนที่อัศวินมีต่อสตรี (courtly 
love) ประพันธ์เป็นคากลอน เกิดใน 
ยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 
ต่อมาได้เจริญแพร่หลายในฝรั่งเศส 
อังกฤษ และเยอรมัน
• นิยายวีรคติที่รู้จักกันทวั่ไป คือ กษัตริย์อาเทอร์กับอัศวินโต๊ะกลม (King Arthur 
and the Knight of the Round Table)
• 3.คีตกานท์ (lyric) เป็นบทร้อยกรองที่กล่าวถึงความในใจ แต่งบทกวีขับร้องกับ 
พิณ นิยมบรรเลงในปราสาทราชสานัก เป็นเรื่องเกี่ยวกับความรักแบบเทิดทูนต่อสตรี 
ผู้สูงศักดิ์ ได้รับอิทธิพลมาจากราชสานักของมุสลิม เกิดในฝรั่งเศสภาคใต้เมื่อกลาง 
ศตวรรษที่ 12 โดยนักร้องที่เรียกตัวเองว่า ตรูบาดูร์ (Troubadour)
• การเทิดทูนสตรีผู้สูงศักดิ์นีก้่อให้เกิดระเบียบวิธีปฎิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่ 
เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ (Idea of Chivaly) ซึ่งถือปฎิบัติกันอย่าง 
เคร่งครัด ในหมู่อัศวินนักรบของสมัยกลางในภายหลัง โดยถือว่าการอุทิศตนเพื่อ 
สตรีที่รัก ทาให้ชีวิตของอัศวินมีคุณค่าและมีเกียรติ
• 4.นิทานฟาบลิโอ (fabliau) เล่าเรื่องสัน้เป็นบทร้อยกรอง มุ่งเสียดสีสังคมใน 
สมัยนัน้ มักจะเป็นเรื่องของนักบวชหรือเรื่องของสตรี เดิมเป็นนิทานของฝรั่งเศส แต่ 
มีปรากฏในวรรณกรรมอังกฤษด้วย
• เล่มที่สาคัญ ได้แก่ แคนเทอร์เบอรีเทลส์ (The Canterbury Tales) 
ของเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ (Geoffrey Chaucer) กวีชาวอังกฤษ เป็นโคลง 
เล่าเรื่อง 24 เรื่องที่นักจาริกแสวงบุญเล่าสู่กันฟังในช่วงพักแรมระหว่างการเดินทาง 
ไปแสวงบุญ ณ ที่ฝังศพของ นักบุญทอมัส เบ็คเก็ต ในแคนเทอร์เบอรีเทลส์ เรื่องราว 
สะท้อนให้เห็นถึงนิสัยและบุคลิกของปุถุชนคนธรรมดาซึ่งมีต่างกัน
5.นิทานอุทาหรณ์ หรือนิทานสัตว์ (fable) 
• เป็นนิทานร้อยแก้วหรือร้อยกรองในลักษณะนิทานอีสป (Aesop) ที่มีชื่อเสียง 
ที่สุดคือ นิทานชุดโรมานซ์ออฟรีนาร์ด (The Romance of Renard) 
เริ่มแต่งในฝรั่งเศสสมัยคริสต์ศตวรรษที่12 และมีผู้แต่งต่อๆ มาเรื่อยๆ จนถึง 
คริสต์ศตวรรษที่14 เป็นเรื่องเกี่ยวกับ สุนัขจิง้จอกชื่อรีนาร์ด มีเนือ้หาเสียดสีสังคม 
ฝรั่งเศสสมัยกลาง และในตอนที่แต่งระยะหลังประณามระบบฟิลดัล กระบวนการ 
ยุติธรรม และวงการศาสนาอย่างรุนแรง
เมืองที่เกิดจากการค้า 
• การค้าของโลกตะวันตกได้หยุดชะงักมาเป็นเวลาหลายร้อยปี เนื่องจากการรุกราน 
ของอนารยชน และการยึดครองทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของพวกมุสลิม
• ในราวคริสต์ศตวรรษที่11 การค้าได้ฟื้นตัวอีกครัง้ และทาให้เกิดการฟื้นตัวของเมือง 
เก่าที่เคยรุ่งเรืองสมัยจักรวรรดิโรมัน กับการเกิดเมืองใหม่ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีถึง 
คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย จนถึงยุโรปตะวันออก กลายเป็นศูนย์กลางการค้าและ 
วัฒนธรรมของยุโรป เกิดสมาคมอาชีพ(Guild) ระบบการเก็บภาษีอากร เกิดการ 
ปกครองแบบท้องถิ่นที่เรียกว่า เทศบาล เกิดตลาดนัดงานแสดงสินค้า (fair) เกิด 
ธนาคาร ฯลฯ
• ซงึ่เป็นพนื้ฐานของวัฒนธรรมเมืองในปัจจุบัน โดยเฉพาะการทาสัญญา และการ 
กู้ยืมเงินของบรรดาพ่อค้าต่อกันทาให้เกิดความจาเป็นในการกาหนดวันเริ่มต้นและ 
วันสิน้สุดของปีที่แน่นอน พวกพ่อค้าได้กาหนดให้วันที่ 1 มกราคมเป็นวันเริ่มต้นของ 
ปีใหม่ซึ่งสอดคล้องกับวันเฉลิมฉลองปีใหม่ของชาวโรมันที่เคยปฏิบัติมา
มหาวิทยาลัยตะวันตก
• มหาวิทยาลัยนับเป็นมรดกที่สาคัญของยุโรปในสมัยกลาง และเป็นผลิดตผลโดน 
ตรงของสังคมเมือง มหาวิทยาลัยในระยะแรกเกิดจากการรวมตัวของอาจารย์และ 
นักศึกษา และมีลักษณะเป็นสมาคมอาชีพเช่นเดียวกับสมาคมอาชีพอื่นๆ ที่รวมคน 
อาชีพเดียวกันไว้ด้วยกัน สมาคมอาชีพของอาจารย์และนักศึกษาดังกล่าวนีเ้รียกว่า 
ยูนิเวอร์ซิตี้(university)
• ในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 มหาวิทยาลัยเกิดขึน้จากการขยายตัวและพัฒนาการของ 
โรงเรียนวัด (monastery school) ซงึ่เป็นสถานที่อบรมสงั่สอนพระหรือ 
นักบวช และโรงเรียนมหาวิหาร (cathedral school) ซึ่งเป็นสถานที่ให้ 
การสงั่สอนทัง้นักบวชและประชาชนทวั่ไปโดยมีมหาวิทยาลัยปารีสเป็นผู้นาทาง 
ภาคเหนือ และมหาวิทยาลัยโบโลญญาเป็นผู้นาให้ยุโรปทางใต้
• นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นพระหรือลูกหลานของขุนนางและพ่อค้า มหาวิทยาลัย 
เจริญเติบโตในเวลาอันรวดเร็ว อันเนื่องมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเมือง 
สงครามครูเสด และการรับความรู้ใหม่ๆ จากทางยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์ 
เช่นวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ แพทยศาสตร์ นิติศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ที่สูญหายไป 
จากยุโรปตะวันตกตัง้แต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
• มหาวิทยาลัยในระยะแรกเริ่มมีหลักสูตรที่แน่นอน และนาเอาระบบสมาคมอาชีพมา 
ใช้ในการฝึกหัดนักศึกษา การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในสมัยกลางเจริญ 
แพร่หลายอย่างกว้างขวาง เมื่อสนิ้สมัยกลางปรากฏว่ามีมหาวิทยาลัยในยุโรปทัง้สิน้ 
กว่า 80 แห่ง 
• มหาวิทยาลัยหลายแห่งในยุโรปที่ตัง้ในสมัยกลาง เช่น มหาวิทยาลัยปารีส 
โบโลญญา ปาตัว ออกซฟอร์ด และเคมบริดจ์ ยังคงเป้นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง 
ตราบเท่าทุกวันนี้
รายชื่อผู้จัดทา 
นางสาว ณัฎฐณิชา ยงภูมิพุทธา เลขที่ 9 ม.6.5 
นางสาว รสมาลี พวงพุฒิ เลขที่ 33 ม.6.5

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]imeveve
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลchanapa Ubonsaen
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสดppompuy pantham
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 

Mais procurados (20)

เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]สงครามเย็น [ Cold War ]
สงครามเย็น [ Cold War ]
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
ระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัลระบบฟิวดัล
ระบบฟิวดัล
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 

Destaque

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกJuno Nuttatida
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาJeeji Supadda Phokaew
 

Destaque (7)

การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 

Semelhante a ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง

การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSomO777
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางPremo Int
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยmnfaim aaaa
 

Semelhante a ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง (7)

การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 

ประวัติศาสตร์ยุโรปกลาง ตอน เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง และอารยธรรมสมัยกลาง

  • 1.
  • 3. เป็นสงครามระหว่างศาสนาคริสต์ กับ ศาสนาอิสลาม เพื่อปลดปล่อยกรุงเยรูซาเล็ม ซึ่งชาวคริสต์ เชื่อว่าเป็นดินแดนอันศักดิ์สิทธิ์ ที่อยู่ในการควบคุมของพวกมุสลิม
  • 4. สาเหตุทางด้านการเมือง มีการเปลี่ยนอานาจในจักรวรรดิอาหรับเมื่อพวกเซลจุกเติร์ก (Seijuk Turk) เข้าไปมีอานาจ ในจักรวรรดอิาหรับ ซงึ่เป็นศาสนาอิสลาม และใน ค.ศ. 1071 กองทหารพวกนีก้็ได้เข้ารุกรานจักรวรรดิ ไบแซนไทน์ เมื่อจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิไปแซนไทน์ได้ขอความช่วยเหลือไปยังคริสตจักรที่กรุงโรม สันตะปาปาเออร์บันที่ 2(Urban II) เรียกประชุมผู้นาทางศาสนาและขุนนางที่มีอานาจในเขต ต่างๆ ของฝรั่งเศสเพื่อให้ยุติการสู้รบแย่งชิงอานาจกัน และช่วยกันปกป้องศาสนาคริสต์ ซงึ่ในสมัยนัน้ สถาบันศาสนามีอานาจเหนือกว่าสถาบันกษัตริย์ จึงทาให้กษัติย์ต่างๆพากันเข้าร่วมสงครามครูเสดนี้ เป็นการตอบสนองนโยบายของสันตะปาปาเพื่อความมนั่คงทางการเมืองของตนด้วย
