SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
Management Approach
                แนวคิดทางการจัดการ




                           Watjana Poopanee
                   Mahasarakham Business School
                           Mahasarakham University
                  E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                1
เนือหา
                            ้
- แนวคิดและทฤษฎีทางการจัดการ
- แนวคิดการจัดการยุคคลาสสิค (Classical Approach)
- แนวคิดการจัดการเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach)
- แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Approach)
- แนวคิดการจัดการร่ วมสมัย (Contemporary Approach)



                                                      2
Management Approach (แนวคิดทางการจัดการ)




                                           3
แนวคิดและทฤษฎีทางการจัดการ
แนวคิด (Concept) หมายถึง การสรุปและจัดระเบียบเรื่ องราวจาก
รายละเอียดต่าง ๆ เพื่อวางเป็ นหลักการ
ทฤษฎี (Theory) หมายถึง แนวความคิดที่เกิดขึ ้นอย่างมีหลักเกณฑ์
มี ก ารทดสอบและการสั ง เกตจนเป็ นที่ แ น่ ใ จเป็ นข้ อสรุ ป อย่ า ง
กว้ างขวางที่ พรรณนาและอธิ บายพฤติก รรมการจัดการอย่างเป็ น
ระบบ
                                Concept (แนวคิด)
                                                VS
                                        Theory (ทฤษฎี)
                                                                      4
แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ




ที่มา : Management : from the Executive’s Viewpoint (ดร.สาคร สุขศรี วงศ์)
                                                                            5
แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ
                                     แนวคิดด้ านการจัดการ

                                                                              Contemporary
Classical Approaches    Behavioral Approaches     Quantitative Approaches
                                                                               Approaches
    (ยุคดังเดิม)
          ้                (เชิงพฤติกรรม)              (เชิงปริมาณ)           (เชิงร่ วมสมัย)

     การจัดการเชิง            การศึกษาที่เมือง              การบริหารในเชิง
                                                                              การจัดการเชิงระบบ
      วิทยาศาสตร์               ฮอร์ ธอร์ น                 วิทยาการจัดการ

                                                                                 การจัดการตาม
  การจัดการเชิงบริหาร        ทฤษฎีแรงจูงใจของ          การจัดการเชิงบริหาร
                              Abraham Maslow                                      สถานการณ์


    การจัดการระบบ            ขบวนการแนวคิด                                            ฯลฯ
       ราชการ                 มนุษยสัมพันธ์


                                                                                                6
1. แนวคิดยุคคลาสสิ ค (Classical Approach)

1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

1.2 แนวคิดการจัดการเชิงบริ หาร (Administrative Management)

1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)




                                                             7
1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

      การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เกิดขึ ้นในยุค
ปฏิวัติอุตสาหกรรมจากนักวิทยาศาสตร์ และนักคิดในยุคนัน ที่ต้องการพัฒนา
                                                              ้
ประสิทธิภาพในการทางาน โดยมีการตังสมมุติฐาน กาหนดตัวแปร ทดลอง และ
                                        ้
วัดผลการทดลองในกรณีตาง ๆ ซึงคล้ ายกับหลักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
                          ่       ่
      แนวความคิดนี ้เกิดจากแนวคิดของ Frederick Winslow Taylor (1856) และมี
ผู้สนับสนุนแนวคิด ที่สาคัญนี ้ คือ Henry Gantt รวมทัง้ Frank and Lillian Gilberth




                                                                                    8
1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

     Frederick Winslow Taylor (1856)    เฟรดเดอริก วินสโลว์
เทย์ เลอร์ ผู้ค้นพบการพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน จนได้
ชื่อว่าเป็ น “บิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ” หลักในการ
จัดการ 4 ประการคือ
 1. ในการทางานแต่ละงาน ให้ ใช้ วิธีทางวิทยาศาสตร์ ในการ
 คิดค้ นและกาหนด “วิธีที่ดีที่สด” สาหรับงานนัน
                               ุ             ้
 2. ให้ จดหมวดหมูในการทางานให้ เหมาะสม
         ั         ่
3. คัดเลือกคนงานที่เหมาะสมแล้ วฝึ กอบรมและพัฒนา
ตามวิธีการที่กาหนด
4. ให้ ฝ่ายบริ หารประสานงานและทาความเข้ าใจ
กับคนงานในเรื่ องต่าง ๆ อย่างใกล้ ชิด                         9
1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)


    Henry Gantt (เฮนรี่     แกนท์ ) ซึงสร้ างผลงานที่มีชื่อเสียงและ
                                      ่
ยังใช้ อยู่ในทุกวันนี ้ คือการกาหนดแผนภูมิการทางานในรู ปแบบ
“Gantt Chart”




                                                                      10
1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

    ตัวอย่ าง “Gantt Chart”




