SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 258
Baixar para ler offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
30 สิงหาคม 2558
Mark L. Blazey
From:- Insights to Performance Excellence 2015-2016: Using the
Integrated Management System and the Baldrige Framework
ASQ Quality Press, Milwaukee, Wisconsin, 2015
บทสรุปสาหรับผู้บริหาร
 บทความนี้ อิงกับเกณฑ์ Baldrige ปี ค.ศ. 2015-2016 ซึ่งจะเป็น
แนวทางเดียวกับเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality
Award – TQA) ปี พ.ศ. 2559-2560
 เมื่อองค์กรได้รับการเยี่ยมสถานที่ประกอบการ จากคณะผู้ตรวจ
ประเมิน รวมทั้งตัวแทนจากสานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
องค์กรอาจใช้คาถามเหล่านี้ เป็นแนวทางในการสอบทานให้กับ
บุคลากรเป็นการล่วงหน้า เพื่อสร้างความคุ้นชินกับคาถามที่
ผู้ตรวจประเมินอาจใช้ ในการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
เกริ่นนา
 ผู้ตรวจประเมินหลายคนและองค์กร มีคาถามเกี่ยวกับวิธีการ
เตรียมความพร้อม สาหรับการเข้าเยี่ยมสถานที่ประกอบการ
 การนาเสนอนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยตอบคาถามเหล่านั้น และ
เตรียมความพร้อมองค์กร สาหรับการตรวจเยี่ยมสถานที่
 ผู้ตรวจประเมินเข้าเยี่ยมชมสถานที่ เพื่อต้องการ ตอกย้า (verify)
จุดแข็ง และ ยืนยัน (clarify) โอกาสพัฒนา ในรายงานป้อนกลับ
ให้ตรงกับความเป็นจริง และก่อเกิดประโยชน์กับองค์กรผู้สมัคร
มากที่สุด
จุดมุ่งหมายของการเข้าเยี่ยมชมสถานที่
ผู้ตรวจประเมินต้องการสอบทาน ในส่วนที่จะยากจะเข้าใจจากรายงานเช่น:
 การนาไปปฏิบัติ (Deployment): วิธีที่กระบวนการถูกนาไปใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วทั้ง
องค์กร
 การบูรณาการ (Integration): กระบวนการมีการประสานกัน เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศ
 เจ้าของกระบวนการ (Process ownership): เป็นกระบวนการที่มีความเป็นเจ้าของ
ร่วมกันวงกว้าง หรือเฉพาะจุด
 ส่วนร่วมของบุคลากร (Workforce member involvement): ขอบเขตที่การมีส่วนร่วมของ
บุคลากร ในการเพิ่มประสิทธิภาพของทุกกระบวนการ
 การปรับปรุงวุฒิภาวะอย่างต่อเนื่อง (การเรียนรู้) (Continuous improvement maturity
(learning)): จานวนและขอบเขตของรอบการปรับปรุงตามความเป็นจริง ที่เกิดขึ้นในทุก
พื้นที่ และในทุกระดับขององค์กร
ประเด็นของการเยี่ยมชมสถานที่
 ผู้ตรวจประเมินเยี่ยมชม เพื่อดูประเด็นสาคัญที่ใช้ในการให้
คะแนน และการเป็นต้นแบบที่ดีขององค์กร คือ: ยืนยัน (Clarify)
ข้อมูลที่ขาดหายไปหรือที่คลุมเครือ และ ตอกย้า (Verify) จุดแข็ง
ที่ระบุจากการปฏิบัติ ที่อธิบายไว้ในรายงาน
ในระหว่างการเยือนสถานที่ ผู้ตรวจประเมินจะ:
 มุ่งเน้นในประเด็นที่ตัดข้ามหัวข้อ หรือข้ามหมวด (cross-cutting
issues)
 ตรวจข้อมูล รายงาน และเอกสาร
 สัมภาษณ์บุคคล และทีม
 รับฟังการนาเสนอจากองค์กรผู้สมัครเพิ่มเติม
ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม
 บทบาทผู้บริหารระดับสูง ในการเป็นผู้นา และการเป็นแบบอย่างที่ดี
 ความมีอิสรภาพและประสิทธิผลของระบบการกากับดูแลองค์กร เพื่อ
ปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความรับผิดชอบทางการ
เงิน การประเมินผล และปรับปรุงประสิทธิภาพของผู้นาระดับสูง
 ระดับของความผูกพันและการการปฏิบัติตน ของบุคลากรระดับต่อ
จากผู้บริหารระดับสูง
 การครอบคลุม การเข้าถึง และความสะดวก ในการใช้งานของระบบ
สารสนเทศ
ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม (ต่อ)
 การนาข้อเท็จจริงและข้อมูล มาใช้ในการตัดสินใจในทุกระดับ
 ระดับของการให้ความสาคัญกับความผูกพัน และประสบการณ์ใน
เชิงบวกอย่างต่อเนื่องของลูกค้า การใช้ประโยชน์จากเสียงของ
ลูกค้า และการแก้ปัญหาการร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ
 ขอบเขตของวิธีการที่เป็นระบบ ในการออกแบบ และปรับปรุง
กระบวนการทางาน
 การพัฒนาบุคลากรและผู้นา ที่มีประสิทธิผล
ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม (ต่อ)
 กลยุทธ์ของระบบงาน และการใช้ความสามารถหลักเป็นปัจจัยใน
การตัดสินใจการพิจารณางานที่ยังคงทาเอง และงานที่ให้ผู้ส่งมอบ
และคู่ค้าทา
 การมุ่งเน้นไปที่นวัตกรรมและใช้ความเสี่ยงที่ชาญฉลาด
(intelligent risk taking) ในการหาโอกาสสาหรับการสร้าง
นวัตกรรม
 ขอบเขตของแผนกลยุทธ์กับการทางานขององค์กร
 ขอบเขตของการใช้เป้าหมายวัดการทางาน ทุกระดับขององค์กร
ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม (ต่อ)
 หลักฐานของการประเมินผลและการปรับปรุงกระบวนการทางาน
และประสิทธิผลของระบบ
 วงรอบเวลาการปรับปรุงในการทางาน และกระบวนการ
ดาเนินงานอื่น ๆ
 ขอบเขตของการบูรณาการกันของทุกกระบวนการทางาน รวมทั้ง
การงานสนับสนุน และการจัดการห่วงโซ่อุปทาน
 ขอบเขตและการใช้การเทียบเคียง (benchmarking)
การติดต่อกับผู้สมัครก่อนที่จะเยี่ยมชมจริง
 องค์กรผู้สมัครมักต้องให้ข้อมูลต่อไปนี้ ก่อนที่การเยี่ยมชมจะ
เริ่มต้น:
รายชื่อผู้ติดต่อที่สาคัญ
แผนภูมิองค์กร
ลักษณะรูปแบบของสถานที่
ข้อมูลเพิ่มเติมจากการร้องขอ ของผู้ตรวจประเมิน
การดาเนินการของทีมผู้ตรวจประเมิน ในการเยี่ยมชม
 ผู้ตรวจประเมินไม่ได้รับอนุญาตให้หารือเกี่ยวกับการค้นพบกับ
บุคคลภายนอกทุกคน ยกเว้นสมาชิกในทีม
 ผู้ตรวจประเมินจะไม่เปิดเผยเรื่องต่อไปนี้ กับผู้สมัคร:
ผลจากการสังเกตบุคคลหรือทีม และผลที่พบ
ผลสรุปและการตัดสินใจ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับระบบการทางานของผู้สมัคร ไม่ว่าจะเป็นคา
ชมหรือวิจารณ์
การดาเนินการของทีมผู้ตรวจประเมิน ในการเยี่ยมชม (ต่อ)
 ผู้ตรวจประเมินจะไม่หารือเรื่องต่อไปนี้ กับทุกคน:
ข้อสังเกตเกี่ยวกับผู้สมัครอื่น ๆ
รายชื่อของผู้สมัครอื่น ๆ
 ผู้ตรวจประเมินไม่ยอมรับของขวัญหรือบาเหน็จใด ๆ และองค์กร
ผู้สมัครก็ไม่ควรจัดให้
 สุดท้าย ในการเข้าเยี่ยมสถานที่ ผู้ตรวจประเมินไม่ได้รับอนุญาต
ให้นาหรือรับวัสดุใด ๆ ที่เป็นของผู้สมัคร รวมทั้งสิ่งใด ๆ ที่
ผู้สมัครมักจะมอบให้กับผู้เข้าเยี่ยมชม
การเปิดประชุม
 ในการเปิดประชุม จะมีการกาหนดเวลา ที่จะแนะนาทุกฝ่ ายและ
กาหนดการการเยี่ยมชม
 ผู้เข้าร่วมประชุมโดยปกติ จะเป็นผู้บริหารระดับสูง และทีมงาน
การเขียนแบบประเมินตนเอง
 ผู้นาของทีมผู้เยี่ยมชม เริ่มการประชุมโดยการแนะนาทีมงาน และ
ทบทวนกฎระเบียบของการเข้าเยี่ยมชม
การเปิดประชุม (ต่อ)
 หลังจากที่ผู้นาทีมเปิดการประชุม องค์กรผู้สมัครมักจะมีเวลาหนึ่ง
ชั่วโมง ในการนาเสนอข้อมูลใด ๆ ที่เชื่อว่า เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้ตรวจ
ประเมินควรรับทราบ
 ซึ่งรวมถึงเวลาสาหรับการเที่ยวชมทุกหน่วย ในกรณีที่จาเป็น
 ทันทีหลังจากการเปิดประชุม ผู้ตรวจประเมินมักจะพบกับผู้นา
ระดับสูง และผู้ที่รับผิดชอบในการเตรียมแบบประเมิน เนื่องจาก
คนเหล่านั้น มีแนวโน้มที่จะอยู่ในที่ประชุมอยู่แล้ว
การดาเนินการเยี่ยมชม
 ทีมงานจะดาเนินการไปตามแผนเข้าเยี่ยมชม อาจมีการ
ปรับเปลี่ยนเป็นระยะ ๆ ตามผลของการค้นพบ
 ทีมงานที่เข้าเยี่ยมชม จะต้องมีห้องพักส่วนตัวในสถานที่
ประกอบการ เพื่อประชุมกันบ่อย ๆ และตัวแทนจากผู้สมัครไม่
อนุญาตให้อยู่ในห้องพักส่วนตัวนี้
 ทีมงานยังคงดาเนินการประชุมต่อในช่วงเย็นที่โรงแรม เพื่อ
ทบทวนผลการค้นพบ เขียนข้อคิดเห็น แก้ไขรายงานการเยี่ยมชม
และแก้ไขวาระการเยี่ยมชมในวันต่อไป
การดาเนินการเยี่ยมชม (ต่อ)
 ถ้าในระหว่างการเข้าเยี่ยมชม ถ้ามีใครบางคนจากองค์กรผู้สมัคร
เชื่อว่า ทีมเยี่ยมชมหรือสมาชิกใด ๆ พลาดจุดที่สาคัญไป ให้
ผู้รับผิดชอบในการติดต่อ แจ้งให้ผู้นาทีมเยี่ยมชมทราบ
 นอกจากนี้ หากคนจากองค์กรเห็นว่า ผู้ตรวจประเมินคนใดมีความ
ประพฤติไม่เหมาะสม ควรแจ้งให้ผู้รับผิดชอบในการติดต่อแจ้งให้
ผู้นาทีมเยี่ยมชมรับทราบ
การดาเนินการเยี่ยมชม (ต่อ)
 บุคลากรควรได้รับคาแนะนาให้ทาเครื่องหมายทุกเอกสารที่ส่งเข้า
รับการตรวจ โดยมีชื่อและสถานที่การทางานของบุคคลที่ให้
เอกสาร เพื่อให้แน่ใจว่า จะได้ถูกส่งกลับไปยังบุคคลที่ถูกต้อง
 ทีมตรวจควรจัดทาประวัติของเอกสาร ที่กาหนดให้สมาชิกในทีม
ได้ศึกษา
 บุคลากรต้องไม่ขอให้ผู้ตรวจประเมินแสดงความคิดเห็นและให้
คาแนะนา ผู้ตรวจประเมินก็ไม่ได้รับอนุญาตที่จะให้ข้อมูลประเภท
นี้ ในระหว่างการเยี่ยมชมสถานที่
ประเภทของคาถาม
 ต่อจากนี้ ไป จะเป็นชนิดของคาถามที่ผู้ตรวจประเมินมีแนวโน้มที่
จะถาม ในระหว่างขั้นตอนการเข้าชมสถานที่ ที่มีพื้นฐานอยู่ใน
เกณฑ์ Baldrige
 ในระหว่างการเยือนสถานที่ คาถามที่เกิดขึ้นจริง จะได้รับการปรับ
ให้เหมาะสมกับปัจจัยสาคัญเฉพาะเจาะจงขององค์กร ที่มีความ
เกี่ยวข้องมากที่สุด
 คาถามที่นาเสนอให้กับผู้สมัครและสาหรับผู้ตรวจประเมินนี้ เป็น
การช่วยเตรียมความพร้อม ในกระบวนการเยี่ยมชมสถานที่
เคล็ดลับการตอบคาถาม: การปรับปรุงกระบวนการทางาน
 ผู้นาและบุคลากรมักจะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการที่พวกเขามีในวันนี้ พวกเขา
มักลืมที่จะอธิบายวิธีการที่พวกเขาปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็ นระบบ ที่
แสดงให้เห็นว่า พวกเขาได้ทาการพัฒนามาก่อนที่จะมีการดาเนินการอย่าง
ในทุกวันนี้
 ดังนั้น หลังจากการเรียนรู้วิธีการทางาน ผู้ตรวจประเมินทุกคนควรถาม
คาถามต่อไปนี้ : "คุณทาด้วยวิธีนี้ เสมอหรือ? วิธีที่คุณทาก่อนหน้านี้ เป็ น
อย่างไร? ทาไมคุณจึงเปลี่ยน? คุณมีการปรับปรุงเพิ่มเติมในการทางาน
หรือไม่?"
 หากผู้ตรวจประเมินไม่ได้ถามคาถามเหล่านี้ บุคลากรแต่ละคนควรตอบ
เสมือนว่าพวกเขาถูกถาม
หมวด 1 การนาองค์กร
1. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (ความเข้าใจเกี่ยวกับค่านิยม)
[1.1ก(1)]
 (ถามผู้นาระดับสูง) กรุณาบอกเล่าเกี่ยวกับค่านิยมขององค์กรของ
คุณ
 สุ่มเลือกบุคคลหนึ่งในทีมนาและถามว่า คุณคิดว่าค่านิยมนี้ เป็น
สิ่งสาคัญเพื่อเป็นแนวทางในการนาองค์กรอย่างไร?
 คุณมั่นใจได้อย่างไรว่าผู้นาคนอื่น ๆ หรือบุคลากรเข้าใจค่านิยม
นี้ ? คุณจะทาให้แน่ใจได้อย่างไรว่าผู้ส่งมอบ ลูกค้า และผู้มีส่วนได้
เสียอื่น ๆ เข้าใจค่านิยมนี้ ?
2. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (ความมุ่งมั่นต่อค่านิยม) [1.1ก
(1)]
 (ถามผู้นา) คุณได้กระทาอะไรบ้าง ในการโน้มน้าวให้บุคลากรของ
คุณ ลูกค้า ผู้ส่งมอบ และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ ว่า คุณมีความ
มุ่งมั่นอย่างเต็มที่ต่อค่านิยมที่คุณกล่าวถึง? (ถามบุคลากร) อะไร
คือค่านิยมที่มีความสาคัญขององค์กร? ผู้นาของคุณทาอะไรที่จะ
แสดงให้คุณเห็นว่า เขาหรือเธอเชื่อว่าค่านิยมเหล่านี้ มีความสาคัญ
จริง และปฏิบัติตามนั้น ?
3. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (การจัดลาดับความสาคัญ
วิสัยทัศน์)
 (ถามผู้นาระดับสูง) โปรดอธิบายวิสัยทัศน์องค์กรของคุณ สิ่งที่มี
ความสาคัญสูงสุด เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์คืออะไร?
 คุณจะทาอย่างไรเพื่อให้มั่นใจว่า บุคลากรทั้งหมดของคุณเข้าใจ
วิสัยทัศน์ขององค์กร และมีการจัดลาดับความสาคัญ รวมถึงผล
การดาเนินการที่พวกเขาต้องทาเพื่อให้บรรลุ?
3. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (การจัดลาดับความสาคัญ
วิสัยทัศน์)(ต่อ)
 คุณจะรู้ประสิทธิผลของการปลูกฝังวิสัยทัศน์และค่านิยม ในการ
ทางานของผู้ใต้บังคับบัญชาของคุณได้อย่างไร รวมถึงการสื่อสาร
ให้กับลูกค้า คู่ค้า และผู้ส่งมอบ?
 คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าข้อความของคุณนั้น บุคลากร ลูกค้า คู่ค้า
และผู้ส่งมอบ มีความเข้าใจอย่างที่คุณตั้งใจ?
4. การส่งเสริมพฤติกรรมตามกฎหมายและจริยธรรม [1.1ก(2)]
 อะไรที่คุณ (ผู้นา) ได้แสดงให้เห็นถึงการกระทา ที่มุ่งมั่นปฏิบัติ
ตามกฎหมายและจริยธรรม? ช่วยอธิบายการกระทาของคุณ คุณ
ทาอย่างไรเพื่อที่จะทาให้แน่ใจว่า ทุกคนในองค์กรมีพฤติกรรมที่
ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม? อะไรคือกฎของจริยธรรมที่
จะต้องไม่มีการละเมิด (โดยเด็ดขาด)?
4. การส่งเสริมพฤติกรรมตามกฎหมายและจริยธรรม (ต่อ)
 อะไรคือสิ่งที่เกิดขึ้น เมื่อมีคนแม้กระทั่งผู้จัดการอาวุโสละเมิดกฎ
เหล่านี้ ? ให้ถามบุคลากรด้วยคาถามเดียวกัน
 กระบวนการที่คุณใช้ เพื่อให้บรรลุพฤติกรรมที่มีจริยธรรมที่
ต้องการคืออะไร? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ผลเป็นอย่างไร?
คุณรู้ได้อย่างไร?
 สิ่งที่ได้รับการดาเนินการเพื่อปรับปรุงคืออะไร?
5. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความเข้าใจเกี่ยวกับการ
พัฒนาอย่างยั่งยืน) [1.1ก(3)]
 มีความหมายอย่างไรกับคุณ (ผู้นาอาวุโส) ในการสร้างองค์กรที่
ประสบความสาเร็จในปัจจุบันนี้ และในอนาคต? คุณทาอย่างไรให้
แน่ใจว่า องค์กรของคุณจะยังคงเก่ง แม้หลังจากที่คุณออกไป
แล้ว? (หมายเหตุ: "ผมไม่ได้วางแผนที่จะออก" ไม่ได้เป็นคาตอบ
ที่ยอมรับได้ ให้อ้างสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น ถ้าคุณบังเอิญถูกชนด้วยรถ
บัส หรือไร้ความสามารถด้วยเหตุอื่น ๆ?) คุณได้ทาอะไร ที่จะ
สนับสนุนการวางแผนการสืบทอดตาแหน่ง?
6. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (การเรียนรู้) [1.1ก(3)]
 คุณได้ทาอะไรที่จะเพิ่มการเรียนรู้ (ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง) ทั่วทั้ง
องค์กร ทุกหน่วยงาน และบุคลากรทั้งหมด? อะไรคือตัวอย่างของ
ความรู้ใหม่ที่พวกเขาได้รับ?
7. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (มีผลสัมฤทธิ์สูงอย่าง
ยั่งยืน) [1.1ก(3)]
 อะไรคือเทคนิคที่คุณใช้ เพื่อให้พันธกิจขององค์กรประสบ
ความสาเร็จ และประสบความสาเร็จในระดับชนะเลิศ เป็นผู้นาใน
อุตสาหกรรมหรือภาคส่วนของคุณ?
8. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (สิ่งแวดล้อมเพื่อการ
พัฒนา) [1.1ก(3)]
 เกณฑ์ถามเรื่อง "การสร้างสภาพแวดล้อมหรือวัฒนธรรม" หลาย
สิ่งหลายอย่าง เช่นการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร
ประสิทธิภาพการนา ประสิทธิภาพการทางาน และการเรียนรู้ของ
องค์กรและส่วนบุคคล คุณจะทาอย่างไรเพื่อให้แน่ใจว่า
สภาพแวดล้อม หรือวัฒนธรรมนี้ เป็นไปทั่วทั้งองค์กร?
9. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความผูกพัน นวัตกรรม
ความคล่องตัว) [1.1ก (3)]
 นวัตกรรมมีความหมายอะไรกับคุณ? สาหรับบุคลากรของคุณ?
สาหรับองค์กรของคุณ? คุณใช้กระบวนการอะไร ที่จะกระตุ้นให้
เกิดนวัตกรรม? วิธีการที่เป็นนวัตกรรมที่คุณได้มีส่วนร่วมในการ
ปฏิบัติเองคืออะไร? นวัตกรรมที่ได้มาจากบุคลากรของคุณคือ
อะไร?
9. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความผูกพัน นวัตกรรม
ความคล่องตัว) (ต่อ)
 ความผูกพันของลูกค้ามีความหมายอะไรกับคุณ? คุณทาอย่างไร
ในการสร้างวัฒนธรรม ที่บุคลากรให้ประสบการณ์เชิงบวกแก่
ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มความผูกพันของลูกค้า?
 ความคล่องตัวขององค์กรมีความหมายอะไรกับคุณ? สิ่งที่เป็น
อุปสรรคต่อความคล่องตัวที่คุณระบุไว้คืออะไร? เลือกอุปสรรคมา
บางอย่างและถามว่า สิ่งที่คุณทาเพื่อเอาชนะอุปสรรคนี้ คืออะไร?
9. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความผูกพัน นวัตกรรม
ความคล่องตัว) (ต่อ)
 อะไรคือกระบวนการที่คุณใช้ที่จะให้แน่ใจว่า นวัตกรรมและ
ความรู้อื่น ๆ มีการใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิผลทั่วทั้งองค์กร?
กระบวนการนี้ ทางานได้ดีเพียงไร? คุณรู้ได้อย่างไร? อะไรคือ
นวัตกรรมที่ใช้ร่วมกัน?
 คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า การสร้างนวัตกรรมหรือความคิดใหม่ คุ้มค่า
กับความเสี่ยง?
10. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (การปรับปรุงภาวะผู้นา)
 อะไรคือกระบวนการที่คุณใช้ เพื่อช่วยเพิ่มทักษะความเป็นผู้นา
เป็นส่วนบุคคลของคุณ? ช่วยยกตัวอย่างของการปรับปรุงที่คุณได้