  • 5. จิตรกรรมสันตะปาปาเออร์บันที่ 2 เรียกประชุมผู้นาทางศาสนา และขุนนางร่วมรบเพื่อแย่งชิงดินแดนศักด์ิสิทธ์ิ
  • 6. สาเหตุทางด้านศาสนา สันตะปาปาทรงชักชวนและนาทัพในสงครามครูเสดครัง้ที่ 1 ผู้เข้าร่วมสงครามซงึ่มีจานวนมากมาจาก ดินแดนต่างๆ ทวั่ยุโรป เพราะเชื่อว่าการไปรบเพื่อศาสนาจะเป็นการไถ่บาปที่ยิ่งใหญ่ ผู้ที่เสียชีวิตใน สงครามครูเสดจะได้ขึน้สวรรค์ สันตะปาปาทรงให้สัญญาว่าทรัพย์สินและครอบครัวของนักรบครูเสดจะ ได้รับความ คุ้มครองจากศาสนจักร นักรบที่มีหนีสิ้นจะได้รับการยกเว้นหนีแ้ละนักโทษคดีอาญาที่ไปร่วม รบก็จะได้รับอภัยโทษด้วย และผลจากการชักชวนของพระสันตะปาปาทาให้ขุนนาง พ่อค้า และ ประชาชนพากันเดินทางไปที่ดินแดนปาเลสไตน์
  • 9. ซงึ่คนเหล่านีก้็มีเหตุผลอยู่หลายประการ คือ 1. ชาวยุโรปในสมัยนัน้มีความศรัทธาศาสนาอย่างแรงกล้า ทาให้คนจานวนมากเดินทางไปทา สงคราม เนื่องจากจะได้ปลดเปลอื้งวิญญาณ และ สันตะปาปาทรงประกาศยกบาปให้กับคนพวกนี้ 2. บุคคลที่ไม่มีที่ดินในยุโรป โดยเฉพาะขุนนางระดับล่าง และคนสามัญ ต้องการที่จะครอบครอง ดินแดนตะวันออกกลาง 3. มีคนเป็นจานวนมากที่จะเดินทางไปแสวงโชค เพื่อความมงั่คงั่ในดินแดนตะวันออกกลาง 4. สงครามครูเสดได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพ่อค้าในแหลมอิตาลี ซึ่งได้รับผลประโยชน์จากการขนส่งทหารและเสบียง อาหารให้กับกองทัพครูเสดไปยังปาเลสไตน์ ขณะเดียวกันพ่อค้าเหล่านัน้ก็แสวงหาประโยชน์อื่นจากนักรบครูเสดด้วย ดังกรณีที่พ่อค้าเมืองเวนิส (Venice) เสนอจะลดค่าขนส่งที่มีมูลค่าสูงให้กับกองทัพครูเสดหากยินดียกทัพไปตีเมือง ซารา (Zare) ซงึ่เป็นเมืองท่าสาคัญบนฝั่งทะเลเอเดรียติก (Adriatic Sea) และเป็นคู่แข่งทางการค้าที่สาคัญของเว นิส
  • 10. สงครามครูเสดนีด้าเนินอยู่ในช่วงเวลาเกือบ 200 ปี และชาวยุโรปยกทัพไปทาสงครามครูเสดรวม 6 ครัง้ เมื่อ ค.ศ. 1291 เมือเอเคอร์ (Acre) ซงึ่เป็นฐานที่มนั่ของพวกคริสเตียนในปาเลสไตน์แห่งสุดท้ายถูก พวกมุสลิมยึดครอง สงครามครูเสดก็ได้สิน้สุดลง
  • 11. ผลกระทบของสงครามครูเสด ด้านการเมือง สงครามครูเสดส่งผลกระทบทางการเมืองอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ 1. สงครามครูเสดทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างยุโรปและโลกมุสลิมเสื่อมลงเนื่องจากทัง้สองฝ่ายต่าง มีอคติต่อกัน 2. การที่นักรบครูเสดบุกยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลในสงครามครูเสดครัง้ที่ 4 ได้ทาให้จักรวรรดิไบ แซนไทน์อ่อนแออย่างมาก กระทงั่ไม่อาจต้านทานการรุกรานของพวกออตโตมันเติร์กและล่มสลาย ไปในที่สุด 3. สงครามครูเสดมีผลให้ระบบฟิวดัลของยุโรปเสื่อมลง เนื่องจากขุนนางและอัศวินซึ่งปกครอง ดูแลแมเนอร์ของตนในเขตต่างๆ ต้องไปร่วมรบในสงครามครูเสด ทาให้กษัตริย์มีอานาจปกครอง ดินแดนต่างๆ เพิ่มขึน้ ซงึ่รวมถึงการจัดเก็บภาษีจากราษฎรและการเกณฑ์ทัพ กระทงั่สามารถ พัฒนารัฐชาติได้ในเวลาต่อมา
  • 12. ด้านเศรษฐกิจ สงครามครูเสดส่งผลกระทบที่สาคัญทางเศรษฐกิจ คือ 1. หลังสงครามครูเสดยุติลงแล้ว พ่อค้ายุโรปโดยเฉพาะในแหลมอิตาลีประสบปัญหาการเดินเรือในเขต ทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน เพราะเมืองท่าบางแห่งอยู่ใต้อานาจของพวกมุสลิมซงึ่มีคติต่อชาวยุโรป นอกจากนีพ้่อค้ายุโรปยังประสบปัญหาการขยายการค้ากับดินแดนตะวันออกตามเส้น ทางบกซึ่งต้อง ผ่านดินแดนของพวกมุสลิม ดังนัน้ชาวยุโรปจึงต้องพัฒนาเส้นทางทะเล โดยเฉพาะการเดินเรืออ้อม แอฟริกาไปยังเอเชียที่ประสบความสาเร็จในปลายคริสต์ ศตวรรษที่ 15 และมีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติในเวลาต่อมา 2. การติดต่อกับตะวันออกกลางในช่วงสงครามครูเสดทาให้ชาวยุโรปรู้จักบริโภคสนิค้า และผลิตภัณฑ์ จากตะวันออกกลาง เช่น ข้าว นา้ตาล มะนาว ผลแอปริคอต และผ้าป่านมัสลิน ซงึ่กลายเป็นสินค้าที่ ยุโรปนาเข้าเป็นประจา