                                                        11
1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)

     Frank and Lillian Gilbreth    (แฟรงค์ และ ลิเลียน
กิ ล เบร็ ต ) มี ผ ลงานที่ ส าคั ญ คื อ การศึ ก ษาความ
เคลื่ อ นไหวในการท างานเพื่ อ ลดการเคลื่ อ นไหวที่ ไ ม่
จ าเป็ นออกไป จึ ง ท าให้ ส ามารถลดระยะเวลาในการ
ทางาน และลดความเมื่อยล้ าจากขันตอนการทางานที่ไม่
                                      ้
จ าเป็ น จึ ง เป็ นที่ ม าของการศึ ก ษา การยศาสตร์
(Ergonomics) ในปั จจุบน โดยหลักการที่สาคัญคือ
                          ั
                                        1. เวลาและการเคลื่อนไหว (Time and Motion)

                                        2. เทคนิคการทางานให้ ง่ายขึ ้น (Job simplification)

                                        3. การกาหนดมาตรฐานของงาน (Work standard)

                                        4. การจ่ายค่าจ้ างจูงใจ (Incentive wage plans)
                                                                                       12
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


      การจัดการตามหลักการบริ ห าร (Administrative Management) เป็ น
แนวคิดที่ สองของแนวคิด หลักการแบบดังเดิม ที่ ใ ห้ ความสาคัญกับหลักการ
                                       ้
จัดการของผู้บริ หารในภาพรวมทังหมด และแนวทางของการจัดโครงสร้ างที่ดี
                                 ้
ที่สดขององค์การ แนวคิดการจัดการเชิงบริ หารเห็นว่าประสิทธิภาพขององค์การ
    ุ
อาจเพิ่มขึ ้นได้ โดยการปรับปรุ งกระบวนการบริ หาร ซึ่งถือเป็ นวิถีทางที่นาไปสู่
จุดมุงหมายขององค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
      ่
        โดยบุคคลที่สาคัญสาหรับแนวคิดการจัดการเชิงบริ หาร ได้ แก่ Henry Fayol
(1841)




                                                                                 13
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


     Henry Fayol (1841)            อองรี ฟาโยล์ เป็ นผู้ที่มี
บทบาทสาคัญต่อการพัฒนาแนวคิดการจัดการเชิงบริ หาร
ซึ่งต่อมาได้ รับชื่อว่าเป็ น “บิดาแห่งการจัดการแนวใหม่ ”
ผลงานที่สาคัญ คือ
- การริเริ่มกาหนดกิจกรรมหลักในองค์กรธุรกิจ
(Business Activities)

- หน้ าที่ทางการจัดการ (Management Function)
- คุณลักษณะของผู้จดการ
                  ั
- หลักการจัดการ (Principle of Management)

                                                                14
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


 กิจกรรมหลัก (Business Activities) ในองค์ กรธุรกิจ 6 ประการ
  1. เทคนิคและการผลิต (Technical & Production)

  2. การพาณิชย์ (Commercial)
  3. การเงิน (Financial)
   4. ความมันคง (Security)
            ่
  5. การบัญชี (Accounting)
                                                 Henry Fayol (1841)
  6. การจัดการ (Management)
                                                                      15
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


 หน้ าที่ทางการจัดการ (Management Function)
1. การวางแผน (Planning) คือ การกาหนดแนวทาง
ของกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะทาในอนาคต
2. การจัดองค์ การ (Organizing) คือ การจัดหาและใช้
ทรัพยากรเพื่อนาไปสูการปฏิบติตามแผน
                    ่      ั
3. การบังคับบัญชา (Commanding) คือ การคัดเลือก ชีนา และ
                                                    ้
ประเมินผลพนักงานเพื่อประกันผลการทางานสูงสุตามแผนที่วางไว้
4. การประสานงาน (Coordinating) คือ การผนึกความพยายามและความร่วมมือจาก
หน่วยต่าง ๆ ในองค์การเข้ าด้ วยกัน การแบ่งปั นข้ อมูลและการร่วมกันแก้ ไขปั ญหา
5. การควบคุม (Controlling) คือ การสร้ างหลักประกันว่างานต่าง ๆ จะเป็ นไปตามแผนและ
การแก้ ไขปรับปรุงข้ อบกพร่องที่เกิดขึ ้น
                                                                                    16
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


 คุณลักษณะของผู้จัดการ 5 ประการ ได้ แก่
     1. มีร่างกายแข็งแรง

     2. มีสิตปั ญญา

     3. มีความรู้

     4. มีความสามารถ

     5. มีประสบการณ์

                                                             17
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


หลักการจัดการ (Principles of Management) 14 ข้ อ
1.   การแบ่งงานกันทา (Division of Work)
2.   อานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibilities)
3.   ระเบียบวินย (Discipline)
                ั
4.   เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command)
5.   เอกภาพในแนวทาง (Unity of Direction)
6.   ประโยชน์สวนบุคคลเป็ นรองประโยชน์สวนรวม (Subordination of
                  ่                     ่
     Individual to General Interest)
7.   ผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration)
1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management)