ทา ในการเพิ่มทักษะความเป็นผู้นาของคุณเอง
11. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (การสืบทอดผู้นา)
[1.1ก(3)]
 กรุณาอธิบายวิธีการที่คุณใช้ในการเตรียมคน สาหรับบทบาทผู้นา
บทบาทของคุณในความพยายามนี้ คืออะไร? (ถ้าพวกเขามี
โปรแกรมที่จะเตรียมความพร้อมผู้นาในอนาคต)
 ใครบ้างที่อยู่ในที่นี้ มีส่วนร่วมในความพยายามที่จะพัฒนาผู้นาใน
อนาคต? (ถ้ามีใครที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สุ่มเลือกมาหนึ่งหรือสองคน
ที่จะสัมภาษณ์เพื่อประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ) คุณจะรู้
ว่าได้ผลได้อย่างไร? การปรับปรุงสิ่งที่คุณได้ทาคืออะไร?
12. การสื่อสาร (สองทิศทาง) [1.1ข(1)]
 การสื่อสารสองทิศทางมีความหมายกับคุณ (ผู้นา) อย่างไร ? คุณ
ทาอย่างไรที่จะส่งเสริมการสื่อสารสองทิศทางในทุกระดับของ
องค์กร? กระบวนการมีการใช้กันจริงอย่างแพร่หลายอย่างไร?
คุณทาอย่างไรเพื่อประเมินว่าการสื่อสารสองทิศทางว่ามี
ประสิทธิผล?
 ในการประเมินการใช้งาน ขอให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง อธิบาย
วิธีการสื่อสารสองทิศทางในการทางาน และแน่ใจว่าพวกเขาได้ใช้
มันจริง
13. การสื่อสาร (บุคลากรและผู้ส่งมอบ) [1.1ข(1)]
 อะไรคือวิธีที่คุณสื่อสารข้อมูลที่สาคัญ รวมถึงการตัดสินใจที่สาคัญ
ให้บุคลากรทั้งหมดทั่วทั้งองค์กร (รวมทั้งอาสาสมัครที่เกี่ยวข้อง)
คู่ค้าที่สาคัญ และผู้ส่งมอบ? ชนิดของข้อมูลที่คุณสื่อสารคืออะไร?
ขอบเขตที่คุณใช้สื่อสังคมและเทคนิคการใช้เว็บอื่น ๆ ในการ
สื่อสารคืออะไร? คุณจะทาเช่นนี้ เมื่อใด?
13. การสื่อสาร (บุคลากรและผู้ส่งมอบ) (ต่อ)
 คุณรู้ได้อย่างไรว่า การสื่อสารของคุณได้รับความเข้าใจอย่างที่คุณ
ตั้งใจ? ชนิดของการสื่อสาร หรือข้อเสนอแนะ ที่คุณได้รับจาก
บุคลากร และคู่ค้า/ผู้ส่งมอบคืออะไร? คุณทาอย่างไรกับข้อมูล
เหล่านี้ ? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ดีเพียงใด? คุณรู้ได้
อย่างไร? สิ่งที่ได้ดาเนินการเพื่อปรับปรุงคืออะไร?
14. การสื่อสาร (ลูกค้า) [1.1ข(1)]
 อะไรคือวิธีที่คุณใช้สื่อสารข้อมูลที่สาคัญ รวมทั้งการตัดสินใจที่
สาคัญกับลูกค้า? ชนิดของข้อมูลที่คุณสื่อสารคืออะไร?
 ขอบเขตที่คุณใช้สื่อสังคมและเทคนิคการใช้เว็บอื่น ๆ ในการ
สื่อสารคืออะไร? สื่อสังคมที่เฉพาะเจาะจงที่คุณใช้คืออะไร?
เมื่อใดที่คุณจะทาเช่นนี้ ? (หมายเหตุ: ถ้าคนที่คุณกาลังสัมภาษณ์
ไม่เข้าใจสื่อสังคมที่คุณพูด อาจแนะนาตัวอย่างเช่น การส่ง
ข้อความผ่านเว็บไซต์ภายในและภายนอก ทวิตเตอร์ เว็บไซต์ และ
บล็อก)
14. การสื่อสาร (ลูกค้า) (ต่อ)
 คุณทาอย่างไรในการสร้างความผูกพันของลูกค้า?
 คุณรู้ได้อย่างไรว่าการสื่อสารของคุณ ได้รับความเข้าใจอย่างที่คุณ
ตั้งใจ? ชนิดของการสื่อสารหรือข้อเสนอแนะ ที่คุณได้รับจาก
ลูกค้าคืออะไร? คุณได้ทาอย่างไรกับข้อมูลเหล่านี้ ? กระบวนการ
เหล่านี้ ทางานได้ผลเป็นอย่างไร? คุณรู้ได้อย่างไร? การ
ดาเนินการเพื่อปรับปรุงคืออะไร?
15. การสื่อสาร (ส่งเสริมผลการดาเนินการที่ดี) [1.1ข(1)]
 อะไรคือบทบาทของคุณ ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานที่เป็ นเลิศ
(มีผลการดาเนินการที่ดี)
 คุณทาอย่างไร ในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นวัตกรรม
ความผูกพันของบุคลากร และสร้างแรงจูงใจ? โปรดระบุตัวอย่าง
ของความผูกพันที่ดีขึ้น หรือแรงจูงใจทั่วทั้งองค์กร ที่เป็นผลมา
จากความพยายามของคุณ วิธีที่คุณมีส่วนร่วมในการให้รางวัลและ
การยกย่องคืออะไร?
15. การสื่อสาร (ส่งเสริมผลการดาเนินการที่ดี) (ต่อ)
 คุณเสริมสร้างการทางานที่มีผลการดาเนินการที่ดี มุ่งเน้นลูกค้า
และธุรกิจอย่างไร? (ติดตามตัวอย่างเหล่านี้ กับคนอื่น ๆ)
 คุณมั่นใจได้อย่างไรว่า ผู้บริหารระดับกลาง และผู้ใต้บังคับบัญชา
อื่น ๆ ส่งเสริมความผูกพันของบุคลากร และสร้างแรงจูงใจทั่วทั้ง
องค์กร?
16. การทาให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง (นวัตกรรมและความ
เสี่ยงที่ชาญฉลาด) [1.1ข(2)]
 ขั้นตอนที่คุณ (ผู้นาอาวุโส) มุ่งเน้นการดาเนินการเกี่ยวกับการ
ดาเนินงานขององค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของพันธกิจและ
วิสัยทัศน์คืออะไร? สิ่งที่คุณได้กระทาในการปรับปรุง
ประสิทธิภาพคืออะไร? (ผู้นาบางคนอาจจะใช้เทคนิคเช่น PDCA,
Six Sigma และ Lean เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง)
16. การทาให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง (นวัตกรรมและความ
เสี่ยงที่ชาญฉลาด) (ต่อ)
 คุณได้ทาอะไร เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม และการวิเคราะห์
ความเสี่ยง?
 ข้อมูลผลการดาเนินการ [เชื่อมโยงไป 4.1] ที่คุณใช้เพื่อประเมิน
ว่า ประโยชน์ของนวัตกรรมที่นาเสนอ มีความคุ้มค่ากับความเสี่ยง
(ความเสี่ยงที่ชาญฉลาด) มีแนวโน้มที่จะประสบความสาเร็จ หรือ
การกระทาอื่น ๆ ที่มีความจาเป็น?
17. การทาให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง (คุณค่าของลูกค้า) [1.1ข
(2)]
 กลุ่มลูกค้าต่างๆของคุณ มีความสาคัญที่แตกต่างกัน หรือมีคุณ
ค่าที่แตกต่างกันอย่างไร? ถ้ามี ขอให้ตัวอย่าง เลือกบางส่วนที่มี
ความแตกต่าง และถามว่า คุณจะทาอย่างไรให้แน่ใจว่า องค์กร
ของคุณ ตอบสนองความต้องการที่แตกต่างกันเหล่านี้ อย่างสมดุล
และส่งมอบสิ่งที่ลูกค้าต้องการมากที่สุด?
18. วิสัยทัศน์ ค่านิยม การมุ่งเน้นไปที่การกระทา [1.1ก(1), 1.1ข
(2)] [เชื่อมโยงไปยัง P.1ข(2) และ 3.2ก(1)]
 กลุ่มลูกค้าสาคัญของคุณหรือกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียคืออะไร? เลือก
มาหนึ่งอย่างและถามว่า สิ่งที่ลูกค้าหรือผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มนี้
ต้องการคืออะไร?
 ความต้องการ หรือความคาดหวังของลูกค้ากลุ่มนี้ แตกต่างจาก
กลุ่มอื่น ๆ อย่างไร? ถ้าเป็นเช่นนั้น อะไรคือสิ่งที่แตกต่าง และ
วิธีการที่คุณมั่นใจได้อย่างไรว่า องค์กรของคุณได้ตอบสนองความ
สนใจที่แตกต่างของกลุ่มเหล่านี้ ?
หมวด 1 การนาองค์กร
1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ?
[1.2ก(1)]
 เปอร์เซ็นต์ของคณะกรรมการ ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กรของ
คุณคืออะไร?
 คุณจะทาอย่างไรให้แน่ใจว่า การตรวจประเมินขององค์กร มี
ประสิทธิผลและเป็นอิสระ?
 อะไรคือปัญหาในอดีตที่ผ่านมา ซึ่งผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย
ถูกคุกคาม? ถ้าเป็นเช่นนั้น สิ่งที่ได้กระทา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
ปัญหาซ้าอีกคืออะไร?
1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ?
(ต่อ)
 คณะกรรมการแน่ใจได้อย่างไรให้ว่า ผู้บริหารระดับอาวุโส
ประพฤติอย่างถูกต้องและมีความรับผิดชอบต่อการกระทาของ
พวกเขา รวมถึงความรับผิดชอบเพื่อให้บรรลุแผนกลยุทธ์?
 อะไรคือนโยบายที่ใช้ เพื่อให้แน่ใจว่าคณะกรรมการยังคงตื่นตัว
และตระหนักถึงปัญหาการจัดการในองค์กร?
1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ?
(ต่อ)
 ประเภทของการกากับดูแลของคณะกรรมการการมีอะไรบ้าง? สิ่ง
ที่เป็นปัญหาหรือประเด็นที่คณะกรรมการได้มีการระบุไว้ในอดีตที่
ผ่านมา 3-5 ปีคืออะไร? เลือกมาบางอย่าง และขอให้เล่า
ปฏิกิริยาของคณะกรรมการในการแก้ไขปัญหานี้ ? ผลการแก้ไข
เป็นอย่างไร? อะไรคือขั้นตอนที่ถูกนามาใช้ เพื่อป้องกันไม่ให้
ปัญหาเกิดขึ้นอีก?
1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ?
(ต่อ)
 สาหรับองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร: ช่วยอธิบายกระบวนการของคุณ
สาหรับการให้บริการที่น่าเชื่อถือได้ของกองทุนสาธารณะ? สิ่งที่
ต้องเน้นความสาคัญของการดูแลนี้ คืออะไร?
 กระบวนการที่คณะกรรมการใช้อย่างมีประสิทธิผล ในการปกป้อง
คุณค่าผู้ถือหุ้นคืออะไร? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ผลเป็น
อย่างไร? คุณรู้ได้อย่างไร? สิ่งที่ได้ดาเนินการในการประเมินและ
ปรับปรุงคืออะไร?
2. การประเมินผลการดาเนินการ (ระบบการนาองค์กร) [1.2ก(2)]
 (ถามผู้บริหารระดับอาวุโส) คุณทาอย่างไรในการประเมิน
ประสิทธิผลของระบบการนาองค์กร? คุณประเมินประสิทธิผล
ความเป็นผู้นาของคุณอย่างไร?
 โปรดระบุตัวอย่างที่เฉพาะเจาะจง ที่คุณและระบบภาวะผู้นาดีขึ้น
เป็นผลมาจากการประเมินเหล่านี้ ? ผู้จัดการ ประเมินและ
ปรับปรุงประสิทธิภาพผล การเป็นผู้นาของพวกเขาอย่างไร?
ข้อมูลจากการประเมินผลการปฏิบัติขององค์กร ได้นาไปใช้
ประโยชน์อย่างไร?
3. การประเมินผลการดาเนินการ (ผู้นาอาวุโส) [1.2ก(2) เชื่อมโยงไปยัง
5.2ก(4)]
 องค์กรมีหลักเกณฑ์ในการส่งเสริมและให้รางวัลผู้นาภายในองค์กร
อย่างไร?
 คุณทาอย่างไร ให้ผู้นาและผู้บริหารระดับสูง รับผิดชอบในการปรับปรุง
ประสิทธิภาพการทางาน ความผูกพันของบุคลากร และลูกค้ามีความพึง
พอใจ? (สุ่มเลือกการประเมินผู้นา และตรวจดูว่าพวกเขาสะท้อนให้เห็นถึง
การปรับปรุง บนพื้นฐานของผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กร และ
ข้อเสนอแนะของผู้ปฏิบัติงานหรือไม่ ถ้าผู้ถูกถามไม่เต็มใจที่จะแบ่งปัน
ข้อมูลส่วนบุคคล เช่นการประเมินประสิทธิภาพการทางาน ให้บอกผู้ติดต่อ
ขององค์กรว่า อาจมีการปกปิดข้อมูลในการตรวจประเมินของคุณ)
3. การประเมินผลการดาเนินการ (ผู้นาอาวุโส) (ต่อ)
 ช่วยอธิบายระบบที่คุณใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ
ผู้นาระดับสูง เพื่อช่วยในการกาหนดค่าตอบแทนผู้บริหาร การได้
ค่าตอบแทนของคุณมีผลกระทบอย่างไร?
 กรุณาให้ตัวอย่างการประเมินผลการปฏิบัติงานถูกนามาใช้ เพื่อ
ช่วยในการพัฒนาทักษะการเป็นผู้นา และการปรับปรุง
ประสิทธิภาพของตัวผู้นา ช่วยเล่าถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพ
ของผู้นาทั่วทั้งองค์กรครั้งล่าสุด
3. การประเมินผลการดาเนินการ (ผู้นาอาวุโส) (ต่อ)
 คุณมีวิธีการปรับปรุงกระบวนการในการประเมินผู้บริหารระดับ
อาวุโสและผู้จัดการ ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมาอย่างไร?
 กระบวนการที่ใช้ในการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของ
คณะกรรมการโดยรวม และสมาชิกในคณะกรรมการของแต่ละ
บุคคลคืออะไร? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ผลเป็นอย่างไร?
คุณรู้ได้อย่างไร? สิ่งที่ได้รับการดาเนินการในการปรับปรุง
กระบวนการเหล่านี้ คืออะไร?
4. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ (ความเสี่ยงต่อ
สาธารณะ) [1.2ข(1)]
 คุณคาดการณ์ความกังวลของประชาชนอย่างไร ถึงผลกระทบที่
เป็นไปได้จากองค์กรของคุณ? คุณกาหนดสิ่งที่มีความเสี่ยงต่อ
สาธารณะจากผลิตภัณฑ์ จากการให้บริการ และจากการ
ดาเนินงาน ในปัจจุบันหรือในอนาคตของคุณอย่างไร ?
4. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ (ความเสี่ยงต่อ
สาธารณะ) (ต่อ)
 อะไรคือตัวอย่างของความเสี่ยงที่คุณได้ระบุว่าเป็นเรื่องทั่วไป ใน
เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการห่วงโซ่
อุปทานที่มีประสิทธิผล? สุ่มเลือกความเสี่ยง และขอให้อธิบาย สิ่ง
ที่คุณทาเพื่อลดความเสี่ยงหรือภัยคุกคามต่อประชาชนว่าคือ
อะไร? คุณจะรู้ว่าคุณจะประสบความสาเร็จในเรื่องเหล่านี้ ได้
อย่างไร? คุณวัดความก้าวหน้าอย่างไร?
4. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ (ความเสี่ยงต่อ
สาธารณะ) (ต่อ)
 ตัววัดและเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนา ในการระบุและลดความ
เสี่ยงที่มีต่อประชาชนคืออะไร?
 คุณจะรู้ได้อย่างไรว่ากระบวนการของคุณ มีประสิทธิผลในการ
ปกป้องประชาชนจากความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และ
บริการ และแผนการของคุณ? คุณมีวิธีการปรับปรุงกระบวนการ
เหล่านี้ อย่างไร?
5. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ [1.2ข(1)]
 อะไรคือกระบวนการที่ใช้ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรทาง
ธรรมชาติ? คุณประเมินการอนุรักษ์ว่ามีความสาคัญอย่างไร?
ประสิทธิผลของกระบวนการอนุรักษ์เหล่านี้ เป็นอย่างไร? คุณรู้ได้
อย่างไร?
 อะไรคือสิ่งที่สาคัญที่สุดการปฏิบัติตามข้อกาหนดทางกฎหมาย
หรือกฎระเบียบขององค์กรของคุณ (เช่น EPA, FDA, CMS) เลือก
หนึ่งอย่างและถามว่า คุณทาอย่างไรเพื่อให้แน่ใจว่า คุณ
ตอบสนองได้ตามที่กาหนดหรือเกินความต้องการในเรื่องนี้ ?
6. การพฤติกรรมทางจริยธรรม [1.2ข(2)]
 อะไรคือวิธีการที่องค์กรของคุณทาเพื่อให้แน่ใจว่า บุคลากรและคู่ค้าที่
สาคัญ ทาหน้าที่อย่างมีจริยธรรมในการดาเนินธุรกิจทั้งหมด รวมถึง
การทาธุรกรรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย? วิธีการวัดและประเมินเพื่อให้
แน่ใจว่า พฤติกรรมที่มีจริยธรรมจะยังคงอยู่คืออะไร?
 (หมายเหตุ: ตัววัดอาจรวมถึงกรณีของการละเมิดจริยธรรมหรือการ
ปฏิบัติตาม และการตอบสนองต่อผลการสารวจการรับรู้ของบุคลากร
เรื่องจริยธรรมขององค์กร การใช้สายด่วนจริยธรรม และผลลัพธ์ความ
คิดเห็นเรื่องจริยธรรมและการประเมิน)
 สิ่งที่ละเมิดหรือการละเมิดจริยธรรมที่เกิดขึ้นมีอะไรบ้าง? เลือกมา
หนึ่งอย่าง และขอให้อธิบายผลลัพธ์ของการละเมิดนี้ ?
7. ความผาสุกของสังคม [1.2ค(1)]
 สิ่งที่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ใหญ่ที่สุด ที่องค์กรของคุณเผชิญคือ
อะไร? ในฐานะที่เป็นพลเมืองดี อะไรคือกระบวนการของคุณได้
ช่วยเหลือ เพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อม? สาหรับการปรับปรุง
ระบบสังคม ระบบเศรษฐกิจ หรือสังคม?
7. ความผาสุกของสังคม (ต่อ)
 ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ให้ถามว่า องค์กรของ
คุณมีส่วนร่วมในเศรษฐกิจของท้องถิ่น (หรือรัฐ ประเทศ โลก
ขึ้นอยู่กับพันธกิจและการเข้าถึงขององค์กร) อย่างไร? เพื่อ
ประกอบการพิจารณาในที่นี้ อาจรวมถึงการใช้เทคโนโลยีสีเขียว
กิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากร การลดลงของการปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ การปรับปรุงในผลกระทบทางสังคม เช่นการ
ใช้แรงงาน การลดของเสีย และการสนับสนุนการให้บริการชุมชน
ในท้องถิ่น เช่นโรงเรียน โรงพยาบาล หรือคลินิก และสมาคม
วิชาชีพ
8. การสนับสนุนชุมชน [1.2ค(2)]
 สิ่งที่องค์กรของคุณสนับสนุนให้กับชุมชนท้องถิ่นคืออะไร?
 ทาไมคุณถึงให้การสนับสนุนนี้ ? วิธีสนับสนุนนี้ สอดคล้องกับการ
ลาดับความสาคัญขององค์กร กลยุทธ์ และเกี่ยวข้องกับ (การ
ยกระดับ) สมรรถนะหลักขององค์กรของคุณอย่างไร?
 สิ่งที่คุณ (ผู้บริหารระดับอาวุโส) ได้ทาเอง เพื่อนาไปสู่การพัฒนา
ชุมชนท้องถิ่นมีอะไรบ้าง?
8. การสนับสนุนชุมชน (ต่อ)
 องค์กรได้ทาอะไร ที่จะสนับสนุนให้บุคลากรสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับองค์กรชุมชนในท้องถิ่น? (หมายเหตุ: สาหรับองค์กรการ
กุศล การสนับสนุนสังคมและชุมชนเป็นหน้าที่สาคัญของพวกเขา
ผ่านกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพันธกิจ ในกรณีดังกล่าว ความ
เหมาะสมในการกาหนดขอบเขต อยู่ที่พวกเขาได้ใช้ความพยายาม
เป็นพิเศษในการให้การสนับสนุนเพียงไร)
8. การสนับสนุนชุมชน (ต่อ)
 คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า กระบวนการที่คุณใช้ ในการระบุและให้การ
สนับสนุนชุมชนที่สาคัญ มีความเหมาะสม?
 คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า ทรัพยากรที่จัดสรรเพื่อวัตถุประสงค์เหล่านี้
ถูกนามาใช้อย่างเหมาะสม?
 สิ่งที่คุณ (ผู้นาอาวุโส) ทาเพื่อปรับปรุงความพยายามของบุคคล
และองค์กรของคุณ เพื่อสนับสนุนชุมชนเหล่านี้ คืออะไร?
หมวด 2 กลยุทธ์
1. กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ (ผู้เข้าร่วมและระยะเวลาการ
วางแผน) [2.1ก(1)]
 แผนกลยุทธ์มีการปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อใด? คุณได้มีส่วนร่วมใน
ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์หรือไม่? บทบาทของคุณคือ