  • 13. ด้านสังคม สงครามครูเสดทาให้เกิดผลกระทบทางสังคม คือ 1. สงครามครูเสดได้เปิดโลกทัศน์ของชาวยุโรปเกี่ยวกับ “โลกตะวันออก” โดยเฉพาะคาวมก้าวหน้า และเทคโนโลยีของชาวตะวันออก เช่น การใช้ดินปืนในการทาสงคราม ต่อมาชาวยุโรปได้นาความรู้นี้ ไปพัฒนาเป็นอาวุธปืนและสามารถทาสงครามชนะชาว เอเชีย ทาให้ยุโรปกลายเป็นมหาอานาจของ โลก 2. นักรบครูเสดมาจากดินแดนต่างๆ ในสังคมของระบบฟิวดัลที่ไม่มีโอกาสรู้จักโลกภายนอกมากนัก เมื่อได้พบปะเพื่อนนักรบอื่นๆ จึงได้แลกเปลี่ยนทัศนคติและองค์ความรู้ต่อกัน ทาให้เกิดการหล่อหลอม ทางด้านวัฒนธรรมและความคิดของชาวยุโรป โดยเฉพาะในการแสดงออกทางความคิดการ วิพากษ์วิจารณ์ และการเปิดรับแนวคิดใหม่ ซึ่งรากฐานของขบวนการมนุษย์นิยมที่เติบโตในสมัยฟื้นฟู ศิลปวิทยาการ และยังเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาอุดมการณ์เสรีนิยมของยุโรปสมัยใหม่
  • 15. เป็นสงครามระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส เริ่มขึน้ในปี ค.ศ. 1337 และสนิ้สุดในค.ศ. 1453 ซงึ่รวม แล้วเป็นระยะเวลากว่า 100 ปี โดยเหตุการณ์นีก้็ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบการปกครองทางการเมือง และ สังคมในสมัยกลางอย่างสิน้เชิง ซงึ่เป็นต้นกาเนิดของความเป็นรัฐชาติสมัยใหม่
  • 16. สาเหตุของสงคราม มีหลายประการ คือ 1.ความขัดแย้งในเรื่องดินแดนระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส 2.สิทธิในราชบัลลังก์ฝรั่งเศส เนื่องจากพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 มีพระราชมารดาเป็นเจ้าหญิงฝรั่งเศส ใน ค.ศ. 1324 พระเจ้าชาลส์ที่ 4 แห่งฝรั่งเศส สนิ้พระชนม์โดยไม่มีทายาท ทาให้ราชวงศ์กาเป เชียงสายตรงต้องสิน้สุดลง พระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ 3 แห่งอังกฤษทรงเป็นพระนัดดาของพระเจ้าชาลส์ ที่ 4 เป็นพระญาติชายที่ใกล้ชิดที่สุดทางสายพระโลหิต จึงเป็นผู้มีสิทธิจะครองบัลลังก์มากที่สุด แต่ขุนนางฝรั่งเศส ไม่ต้องการให้กษัตริย์อังกฤษมาปกครองฝรั่งเศส จึงอ้างกฏบัตรซาลลิคของชน แฟรงก์โบราณว่า การสืบสันติวงศ์จะต้องผ่านทางผู้ชายเท่านัน้ และให้ฟิลิปเคานท์แห่งวาลัวส์ ที่ สืบเชือ้สายจากพระเจ้าฟิลิปที่ 3 ขึน้ครองราชย์เป็นพระเจ้าฟิลิปที่ 6 เป็นปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ วาลัวส์ ซึ่งเป็นสาขาของราชวงศ์กาเปเชียง
  • 17. ในค.ศ. 1331 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ 3 ทรงยินยอมที่จะสละสิทธิ์ในบัลลังก์ฝรั่งเศสทัง้มวลแต่ ครองแคว้นกาสโคนีในค.ศ. 1333 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงทาสงครามกับสกอตแลนด์ ซึ่งเป็น พันธมิตรกับฝรั่งเศสตามสัญญาพันธมิตรเก่า (Auld Alliance) ทาให้พระเจ้าฟิลิปที่ 6 ทรง เห็นเป็นโอกาสจึงนาทัพบุกยึดแคว้นกาสโคนี แต่พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงปราบปรามสกอตแลนด์ อย่างรวดเร็ว และหันมาตอบโต้พระเจ้าฟิลิปได้ทัน พระเจ้าฟิลิปที่ 6 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3
  • 18. 3. อังกฤษต้องการที่จะผนวกสกอตแลนด์ แต่สกอตแลนด์ได้รับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสให้ต่อต้าน อังกฤษ ทาให้อังกฤษไม่พอใจ 4. ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ฝรั่งเศสได้ขัดขวางการค้าระหว่างอังกฤษกับแคว้นฟลานเดอร์ (เบลเยี่ยมในปัจจุบัน) และขัดขวางอังกฤษในการครองแคว้นกาสโกนีเพื่อเป็นศูนย์กลางทางการค้า 5. กษัตริย์ทัง้สองประเทศกาลังประสบปัญหาการขยายอานาจของเหล่าขุนนาง จึงต้องการใช้ สงครามดึงความสนใจของขุนนางและประชาชน