 หลักการจัดการ (Principles of Management) 14 ข้ อ
8.    การรวมอานาจไว้ ที่สวนกลาง (Centralization)
                            ่
9.    การจัดสายการบังคับบัญชา (Scalar Chain)
10.   ลาดับขันในการบังคับบัญชา (Order)
               ้
11.   ความเสมอภาค (Equity)
12.   ความมันคงในการจ้ างงาน (Stability of Tenure)
             ่
13.   ความคิดริเริ่ม (Initiative)
14.   ความสามัคคี (Esprit de Corps)
1.3   แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)

    การจั ด การตามระบบราชการ (Bureaucratic             Management) เป็ น
แนวความคิ ด ทางการจั ด การตามระบบราชการ มุ่ ง เน้ นการศึ ก ษาระบบ
โครงสร้ างองค์การที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะองค์การขนาดใหญ่ ได้ แก่
รัฐบาล ทหาร ธุรกิจ การเมือง และองค์การอื่น ๆ จะมีความซับซ้ อนของงานและ
มีความเป็ นทางการสูง
     โดยบุค คลที่ ส าคัญ สาหรั บ แนวคิ ดการจัด การตามระบบราชการ ได้ แ ก่
Max Weber
1.3   แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)

      Max Weber            (แมกซ์ เว็บเบอร์ ) นักสังคมวิทยา
ชาวเยอรมัน ได้ ทาการศึกษาระบบโครงสร้ างองค์การ ซึง            ่
ในการศึ ก ษาของเขาได้ เน้ นไปที่ ก ารท างานภายใน
องค์การ และการพิจารณาโครงสร้ างของสังคมโดยรวมที่
เกี่ ย วข้ อ งสัม พัน ธ์ กับ อ านาจหน้ า ที่ โดยเรี ย กรู ป แบบ
อง ค์ ก า รใ น อุ ด มค ติ ขอ ง เข าว่ า “ ร ะบ บร า ชก า ร
(Bureaucracy)” โดยเค้ าเชื่อว่ารู ปองค์การแบบนี ้จะทาให้
                                                                Max Weber
การทางานมีประสิทธิภาพสูงสุด
         โดย Max Weber ได้ กาหนดลักษณะขององค์การตามแนวคิดในระบบ
 ราชการ 5 คุณลักษณะดังนี ้

                                                                            21
1.3   แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)

 คุณลักษณะ 6 ประการตามแนวคิด Max Weber
1. การแบ่ งงานกันทาตามความถนัด (Division of work)     งานต่าง
ๆ ในองค์การจะถูกแตกแยกออกเป็ นงานเล็ก ๆ ง่าย ๆ มีลกษณะ ั
เป็ นงานประจา (Routine) และเป็ นงานที่ถกกาหนดไว้ อย่างดี ซึงจะ
                                       ู                   ่
ช่วยทาให้ บคคลที่ปฏิบติงานเกิดความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้ าน
           ุ         ั
และมีความรับผิดชอบต่องานที่ปฏิบติั                                       Max Weber

2. การจัดโครงสร้ างองค์ การลดหลั่นกันไปตามลาดับขันของอานาจหน้ าที่ (Hierarchy
                                                 ้
of authority) มีการกาหนดโครงสร้ างของอานาจหน้ าที่ ลาดับชันของสายการบังคับบัญชาจะ
                                                          ้
ลดหลันกันลงไปตามลาดับผู้ที่อยู่ในตาแหน่งที่สงกว่าจะบังคับบัญชาผู้ที่อยู่ในตาแหน่งที่ต่า
     ่                                      ู
กว่า


                                                                                          22
1.3   แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)

 คุณลักษณะ 6 ประการตามแนวคิด Max Weber

3.      การมีกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และวิธีท่ ีปฏิบัติอย่ างเป็ น
ทางการมีลายลักษณ์ อักษรชัดเจน (Formal rules, regulations
and procedures) ซึ่งจะส่งเสริ มให้ มีการทางานอย่างเป็ นระบบมี
มาตรฐานในการทางาน โดยมีการประสานงานของงานต่าง ๆ ได้ ดี
                                                                           Max Weber
ขึ ้น โดยทุกคนต้ องปฏิบติตามกฎนัน
                       ั        ้
4. ความสัมพันธ์ ท่ เป็ นทางการ (Impersonality) ความสัมพันธ์ ของตัวบุคคลในองค์การโดย
                   ี
ไม่มีเรื่ องความสัมพันธ์สวนตัวเข้ ามาเกี่ยวข้ อง การปฏิบติหน้ าที่ในองค์การจะมีลกษณะเป็ น
                         ่                              ั                       ั
ทางการ ไม่ยดถือตัวบุคคลคือทุกคนได้ รับการปฏิบติอย่างเท่าเทียมกัน
               ึ                                    ั