อะไร? ใครบ้างที่มีส่วนร่วม และสิ่งที่แต่ละคนทาคืออะไร?
 การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณมีระยะเวลาเท่าใด? ทาไม? ทาไม
ไม่สั้นหรือยาวกว่านั้น?
1. กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (ผู้เข้าร่วมและระยะเวลาการ
วางแผน) (ต่อ)
 กระบวนการโดยรวมในการพัฒนากลยุทธ์เป็นอย่างไร? (ถามคน
ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผน ให้อธิบายวิธีการทางานโดย
ไม่ต้องอ้างเอกสาร ผู้ตรวจประเมินต้องการประเมินว่าขั้นตอนการ
วางแผนสอดคล้องกับความต้องการของเกณฑ์ และควรได้รับการ
อธิบายจากคนที่วางแผนคล้ายกัน ผู้ตรวจประเมินไม่ได้ทดสอบ
ความสามารถในการอ่านเอกสาร ที่เขียนในการวางแผน)
2. ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (การเปลี่ยนแปลง) [2.1ก(1)]
 การเปลี่ยนแปลงมีความหมายอย่างไรกับคุณ? ขอบเขตใน
ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ ได้พิจารณาความจาเป็น
ในการเปลี่ยนแปลงอย่างไร? (หมายเหตุ: ดูคาศัพท์สาหรับการ
อธิบายเรื่องของการเปลี่ยนแปลง) กรุณาให้ตัวอย่างกลยุทธ์ที่
จาเป็นขององค์กร ที่จะต้องเปลี่ยนวัฒนธรรมหรือโครงสร้าง เพื่อ
การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ
3. กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (ความคล่องตัวและความ
ยืดหยุ่น) [2.1ก(1)]
 ขอบเขตขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ ได้กล่าวถึงความ
คล่องตัวและความยืดหยุ่นขององค์กรอย่างไร? (ถาม สิ่งที่คุณทา
ได้ดี ที่ทาให้องค์กรของคุณมีความได้เปรียบในตลาด เมื่อเทียบ
กับผู้ให้บริการอื่น ๆ คืออะไร? สิ่งที่ทาให้คุณแตกต่างจากส่วนที่
เหลือคืออะไร?) จากรายการ เลือกมาหนึ่งอย่าง แล้วถามว่า คุณ
คิดว่าข้อนี้ เป็นความสามารถหลักได้อย่างไร?
4. นวัตกรรม (โอกาสเชิงกลยุทธ์และความเสี่ยงที่ชาญฉลาด)
[2.1ก(2)]
 คุณใช้ขั้นตอนการวางแผน เพื่อช่วยกระตุ้นและสนับสนุนการ
สร้างนวัตกรรมอย่างไร? โปรดให้ตัวอย่างของนวัตกรรม ที่เป็น
ผลมาจากกระบวนการในการพัฒนากลยุทธ์
 ช่วยอธิบายเกี่ยวกับโอกาสเชิงกลยุทธ์ ที่มีการระบุไว้ในขั้นตอน
การวางแผน? เลือกมาหนึ่งอย่าง และขอให้อธิบายกระบวนการ
(วิธีการวิเคราะห์ และข้อมูล) ที่ใช้ในการตัดสินใจว่า โอกาส
เชิงกลยุทธ์นี้ เป็นตัวแทนของความเสี่ยงความเสี่ยงที่ชาญฉลาด มี
คุณค่าในการดาเนินการ
5. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (ความท้าทายและความ
ได้เปรียบ) [2.1ก(3)]
 สิ่งที่ท้าทายที่องค์กรเผชิญ ที่อาจจะทาร้ายความสาเร็จในอนาคต
คืออะไร? ข้อได้เปรียบที่อาจช่วยตาแหน่งการแข่งขันของคุณและ
ในอนาคตของคุณ มีอะไรบ้าง?
 เลือกความท้าทายโดยการสุ่มจากโครงร่างองค์กร [P.2ก] และ
ถามว่า ข้อนี้ [ใส่ชื่อของความท้าทาย] มีอิทธิพลอย่างไรในการ
วางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ? ช่วยแสดงว่า แผนของคุณได้ถูก
ออกแบบมา เพื่อเอาชนะหรือบรรเทาความท้าทาย
5. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (ความท้าทายและความ
ได้เปรียบ) (ต่อ)
 เลือกความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์จากรายการในโครงร่างองค์กร
[P.2ก] และถามว่าข้อนี้ [ใส่ชื่อของความได้เปรียบ] มีอิทธิพลต่อ
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณอย่างไร? ช่วยแสดงว่าแผนของ
คุณ ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างหรือใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบนี้
(ถามคาถามเกี่ยวกับความท้าทายและความได้เปรียบอื่น ๆ
จนกว่าคุณจะพอใจ และเข้าใจวิธีการของพวกเขา)
6. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (การประสบความสาเร็จในอนาคต
[เดิมคือ การพัฒนาอย่างยั่งยืน])
 โปรดยกตัวอย่างวิธีการวางแผนของคุณ ที่วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นความ
เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระยะยาว เกี่ยวเนื่องกับความสาเร็จขององค์กร
(หมายเหตุ: ความเสี่ยงเหล่านี้ อาจยกตัวอย่างเช่น สภาพแวดล้อมการ
แข่งขันในขณะนี้ และในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบ
ต่อคุณค่าที่ให้กับลูกค้า ผลิตภัณฑ์และการบริการขององค์กร สภาพ
ภูมิอากาศ ความผูกพันของบุคลากร และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ผู้นาที่มีความสามารถปลูกฝัง (หรือไม่) ความต้องการทรัพยากร
การเงิน สังคม จริยธรรม กฎระเบียบ และปัญหาด้านความปลอดภัย
เป็นต้น)
7. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (จุดบอด) [2.1ก(3)]
 กรุณายกตัวอย่างวิธีการวางแผนของคุณ ที่ได้ช่วยให้คุณรู้ปัญหา
สิ่งที่เป็นความท้าทายหรือภัยคุกคามที่คุณอาจไม่ทราบ (หมาย
เหตุ: ที่เรียกว่าเป็นจุดบอด)
 คุณได้ทาอะไรเพื่อประเมินความถูกต้องของสมมติฐานในการ
วางแผนและการคาดการณ์ ที่คุณใช้ในอดีตที่ผ่านมา ในการ
พัฒนาแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ? อะไรคือสมมติฐานของ
ข้อบกพร่องของการวางแผนก่อนหน้านี้ ? คุณได้กระทาอะไร
เพื่อที่จะกาจัดสมมติฐานข้อบกพร่องนั้น? (หมายเหตุ: ที่เรียกว่า
จุดบอด)
8. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (ความสามารถในการดาเนิน
กลยุทธ์) [2.1ก(3)]
 กรุณายกตัวอย่าง การวางแผนการประเมินว่า องค์กรสามารถ
ดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างเช่น (เลือก
เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์มา 1 อย่าง) ทาไมคุณคิด
ว่า องค์กรของคุณสามารถทาได้? มีข้อมูลอะไร หรือปัจจัยอื่น ๆ
ที่สนับสนุน ที่ทาให้คุณมีความมุ่งมั่นในการทาเช่นนี้ ?
9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปจากหมายเหตุ 2.1
ก(3)]
 องค์กรของคุณได้ทาอะไรบ้าง ที่จะจัดการกับข้อมูลที่มีอัตรา
ปริมาณ และความเร็วมากขึ้น? อะไรคือวิธีที่คุณใช้จัดการกับ
ข้อมูล รวมถึงชุดข้อมูลขนาดใหญ่หลายอย่าง เช่น ตัวเลข สื่อ
สังคม วิดีโอ การสารวจ และการศึกษาวิจัย? (หมายเหตุ: การ
ประเมินข้อมูลที่มีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ที่เรียกว่าเป็น ข้อมูล
ขนาดใหญ่ หรือ big data)
9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปหมายเหตุ 2.1ก
(3)] (ต่อ)
 องค์กรของคุณขึ้นอยู่กับผู้ส่งมอบหรือคู่ค้าที่สาคัญ ในการประสบ
ความสาเร็จหรือไม่? ถ้าคาตอบคือใช่ ถามว่าคือใคร? เลือกมา
หนึ่งหรือสองจากรายการ และถามว่า คุณได้พิจารณาความ
ต้องการและความสามารถของผู้ส่งมอบหรือคู่ค้าเหล่านี้ ใน
ระหว่างขั้นตอนของการพัฒนาแผนกลยุทธ์ของคุณอย่างไร?
9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปหมายเหตุ 2.1ก
(3)] (ต่อ)
 องค์กรของคุณมีคู่แข่งที่สาคัญ ที่มีผลต่อการประสบความสาเร็จ
หรือไม่? ถ้าคาตอบคือใช่ ถามว่าคือใคร? เลือกมาหนึ่งหรือสอง
จากรายการ และขอให้เสนอสิ่งที่เป็นความสามารถที่คู่แข่งมี ที่
อาจสร้างปัญหาสาหรับองค์กรของคุณ? คุณได้พิจารณาภัย
คุกคามที่เกิดจากคู่แข่งที่สาคัญนี้ ในระหว่างขั้นตอนของการ
พัฒนาแผนกลยุทธ์ของคุณอย่างไร?
9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปหมายเหตุ 2.1ก(3)]
(ต่อ)
 เทคโนโลยีใหม่ ที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรของคุณคืออะไร? เลือกมา
หนึ่งหรือสองจากรายการ และถามว่า คุณได้พิจารณาเทคโนโลยีใหม่
เหล่านี้ ในระหว่างขั้นตอนของการพัฒนาแผนกลยุทธ์ของคุณอย่างไร?
 อะไรคือกฎระเบียบ กฎหมาย การเงิน เศรษฐกิจ ความเสี่ยง หรือ
จริยธรรม ที่องค์กรของคุณต้องเผชิญในอนาคต? เลือกมาบางอย่าง
และถามว่า คุณได้ประเมินเรื่องนี้ ว่าเป็นความเสี่ยงอย่างไร? คุณได้
พิจารณาปัญหาที่อาจเกิดโดยความเสี่ยงนี้ ในขั้นตอนการพัฒนาแผน
ของคุณอย่างไร?
10. ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์กร [2.1ก(4)]
 (ระบบงาน ครอบคลุมการทางานทั้งหมดขององค์กร ที่จะต้องใช้
ทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกในการประสบความสาเร็จ
เพื่อให้บรรลุพันธกิจ ดังนั้นระบบงานเกี่ยวข้องกับบุคลากรภายใน
องค์กร และผู้ส่งมอบและคู่ค้าภายนอกที่สาคัญ ผู้รับเหมาและ
ส่วนประกอบอื่น ๆ ของห่วงโซ่อุปทาน ทางานร่วมกัน) ช่วย
อธิบายวิธีการที่คุณใช้ และปัจจัยที่คุณใช้พิจารณาในการตัดสินใจ
ว่า (ก) อะไรคืองานที่จาเป็นต้องทาเอง และ (ข) งานใดเป็นการ
ดาเนินการภายในหรือภายนอก?
10. ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์กร (ต่อ)
 อะไรคือสมรรถนะหลักขององค์กรของคุณ? (อาจต้องถาม อะไร
คือสิ่งที่คุณทาดี ที่ทาให้คุณได้เปรียบในตลาดหรือในหมู่ผู้
ให้บริการอื่น ๆ? อะไรคือสิ่งที่ทาให้คุณเหนือกว่าองค์กรที่
เหลือ?) จากรายการเลือกมาหนึ่ง และถามว่า คุณทราบได้
อย่างไรว่า นี่เป็นสมรรถนะหลัก?
10. ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์กร (ต่อ)
 เมื่อคุณตัดสินใจที่จะจ้างงานให้ภายนอกทา อะไรคือสมรรถนะ
หลักของผู้ส่งมอบเหล่านั้น (หรือผู้รับเหมา คู่ค้า หรือผู้ร่วมงาน)
ที่ทาให้พวกเขาทาได้ดีกว่าองค์กรของคุณ และเหนือกว่า
หน่วยงานภายนอกอื่น ๆ?
11. การปรับปรุงการวางแผน
 คุณได้ทาอะไร เพื่อปรับปรุงความถูกต้อง และความมีประสิทธิผล
ของกระบวนการวางแผนของคุณ? อะไรคือการปรับปรุงที่คุณได้
ทาในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา?
12. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ [2.1ข(1)]
 คุณประเมินความคืบหน้าของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญของ
คุณบ่อยแค่ไหน? กรุณาแสดงระยะเวลาหรือการคาดการณ์การ
บรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อ คุณมีวิธีอย่างไรในการคาดการณ์ผล
การดาเนินงานในอนาคต สาหรับแต่ละวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
(เรียกว่าเป้าประสงค์)?
13. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ [2.1ข (2)]
 ตรวจรายชื่อ ความท้าทายและข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร
ที่ให้ไว้ใน P.2ก เลือกมาหนึ่งอย่าง แล้วถามว่า กรุณาแสดงให้เห็น
ว่า คุณได้ประเมินเพื่อให้แน่ใจว่า ความท้าทายหรือความ
ได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ได้รับการพิจารณาอย่างไร? จากนั้นตั้ง
คาถามซ้าสาหรับความท้าทายหรือความได้เปรียบอื่น ๆ
13. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (ต่อ)
 จากข้อมูลนี้ คุณคาดหวังว่า จะได้ทบทวนประสิทธิผลแต่ละ
วัตถุประสงค์อย่างไร? ไตรมาสต่อไป? ปีหน้า? อีกสองปี
ข้างหน้า? (หมายเหตุ: ความถี่ของการประเมินควรจะสอดคล้อง
กับกระบวนการประเมินที่อธิบายในข้อ 4.1ข ตัวอย่างเช่น ทีมนา
ระดับสูงทบทวนวัตถุประสงค์ของความพึงพอใจของลูกค้าเป็น
รายไตรมาส การจัดตาแหน่งที่เหมาะสมหรือบูรณาการระยะเวลา
ควรถูกกาหนดให้มีการประเมินที่สอดคล้องกัน นอกจากนี้
ระยะเวลาการรายงานภายใต้2.1ข(1) ควรระบุการวัดผลการ
ดาเนินงานที่คาด ไม่ได้เป็นเพียงรายการของกิจกรรม)
13. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (ต่อ)
 คุณมีวิธีกาหนดความถี่ที่เหมาะสม หรือระยะเวลาในการประเมิน
ความคืบหน้าสาหรับวัตถุประสงค์เหล่านี้ อย่างไร?
 กรุณายกตัวอย่างวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ถูกออกแบบมา เพื่อ
ความสมดุลของการแข่งขันความต้องการขององค์กรเอง เช่น
ความปรารถนาที่จะควบคุมค่าใช้จ่าย และการบริการที่ดีแก่ลูกค้า
(เฉพาะตัวอย่าง)
หมวด 2 กลยุทธ์
1. แผนปฏิบัติการ (การพัฒนาการวางแผน และการเปลี่ยนแปลง)
[2.2ก(1)]
 สุ่มเลือกวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ แล้วถามว่า กรุณาอธิบายการ
จัดทาแผนระยะยาวและระยะสั้นของคุณ สาหรับวัตถุประสงค์
เชิงกลยุทธ์นี้ อะไรคือการเปลี่ยนแปลงในการวางแผนผลิตภัณฑ์
หรือบริการของคุณ ลูกค้าของคุณ หรือตลาด หรือการดาเนินงาน
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์?
2. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การปฏิบัติ) [2.2ก(2)]
 อะไรคือกระบวนการที่คุณใช้ ในการดาเนินการทั่วทั้งองค์กรตาม
กลยุทธ์ของคุณ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของคุณ หรือบรรลุ
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์?
3. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การสื่อสาร) [2.2ก(2)]
 คุณมีการสื่อสารในทุกระดับขององค์กรอย่างไร? คุณจะทาอย่างไร
ให้แน่ใจว่า เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ และแผนปฏิบัติการ มี
ความเข้าใจ และนาไปใช้ทั่วทั้งองค์กร เพื่อการผลักดันและมี
ความสอดคล้อง กับการทางาน และการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ?
4. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การจัดการงานให้สอดคล้องกับ
แผน) [2.2ก(2)]
 คุณทาอย่างไรเพื่อให้แน่ใจว่า บุคลากรทุกคนรู้ว่า งานที่เขาหรือ
เธอต้องทาในการดาเนินการ เป็นส่วนหนึ่งของแผน?
5. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การพัฒนาอย่างยั่งยืน) [2.2ก
(2)]
 ขอดูแผนก่อนหน้านี้ เลือกการปรับปรุงที่ได้ทา หากการ
เปลี่ยนแปลงนั้นไม่ยั่งยืน ให้ถามว่า มีกระบวนการอะไรที่ถูกสร้าง
ขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่า การเปลี่ยนแปลงในอนาคตสามารถยั่งยืน
(เพื่อประเมินสิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้จากความล้มเหลวก่อนหน้านี้
และความรู้ที่เขามี)
 คุณได้ทาอย่างไรเพื่อให้มั่นใจว่า องค์กร หน่วยงาน การกระทา
ของแต่ละบุคคล และทรัพยากร มีความสอดคล้องในทุกระดับ
เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิผล?
6. การจัดสรรทรัพยากร [2.2ก(2), 2.2ก(3)]
 อะไรคือตัวอย่างของการจัดสรรทรัพยากรที่คุณทา ที่ทาให้คุณ
สามารถบรรลุแผนปฏิบัติการของคุณ และในเวลาเดียวกัน
สามารถบรรลุภาระหน้าที่อื่น ๆ ของคุณ?
 จากรายการของการกระทา นามาหนึ่งหรือสองตัวอย่าง และขอให้
ผู้นาอธิบายเฉพาะวิธีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อให้แน่ใจว่าแผน
เหล่านี้ สามารถทาได้
6. การจัดสรรทรัพยากร (ต่อ)
 จากนั้นถามว่า มีวิธีการประเมินการอย่างไร เพื่อมั่นใจว่า
ทรัพยากรถูกจัดสรรอย่างเหมาะสมและมีความเพียงพอ หากไม่
เพียงพอ สิ่งที่เกิดขึ้นต่อไปคืออะไร?
 ถามว่า มีการปรับปรุงใด ๆ ที่ได้กระทา ในกระบวนการจัดสรร
ทรัพยากรในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ถามซ้าอีก ในระดับที่แตกต่างกัน
ภายในองค์กรในการประเมิน เพื่อตรวจดูความสอดคล้อง
7. แผนบุคลากร (ผู้คนและทักษะที่จาเป็น) [2.2ก(4)]
 คุณกาหนดผู้คนและทักษะที่คุณจะต้องใช้ ในการดาเนินการตาม
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องอย่างไร?
อะไรคือการเปลี่ยนแปลงของแผนบุคลากรของคุณ ในช่วงไม่กี่ปีที่
ผ่านมา ที่จะช่วยให้คุณบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และ
แผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง? ประสิทธิผลและความถูกต้องของ
แผนบุคลากรของคุณเป็นอย่างไร?
8. แผนบุคลากร (การเปลี่ยนแปลงเพื่อช่วยให้กลยุทธ์ประสบ
ความสาเร็จ) [2.2ก(4)]
 แผนบุคลากรขององค์กรที่มีความจาเป็น ที่จะดาเนินการตาม
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง มี
อะไรบ้าง? สุ่มเลือกแผนปฏิบัติการและถามว่า คุณทาอย่างไรให้
แน่ใจว่า บุคลากรมีทักษะและระดับอัตราของบุคลากรที่เพียงพอ
เพื่อให้บรรลุความต้องการแผนปฏิบัติการนี้ ?
8. แผนบุคลากร (การเปลี่ยนแปลงที่ทาเพื่อช่วยให้ประสบ
ความสาเร็จกลยุทธ์) (ต่อ)
 อะไรคือตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของแผนบุคลากร ที่มีปัจจัยมา
จากการวางแผนเชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ ในการประสบความสาเร็จ
ทางธุรกิจ เช่นการรับสมัคร การฝึกอบรม การชดเชย
ผลตอบแทนที่จูงใจ ประโยชน์ และแผนการอื่น ๆ ตามความ
เหมาะสม?
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions
Site visit questions