  • 19. สถานการณ์ของสงคราม ในตอนแรกทัพเรือฝรั่งเศสสามารถโจมตีเมืองท่าอังกฤษได้หลายที่ แต่ลมก็เปลี่ยนทิศเมื่อทัพเรือ ฝรั่งเศสถูกทาลายล้างในการรบที่สลุยส์ (Sluys) ใน ค.ศ. 1341 ตระกูลดรือซ์แห่งแคว้นบรีตตานีสูญสนิ้ พระเจ้าเอ็ดวาร์ดและพระเจ้าฟิลิปจึงสู้รบกันเพื่อให้คนของตนได้ครองแคว้น บรีตตานีในค.ศ. 1346 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงสามารถขึน้บกได้ที่เมืองคัง (Caen) ในนอร์มังดี เป็นที่ตกใจแก่ชาวฝรั่งเศส พระ เจ้าฟิลิปแต่งทัพไปสู้ แต่พระเจ้าเอ็ดวาร์ดทรงหลบหนีไปประเทศภาคต่า (Low Countries) ทัพฝรั่งเศส ตามมาทัน แต่พ่ายแพ้ยับเยินที่การรบที่เครซี (Crécy) ทาให้พระเจ้าเอ็ดวาร์ดต่อไปยึดเมืองท่าคาเลส์ข องฝรั่งเศสและยึดเป็นที่มนั่บนแผ่นดินฝรั่งเศสได้ในค.ศ. 1347ใน ค.ศ. 1348 ระหว่างที่ฝรั่งเศสกาลังลุก เป็นไฟด้วยสงคราม กาฬโรคก็ระบาดมาถึงฝรั่งเศสคร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจานวนมาก
  • 20. เจ้าชายดาพระโอรสของพระเจ้าเอ็ดวาร์ด บุกอังกฤษจากกาสโคนี ชนะฝรั่งเศสในศึกปัวติเยร์ (Poitiers) จับ พระเจ้าชองแห่งฝรั่งเศสได้ ด้วยอานาจของฝรั่งเศสที่อ่อนแอลง ทาให้ตามชนบทไม่มีขื่อแปโจรอาละวาด ทา ให้ชาวบ้านก่อจลาจลกันมากมาย พระเจ้าเอ็ดวาร์ดเห็นโอกาสจึงทรงบุกอีกครัง้ แต่ถูกองค์รัชทายาทแห่ง ฝรั่งเศสต้านไว้ได้ จนทาสนธิสัญญาบรีติญญี (Bretigny)
  • 21. และสงครามก็ได้เริ่มขึน้อีกครัง้ ในสมัยของพระเจ้าชาลส์ที่ 5 แห่งฝรั่งเศสทรงสามารถบุกยึดดินแดน คืนจากฝรั่งเศสได้ ด้วยความช่วยเหลือของขุนพลแบร์ทรันด์ เดอ เกอสแคลง (Bertrand de Guesclin) องค์ชายเอ็ดวาร์ดทรงติดพันอยู่กับสงครามในสเปน จนทรงปลีกพระองค์มาฝรั่งเศสได้ในค.ศ. 1371 ฝ่ายอังกฤษตอบโต้โดยการปล้นสะดมทาลายล้าง (chevauchée) เมืองต่างๆของฝรั่งเศส แต่เดอเกอส แคลงก็ไม่หลงกลองค์ ชายเอ็ดวาร์ดสนิ้พระชนม์ในค.ศ. 1376 พระเจ้าเอ็ดวาร์ดสนิ้พระชนม์ในค.ศ. 1377 และเดอเกอสแคลงสิน้ชีวิตในค.ศ. 1380 เมื่อผู้นาทัพสิน้ชีวิตไปหมดแล้ว สงครามก็สงบลงอีก ครัง้ จนทาสัญญาสงบศึกในค.ศ. 1389 พระเจ้าชาลส์ที่5
  • 22. สงครามร้อยปีหยุดยาวเพราะฝรั่งเศสตกอยู่ในสงครามกลางเมืองระหว่างตระกูลอาร์มันญัค (Armagnac) และ ดยุคแห่งเบอร์กันดี เพราะพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 6 ทรงมีพระสติไม่สมประกอบ ทาให้แย่ง อานาจกันปกครองบ้านเมือง และขอให้อังกฤษช่วย แต่อังกฤษเองก็กาลังมีสงครามกลางเมือง และเวลส์ และไอร์แลนด์ก่อกบฎ สกอตแลนด์บุกเมื่อ อังกฤษสงบแล้ว พระเจ้าเฮนรีที่ 5 ก็ทรงนาทัพบุกฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1415 และชนะฝรั่งเศสขาดรอยที่การรบที่อแกงคูร์ต ได้ดยุคแห่งเบอร์กันดีมาเป็นพวก และยึด ฝรั่งเศสตอนเหนือไว้ได้ทัง้หมดในค.ศ. 1419 พระเจ้าเฮนรีทรงเฝ้าพระเจ้าชาลส์ที่ 6 แห่งฝรั่งเศสซงึ่ทรง พระสติไม่สมประกอบ ทาสัญญาให้พระโอรสพระเจ้าเฮนรีขึน้ครองฝรั่งเศสเมื่อพระเจ้าชาลส์สนิ้พระชนม์ แต่ทัพสกอตแลนต์ก็มาช่วยขัดขวางเอาไว้ เมื่อพระเจ้าชาลส์สิน้พระชนม์ พระเจ้าเฮนรีที่6 แห่งอังกฤษ ก็ ขึน้เป็นกษัตริย์ฝรั่งเศส แต่ตระกูลอาร์มันญัคยังคงจงรักภัคดีต่อองค์รัชทายาทฝรั่งเศส
  • 23. ใน ค.ศ. 1428 อังกฤษล้อมเมืองออร์เลียงส์ จึงทาให้เกิดวีรสตรีโจนออฟอาร์ค (Joan of Arc หรือ ฌานดาก) เสนอตัว ขับไล่ทัพอังกฤษ กล่าวว่านางเห็นนิมิตว่าพระเจ้าให้เธอปลดปล่อย ฝรั่งเศสจากอังกฤษ จนสามารถขับไล่ทัพอังกฤษออกไปได้ในที่สุด ซงึ่สามารถเอาชนะอังกฤษได้หลายครัง้ และยังสามารถเปิดทางให้องค์รัชทายาทสามารถยึดเมืองแรงส์เพื่อราชาภิเษก พระเจ้าชาลส์ที่ 7 นับเป็นจุดเปลี่ยนในสงครามร้อยปี แต่โยนแห่งอาร์คถูกพวกเบอร์กันดีจับได้จึงถูกศาลศาสนาตัดสินว่า เป็นแม่มด จะต้องถูกลงโทษโดยการเผาทัง้เป็น วีรกรรมนีจึ้งถูกยกยอ่งและสร้างความคิดเรื่องชาตินิยมให้กับชาวฝรั่งเศส