                                                                                            23
1.3   แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management)

 คุณลักษณะ 6 ประการตามแนวคิด Max Weber
5. การคัดเลือกบุคคลอย่ างเป็ นทางการ (Formal selection) ใน
การคัดเลือกบุคคลเข้ าทางานและการเลื่อนตาแหน่งให้ สงขึ ้นจะต้ อง
                                                  ู
อาศัยหลักความสามารถซึ่งวัดได้ จากผลการปฏิบติงาน การศึกษา
                                           ั
การฝึ กอบรม และการสอบ นอกจากนี ้ การให้ ออกจากงานก็จะต้ อง
มีหลักเกณฑ์ที่ชดเจน
               ั                                                       Max Weber

6. ความเป็ นสายอาชีพ (Career orientation) ผู้บริ หารในระบบราชการจะเป็ นผู้บริ หารมือ
อาชีพมากกว่าเป็ นเจ้ าของกิจการ โดยทางานภายใต้ เงินเดือนประจา และมุ่งพัฒนาวิชาชีพ
ของตนในองค์การ



                                                                                       24
แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ
                                     แนวคิดด้ านการจัดการ

                                                                              Contemporary
Classical Approaches    Behavioral Approaches     Quantitative Approaches
                                                                               Approaches
    (ยุคดังเดิม)
          ้                (เชิงพฤติกรรม)              (เชิงปริมาณ)           (เชิงร่ วมสมัย)

     การจัดการเชิง            การศึกษาที่เมือง              การบริหารในเชิง
                                                                              การจัดการเชิงระบบ
      วิทยาศาสตร์               ฮอร์ ธอร์ น                 วิทยาการจัดการ

                                                                                 การจัดการตาม
  การจัดการเชิงบริหาร        ทฤษฎีแรงจูงใจของ          การจัดการเชิงบริหาร
                              Abraham Maslow                                      สถานการณ์


    การจัดการระบบ            ขบวนการแนวคิด                                            ฯลฯ
       ราชการ                 มนุษยสัมพันธ์


                                                                                            25
2. แนวคิดการจัดการเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach)

2.1   กรณีศึกษาที่เมืองฮอร์ ธอร์ น (The Hawthorne Studies)

2.2   ทฤษฎีแรงจูงใจของ Abraham Maslow

2.3 ขบวนการแนวคิดมนุษยสัมพันธ์ (The human relations movement)




                                                             26
1.1 กรณีศึกษาที่เมืองฮอร์ ธอร์ น (The Hawthorne Studies)

       การศึ ก ษาที่ ฮ อว์ ธ อร์ น เป็ นการศึ ก ษาทดลองทาง
พฤติ ก รรมศาสตร์ ข องมนุษ ย์ ใ นการท างาน ผู้ น าในการ
ศึ ก ษาวิ จัย ครั ง นี ้ คื อ เอลตัน มาโย (Elton
                  ้                                 Mayo) ได้
ท าการศึ ก ษาที่ โ รงงานฮอว์ ธ อร์ น ของบริ ษั ท เวสเทิ ร์ น
อิเล็กทริกส์ (Western Electric)
         โดยมีสมมติฐานของการทดลองว่าความสามารถในการผลิตของคนงานมี
ความสัมพันธ์ โดยตรงกับสภาพแวดล้ อมทางแสงในที่ทางานโดยแบ่งพนักงาน
ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง (Experiment group) และกลุ่มควบคุม (Control
group) ซึ่งผลการวิจยพบว่าแสงสว่างลดลง ผลผลิตของพนักงานกลับเพิ่มขึ ้น จึง
                     ั
เป็ นที่ มาของการวิจัยในเวลาต่อมา ซึ่งจากงานวิจัยนี สามารถสรุ ป “ปั จจัยเชิ ง
                                                    ้
พฤติกรรม” ได้ ดงนี ้
                 ั
                                                                                27
1.1 กรณีศึกษาที่เมืองฮอร์ ธอร์ น (The Hawthorne Studies)