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Round up 1-(new_and_update)
Round up 1-(new_and_update)Round up 1-(new_and_update)
Round up 1-(new_and_update)Asterie
 
ใบผ่านงานดีแทค1
ใบผ่านงานดีแทค1ใบผ่านงานดีแทค1
ใบผ่านงานดีแทค1Panupon Phonkaew
 
Round up starter
Round up starterRound up starter
Round up starterAcasa
 
English Result Intermediate Student´s Book pdf file
English Result Intermediate Student´s Book pdf fileEnglish Result Intermediate Student´s Book pdf file
English Result Intermediate Student´s Book pdf fileM. Mabel Otero
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...Usmaan Hawae
 

Mais procurados (10)

5000 คำศัพท์อังกฤษ ดีมากๆๆๆๆๆ.pdf
5000 คำศัพท์อังกฤษ ดีมากๆๆๆๆๆ.pdf5000 คำศัพท์อังกฤษ ดีมากๆๆๆๆๆ.pdf
5000 คำศัพท์อังกฤษ ดีมากๆๆๆๆๆ.pdf
 
3.กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน3.กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Round up 1-(new_and_update)
Round up 1-(new_and_update)Round up 1-(new_and_update)
Round up 1-(new_and_update)
 
ใบผ่านงานดีแทค1
ใบผ่านงานดีแทค1ใบผ่านงานดีแทค1
ใบผ่านงานดีแทค1
 
Referenshantering2016
Referenshantering2016Referenshantering2016
Referenshantering2016
 
Round up starter
Round up starterRound up starter
Round up starter
 
English Result Intermediate Student´s Book pdf file
English Result Intermediate Student´s Book pdf fileEnglish Result Intermediate Student´s Book pdf file
English Result Intermediate Student´s Book pdf file
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
การพัฒนาการเรียนการสอนผ่านเว็บบล็อก เรื่อง คำสั่งพื้นฐานของ Visual Basic ในรา...
 

Destaque (20)

New rules of competition
New rules of competitionNew rules of competition
New rules of competition
 
Km 2.0
Km 2.0Km 2.0
Km 2.0
 
What does your customer really want
What does your customer really wantWhat does your customer really want
What does your customer really want
 
The softer side of negotiation
The softer side of negotiationThe softer side of negotiation
The softer side of negotiation
 
2015 baldrige award winners
2015 baldrige award winners2015 baldrige award winners
2015 baldrige award winners
 
Scoring system
Scoring systemScoring system
Scoring system
 
Diversity
DiversityDiversity
Diversity
 
Ha & army hospitals
Ha & army hospitalsHa & army hospitals
Ha & army hospitals
 
Why organizations don’t learn
Why organizations don’t learnWhy organizations don’t learn
Why organizations don’t learn
 
Evolution of design thinking
Evolution of design thinkingEvolution of design thinking
Evolution of design thinking
 
Value chain analysis
Value chain analysisValue chain analysis
Value chain analysis
 
Criteria by diagrams
Criteria by diagramsCriteria by diagrams
Criteria by diagrams
 
Internet of things part i
Internet of things part iInternet of things part i
Internet of things part i
 
Item integration & expected results
Item integration & expected resultsItem integration & expected results
Item integration & expected results
 
Thailand 4.0
Thailand 4.0Thailand 4.0
Thailand 4.0
 
Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016
 
Building a workforce for the future
Building a workforce for the futureBuilding a workforce for the future
Building a workforce for the future
 
Vision statement
Vision statementVision statement
Vision statement
 
Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014Baldrige award winners 2014
Baldrige award winners 2014
 
How to retire happy
How to retire happyHow to retire happy
How to retire happy
 

Semelhante a Site visit questions

Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชาเครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชาPrachyanun Nilsook
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
Effective interviewing steps
Effective interviewing stepsEffective interviewing steps
Effective interviewing stepsmaruay songtanin
 
2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentarymaruay songtanin
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellencemaruay songtanin
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงSuradet Sriangkoon
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53pthaiwong
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)maruay songtanin
 

Semelhante a Site visit questions (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Organization diagnosis
Organization diagnosisOrganization diagnosis
Organization diagnosis
 
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชาเครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
เครื่องมือประเมินมาตรฐานรายวิชา
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
Effective interviewing steps
Effective interviewing stepsEffective interviewing steps
Effective interviewing steps
 
Ha update 2018
Ha update 2018Ha update 2018
Ha update 2018
 
2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary2016 criteria category and item commentary
2016 criteria category and item commentary
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellence
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
File1
File1File1
File1
 
Pmk internal assessor 8
Pmk internal assessor 8Pmk internal assessor 8
Pmk internal assessor 8
 
2011 feedback report
2011 feedback report2011 feedback report
2011 feedback report
 
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
05
0505
05
 
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
เกณฑ์กำหนดตัวชี้วัด 53
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)
 

Mais de maruay songtanin

Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...
Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...
Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...maruay songtanin
 
Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...
Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...
Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...maruay songtanin
 
Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...
Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...
Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...maruay songtanin
 
10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf
10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf
10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdfmaruay songtanin
 
Building Organizational Resilience in Thai Language
Building Organizational Resilience in Thai LanguageBuilding Organizational Resilience in Thai Language
Building Organizational Resilience in Thai Languagemaruay songtanin
 
Award Criteria for 2024.pdf
Award Criteria for 2024.pdfAward Criteria for 2024.pdf
Award Criteria for 2024.pdfmaruay songtanin
 
Discipline Equals Freedom.pdf
Discipline Equals Freedom.pdfDiscipline Equals Freedom.pdf
Discipline Equals Freedom.pdfmaruay songtanin
 
The Value of Digital Transformation.pdf
The Value of Digital Transformation.pdfThe Value of Digital Transformation.pdf
The Value of Digital Transformation.pdfmaruay songtanin
 
OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdfOKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdfmaruay songtanin
 
38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf
38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf
38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdfmaruay songtanin
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdfmaruay songtanin
 
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf
34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf
34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 

Mais de maruay songtanin (20)

Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...
Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...
Organizational Culture (12 examples of company culture done right in Thai Lan...
 
Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...
Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...
Guide to Working Together ( Benefits and 9 Ways To Promote It in Thai Languag...
 
Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...
Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...
Growth Mindset (How to help your team develop a growth mindset in Thai Langua...
 
10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf
10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf
10 Tips for Effective Leadership in Thai Language.pdf
 
Building Organizational Resilience in Thai Language
Building Organizational Resilience in Thai LanguageBuilding Organizational Resilience in Thai Language
Building Organizational Resilience in Thai Language
 
What is ChatGPT.pdf
What is ChatGPT.pdfWhat is ChatGPT.pdf
What is ChatGPT.pdf
 
Award Criteria for 2024.pdf
Award Criteria for 2024.pdfAward Criteria for 2024.pdf
Award Criteria for 2024.pdf
 
Happy Hormones.pdf
Happy Hormones.pdfHappy Hormones.pdf
Happy Hormones.pdf
 
IKIGAI.pdf
IKIGAI.pdfIKIGAI.pdf
IKIGAI.pdf
 
Discipline Equals Freedom.pdf
Discipline Equals Freedom.pdfDiscipline Equals Freedom.pdf
Discipline Equals Freedom.pdf
 
The Value of Digital Transformation.pdf
The Value of Digital Transformation.pdfThe Value of Digital Transformation.pdf
The Value of Digital Transformation.pdf
 
Generative AI.pdf
Generative AI.pdfGenerative AI.pdf
Generative AI.pdf
 
OKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdfOKRs Measure What Matters.pdf
OKRs Measure What Matters.pdf
 
38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf
38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf
38 เวลามพราหมณ์ มจร.pdf
 
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
37 วิสัยหชาดก มจร.pdf
 
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
36 มหาโลมหังสจริยา มจร.pdf
 
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf35 เอกราชจริยา มจร.pdf
35 เอกราชจริยา มจร.pdf
 
34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf
34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf
34 สุวัณณสามจริยา มจร.pdf
 