  • 24. หลังจากนัน้ฝรั่งเศสก็ได้ยึดดินแดนที่เสียไปจากอังกฤษแป็นจานวนมาก และสงครามก็ได้ยุติลงใน พระเจ้าชาลส์ที่ 7 ในปีค.ศ. 1453 ผลกระทบจากสงครามร้อยปี ต่อประเทศอังกฤษ 1.ทาให้กษัตริย์อังกฤษหันมาสนพระทัยกิจการภายในประเทศมากขึน้ โดยเฉพาะการทาการค้ากับ ต่างประเทศ 2.ทาให้อานาจของรัฐสภาอังกฤษมีมากขึน้เพื่อต่อรองกับกษัตริย์ 3.ขุนนางเสียชีวิตและยากจนลง ทาให้กษัตริย์อังกฤษสามารถรวมอานาจไว้ที่ส่วนกลางได้
  • 25. ต่อฝรั่งเศส 1.ส่งเสริมอานาจเด็ดขาดให้แก่กษัตริย์ในการปรับปรุงกองทัพเพื่อปราบปรามขุนนาง และทาสงครามกับ ต่างชาติ 2.รัฐสภา ได้ยอมรับอานาจของสถาบันกษัตริย์ฝรั่งเศส ทาให้กษัตริย์สามารถรวมอานาจเข้าสู่พระองค์ จน ต่อมาได้พัฒนาเป็นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชในเวลาต่อมา 3.กระตุ้นความคิดชาตินิยมในหมู่ชาวฝรั่งเศส
  • 26. ความเสื่อมของศาสนาในช่วงปลายสมัยกลาง มีสาเหตุสาคัญ คือ 1. การเกิดลัทธิชาตินิยมและรัฐชาติก่อตัวขึน้ในสมัยยุโรปกษัตริย์สามารถปกครองขุนนางได้ 2. ประชาชนสนับสนุนอานาจของกษัตริย์มากขึน้ 3. เกิดการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกษัตริย์ฝรั่งเศสกับสันตะปาปา ซงึ่ชัยชนะเป็นของพระเจ้าฟิลิปที่ 4และได้แต่งตัง้พระสันตะปาปาองค์ใหม่ 4. ความแตกแยกภายในของศาสนจักรอย่างรุนแรงจนถึงขัน้มีสันตะปาปา 2องค์ในเวลาเดียวกัน เหตุการณ์ในยุติลงแต่ก็ทาให้คริสตจักรอ่อนแอลง 5.ทาให้เกิดความแตกแยกและเสื่อมศรัทธาในหมู่คริสต์ศาสนิกชน
  • 27. การสนิ้สุดสมัยกลาง การค้าขยายตามเมืองต่างๆทวั่ยุโรป เกิดชนชัน้กลาง เช่น พ่อค้า แพทย์ ครู นักกฎหมาย แทรก ระหว่างชนชัน้สูงอย่างพวกขุนนาง และชนชัน้ต่าอย่างชาวนาและช่างฝีมือ ระบบฟิวดัลของขุน นางอ่อนแอลง ประชาชนสนใจที่จะแสวงหาความรู้นอกศาสนจักรจึงทาให้อานาจของสาสนจักร เสื่อมลง และเริ่มสนใจอารยธรรมกรีกโบราณ และโรมัน ซงึ่นาไปสู่ยุคฟื้นฟูศิลปะ ทาให้แตกต่างจาก สมัยกลางที่ศาสนาเข้ามามีอานาจอย่างมาก
  • 29. • ในสมัยกลางนัน้สังคมตะวันตกตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสถาบันคริสต์ศาสนาและ การปกครองระบบฟิวดัล ทาให้อารยธรรมส่วนใหญ่ของสมัยกลางเกิดจากการ ส่งเสริมและทานุบารุงของพระและขุนนางเป็นส่วนใหญ่ ศิลปะและวัฒนธรรมที่ สาคัญของโลกตะวันตกมีดังนี้
  • 30. สถาปัตยกรรม • 1. แบบโรมาเนสก์ (Romannesque) • 2. แบบกอทิก หรือ กอโกธิค (Gothic) • ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงต่อการสร้างวัดและมหาวิหารในคริสต์ศาสนา โดยศิลปะแบบโร มาเนสก์เจริญรุ่งเรืองในช่วงก่อนศตวรรษที่11 และในสมัยศตวรรษที่12-13 ซงึ่อยู่ใน ช่วงเวลาแห่งตวามเจริญที่เรียกว่า สมัยกลางยุครุ่งโรจน์ (High middle ages) ศิลปะโรมาเนสก์ก็พัฒนากลายเป็นศิลปะรูปแบบโกธิค
  • 31. • แบบโรมาเนสก์ ( Romannesque ) สืบทอดจากโรมัน อาคาร ประกอบด้วยประตูหน้าต่างโค้งกลมแบบสถาปัตนกรรมโรมัน กระเบือ้งปูพืน้ขนาด ใหญ่ บานหน้าต่างเล็กและเรียวยาว กาแพงหนา บรรยากาศภายในทึมและมืด ครึม้ มองภายนอกเหมือนป้อมปราการ มีภาพหินโมเสกประดับ อาจใช้เป็นที่หลบ ภัยของประชาชนเมื่อเกิดอันตรายจากศัตรูได้ เป็นศิลปะที่เป็นแบบอย่างของการ ก่อสร้างโดยทวั่ไปในระหว่างสมัยกลางตอนต้น
  • 32.
  • 33. • แบบกอทิก ( Gothic ) พัฒนามาจากศิลปะแบบโรมาเนสก์ มีลักษณะโปร่งบาง และดูอ่อนช้อยกว่า จุดเด่นคือใช้อิฐปูนคา้ยันข้างนอก และใช้เสาหินรองรับนา้หนัก จากหลังคา ประตูหน้าต่างโค้งแหลมขนาดกว้างเพื่อแสงสว่างจะได้ส่องผ่านได้ บน กาแพงสามารถประดับด้วยกระจกสี (stained glass) ขนาดใหญ่สีสัน งดงาม ภายในประดับด้วยรูปแกะสลักของนักบุญตามลักษณะที่เหมือนจริงตาม ธรรมชาติ
  • 34.
  • 35.