ข้ อสรุ ป “ปั จจัยเชิงพฤติกรรม” จากการวิจัยของ George Mayo
 1.  มนุษย์ เป็ นสิ่งมีชีวิตจิตใจ มีความต้ องการ ความปรารถนา มี
 เปาหมาย
   ้
 2. พฤติกรรมของมนุษย์ ไม่สามารถจูงใจในรู ปของตัวเงินอย่างเดียว
 แต่จะขึ ้นอยู่กบค่านิยม ความเชื่อถือ อารมณ์ และความรู้สกที่มีอยู่ใน
                ั                                       ึ
 ตัวของแต่ละคนด้ วย
 3.         ความสามารถในการท างานของคนงานไม่ ไ ด้ ขึ น อยู่กั บ
                                                              ้
 สภาพแวดล้ อมทางกายภาพอย่างเดียวแต่ขึ ้นอยู่กบสภาพแวดล้ อมทาง
                                                  ั
                                                                       George Mayo
 สังคมของหน่วยงาน ซึงได้ แก่ รูปแบบสภาวะของผู้นาด้ วย
                          ่
 4. มนุษย์มีธรรมชาติเป็ นมนุษย์สงคม ซึ่งต้ องพึงพอใจและมีความสัมพันธ์ต่อกันและกัน ดังนัน
                                ั                                                      ้
 อิทธิ พลของกลุ่มจึงมีส่วนสาคัญยิ่งในการกาหนดปทัสถานทางสังคม (Social norms) และ
 มาตรฐานของงาน
                                                                                     28
1.2 ทฤษฎีแรงจูงใจของ Abraham Maslow

        Abraham Maslow (อับบราฮัม มาสโลว์) ได้
นาเสนอเรื่ องความต้ องการของมนุษย์ในองค์การเป็ นเรื่ องที่
ผู้บริ หารต้ องเอาใจใส่ เพราะความต้ องการมีผลต่อทัศนคติ
และพฤติกรรมในการทางานของพนักงาน
    สมมุติ ฐ านที่ ใ ช้ อ ธิ บ ายทฤษฏี แ รงจูง ใจของมาสโลว์          Abraham Maslow
ประกอบด้ วย
  1. มนุษย์มีความต้ องการที่ไม่สิ ้นสุด

  2. ความต้ องการในระดับล่างต้ องได้ รับการตอบสนองก่อนจึงจะเริ่ มมีความต้ องการในขันต่อไป
                                                                                   ้
  3. ความต้ องการของมนุษย์มีความสลับซับซ้ อน


                                                                                        29
1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




                                            30
1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




      Physiological needs คือ ความต้ องการทางกายภาพที่สามารถดารงชีพ
                     อยู่ได้ ได้ แก่ อาหาร นา ที่อยู่อาศัย
                                            ้

                                                                      31
1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




      Safety คือ ความต้ องการถึงความปลอดภัย ทังจากโรคภัยไข้ เจ็บและความ
                                              ้
                          ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์ สน
                                      ิ           ิ



                                                                          32
1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




       Love/Social คือ ความต้ องการการเข้ าสังคมและการยอมรั บจากสังคม
                       ภายนอกร่ วมถึงต้ องการความรั ก




                                                                        33
1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow




        Esteem คือ ความต้ องการที่จะได้ รับการยกย่ องเชิดชู อาจจะต้ องการการ
              เลื่อนตาแหน่ งในองค์ การ หรื อรั บรางวัลจากการทางาน




                                                                               34
1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow


        Self-Actualization คือ ความต้ องการขันสูงสุดของมนุษย์ ซ่ งหมายถึงการ
                                                        ้                ึ
       เข้ าใจตัวเอง เข้ าใจโลก เข้ าใจธรรมชาติ หรื อความสาเร็จในสิ่งที่ตนเองต้ องการ
                                    จะเป็ น หรื อต้ องการจะทา




                                                                                        35
1.3 ขบวนการแนวคิดมนุษยสั มพันธ์ (The human relations movement)


        แนวคิดมนุ ษยสัมพันธ์ (The human relations
movement) เป็ นการศึกษาของ Douglas Mc Gregor ซึงศึกษา   ่
เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์และได้ ชี ้ให้ เห็นถึงการที่ผ้ บริ หาร
                                                          ู
จะควบคุมผู้ใต้ บงคับบัญชาได้ อย่างมีประสิทธิภาพได้ นนต้ อง
                ั                                           ั้
ทราบถึ ง ลัก ษณะพฤติ ก รรมของคน ความต้ องการ และ
แรงจูงใจของคนให้ ถ่องแท้ เสียก่อน                                  Douglas Mc Gregor

       แมคเกรเกอร์ จึงได้ เสนอกลยุทธ์ ด้านการจัดการที่เรี ยกว่า “ทฤษฎีเอ็กซ์
และทฤษฎีวาย” (Theory X & and Theory Y) ซึงเป็ นทฤษฎีที่จาแนกพฤติกรรมของ
                                            ่
มนุษย์ออกเป็ น 2 ประเภท เพื่อที่จะใช้ กลยุทธ์ การจัดการที่เหมาะสมกับลักษณะ
ของคนแต่ละประเภท
                                                                                       36
1.3 ขบวนการแนวคิดมนุษยสั มพันธ์ (The human relations movement)