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
33 สุตโสมจริยา มจร.pdf
 
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
32 กัณหทีปายนจริยา มจร.pdf
 

Site visit questions

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 30 สิงหาคม 2558
  • 2. Mark L. Blazey From:- Insights to Performance Excellence 2015-2016: Using the Integrated Management System and the Baldrige Framework ASQ Quality Press, Milwaukee, Wisconsin, 2015
  • 3. บทสรุปสาหรับผู้บริหาร  บทความนี้ อิงกับเกณฑ์ Baldrige ปี ค.ศ. 2015-2016 ซึ่งจะเป็น แนวทางเดียวกับเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award – TQA) ปี พ.ศ. 2559-2560  เมื่อองค์กรได้รับการเยี่ยมสถานที่ประกอบการ จากคณะผู้ตรวจ ประเมิน รวมทั้งตัวแทนจากสานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ องค์กรอาจใช้คาถามเหล่านี้ เป็นแนวทางในการสอบทานให้กับ บุคลากรเป็นการล่วงหน้า เพื่อสร้างความคุ้นชินกับคาถามที่ ผู้ตรวจประเมินอาจใช้ ในการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
  • 4. เกริ่นนา  ผู้ตรวจประเมินหลายคนและองค์กร มีคาถามเกี่ยวกับวิธีการ เตรียมความพร้อม สาหรับการเข้าเยี่ยมสถานที่ประกอบการ  การนาเสนอนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยตอบคาถามเหล่านั้น และ เตรียมความพร้อมองค์กร สาหรับการตรวจเยี่ยมสถานที่  ผู้ตรวจประเมินเข้าเยี่ยมชมสถานที่ เพื่อต้องการ ตอกย้า (verify) จุดแข็ง และ ยืนยัน (clarify) โอกาสพัฒนา ในรายงานป้อนกลับ ให้ตรงกับความเป็นจริง และก่อเกิดประโยชน์กับองค์กรผู้สมัคร มากที่สุด
  • 5. จุดมุ่งหมายของการเข้าเยี่ยมชมสถานที่ ผู้ตรวจประเมินต้องการสอบทาน ในส่วนที่จะยากจะเข้าใจจากรายงานเช่น:  การนาไปปฏิบัติ (Deployment): วิธีที่กระบวนการถูกนาไปใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วทั้ง องค์กร  การบูรณาการ (Integration): กระบวนการมีการประสานกัน เพื่อสนับสนุนความเป็นเลิศ  เจ้าของกระบวนการ (Process ownership): เป็นกระบวนการที่มีความเป็นเจ้าของ ร่วมกันวงกว้าง หรือเฉพาะจุด  ส่วนร่วมของบุคลากร (Workforce member involvement): ขอบเขตที่การมีส่วนร่วมของ บุคลากร ในการเพิ่มประสิทธิภาพของทุกกระบวนการ  การปรับปรุงวุฒิภาวะอย่างต่อเนื่อง (การเรียนรู้) (Continuous improvement maturity (learning)): จานวนและขอบเขตของรอบการปรับปรุงตามความเป็นจริง ที่เกิดขึ้นในทุก พื้นที่ และในทุกระดับขององค์กร
  • 6. ประเด็นของการเยี่ยมชมสถานที่  ผู้ตรวจประเมินเยี่ยมชม เพื่อดูประเด็นสาคัญที่ใช้ในการให้ คะแนน และการเป็นต้นแบบที่ดีขององค์กร คือ: ยืนยัน (Clarify) ข้อมูลที่ขาดหายไปหรือที่คลุมเครือ และ ตอกย้า (Verify) จุดแข็ง ที่ระบุจากการปฏิบัติ ที่อธิบายไว้ในรายงาน
  • 7. ในระหว่างการเยือนสถานที่ ผู้ตรวจประเมินจะ:  มุ่งเน้นในประเด็นที่ตัดข้ามหัวข้อ หรือข้ามหมวด (cross-cutting issues)  ตรวจข้อมูล รายงาน และเอกสาร  สัมภาษณ์บุคคล และทีม  รับฟังการนาเสนอจากองค์กรผู้สมัครเพิ่มเติม
  • 8. ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม  บทบาทผู้บริหารระดับสูง ในการเป็นผู้นา และการเป็นแบบอย่างที่ดี  ความมีอิสรภาพและประสิทธิผลของระบบการกากับดูแลองค์กร เพื่อ ปกป้องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความรับผิดชอบทางการ เงิน การประเมินผล และปรับปรุงประสิทธิภาพของผู้นาระดับสูง  ระดับของความผูกพันและการการปฏิบัติตน ของบุคลากรระดับต่อ จากผู้บริหารระดับสูง  การครอบคลุม การเข้าถึง และความสะดวก ในการใช้งานของระบบ สารสนเทศ
  • 9. ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม (ต่อ)  การนาข้อเท็จจริงและข้อมูล มาใช้ในการตัดสินใจในทุกระดับ  ระดับของการให้ความสาคัญกับความผูกพัน และประสบการณ์ใน เชิงบวกอย่างต่อเนื่องของลูกค้า การใช้ประโยชน์จากเสียงของ ลูกค้า และการแก้ปัญหาการร้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ  ขอบเขตของวิธีการที่เป็นระบบ ในการออกแบบ และปรับปรุง กระบวนการทางาน  การพัฒนาบุคลากรและผู้นา ที่มีประสิทธิผล
  • 10. ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม (ต่อ)  กลยุทธ์ของระบบงาน และการใช้ความสามารถหลักเป็นปัจจัยใน การตัดสินใจการพิจารณางานที่ยังคงทาเอง และงานที่ให้ผู้ส่งมอบ และคู่ค้าทา  การมุ่งเน้นไปที่นวัตกรรมและใช้ความเสี่ยงที่ชาญฉลาด (intelligent risk taking) ในการหาโอกาสสาหรับการสร้าง นวัตกรรม  ขอบเขตของแผนกลยุทธ์กับการทางานขององค์กร  ขอบเขตของการใช้เป้าหมายวัดการทางาน ทุกระดับขององค์กร
  • 11. ประเด็นสาคัญของการเยี่ยมชม (ต่อ)  หลักฐานของการประเมินผลและการปรับปรุงกระบวนการทางาน และประสิทธิผลของระบบ  วงรอบเวลาการปรับปรุงในการทางาน และกระบวนการ ดาเนินงานอื่น ๆ  ขอบเขตของการบูรณาการกันของทุกกระบวนการทางาน รวมทั้ง การงานสนับสนุน และการจัดการห่วงโซ่อุปทาน  ขอบเขตและการใช้การเทียบเคียง (benchmarking)
  • 13. การดาเนินการของทีมผู้ตรวจประเมิน ในการเยี่ยมชม  ผู้ตรวจประเมินไม่ได้รับอนุญาตให้หารือเกี่ยวกับการค้นพบกับ บุคคลภายนอกทุกคน ยกเว้นสมาชิกในทีม  ผู้ตรวจประเมินจะไม่เปิดเผยเรื่องต่อไปนี้ กับผู้สมัคร: ผลจากการสังเกตบุคคลหรือทีม และผลที่พบ ผลสรุปและการตัดสินใจ ข้อสังเกตเกี่ยวกับระบบการทางานของผู้สมัคร ไม่ว่าจะเป็นคา ชมหรือวิจารณ์
  • 14. การดาเนินการของทีมผู้ตรวจประเมิน ในการเยี่ยมชม (ต่อ)  ผู้ตรวจประเมินจะไม่หารือเรื่องต่อไปนี้ กับทุกคน: ข้อสังเกตเกี่ยวกับผู้สมัครอื่น ๆ รายชื่อของผู้สมัครอื่น ๆ  ผู้ตรวจประเมินไม่ยอมรับของขวัญหรือบาเหน็จใด ๆ และองค์กร ผู้สมัครก็ไม่ควรจัดให้  สุดท้าย ในการเข้าเยี่ยมสถานที่ ผู้ตรวจประเมินไม่ได้รับอนุญาต ให้นาหรือรับวัสดุใด ๆ ที่เป็นของผู้สมัคร รวมทั้งสิ่งใด ๆ ที่ ผู้สมัครมักจะมอบให้กับผู้เข้าเยี่ยมชม
  • 15. การเปิดประชุม  ในการเปิดประชุม จะมีการกาหนดเวลา ที่จะแนะนาทุกฝ่ ายและ กาหนดการการเยี่ยมชม  ผู้เข้าร่วมประชุมโดยปกติ จะเป็นผู้บริหารระดับสูง และทีมงาน การเขียนแบบประเมินตนเอง  ผู้นาของทีมผู้เยี่ยมชม เริ่มการประชุมโดยการแนะนาทีมงาน และ ทบทวนกฎระเบียบของการเข้าเยี่ยมชม
  • 16. การเปิดประชุม (ต่อ)  หลังจากที่ผู้นาทีมเปิดการประชุม องค์กรผู้สมัครมักจะมีเวลาหนึ่ง ชั่วโมง ในการนาเสนอข้อมูลใด ๆ ที่เชื่อว่า เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้ตรวจ ประเมินควรรับทราบ  ซึ่งรวมถึงเวลาสาหรับการเที่ยวชมทุกหน่วย ในกรณีที่จาเป็น  ทันทีหลังจากการเปิดประชุม ผู้ตรวจประเมินมักจะพบกับผู้นา ระดับสูง และผู้ที่รับผิดชอบในการเตรียมแบบประเมิน เนื่องจาก คนเหล่านั้น มีแนวโน้มที่จะอยู่ในที่ประชุมอยู่แล้ว
  • 17. การดาเนินการเยี่ยมชม  ทีมงานจะดาเนินการไปตามแผนเข้าเยี่ยมชม อาจมีการ ปรับเปลี่ยนเป็นระยะ ๆ ตามผลของการค้นพบ  ทีมงานที่เข้าเยี่ยมชม จะต้องมีห้องพักส่วนตัวในสถานที่ ประกอบการ เพื่อประชุมกันบ่อย ๆ และตัวแทนจากผู้สมัครไม่ อนุญาตให้อยู่ในห้องพักส่วนตัวนี้  ทีมงานยังคงดาเนินการประชุมต่อในช่วงเย็นที่โรงแรม เพื่อ ทบทวนผลการค้นพบ เขียนข้อคิดเห็น แก้ไขรายงานการเยี่ยมชม และแก้ไขวาระการเยี่ยมชมในวันต่อไป
  • 18. การดาเนินการเยี่ยมชม (ต่อ)  ถ้าในระหว่างการเข้าเยี่ยมชม ถ้ามีใครบางคนจากองค์กรผู้สมัคร เชื่อว่า ทีมเยี่ยมชมหรือสมาชิกใด ๆ พลาดจุดที่สาคัญไป ให้ ผู้รับผิดชอบในการติดต่อ แจ้งให้ผู้นาทีมเยี่ยมชมทราบ  นอกจากนี้ หากคนจากองค์กรเห็นว่า ผู้ตรวจประเมินคนใดมีความ ประพฤติไม่เหมาะสม ควรแจ้งให้ผู้รับผิดชอบในการติดต่อแจ้งให้ ผู้นาทีมเยี่ยมชมรับทราบ
  • 19. การดาเนินการเยี่ยมชม (ต่อ)  บุคลากรควรได้รับคาแนะนาให้ทาเครื่องหมายทุกเอกสารที่ส่งเข้า รับการตรวจ โดยมีชื่อและสถานที่การทางานของบุคคลที่ให้ เอกสาร เพื่อให้แน่ใจว่า จะได้ถูกส่งกลับไปยังบุคคลที่ถูกต้อง  ทีมตรวจควรจัดทาประวัติของเอกสาร ที่กาหนดให้สมาชิกในทีม ได้ศึกษา  บุคลากรต้องไม่ขอให้ผู้ตรวจประเมินแสดงความคิดเห็นและให้ คาแนะนา ผู้ตรวจประเมินก็ไม่ได้รับอนุญาตที่จะให้ข้อมูลประเภท นี้ ในระหว่างการเยี่ยมชมสถานที่
  • 20. ประเภทของคาถาม  ต่อจากนี้ ไป จะเป็นชนิดของคาถามที่ผู้ตรวจประเมินมีแนวโน้มที่ จะถาม ในระหว่างขั้นตอนการเข้าชมสถานที่ ที่มีพื้นฐานอยู่ใน เกณฑ์ Baldrige  ในระหว่างการเยือนสถานที่ คาถามที่เกิดขึ้นจริง จะได้รับการปรับ ให้เหมาะสมกับปัจจัยสาคัญเฉพาะเจาะจงขององค์กร ที่มีความ เกี่ยวข้องมากที่สุด  คาถามที่นาเสนอให้กับผู้สมัครและสาหรับผู้ตรวจประเมินนี้ เป็น การช่วยเตรียมความพร้อม ในกระบวนการเยี่ยมชมสถานที่
  • 21. เคล็ดลับการตอบคาถาม: การปรับปรุงกระบวนการทางาน  ผู้นาและบุคลากรมักจะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการที่พวกเขามีในวันนี้ พวกเขา มักลืมที่จะอธิบายวิธีการที่พวกเขาปรับปรุงกระบวนการอย่างเป็ นระบบ ที่ แสดงให้เห็นว่า พวกเขาได้ทาการพัฒนามาก่อนที่จะมีการดาเนินการอย่าง ในทุกวันนี้  ดังนั้น หลังจากการเรียนรู้วิธีการทางาน ผู้ตรวจประเมินทุกคนควรถาม คาถามต่อไปนี้ : "คุณทาด้วยวิธีนี้ เสมอหรือ? วิธีที่คุณทาก่อนหน้านี้ เป็ น อย่างไร? ทาไมคุณจึงเปลี่ยน? คุณมีการปรับปรุงเพิ่มเติมในการทางาน หรือไม่?"  หากผู้ตรวจประเมินไม่ได้ถามคาถามเหล่านี้ บุคลากรแต่ละคนควรตอบ เสมือนว่าพวกเขาถูกถาม
  • 23. 1. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (ความเข้าใจเกี่ยวกับค่านิยม) [1.1ก(1)]  (ถามผู้นาระดับสูง) กรุณาบอกเล่าเกี่ยวกับค่านิยมขององค์กรของ คุณ  สุ่มเลือกบุคคลหนึ่งในทีมนาและถามว่า คุณคิดว่าค่านิยมนี้ เป็น สิ่งสาคัญเพื่อเป็นแนวทางในการนาองค์กรอย่างไร?  คุณมั่นใจได้อย่างไรว่าผู้นาคนอื่น ๆ หรือบุคลากรเข้าใจค่านิยม นี้ ? คุณจะทาให้แน่ใจได้อย่างไรว่าผู้ส่งมอบ ลูกค้า และผู้มีส่วนได้ เสียอื่น ๆ เข้าใจค่านิยมนี้ ?
  • 24. 2. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (ความมุ่งมั่นต่อค่านิยม) [1.1ก (1)]  (ถามผู้นา) คุณได้กระทาอะไรบ้าง ในการโน้มน้าวให้บุคลากรของ คุณ ลูกค้า ผู้ส่งมอบ และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ ว่า คุณมีความ มุ่งมั่นอย่างเต็มที่ต่อค่านิยมที่คุณกล่าวถึง? (ถามบุคลากร) อะไร คือค่านิยมที่มีความสาคัญขององค์กร? ผู้นาของคุณทาอะไรที่จะ แสดงให้คุณเห็นว่า เขาหรือเธอเชื่อว่าค่านิยมเหล่านี้ มีความสาคัญ จริง และปฏิบัติตามนั้น ?
  • 25. 3. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (การจัดลาดับความสาคัญ วิสัยทัศน์)  (ถามผู้นาระดับสูง) โปรดอธิบายวิสัยทัศน์องค์กรของคุณ สิ่งที่มี ความสาคัญสูงสุด เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์คืออะไร?  คุณจะทาอย่างไรเพื่อให้มั่นใจว่า บุคลากรทั้งหมดของคุณเข้าใจ วิสัยทัศน์ขององค์กร และมีการจัดลาดับความสาคัญ รวมถึงผล การดาเนินการที่พวกเขาต้องทาเพื่อให้บรรลุ?
  • 26. 3. วิสัยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (การจัดลาดับความสาคัญ วิสัยทัศน์)(ต่อ)  คุณจะรู้ประสิทธิผลของการปลูกฝังวิสัยทัศน์และค่านิยม ในการ ทางานของผู้ใต้บังคับบัญชาของคุณได้อย่างไร รวมถึงการสื่อสาร ให้กับลูกค้า คู่ค้า และผู้ส่งมอบ?  คุณจะรู้ได้อย่างไรว่าข้อความของคุณนั้น บุคลากร ลูกค้า คู่ค้า และผู้ส่งมอบ มีความเข้าใจอย่างที่คุณตั้งใจ?
  • 27. 4. การส่งเสริมพฤติกรรมตามกฎหมายและจริยธรรม [1.1ก(2)]  อะไรที่คุณ (ผู้นา) ได้แสดงให้เห็นถึงการกระทา ที่มุ่งมั่นปฏิบัติ ตามกฎหมายและจริยธรรม? ช่วยอธิบายการกระทาของคุณ คุณ ทาอย่างไรเพื่อที่จะทาให้แน่ใจว่า ทุกคนในองค์กรมีพฤติกรรมที่ ถูกต้องตามกฎหมายและจริยธรรม? อะไรคือกฎของจริยธรรมที่ จะต้องไม่มีการละเมิด (โดยเด็ดขาด)?
  • 28. 4. การส่งเสริมพฤติกรรมตามกฎหมายและจริยธรรม (ต่อ)  อะไรคือสิ่งที่เกิดขึ้น เมื่อมีคนแม้กระทั่งผู้จัดการอาวุโสละเมิดกฎ เหล่านี้ ? ให้ถามบุคลากรด้วยคาถามเดียวกัน  กระบวนการที่คุณใช้ เพื่อให้บรรลุพฤติกรรมที่มีจริยธรรมที่ ต้องการคืออะไร? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ผลเป็นอย่างไร? คุณรู้ได้อย่างไร?  สิ่งที่ได้รับการดาเนินการเพื่อปรับปรุงคืออะไร?
  • 29. 5. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความเข้าใจเกี่ยวกับการ พัฒนาอย่างยั่งยืน) [1.1ก(3)]  มีความหมายอย่างไรกับคุณ (ผู้นาอาวุโส) ในการสร้างองค์กรที่ ประสบความสาเร็จในปัจจุบันนี้ และในอนาคต? คุณทาอย่างไรให้ แน่ใจว่า องค์กรของคุณจะยังคงเก่ง แม้หลังจากที่คุณออกไป แล้ว? (หมายเหตุ: "ผมไม่ได้วางแผนที่จะออก" ไม่ได้เป็นคาตอบ ที่ยอมรับได้ ให้อ้างสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้น ถ้าคุณบังเอิญถูกชนด้วยรถ บัส หรือไร้ความสามารถด้วยเหตุอื่น ๆ?) คุณได้ทาอะไร ที่จะ สนับสนุนการวางแผนการสืบทอดตาแหน่ง?
  • 30. 6. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (การเรียนรู้) [1.1ก(3)]  คุณได้ทาอะไรที่จะเพิ่มการเรียนรู้ (ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง) ทั่วทั้ง องค์กร ทุกหน่วยงาน และบุคลากรทั้งหมด? อะไรคือตัวอย่างของ ความรู้ใหม่ที่พวกเขาได้รับ?
  • 31. 7. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (มีผลสัมฤทธิ์สูงอย่าง ยั่งยืน) [1.1ก(3)]  อะไรคือเทคนิคที่คุณใช้ เพื่อให้พันธกิจขององค์กรประสบ ความสาเร็จ และประสบความสาเร็จในระดับชนะเลิศ เป็นผู้นาใน อุตสาหกรรมหรือภาคส่วนของคุณ?
  • 32. 8. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (สิ่งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนา) [1.1ก(3)]  เกณฑ์ถามเรื่อง "การสร้างสภาพแวดล้อมหรือวัฒนธรรม" หลาย สิ่งหลายอย่าง เช่นการปรับปรุงประสิทธิภาพขององค์กร ประสิทธิภาพการนา ประสิทธิภาพการทางาน และการเรียนรู้ของ องค์กรและส่วนบุคคล คุณจะทาอย่างไรเพื่อให้แน่ใจว่า สภาพแวดล้อม หรือวัฒนธรรมนี้ เป็นไปทั่วทั้งองค์กร?
  • 33. 9. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความผูกพัน นวัตกรรม ความคล่องตัว) [1.1ก (3)]  นวัตกรรมมีความหมายอะไรกับคุณ? สาหรับบุคลากรของคุณ? สาหรับองค์กรของคุณ? คุณใช้กระบวนการอะไร ที่จะกระตุ้นให้ เกิดนวัตกรรม? วิธีการที่เป็นนวัตกรรมที่คุณได้มีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติเองคืออะไร? นวัตกรรมที่ได้มาจากบุคลากรของคุณคือ อะไร?
  • 34. 9. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความผูกพัน นวัตกรรม ความคล่องตัว) (ต่อ)  ความผูกพันของลูกค้ามีความหมายอะไรกับคุณ? คุณทาอย่างไร ในการสร้างวัฒนธรรม ที่บุคลากรให้ประสบการณ์เชิงบวกแก่ ลูกค้าอย่างต่อเนื่อง และเพิ่มความผูกพันของลูกค้า?  ความคล่องตัวขององค์กรมีความหมายอะไรกับคุณ? สิ่งที่เป็น อุปสรรคต่อความคล่องตัวที่คุณระบุไว้คืออะไร? เลือกอุปสรรคมา บางอย่างและถามว่า สิ่งที่คุณทาเพื่อเอาชนะอุปสรรคนี้ คืออะไร?
  • 35. 9. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (ความผูกพัน นวัตกรรม ความคล่องตัว) (ต่อ)  อะไรคือกระบวนการที่คุณใช้ที่จะให้แน่ใจว่า นวัตกรรมและ ความรู้อื่น ๆ มีการใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิผลทั่วทั้งองค์กร? กระบวนการนี้ ทางานได้ดีเพียงไร? คุณรู้ได้อย่างไร? อะไรคือ นวัตกรรมที่ใช้ร่วมกัน?  คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า การสร้างนวัตกรรมหรือความคิดใหม่ คุ้มค่า กับความเสี่ยง?
  • 36. 10. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (การปรับปรุงภาวะผู้นา)  อะไรคือกระบวนการที่คุณใช้ เพื่อช่วยเพิ่มทักษะความเป็นผู้นา เป็นส่วนบุคคลของคุณ? ช่วยยกตัวอย่างของการปรับปรุงที่คุณได้ ทา ในการเพิ่มทักษะความเป็นผู้นาของคุณเอง