  • 36. ^ Saint Chapelle < Orvieto Cathedral
  • 37. • ความแตกต่างระหว่างศิลปะแบบโรมาเนสก์และแบบกอทิก แสดงให้เห็นว่าในสมัย กลางยุครุ่งโรจน์เริ่มมีความรู้สึกนึกคิดเรื่องความสวยงามของธรรมชาติและมนุษย์ มากขึน้ และแสดงให้เห็นถึงความสามารถทางสติปัญญาและอัจฉริยะของศิลปินใน สมัยกลางได้เป็นอย่างดี
  • 38. วรรณกรรม • วรรณกรรมในสมัยกลางนอกจากจะเน้นเรื่องราวความเชื่อในคริสต์ศาสนา ยังมี วรรณกรรมทางโลกด้วย แต่งด้วยภาษาละตินซึ่งถือว่าเป็นภาษาหนังสือที่เป็นสากล และเป็นภาษาสาคัญทางศาสนา
  • 39. • วรรณกรรมทางศาสนาที่สาคัญและมีผลต่อแนวความคิดของคริสต์ศาสนิกชนในสมัยกลาง ได้แก่ • เทวนคร (The City of God) เขียนโดยนักบุญออกัสติน (St. Augustine) ในสมัยปลายจักรวรรดิโรมัน (ค.ศ. 345-430) เป็นเรื่องราวการสร้างโลกตามคริสต์ศาสนา • มหาเทววิทยา (Summa Theologica) เขียนโดยนักบุญทอมัส อะไควนัส (St. Thomas Aquinas) ค.ศ.1224-1274 ใช้สอนในวิชาเทววิทยาในมหาวิทยาลัย เป็น เรื่องเกี่ยวกับความเชื่อและศรัทธาในคริสต์ศาสนาอย่างมีเหตุผล
  • 40. วรรณกรรมทางโลกในสมัยกลาง อาจจะ แบ่งได้เป็น5 ประเภท • 1.มหากาพย์ (epic) ในฝรั่งเศสเรียกว่า ชองซองเดอเจสต์ (Chanson de Geste) เป็นเรื่องราวของวีรกรรมของวีรบุรุษที่สร้างไว้ในอดีต นิยมประพันธ์ด้วย โคลงกลอน แพร่หลายใน คริสต์ศตวรรษที่ 11-12
  • 41. • วรรณกรรมประเภทนีที้่สาคัญ ได้แก่ ชองซอง เดอโรลองด์ (Chanson de Roland) เป็นเรื่องราวการต่อสู้ของโร ลองด์ ทหารคนสนิทของจักรพรรดิชาญเลอ มาญ กับกองทัพของพวกซาราเซ็นที่เป็น มุสลิมเดินทัพมาจากสเปนเพื่อพิชิตยุโรป ตะวันตก กองทัพของโรลองด์ถูกพวกมุสลิม โจมตีในเทือกเขาพิเรนีส และเสียชีวิตในสนาม รบ สะท้อนถึงทัศนคติ ความกล้าหาญ ความ เสียสละของนักรบ อุดมการณ์ จริยธรรม และ ความมีศรัทธาในคริสต์ศาสนา จึงเป็นที่นิยม ของชนชัน้สูงโดยเฉพาะพวกนักรบ
  • 42. • 2.นิยายวีรคติ หรือนิยายโรมานซ์ (romance) • เป็นเรื่องราวความจงรักภัคดีของอัศวิน ต่อเจ้าและขุนนาง และความรักแบบ เทิดทูนที่อัศวินมีต่อสตรี (courtly love) ประพันธ์เป็นคากลอน เกิดใน ยุโรปตะวันตก ในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 ต่อมาได้เจริญแพร่หลายในฝรั่งเศส อังกฤษ และเยอรมัน
  • 43. • นิยายวีรคติที่รู้จักกันทวั่ไป คือ กษัตริย์อาเทอร์กับอัศวินโต๊ะกลม (King Arthur and the Knight of the Round Table)
  • 44. • 3.คีตกานท์ (lyric) เป็นบทร้อยกรองที่กล่าวถึงความในใจ แต่งบทกวีขับร้องกับ พิณ นิยมบรรเลงในปราสาทราชสานัก เป็นเรื่องเกี่ยวกับความรักแบบเทิดทูนต่อสตรี ผู้สูงศักดิ์ ได้รับอิทธิพลมาจากราชสานักของมุสลิม เกิดในฝรั่งเศสภาคใต้เมื่อกลาง ศตวรรษที่ 12 โดยนักร้องที่เรียกตัวเองว่า ตรูบาดูร์ (Troubadour)
  • 45. • การเทิดทูนสตรีผู้สูงศักดิ์นีก้่อให้เกิดระเบียบวิธีปฎิบัติที่บุรุษควรมีต่อสตรีเพศ หรือที่ เรียกว่า ธรรมเนียมวีรคติ (Idea of Chivaly) ซึ่งถือปฎิบัติกันอย่าง เคร่งครัด ในหมู่อัศวินนักรบของสมัยกลางในภายหลัง โดยถือว่าการอุทิศตนเพื่อ สตรีที่รัก ทาให้ชีวิตของอัศวินมีคุณค่าและมีเกียรติ
  • 46. • 4.นิทานฟาบลิโอ (fabliau) เล่าเรื่องสัน้เป็นบทร้อยกรอง มุ่งเสียดสีสังคมใน สมัยนัน้ มักจะเป็นเรื่องของนักบวชหรือเรื่องของสตรี เดิมเป็นนิทานของฝรั่งเศส แต่ มีปรากฏในวรรณกรรมอังกฤษด้วย
  • 47. • เล่มที่สาคัญ ได้แก่ แคนเทอร์เบอรีเทลส์ (The Canterbury Tales) ของเจฟฟรีย์ ชอเซอร์ (Geoffrey Chaucer) กวีชาวอังกฤษ เป็นโคลง เล่าเรื่อง 24 เรื่องที่นักจาริกแสวงบุญเล่าสู่กันฟังในช่วงพักแรมระหว่างการเดินทาง ไปแสวงบุญ ณ ที่ฝังศพของ นักบุญทอมัส เบ็คเก็ต ในแคนเทอร์เบอรีเทลส์ เรื่องราว สะท้อนให้เห็นถึงนิสัยและบุคลิกของปุถุชนคนธรรมดาซึ่งมีต่างกัน