     ที่มา : องค์การและการจัดการ (ทรงศักดิ์ พิริยะกฤต)           37
แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ
                                     แนวคิดด้ านการจัดการ

                                                                              Contemporary
Classical Approaches    Behavioral Approaches     Quantitative Approaches
                                                                               Approaches
    (ยุคดังเดิม)
          ้                (เชิงพฤติกรรม)              (เชิงปริมาณ)           (เชิงร่ วมสมัย)

     การจัดการเชิง            การศึกษาที่เมือง              การบริหารในเชิง
                                                                              การจัดการเชิงระบบ
      วิทยาศาสตร์               ฮอร์ ธอร์ น                 วิทยาการจัดการ

                                                                                 การจัดการตาม
  การจัดการเชิงบริหาร        ทฤษฎีแรงจูงใจของ
                              Abraham Maslow                                      สถานการณ์


    การจัดการระบบ            ขบวนการแนวคิด                                            ฯลฯ
       ราชการ                 มนุษยสัมพันธ์


                                                                                            38
3. แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Approach)

   3.1   การบริหารในเชิงวิทยาการจัดการ




                                                       39
3.1 การบริหารในเชิงวิทยาการจัดการ

      เทคนิคและเครื่ องมือที่ใช้ ในการบริ หารในเชิงวิทยาการจัดการนิยมนามาใช้
ประกอบด้ วย เทคนิคเชิงปริ มาณ ได้ แก่ โปรแกรมเชิงเส้ นตรง (Linear programming)
และไม่ใช่เส้ นตรง (Non – linear programming) การวิเคราะห์เครื อข่าย (Network
analysis) ทฤษฎีการเรี ยงลาดับ (Queering theory) การจาลองแบบคอมพิวเตอร์
(Computer simulations) และการวิจยการปฏิบติงาน (OR) เป็ นต้ น
                                   ั        ั




                                                                            40
3.1 การบริหารในเชิงวิทยาการจัดการ
ลักษณะที่สาคัญของการบริหารในเชิงปริมาณหรื อในเชิงวิทยาการจัดการมีดงนี ้คือ
                                                                  ั
2.1 เน้ นการตัดสินใจเพื่อใช้ ประโยชน์ทางการบริ หาร เนื่องจาก ในการบริ หารต้ องเผชิญกับทางเลือก
หลายทางเลือก ผู้บริ หารจึงจาเป็ นต้ องเลือกเอาทางเลือกใดทางเลือกหนึง่
2.2 ยึดหลักเศรษฐศาสตร์ เป็ นมาตรฐานในการตัดสินใจ คือ คานึงถึงรายได้ สงสุด ค่าใช้ จ่ายต่าสุด
                                                                     ู
อัตราตอบแทนมากที่สด หรื อได้ ประโยชน์มากที่สด
                   ุ                        ุ
2.3 ในการศึกษาวิเคราะห์จะใช้ สตรหรื อรูปแบบการวิเคราะห์ตามหลักการทางคณิตศาสตร์ หรื อเชิง
                                ู
ปริ มาณ ซึงเป็ นรูปแบบที่ย่งยากซับซ้ อน
          ่                ุ
2.4 ต้ องอาศัยเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้ อมูลจานวนมาก ช่วยในการศึกษาวิเคราะห์
ซึ่งบุคคลคนเดียวไม่สามารถวิเคราะห์หรื อจดจาได้ หมด ดังนัน การอาศัยเครื่ องคอมพิวเตอร์ จึงทาให้
                                                         ้
การตัดสินใจเร็ วชัดเจน ตรงประเด็น และทันเหตุการณ์ เป็ นผลให้ ลดการสูญเสียเวลาและค่าใช้ จ่าย
ก่อให้ เกิดการประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเป็ นอย่างดี
                                                                                              41
แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ
                                     แนวคิดด้ านการจัดการ

                                                                              Contemporary
Classical Approaches    Behavioral Approaches     Quantitative Approaches
                                                                               Approaches
    (ยุคดังเดิม)
          ้                (เชิงพฤติกรรม)              (เชิงปริมาณ)           (เชิงร่ วมสมัย)

     การจัดการเชิง            การศึกษาที่เมือง              การบริหารในเชิง
                                                                              การจัดการเชิงระบบ
      วิทยาศาสตร์               ฮอร์ ธอร์ น                 วิทยาการจัดการ

                                                                                 การจัดการตาม
  การจัดการเชิงบริหาร        ทฤษฎีแรงจูงใจของ
                              Abraham Maslow                                      สถานการณ์


    การจัดการระบบ            ขบวนการแนวคิด                                            ฯลฯ
       ราชการ                 มนุษยสัมพันธ์