  • 37. 11. การสร้างองค์กรที่ประสบความสาเร็จ (การสืบทอดผู้นา) [1.1ก(3)]  กรุณาอธิบายวิธีการที่คุณใช้ในการเตรียมคน สาหรับบทบาทผู้นา บทบาทของคุณในความพยายามนี้ คืออะไร? (ถ้าพวกเขามี โปรแกรมที่จะเตรียมความพร้อมผู้นาในอนาคต)  ใครบ้างที่อยู่ในที่นี้ มีส่วนร่วมในความพยายามที่จะพัฒนาผู้นาใน อนาคต? (ถ้ามีใครที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สุ่มเลือกมาหนึ่งหรือสองคน ที่จะสัมภาษณ์เพื่อประเมินประสิทธิผลของกระบวนการ) คุณจะรู้ ว่าได้ผลได้อย่างไร? การปรับปรุงสิ่งที่คุณได้ทาคืออะไร?
  • 38. 12. การสื่อสาร (สองทิศทาง) [1.1ข(1)]  การสื่อสารสองทิศทางมีความหมายกับคุณ (ผู้นา) อย่างไร ? คุณ ทาอย่างไรที่จะส่งเสริมการสื่อสารสองทิศทางในทุกระดับของ องค์กร? กระบวนการมีการใช้กันจริงอย่างแพร่หลายอย่างไร? คุณทาอย่างไรเพื่อประเมินว่าการสื่อสารสองทิศทางว่ามี ประสิทธิผล?  ในการประเมินการใช้งาน ขอให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง อธิบาย วิธีการสื่อสารสองทิศทางในการทางาน และแน่ใจว่าพวกเขาได้ใช้ มันจริง
  • 39. 13. การสื่อสาร (บุคลากรและผู้ส่งมอบ) [1.1ข(1)]  อะไรคือวิธีที่คุณสื่อสารข้อมูลที่สาคัญ รวมถึงการตัดสินใจที่สาคัญ ให้บุคลากรทั้งหมดทั่วทั้งองค์กร (รวมทั้งอาสาสมัครที่เกี่ยวข้อง) คู่ค้าที่สาคัญ และผู้ส่งมอบ? ชนิดของข้อมูลที่คุณสื่อสารคืออะไร? ขอบเขตที่คุณใช้สื่อสังคมและเทคนิคการใช้เว็บอื่น ๆ ในการ สื่อสารคืออะไร? คุณจะทาเช่นนี้ เมื่อใด?
  • 40. 13. การสื่อสาร (บุคลากรและผู้ส่งมอบ) (ต่อ)  คุณรู้ได้อย่างไรว่า การสื่อสารของคุณได้รับความเข้าใจอย่างที่คุณ ตั้งใจ? ชนิดของการสื่อสาร หรือข้อเสนอแนะ ที่คุณได้รับจาก บุคลากร และคู่ค้า/ผู้ส่งมอบคืออะไร? คุณทาอย่างไรกับข้อมูล เหล่านี้ ? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ดีเพียงใด? คุณรู้ได้ อย่างไร? สิ่งที่ได้ดาเนินการเพื่อปรับปรุงคืออะไร?
  • 41. 14. การสื่อสาร (ลูกค้า) [1.1ข(1)]  อะไรคือวิธีที่คุณใช้สื่อสารข้อมูลที่สาคัญ รวมทั้งการตัดสินใจที่ สาคัญกับลูกค้า? ชนิดของข้อมูลที่คุณสื่อสารคืออะไร?  ขอบเขตที่คุณใช้สื่อสังคมและเทคนิคการใช้เว็บอื่น ๆ ในการ สื่อสารคืออะไร? สื่อสังคมที่เฉพาะเจาะจงที่คุณใช้คืออะไร? เมื่อใดที่คุณจะทาเช่นนี้ ? (หมายเหตุ: ถ้าคนที่คุณกาลังสัมภาษณ์ ไม่เข้าใจสื่อสังคมที่คุณพูด อาจแนะนาตัวอย่างเช่น การส่ง ข้อความผ่านเว็บไซต์ภายในและภายนอก ทวิตเตอร์ เว็บไซต์ และ บล็อก)
  • 42. 14. การสื่อสาร (ลูกค้า) (ต่อ)  คุณทาอย่างไรในการสร้างความผูกพันของลูกค้า?  คุณรู้ได้อย่างไรว่าการสื่อสารของคุณ ได้รับความเข้าใจอย่างที่คุณ ตั้งใจ? ชนิดของการสื่อสารหรือข้อเสนอแนะ ที่คุณได้รับจาก ลูกค้าคืออะไร? คุณได้ทาอย่างไรกับข้อมูลเหล่านี้ ? กระบวนการ เหล่านี้ ทางานได้ผลเป็นอย่างไร? คุณรู้ได้อย่างไร? การ ดาเนินการเพื่อปรับปรุงคืออะไร?
  • 43. 15. การสื่อสาร (ส่งเสริมผลการดาเนินการที่ดี) [1.1ข(1)]  อะไรคือบทบาทของคุณ ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานที่เป็ นเลิศ (มีผลการดาเนินการที่ดี)  คุณทาอย่างไร ในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นวัตกรรม ความผูกพันของบุคลากร และสร้างแรงจูงใจ? โปรดระบุตัวอย่าง ของความผูกพันที่ดีขึ้น หรือแรงจูงใจทั่วทั้งองค์กร ที่เป็นผลมา จากความพยายามของคุณ วิธีที่คุณมีส่วนร่วมในการให้รางวัลและ การยกย่องคืออะไร?
  • 44. 15. การสื่อสาร (ส่งเสริมผลการดาเนินการที่ดี) (ต่อ)  คุณเสริมสร้างการทางานที่มีผลการดาเนินการที่ดี มุ่งเน้นลูกค้า และธุรกิจอย่างไร? (ติดตามตัวอย่างเหล่านี้ กับคนอื่น ๆ)  คุณมั่นใจได้อย่างไรว่า ผู้บริหารระดับกลาง และผู้ใต้บังคับบัญชา อื่น ๆ ส่งเสริมความผูกพันของบุคลากร และสร้างแรงจูงใจทั่วทั้ง องค์กร?
  • 45. 16. การทาให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง (นวัตกรรมและความ เสี่ยงที่ชาญฉลาด) [1.1ข(2)]  ขั้นตอนที่คุณ (ผู้นาอาวุโส) มุ่งเน้นการดาเนินการเกี่ยวกับการ ดาเนินงานขององค์กร เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของพันธกิจและ วิสัยทัศน์คืออะไร? สิ่งที่คุณได้กระทาในการปรับปรุง ประสิทธิภาพคืออะไร? (ผู้นาบางคนอาจจะใช้เทคนิคเช่น PDCA, Six Sigma และ Lean เพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง)
  • 46. 16. การทาให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง (นวัตกรรมและความ เสี่ยงที่ชาญฉลาด) (ต่อ)  คุณได้ทาอะไร เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม และการวิเคราะห์ ความเสี่ยง?  ข้อมูลผลการดาเนินการ [เชื่อมโยงไป 4.1] ที่คุณใช้เพื่อประเมิน ว่า ประโยชน์ของนวัตกรรมที่นาเสนอ มีความคุ้มค่ากับความเสี่ยง (ความเสี่ยงที่ชาญฉลาด) มีแนวโน้มที่จะประสบความสาเร็จ หรือ การกระทาอื่น ๆ ที่มีความจาเป็น?
  • 47. 17. การทาให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง (คุณค่าของลูกค้า) [1.1ข (2)]  กลุ่มลูกค้าต่างๆของคุณ มีความสาคัญที่แตกต่างกัน หรือมีคุณ ค่าที่แตกต่างกันอย่างไร? ถ้ามี ขอให้ตัวอย่าง เลือกบางส่วนที่มี ความแตกต่าง และถามว่า คุณจะทาอย่างไรให้แน่ใจว่า องค์กร ของคุณ ตอบสนองความต้องการที่แตกต่างกันเหล่านี้ อย่างสมดุล และส่งมอบสิ่งที่ลูกค้าต้องการมากที่สุด?
  • 48. 18. วิสัยทัศน์ ค่านิยม การมุ่งเน้นไปที่การกระทา [1.1ก(1), 1.1ข (2)] [เชื่อมโยงไปยัง P.1ข(2) และ 3.2ก(1)]  กลุ่มลูกค้าสาคัญของคุณหรือกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียคืออะไร? เลือก มาหนึ่งอย่างและถามว่า สิ่งที่ลูกค้าหรือผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มนี้ ต้องการคืออะไร?  ความต้องการ หรือความคาดหวังของลูกค้ากลุ่มนี้ แตกต่างจาก กลุ่มอื่น ๆ อย่างไร? ถ้าเป็นเช่นนั้น อะไรคือสิ่งที่แตกต่าง และ วิธีการที่คุณมั่นใจได้อย่างไรว่า องค์กรของคุณได้ตอบสนองความ สนใจที่แตกต่างของกลุ่มเหล่านี้ ?
  • 50. 1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ? [1.2ก(1)]  เปอร์เซ็นต์ของคณะกรรมการ ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กรของ คุณคืออะไร?  คุณจะทาอย่างไรให้แน่ใจว่า การตรวจประเมินขององค์กร มี ประสิทธิผลและเป็นอิสระ?  อะไรคือปัญหาในอดีตที่ผ่านมา ซึ่งผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสีย ถูกคุกคาม? ถ้าเป็นเช่นนั้น สิ่งที่ได้กระทา เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด ปัญหาซ้าอีกคืออะไร?
  • 51. 1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ? (ต่อ)  คณะกรรมการแน่ใจได้อย่างไรให้ว่า ผู้บริหารระดับอาวุโส ประพฤติอย่างถูกต้องและมีความรับผิดชอบต่อการกระทาของ พวกเขา รวมถึงความรับผิดชอบเพื่อให้บรรลุแผนกลยุทธ์?  อะไรคือนโยบายที่ใช้ เพื่อให้แน่ใจว่าคณะกรรมการยังคงตื่นตัว และตระหนักถึงปัญหาการจัดการในองค์กร?
  • 52. 1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ? (ต่อ)  ประเภทของการกากับดูแลของคณะกรรมการการมีอะไรบ้าง? สิ่ง ที่เป็นปัญหาหรือประเด็นที่คณะกรรมการได้มีการระบุไว้ในอดีตที่ ผ่านมา 3-5 ปีคืออะไร? เลือกมาบางอย่าง และขอให้เล่า ปฏิกิริยาของคณะกรรมการในการแก้ไขปัญหานี้ ? ผลการแก้ไข เป็นอย่างไร? อะไรคือขั้นตอนที่ถูกนามาใช้ เพื่อป้องกันไม่ให้ ปัญหาเกิดขึ้นอีก?
  • 53. 1. ระบบการกากับดูแลองค์กร ความเป็นอิสระของคณะกรรมการ? (ต่อ)  สาหรับองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร: ช่วยอธิบายกระบวนการของคุณ สาหรับการให้บริการที่น่าเชื่อถือได้ของกองทุนสาธารณะ? สิ่งที่ ต้องเน้นความสาคัญของการดูแลนี้ คืออะไร?  กระบวนการที่คณะกรรมการใช้อย่างมีประสิทธิผล ในการปกป้อง คุณค่าผู้ถือหุ้นคืออะไร? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ผลเป็น อย่างไร? คุณรู้ได้อย่างไร? สิ่งที่ได้ดาเนินการในการประเมินและ ปรับปรุงคืออะไร?
  • 54. 2. การประเมินผลการดาเนินการ (ระบบการนาองค์กร) [1.2ก(2)]  (ถามผู้บริหารระดับอาวุโส) คุณทาอย่างไรในการประเมิน ประสิทธิผลของระบบการนาองค์กร? คุณประเมินประสิทธิผล ความเป็นผู้นาของคุณอย่างไร?  โปรดระบุตัวอย่างที่เฉพาะเจาะจง ที่คุณและระบบภาวะผู้นาดีขึ้น เป็นผลมาจากการประเมินเหล่านี้ ? ผู้จัดการ ประเมินและ ปรับปรุงประสิทธิภาพผล การเป็นผู้นาของพวกเขาอย่างไร? ข้อมูลจากการประเมินผลการปฏิบัติขององค์กร ได้นาไปใช้ ประโยชน์อย่างไร?
  • 55. 3. การประเมินผลการดาเนินการ (ผู้นาอาวุโส) [1.2ก(2) เชื่อมโยงไปยัง 5.2ก(4)]  องค์กรมีหลักเกณฑ์ในการส่งเสริมและให้รางวัลผู้นาภายในองค์กร อย่างไร?  คุณทาอย่างไร ให้ผู้นาและผู้บริหารระดับสูง รับผิดชอบในการปรับปรุง ประสิทธิภาพการทางาน ความผูกพันของบุคลากร และลูกค้ามีความพึง พอใจ? (สุ่มเลือกการประเมินผู้นา และตรวจดูว่าพวกเขาสะท้อนให้เห็นถึง การปรับปรุง บนพื้นฐานของผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กร และ ข้อเสนอแนะของผู้ปฏิบัติงานหรือไม่ ถ้าผู้ถูกถามไม่เต็มใจที่จะแบ่งปัน ข้อมูลส่วนบุคคล เช่นการประเมินประสิทธิภาพการทางาน ให้บอกผู้ติดต่อ ขององค์กรว่า อาจมีการปกปิดข้อมูลในการตรวจประเมินของคุณ)
  • 56. 3. การประเมินผลการดาเนินการ (ผู้นาอาวุโส) (ต่อ)  ช่วยอธิบายระบบที่คุณใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผู้นาระดับสูง เพื่อช่วยในการกาหนดค่าตอบแทนผู้บริหาร การได้ ค่าตอบแทนของคุณมีผลกระทบอย่างไร?  กรุณาให้ตัวอย่างการประเมินผลการปฏิบัติงานถูกนามาใช้ เพื่อ ช่วยในการพัฒนาทักษะการเป็นผู้นา และการปรับปรุง ประสิทธิภาพของตัวผู้นา ช่วยเล่าถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพ ของผู้นาทั่วทั้งองค์กรครั้งล่าสุด
  • 57. 3. การประเมินผลการดาเนินการ (ผู้นาอาวุโส) (ต่อ)  คุณมีวิธีการปรับปรุงกระบวนการในการประเมินผู้บริหารระดับ อาวุโสและผู้จัดการ ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมาอย่างไร?  กระบวนการที่ใช้ในการประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของ คณะกรรมการโดยรวม และสมาชิกในคณะกรรมการของแต่ละ บุคคลคืออะไร? กระบวนการเหล่านี้ ทางานได้ผลเป็นอย่างไร? คุณรู้ได้อย่างไร? สิ่งที่ได้รับการดาเนินการในการปรับปรุง กระบวนการเหล่านี้ คืออะไร?
  • 58. 4. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ (ความเสี่ยงต่อ สาธารณะ) [1.2ข(1)]  คุณคาดการณ์ความกังวลของประชาชนอย่างไร ถึงผลกระทบที่ เป็นไปได้จากองค์กรของคุณ? คุณกาหนดสิ่งที่มีความเสี่ยงต่อ สาธารณะจากผลิตภัณฑ์ จากการให้บริการ และจากการ ดาเนินงาน ในปัจจุบันหรือในอนาคตของคุณอย่างไร ?
  • 59. 4. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ (ความเสี่ยงต่อ สาธารณะ) (ต่อ)  อะไรคือตัวอย่างของความเสี่ยงที่คุณได้ระบุว่าเป็นเรื่องทั่วไป ใน เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการห่วงโซ่ อุปทานที่มีประสิทธิผล? สุ่มเลือกความเสี่ยง และขอให้อธิบาย สิ่ง ที่คุณทาเพื่อลดความเสี่ยงหรือภัยคุกคามต่อประชาชนว่าคือ อะไร? คุณจะรู้ว่าคุณจะประสบความสาเร็จในเรื่องเหล่านี้ ได้ อย่างไร? คุณวัดความก้าวหน้าอย่างไร?
  • 60. 4. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ (ความเสี่ยงต่อ สาธารณะ) (ต่อ)  ตัววัดและเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนา ในการระบุและลดความ เสี่ยงที่มีต่อประชาชนคืออะไร?  คุณจะรู้ได้อย่างไรว่ากระบวนการของคุณ มีประสิทธิผลในการ ปกป้องประชาชนจากความเสี่ยง ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์และ บริการ และแผนการของคุณ? คุณมีวิธีการปรับปรุงกระบวนการ เหล่านี้ อย่างไร?
  • 61. 5. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ [1.2ข(1)]  อะไรคือกระบวนการที่ใช้ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรทาง ธรรมชาติ? คุณประเมินการอนุรักษ์ว่ามีความสาคัญอย่างไร? ประสิทธิผลของกระบวนการอนุรักษ์เหล่านี้ เป็นอย่างไร? คุณรู้ได้ อย่างไร?  อะไรคือสิ่งที่สาคัญที่สุดการปฏิบัติตามข้อกาหนดทางกฎหมาย หรือกฎระเบียบขององค์กรของคุณ (เช่น EPA, FDA, CMS) เลือก หนึ่งอย่างและถามว่า คุณทาอย่างไรเพื่อให้แน่ใจว่า คุณ ตอบสนองได้ตามที่กาหนดหรือเกินความต้องการในเรื่องนี้ ?
  • 62. 6. การพฤติกรรมทางจริยธรรม [1.2ข(2)]  อะไรคือวิธีการที่องค์กรของคุณทาเพื่อให้แน่ใจว่า บุคลากรและคู่ค้าที่ สาคัญ ทาหน้าที่อย่างมีจริยธรรมในการดาเนินธุรกิจทั้งหมด รวมถึง การทาธุรกรรมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย? วิธีการวัดและประเมินเพื่อให้ แน่ใจว่า พฤติกรรมที่มีจริยธรรมจะยังคงอยู่คืออะไร?  (หมายเหตุ: ตัววัดอาจรวมถึงกรณีของการละเมิดจริยธรรมหรือการ ปฏิบัติตาม และการตอบสนองต่อผลการสารวจการรับรู้ของบุคลากร เรื่องจริยธรรมขององค์กร การใช้สายด่วนจริยธรรม และผลลัพธ์ความ คิดเห็นเรื่องจริยธรรมและการประเมิน)  สิ่งที่ละเมิดหรือการละเมิดจริยธรรมที่เกิดขึ้นมีอะไรบ้าง? เลือกมา หนึ่งอย่าง และขอให้อธิบายผลลัพธ์ของการละเมิดนี้ ?
  • 63. 7. ความผาสุกของสังคม [1.2ค(1)]  สิ่งที่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ใหญ่ที่สุด ที่องค์กรของคุณเผชิญคือ อะไร? ในฐานะที่เป็นพลเมืองดี อะไรคือกระบวนการของคุณได้ ช่วยเหลือ เพื่อการปรับปรุงสภาพแวดล้อม? สาหรับการปรับปรุง ระบบสังคม ระบบเศรษฐกิจ หรือสังคม?
  • 64. 7. ความผาสุกของสังคม (ต่อ)  ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ให้ถามว่า องค์กรของ คุณมีส่วนร่วมในเศรษฐกิจของท้องถิ่น (หรือรัฐ ประเทศ โลก ขึ้นอยู่กับพันธกิจและการเข้าถึงขององค์กร) อย่างไร? เพื่อ ประกอบการพิจารณาในที่นี้ อาจรวมถึงการใช้เทคโนโลยีสีเขียว กิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากร การลดลงของการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ การปรับปรุงในผลกระทบทางสังคม เช่นการ ใช้แรงงาน การลดของเสีย และการสนับสนุนการให้บริการชุมชน ในท้องถิ่น เช่นโรงเรียน โรงพยาบาล หรือคลินิก และสมาคม วิชาชีพ
  • 65. 8. การสนับสนุนชุมชน [1.2ค(2)]  สิ่งที่องค์กรของคุณสนับสนุนให้กับชุมชนท้องถิ่นคืออะไร?  ทาไมคุณถึงให้การสนับสนุนนี้ ? วิธีสนับสนุนนี้ สอดคล้องกับการ ลาดับความสาคัญขององค์กร กลยุทธ์ และเกี่ยวข้องกับ (การ ยกระดับ) สมรรถนะหลักขององค์กรของคุณอย่างไร?  สิ่งที่คุณ (ผู้บริหารระดับอาวุโส) ได้ทาเอง เพื่อนาไปสู่การพัฒนา ชุมชนท้องถิ่นมีอะไรบ้าง?
  • 66. 8. การสนับสนุนชุมชน (ต่อ)  องค์กรได้ทาอะไร ที่จะสนับสนุนให้บุคลากรสร้างความเข้มแข็ง ให้กับองค์กรชุมชนในท้องถิ่น? (หมายเหตุ: สาหรับองค์กรการ กุศล การสนับสนุนสังคมและชุมชนเป็นหน้าที่สาคัญของพวกเขา ผ่านกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับพันธกิจ ในกรณีดังกล่าว ความ เหมาะสมในการกาหนดขอบเขต อยู่ที่พวกเขาได้ใช้ความพยายาม เป็นพิเศษในการให้การสนับสนุนเพียงไร)
  • 67. 8. การสนับสนุนชุมชน (ต่อ)  คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า กระบวนการที่คุณใช้ ในการระบุและให้การ สนับสนุนชุมชนที่สาคัญ มีความเหมาะสม?  คุณจะรู้ได้อย่างไรว่า ทรัพยากรที่จัดสรรเพื่อวัตถุประสงค์เหล่านี้ ถูกนามาใช้อย่างเหมาะสม?  สิ่งที่คุณ (ผู้นาอาวุโส) ทาเพื่อปรับปรุงความพยายามของบุคคล และองค์กรของคุณ เพื่อสนับสนุนชุมชนเหล่านี้ คืออะไร?
  • 69. 1. กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ (ผู้เข้าร่วมและระยะเวลาการ วางแผน) [2.1ก(1)]  แผนกลยุทธ์มีการปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อใด? คุณได้มีส่วนร่วมใน ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์หรือไม่? บทบาทของคุณคือ อะไร? ใครบ้างที่มีส่วนร่วม และสิ่งที่แต่ละคนทาคืออะไร?  การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณมีระยะเวลาเท่าใด? ทาไม? ทาไม ไม่สั้นหรือยาวกว่านั้น?