  • 48. 5.นิทานอุทาหรณ์ หรือนิทานสัตว์ (fable) • เป็นนิทานร้อยแก้วหรือร้อยกรองในลักษณะนิทานอีสป (Aesop) ที่มีชื่อเสียง ที่สุดคือ นิทานชุดโรมานซ์ออฟรีนาร์ด (The Romance of Renard) เริ่มแต่งในฝรั่งเศสสมัยคริสต์ศตวรรษที่12 และมีผู้แต่งต่อๆ มาเรื่อยๆ จนถึง คริสต์ศตวรรษที่14 เป็นเรื่องเกี่ยวกับ สุนัขจิง้จอกชื่อรีนาร์ด มีเนือ้หาเสียดสีสังคม ฝรั่งเศสสมัยกลาง และในตอนที่แต่งระยะหลังประณามระบบฟิลดัล กระบวนการ ยุติธรรม และวงการศาสนาอย่างรุนแรง
  • 49. เมืองที่เกิดจากการค้า • การค้าของโลกตะวันตกได้หยุดชะงักมาเป็นเวลาหลายร้อยปี เนื่องจากการรุกราน ของอนารยชน และการยึดครองทะเลเมดิเตอร์เรเนียนของพวกมุสลิม
  • 50. • ในราวคริสต์ศตวรรษที่11 การค้าได้ฟื้นตัวอีกครัง้ และทาให้เกิดการฟื้นตัวของเมือง เก่าที่เคยรุ่งเรืองสมัยจักรวรรดิโรมัน กับการเกิดเมืองใหม่ๆ ในคาบสมุทรอิตาลีถึง คาบสมุทรสแกนดิเนเวีย จนถึงยุโรปตะวันออก กลายเป็นศูนย์กลางการค้าและ วัฒนธรรมของยุโรป เกิดสมาคมอาชีพ(Guild) ระบบการเก็บภาษีอากร เกิดการ ปกครองแบบท้องถิ่นที่เรียกว่า เทศบาล เกิดตลาดนัดงานแสดงสินค้า (fair) เกิด ธนาคาร ฯลฯ
  • 51. • ซงึ่เป็นพนื้ฐานของวัฒนธรรมเมืองในปัจจุบัน โดยเฉพาะการทาสัญญา และการ กู้ยืมเงินของบรรดาพ่อค้าต่อกันทาให้เกิดความจาเป็นในการกาหนดวันเริ่มต้นและ วันสิน้สุดของปีที่แน่นอน พวกพ่อค้าได้กาหนดให้วันที่ 1 มกราคมเป็นวันเริ่มต้นของ ปีใหม่ซึ่งสอดคล้องกับวันเฉลิมฉลองปีใหม่ของชาวโรมันที่เคยปฏิบัติมา
  • 53. • มหาวิทยาลัยนับเป็นมรดกที่สาคัญของยุโรปในสมัยกลาง และเป็นผลิดตผลโดน ตรงของสังคมเมือง มหาวิทยาลัยในระยะแรกเกิดจากการรวมตัวของอาจารย์และ นักศึกษา และมีลักษณะเป็นสมาคมอาชีพเช่นเดียวกับสมาคมอาชีพอื่นๆ ที่รวมคน อาชีพเดียวกันไว้ด้วยกัน สมาคมอาชีพของอาจารย์และนักศึกษาดังกล่าวนีเ้รียกว่า ยูนิเวอร์ซิตี้(university)
  • 54. • ในคริสต์ศตวรรษที่ 11-12 มหาวิทยาลัยเกิดขึน้จากการขยายตัวและพัฒนาการของ โรงเรียนวัด (monastery school) ซงึ่เป็นสถานที่อบรมสงั่สอนพระหรือ นักบวช และโรงเรียนมหาวิหาร (cathedral school) ซึ่งเป็นสถานที่ให้ การสงั่สอนทัง้นักบวชและประชาชนทวั่ไปโดยมีมหาวิทยาลัยปารีสเป็นผู้นาทาง ภาคเหนือ และมหาวิทยาลัยโบโลญญาเป็นผู้นาให้ยุโรปทางใต้
  • 55. • นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นพระหรือลูกหลานของขุนนางและพ่อค้า มหาวิทยาลัย เจริญเติบโตในเวลาอันรวดเร็ว อันเนื่องมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเมือง สงครามครูเสด และการรับความรู้ใหม่ๆ จากทางยุโรปตะวันออกและเอเชียไมเนอร์ เช่นวิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ แพทยศาสตร์ นิติศาสตร์ ซึ่งเป็นศาสตร์ที่สูญหายไป จากยุโรปตะวันตกตัง้แต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน
  • 56. • มหาวิทยาลัยในระยะแรกเริ่มมีหลักสูตรที่แน่นอน และนาเอาระบบสมาคมอาชีพมา ใช้ในการฝึกหัดนักศึกษา การศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยในสมัยกลางเจริญ แพร่หลายอย่างกว้างขวาง เมื่อสนิ้สมัยกลางปรากฏว่ามีมหาวิทยาลัยในยุโรปทัง้สิน้ กว่า 80 แห่ง • มหาวิทยาลัยหลายแห่งในยุโรปที่ตัง้ในสมัยกลาง เช่น มหาวิทยาลัยปารีส โบโลญญา ปาตัว ออกซฟอร์ด และเคมบริดจ์ ยังคงเป้นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง ตราบเท่าทุกวันนี้
  • 57. รายชื่อผู้จัดทา นางสาว ณัฎฐณิชา ยงภูมิพุทธา เลขที่ 9 ม.6.5 นางสาว รสมาลี พวงพุฒิ เลขที่ 33 ม.6.5