                                                                                            42
4. แนวคิดการจัดการร่ วมสมัย (Contemporary Approach)


   4.1   การจัดการเชิงระบบ (Management System Approach)
   4.2 การจัดการตามสถานการณ์ (Contingency Management Approach)
   4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21




                                                           43
4.1   การจัดการเชิงระบบ (Management System Approach)
       แนวคิดการจัดการเชิงระบบ หรื อทฤษฎีเชิงระบบ (System theory) เป็ น
แนวคิดที่มององค์การเป็ นระบบตามหน้ าที่ที่สมพันธ์ กับสิ่งแวดล้ อม มีปฏิกิริยา
                                              ั
กับสิ่งแวดล้ อมเพื่อความอยู่รอด ซึ่งเป็ นลักษณะสาคัญ ขององค์การแบบระบบ
เปิ ด (Open system) ในขณะที่ระบบปิ ด (Closed system) สาหรับองค์ประกอบของ
องค์ ก ารในฐานะที่ เ ป็ นระบบจะประกอบด้ ว ย 4 ส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ องกัน ได้ แ ก่
1) ปั จจัยนาเข้ า 2) กระบวนการแปรสภาพ 3) ผลผลิต และ 4) การย้ อนกลับ




                                                                                     44
4.1   การจัดการเชิงระบบ




                          45
4.2 การจัดการตามสถานการณ์ (Contingency Management Approach)


      เป็ นแนวคิดซึ่งชี ้ให้ ผ้ บริ หารเห็นว่า การเลือกใช้ วิธีการบริ หารจัดการแบบใด
                                ู
จึงจะมีประสิทธิ ภาพสูงสุดนันขึนอยู่กับสถานการณ์ ในแต่ละสถานการณ์ การ
                                     ้ ้
แก้ ปัญหาทางการจัดการจึงไม่อาจหาวิธีใดที่ดีที่สดเพียงวิธีเดียวได้ แต่ผ้ บริ หาร
                                                        ุ                      ู
จาเป็ นต้ องศึกษาสภาพแวดล้ อมต่าง ๆ ตลอดจนติดตามการเปลี่ยนแปลงของ
สถานการณ์ ตลอดเวลาเพื่อให้ สามารถเลือกใช้ วิธีการบริ หารจัดการที่เหมาะสม
กับสถานการณ์ (Optimal Solution)




                                                                                       46
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21


  1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
  2. การจัดการกลยุทธ์ (Strategy Management)
  3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร
     ทรั พยากรมนุษย์




                                                      47
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

   1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
        แนวความคิด การจัดการในยุคโลกาภิวัตน์ ด้านคุณภาพด้ วยการสร้ าง
 คุณค่าของสินค้ าและบริ การ สามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าหรื อ
 ตลาด น าไปสู่ค วามได้ เ ปรี ย บการแข่ ง ขัน และพัฒ นาองค์ ก ารเพื่ อ ให้ มี ก าร
 เจริ ญเติบโตยังยืน มีแนวทางต่าง ๆ โดยมีแนวทางต่าง ๆ เช่น ISO, TQM, QC,
               ่
 Kaizen (Continuous Improvement), Six sigma, PDCA Model, KPI




                                                                                    48
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

   2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management)
            การจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็ นเครื่ องมือของนักบริ หารในการบริ หารงาน เพื่อตอบสนอง
ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพแวดล้ อ มที่ เ พิ่ ม ขึ น การบริ ห ารเชิ ง กลยุท ธ์ จ ะเน้ น และให้
                                                      ้
ความสาคัญต่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic decision making) ที่ไม่เหมือนกับการ
ตัดสินใจในลักษณะอื่น ๆ เพราะการบริ หารเชิงกลยุทธ์จะเกี่ยวข้ องกับอนาคตในระยะยาวของ
องค์การทังหมด ซึงมีลกษณะดังนี ้ คือ
          ้        ่ ั
- เป็ นกระบวนการของการบริ หารองค์การโดยรวม
- เป็ นการบริ หารที่เน้ นการสร้ างกลยุทธ์ เพื่อสร้ างความได้ เปรี ยบในการแข่งขันให้ กบองค์การในระยะยาว
                                                                                     ั
- เป็ นการตัดสินใจที่อาศัยชันเชิง ไม่มีวิธีการที่สาเร็จรูป
                            ้
- ต้ องอาศัยความร่ วมมือ พันธะผูกพัน (Commitment) และทรัพยากรในองค์การ
- มีทิศทางที่ชดเจนต่อทางเลือกต่าง ๆ และแสดงให้ ทกคนในองค์การเข้ าใจตรงกัน
              ั                                 ุ
                                                                                                  49
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management)
      แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์
       -Five Force Model (Michael E. Porter)
                  เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิเคราะห์ การแข่ งขันในอุตสาหกรรม