  • 70. 1. กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (ผู้เข้าร่วมและระยะเวลาการ วางแผน) (ต่อ)  กระบวนการโดยรวมในการพัฒนากลยุทธ์เป็นอย่างไร? (ถามคน ที่มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผน ให้อธิบายวิธีการทางานโดย ไม่ต้องอ้างเอกสาร ผู้ตรวจประเมินต้องการประเมินว่าขั้นตอนการ วางแผนสอดคล้องกับความต้องการของเกณฑ์ และควรได้รับการ อธิบายจากคนที่วางแผนคล้ายกัน ผู้ตรวจประเมินไม่ได้ทดสอบ ความสามารถในการอ่านเอกสาร ที่เขียนในการวางแผน)
  • 71. 2. ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (การเปลี่ยนแปลง) [2.1ก(1)]  การเปลี่ยนแปลงมีความหมายอย่างไรกับคุณ? ขอบเขตใน ขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ ได้พิจารณาความจาเป็น ในการเปลี่ยนแปลงอย่างไร? (หมายเหตุ: ดูคาศัพท์สาหรับการ อธิบายเรื่องของการเปลี่ยนแปลง) กรุณาให้ตัวอย่างกลยุทธ์ที่ จาเป็นขององค์กร ที่จะต้องเปลี่ยนวัฒนธรรมหรือโครงสร้าง เพื่อ การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ
  • 72. 3. กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (ความคล่องตัวและความ ยืดหยุ่น) [2.1ก(1)]  ขอบเขตขั้นตอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ ได้กล่าวถึงความ คล่องตัวและความยืดหยุ่นขององค์กรอย่างไร? (ถาม สิ่งที่คุณทา ได้ดี ที่ทาให้องค์กรของคุณมีความได้เปรียบในตลาด เมื่อเทียบ กับผู้ให้บริการอื่น ๆ คืออะไร? สิ่งที่ทาให้คุณแตกต่างจากส่วนที่ เหลือคืออะไร?) จากรายการ เลือกมาหนึ่งอย่าง แล้วถามว่า คุณ คิดว่าข้อนี้ เป็นความสามารถหลักได้อย่างไร?
  • 73. 4. นวัตกรรม (โอกาสเชิงกลยุทธ์และความเสี่ยงที่ชาญฉลาด) [2.1ก(2)]  คุณใช้ขั้นตอนการวางแผน เพื่อช่วยกระตุ้นและสนับสนุนการ สร้างนวัตกรรมอย่างไร? โปรดให้ตัวอย่างของนวัตกรรม ที่เป็น ผลมาจากกระบวนการในการพัฒนากลยุทธ์  ช่วยอธิบายเกี่ยวกับโอกาสเชิงกลยุทธ์ ที่มีการระบุไว้ในขั้นตอน การวางแผน? เลือกมาหนึ่งอย่าง และขอให้อธิบายกระบวนการ (วิธีการวิเคราะห์ และข้อมูล) ที่ใช้ในการตัดสินใจว่า โอกาส เชิงกลยุทธ์นี้ เป็นตัวแทนของความเสี่ยงความเสี่ยงที่ชาญฉลาด มี คุณค่าในการดาเนินการ
  • 74. 5. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (ความท้าทายและความ ได้เปรียบ) [2.1ก(3)]  สิ่งที่ท้าทายที่องค์กรเผชิญ ที่อาจจะทาร้ายความสาเร็จในอนาคต คืออะไร? ข้อได้เปรียบที่อาจช่วยตาแหน่งการแข่งขันของคุณและ ในอนาคตของคุณ มีอะไรบ้าง?  เลือกความท้าทายโดยการสุ่มจากโครงร่างองค์กร [P.2ก] และ ถามว่า ข้อนี้ [ใส่ชื่อของความท้าทาย] มีอิทธิพลอย่างไรในการ วางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ? ช่วยแสดงว่า แผนของคุณได้ถูก ออกแบบมา เพื่อเอาชนะหรือบรรเทาความท้าทาย
  • 75. 5. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (ความท้าทายและความ ได้เปรียบ) (ต่อ)  เลือกความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์จากรายการในโครงร่างองค์กร [P.2ก] และถามว่าข้อนี้ [ใส่ชื่อของความได้เปรียบ] มีอิทธิพลต่อ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณอย่างไร? ช่วยแสดงว่าแผนของ คุณ ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างหรือใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบนี้ (ถามคาถามเกี่ยวกับความท้าทายและความได้เปรียบอื่น ๆ จนกว่าคุณจะพอใจ และเข้าใจวิธีการของพวกเขา)
  • 76. 6. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (การประสบความสาเร็จในอนาคต [เดิมคือ การพัฒนาอย่างยั่งยืน])  โปรดยกตัวอย่างวิธีการวางแผนของคุณ ที่วิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นความ เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระยะยาว เกี่ยวเนื่องกับความสาเร็จขององค์กร (หมายเหตุ: ความเสี่ยงเหล่านี้ อาจยกตัวอย่างเช่น สภาพแวดล้อมการ แข่งขันในขณะนี้ และในอนาคต การเปลี่ยนแปลงที่อาจส่งผลกระทบ ต่อคุณค่าที่ให้กับลูกค้า ผลิตภัณฑ์และการบริการขององค์กร สภาพ ภูมิอากาศ ความผูกพันของบุคลากร และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ผู้นาที่มีความสามารถปลูกฝัง (หรือไม่) ความต้องการทรัพยากร การเงิน สังคม จริยธรรม กฎระเบียบ และปัญหาด้านความปลอดภัย เป็นต้น)
  • 77. 7. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (จุดบอด) [2.1ก(3)]  กรุณายกตัวอย่างวิธีการวางแผนของคุณ ที่ได้ช่วยให้คุณรู้ปัญหา สิ่งที่เป็นความท้าทายหรือภัยคุกคามที่คุณอาจไม่ทราบ (หมาย เหตุ: ที่เรียกว่าเป็นจุดบอด)  คุณได้ทาอะไรเพื่อประเมินความถูกต้องของสมมติฐานในการ วางแผนและการคาดการณ์ ที่คุณใช้ในอดีตที่ผ่านมา ในการ พัฒนาแผนเชิงกลยุทธ์ของคุณ? อะไรคือสมมติฐานของ ข้อบกพร่องของการวางแผนก่อนหน้านี้ ? คุณได้กระทาอะไร เพื่อที่จะกาจัดสมมติฐานข้อบกพร่องนั้น? (หมายเหตุ: ที่เรียกว่า จุดบอด)
  • 78. 8. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ (ความสามารถในการดาเนิน กลยุทธ์) [2.1ก(3)]  กรุณายกตัวอย่าง การวางแผนการประเมินว่า องค์กรสามารถ ดาเนินการตามแผนกลยุทธ์ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างเช่น (เลือก เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์มา 1 อย่าง) ทาไมคุณคิด ว่า องค์กรของคุณสามารถทาได้? มีข้อมูลอะไร หรือปัจจัยอื่น ๆ ที่สนับสนุน ที่ทาให้คุณมีความมุ่งมั่นในการทาเช่นนี้ ?
  • 79. 9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปจากหมายเหตุ 2.1 ก(3)]  องค์กรของคุณได้ทาอะไรบ้าง ที่จะจัดการกับข้อมูลที่มีอัตรา ปริมาณ และความเร็วมากขึ้น? อะไรคือวิธีที่คุณใช้จัดการกับ ข้อมูล รวมถึงชุดข้อมูลขนาดใหญ่หลายอย่าง เช่น ตัวเลข สื่อ สังคม วิดีโอ การสารวจ และการศึกษาวิจัย? (หมายเหตุ: การ ประเมินข้อมูลที่มีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น ที่เรียกว่าเป็น ข้อมูล ขนาดใหญ่ หรือ big data)
  • 80. 9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปหมายเหตุ 2.1ก (3)] (ต่อ)  องค์กรของคุณขึ้นอยู่กับผู้ส่งมอบหรือคู่ค้าที่สาคัญ ในการประสบ ความสาเร็จหรือไม่? ถ้าคาตอบคือใช่ ถามว่าคือใคร? เลือกมา หนึ่งหรือสองจากรายการ และถามว่า คุณได้พิจารณาความ ต้องการและความสามารถของผู้ส่งมอบหรือคู่ค้าเหล่านี้ ใน ระหว่างขั้นตอนของการพัฒนาแผนกลยุทธ์ของคุณอย่างไร?
  • 81. 9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปหมายเหตุ 2.1ก (3)] (ต่อ)  องค์กรของคุณมีคู่แข่งที่สาคัญ ที่มีผลต่อการประสบความสาเร็จ หรือไม่? ถ้าคาตอบคือใช่ ถามว่าคือใคร? เลือกมาหนึ่งหรือสอง จากรายการ และขอให้เสนอสิ่งที่เป็นความสามารถที่คู่แข่งมี ที่ อาจสร้างปัญหาสาหรับองค์กรของคุณ? คุณได้พิจารณาภัย คุกคามที่เกิดจากคู่แข่งที่สาคัญนี้ ในระหว่างขั้นตอนของการ พัฒนาแผนกลยุทธ์ของคุณอย่างไร?
  • 82. 9. การวิเคราะห์และกาหนดกลยุทธ์ [ปัจจัยทั่วไปหมายเหตุ 2.1ก(3)] (ต่อ)  เทคโนโลยีใหม่ ที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรของคุณคืออะไร? เลือกมา หนึ่งหรือสองจากรายการ และถามว่า คุณได้พิจารณาเทคโนโลยีใหม่ เหล่านี้ ในระหว่างขั้นตอนของการพัฒนาแผนกลยุทธ์ของคุณอย่างไร?  อะไรคือกฎระเบียบ กฎหมาย การเงิน เศรษฐกิจ ความเสี่ยง หรือ จริยธรรม ที่องค์กรของคุณต้องเผชิญในอนาคต? เลือกมาบางอย่าง และถามว่า คุณได้ประเมินเรื่องนี้ ว่าเป็นความเสี่ยงอย่างไร? คุณได้ พิจารณาปัญหาที่อาจเกิดโดยความเสี่ยงนี้ ในขั้นตอนการพัฒนาแผน ของคุณอย่างไร?
  • 83. 10. ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์กร [2.1ก(4)]  (ระบบงาน ครอบคลุมการทางานทั้งหมดขององค์กร ที่จะต้องใช้ ทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกในการประสบความสาเร็จ เพื่อให้บรรลุพันธกิจ ดังนั้นระบบงานเกี่ยวข้องกับบุคลากรภายใน องค์กร และผู้ส่งมอบและคู่ค้าภายนอกที่สาคัญ ผู้รับเหมาและ ส่วนประกอบอื่น ๆ ของห่วงโซ่อุปทาน ทางานร่วมกัน) ช่วย อธิบายวิธีการที่คุณใช้ และปัจจัยที่คุณใช้พิจารณาในการตัดสินใจ ว่า (ก) อะไรคืองานที่จาเป็นต้องทาเอง และ (ข) งานใดเป็นการ ดาเนินการภายในหรือภายนอก?
  • 84. 10. ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์กร (ต่อ)  อะไรคือสมรรถนะหลักขององค์กรของคุณ? (อาจต้องถาม อะไร คือสิ่งที่คุณทาดี ที่ทาให้คุณได้เปรียบในตลาดหรือในหมู่ผู้ ให้บริการอื่น ๆ? อะไรคือสิ่งที่ทาให้คุณเหนือกว่าองค์กรที่ เหลือ?) จากรายการเลือกมาหนึ่ง และถามว่า คุณทราบได้ อย่างไรว่า นี่เป็นสมรรถนะหลัก?
  • 85. 10. ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์กร (ต่อ)  เมื่อคุณตัดสินใจที่จะจ้างงานให้ภายนอกทา อะไรคือสมรรถนะ หลักของผู้ส่งมอบเหล่านั้น (หรือผู้รับเหมา คู่ค้า หรือผู้ร่วมงาน) ที่ทาให้พวกเขาทาได้ดีกว่าองค์กรของคุณ และเหนือกว่า หน่วยงานภายนอกอื่น ๆ?
  • 86. 11. การปรับปรุงการวางแผน  คุณได้ทาอะไร เพื่อปรับปรุงความถูกต้อง และความมีประสิทธิผล ของกระบวนการวางแผนของคุณ? อะไรคือการปรับปรุงที่คุณได้ ทาในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา?
  • 87. 12. วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ [2.1ข(1)]  คุณประเมินความคืบหน้าของวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่สาคัญของ คุณบ่อยแค่ไหน? กรุณาแสดงระยะเวลาหรือการคาดการณ์การ บรรลุวัตถุประสงค์แต่ละข้อ คุณมีวิธีอย่างไรในการคาดการณ์ผล การดาเนินงานในอนาคต สาหรับแต่ละวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (เรียกว่าเป้าประสงค์)?
  • 88. 13. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ [2.1ข (2)]  ตรวจรายชื่อ ความท้าทายและข้อได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ขององค์กร ที่ให้ไว้ใน P.2ก เลือกมาหนึ่งอย่าง แล้วถามว่า กรุณาแสดงให้เห็น ว่า คุณได้ประเมินเพื่อให้แน่ใจว่า ความท้าทายหรือความ ได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ ได้รับการพิจารณาอย่างไร? จากนั้นตั้ง คาถามซ้าสาหรับความท้าทายหรือความได้เปรียบอื่น ๆ
  • 89. 13. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (ต่อ)  จากข้อมูลนี้ คุณคาดหวังว่า จะได้ทบทวนประสิทธิผลแต่ละ วัตถุประสงค์อย่างไร? ไตรมาสต่อไป? ปีหน้า? อีกสองปี ข้างหน้า? (หมายเหตุ: ความถี่ของการประเมินควรจะสอดคล้อง กับกระบวนการประเมินที่อธิบายในข้อ 4.1ข ตัวอย่างเช่น ทีมนา ระดับสูงทบทวนวัตถุประสงค์ของความพึงพอใจของลูกค้าเป็น รายไตรมาส การจัดตาแหน่งที่เหมาะสมหรือบูรณาการระยะเวลา ควรถูกกาหนดให้มีการประเมินที่สอดคล้องกัน นอกจากนี้ ระยะเวลาการรายงานภายใต้2.1ข(1) ควรระบุการวัดผลการ ดาเนินงานที่คาด ไม่ได้เป็นเพียงรายการของกิจกรรม)
  • 90. 13. การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (ต่อ)  คุณมีวิธีกาหนดความถี่ที่เหมาะสม หรือระยะเวลาในการประเมิน ความคืบหน้าสาหรับวัตถุประสงค์เหล่านี้ อย่างไร?  กรุณายกตัวอย่างวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ถูกออกแบบมา เพื่อ ความสมดุลของการแข่งขันความต้องการขององค์กรเอง เช่น ความปรารถนาที่จะควบคุมค่าใช้จ่าย และการบริการที่ดีแก่ลูกค้า (เฉพาะตัวอย่าง)
  • 92. 1. แผนปฏิบัติการ (การพัฒนาการวางแผน และการเปลี่ยนแปลง) [2.2ก(1)]  สุ่มเลือกวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ แล้วถามว่า กรุณาอธิบายการ จัดทาแผนระยะยาวและระยะสั้นของคุณ สาหรับวัตถุประสงค์ เชิงกลยุทธ์นี้ อะไรคือการเปลี่ยนแปลงในการวางแผนผลิตภัณฑ์ หรือบริการของคุณ ลูกค้าของคุณ หรือตลาด หรือการดาเนินงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์?
  • 93. 2. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การปฏิบัติ) [2.2ก(2)]  อะไรคือกระบวนการที่คุณใช้ ในการดาเนินการทั่วทั้งองค์กรตาม กลยุทธ์ของคุณ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของคุณ หรือบรรลุ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์?
  • 94. 3. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การสื่อสาร) [2.2ก(2)]  คุณมีการสื่อสารในทุกระดับขององค์กรอย่างไร? คุณจะทาอย่างไร ให้แน่ใจว่า เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ และแผนปฏิบัติการ มี ความเข้าใจ และนาไปใช้ทั่วทั้งองค์กร เพื่อการผลักดันและมี ความสอดคล้อง กับการทางาน และการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ?
  • 95. 4. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การจัดการงานให้สอดคล้องกับ แผน) [2.2ก(2)]  คุณทาอย่างไรเพื่อให้แน่ใจว่า บุคลากรทุกคนรู้ว่า งานที่เขาหรือ เธอต้องทาในการดาเนินการ เป็นส่วนหนึ่งของแผน?
  • 96. 5. การนาแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ (การพัฒนาอย่างยั่งยืน) [2.2ก (2)]  ขอดูแผนก่อนหน้านี้ เลือกการปรับปรุงที่ได้ทา หากการ เปลี่ยนแปลงนั้นไม่ยั่งยืน ให้ถามว่า มีกระบวนการอะไรที่ถูกสร้าง ขึ้นเพื่อให้แน่ใจว่า การเปลี่ยนแปลงในอนาคตสามารถยั่งยืน (เพื่อประเมินสิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้จากความล้มเหลวก่อนหน้านี้ และความรู้ที่เขามี)  คุณได้ทาอย่างไรเพื่อให้มั่นใจว่า องค์กร หน่วยงาน การกระทา ของแต่ละบุคคล และทรัพยากร มีความสอดคล้องในทุกระดับ เพื่อให้การดาเนินงานมีประสิทธิผล?
  • 97. 6. การจัดสรรทรัพยากร [2.2ก(2), 2.2ก(3)]  อะไรคือตัวอย่างของการจัดสรรทรัพยากรที่คุณทา ที่ทาให้คุณ สามารถบรรลุแผนปฏิบัติการของคุณ และในเวลาเดียวกัน สามารถบรรลุภาระหน้าที่อื่น ๆ ของคุณ?  จากรายการของการกระทา นามาหนึ่งหรือสองตัวอย่าง และขอให้ ผู้นาอธิบายเฉพาะวิธีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อให้แน่ใจว่าแผน เหล่านี้ สามารถทาได้
  • 98. 6. การจัดสรรทรัพยากร (ต่อ)  จากนั้นถามว่า มีวิธีการประเมินการอย่างไร เพื่อมั่นใจว่า ทรัพยากรถูกจัดสรรอย่างเหมาะสมและมีความเพียงพอ หากไม่ เพียงพอ สิ่งที่เกิดขึ้นต่อไปคืออะไร?  ถามว่า มีการปรับปรุงใด ๆ ที่ได้กระทา ในกระบวนการจัดสรร ทรัพยากรในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ถามซ้าอีก ในระดับที่แตกต่างกัน ภายในองค์กรในการประเมิน เพื่อตรวจดูความสอดคล้อง
  • 99. 7. แผนบุคลากร (ผู้คนและทักษะที่จาเป็น) [2.2ก(4)]  คุณกาหนดผู้คนและทักษะที่คุณจะต้องใช้ ในการดาเนินการตาม วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องอย่างไร? อะไรคือการเปลี่ยนแปลงของแผนบุคลากรของคุณ ในช่วงไม่กี่ปีที่ ผ่านมา ที่จะช่วยให้คุณบรรลุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และ แผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง? ประสิทธิผลและความถูกต้องของ แผนบุคลากรของคุณเป็นอย่างไร?
  • 100. 8. แผนบุคลากร (การเปลี่ยนแปลงเพื่อช่วยให้กลยุทธ์ประสบ ความสาเร็จ) [2.2ก(4)]  แผนบุคลากรขององค์กรที่มีความจาเป็น ที่จะดาเนินการตาม วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง มี อะไรบ้าง? สุ่มเลือกแผนปฏิบัติการและถามว่า คุณทาอย่างไรให้ แน่ใจว่า บุคลากรมีทักษะและระดับอัตราของบุคลากรที่เพียงพอ เพื่อให้บรรลุความต้องการแผนปฏิบัติการนี้ ?
  • 101. 8. แผนบุคลากร (การเปลี่ยนแปลงที่ทาเพื่อช่วยให้ประสบ ความสาเร็จกลยุทธ์) (ต่อ)  อะไรคือตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของแผนบุคลากร ที่มีปัจจัยมา จากการวางแผนเชิงกลยุทธ์ที่สาคัญ ในการประสบความสาเร็จ ทางธุรกิจ เช่นการรับสมัคร การฝึกอบรม การชดเชย ผลตอบแทนที่จูงใจ ประโยชน์ และแผนการอื่น ๆ ตามความ เหมาะสม?