                                                                             50
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management)
      แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์
      -Porter’s Generic Strategy (Michael E. Porter)
                 กลยุทธ์ การสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน




                                                                51
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management)
      แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์
     -Value Chain (Michael E. Porter)
                การวิเคราะห์ ห่วงโซ่ คุณค่ าของกิจการ




                                                        52
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management)
      แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์
     - Balance Score Card : BSC (Kaplan & Norton)
                   เทคนิควิธีในการประเมินประสิทธิภาพขององค์ กร




                                                                 53
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

    3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร
       ทรั พยากรมนุษย์
      การจัดการในยุคโลกาภิวตน์ องค์การต้ องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงมาก
                             ั
ขึน ดังนัน การออกแบบองค์ ก ารจะต้ องก าหนดโครงสร้ างขององค์ การและ
  ้      ้
ระบบงานที่มีความยืดหยุ่น ทีมงานที่มีจานวนไม่มากเพื่อเหมาะสมกับงานที่มี
ความเสี่ยง และการเปลี่ยนแปลงกรอบแนวคิดการจัดองค์การและการบริ หาร
ทรัพยากรมนุษย์ภายใต้ การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญได้ แก่
      - Re-engineering (การปรับรื อโครงสร้ างองค์กร)
                                  ้
      - 7s McKinsey (การวิเคราะห์โครงสร้ างองค์กรด้ วย 7s McKinsey Model)



                                                                            54
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

  3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร
     ทรั พยากรมนุษย์
     - Re-engineering : การปรับรื อโครงสร้ างองค์กร (Michael Hammer
                                  ้
     & James Champy)




                                                                      55
4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21

  3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร
     ทรั พยากรมนุษย์
     - 7s McKinsey (การวิเคราะห์โครงสร้ างองค์กรด้ วย 7s McKinsey Model)




                                                                           56
SUMMARY
   &
QUESTION

           57

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing Aor's Sometime
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร Prathum Charoenroop
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาRatchaphon Cherngchon
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
อำนาจและการเมืองในองค์การ
อำนาจและการเมืองในองค์การอำนาจและการเมืองในองค์การ
อำนาจและการเมืองในองค์การParinya Thawichan
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 

Mais procurados (20)

บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
System management
System managementSystem management
System management
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำบทที่ 3  แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
บทที่ 3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้นำ
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.หลักการจัดการ.
หลักการจัดการ.
 
การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing  การจัดองค์กร organizing
การจัดองค์กร organizing
 
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร พฤติกรรมองค์กร
พฤติกรรมองค์กร
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษาสื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
สื่อการสอนวิชาทฤษฎีและหลักการบริหารการศึกษา
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
อำนาจและการเมืองในองค์การ
อำนาจและการเมืองในองค์การอำนาจและการเมืองในองค์การ
อำนาจและการเมืองในองค์การ
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 

Destaque

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจTK Tof
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจminniemild25
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารmontiya2530
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1Prapaporn Boonplord
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Nopporn Thepsithar
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
การตัดสินใจ
การตัดสินใจการตัดสินใจ
การตัดสินใจjeab87
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการchonlataz
 
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014ProductCamp Boston
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

Destaque (20)

ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
บทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจบทที่ 6 การตัดสินใจ
บทที่ 6 การตัดสินใจ
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
การตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer's decision making : Ch 11)
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1ทฤษฎีทางการบริหาร1
ทฤษฎีทางการบริหาร1
 
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
Presentation 2013-01-06 Supply Chain Capacity Building - Transportation Manag...
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
การตัดสินใจ
การตัดสินใจการตัดสินใจ
การตัดสินใจ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการ
 
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
Lesson 2-Planning and Decision Making
Lesson 2-Planning and Decision MakingLesson 2-Planning and Decision Making
Lesson 2-Planning and Decision Making
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
Tools for decision making (Brian Haff) ProductCamp Boston 2014
 
Decision making 1
Decision making 1Decision making 1
Decision making 1
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 

Semelhante a OM Theory (Ch.2)

Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theoryKan Yuenyong
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedไพรวัล ดวงตา
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824pantapong
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
E 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษา
E 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษาE 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษา
E 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษาArjan Somkiert
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาwiraja
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWatcharin Chongkonsatit
 

Semelhante a OM Theory (Ch.2) (20)

Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Development of management theory
Development of management theoryDevelopment of management theory
Development of management theory
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 
Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824Hr and organization innovation@KKU 20140824
Hr and organization innovation@KKU 20140824
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
E 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษา
E 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษาE 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษา
E 716 การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษา
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
Ha & army hospitals
Ha & army hospitalsHa & army hospitals
Ha & army hospitals
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 

Mais de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Mais de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (20)

Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 

OM Theory (Ch.2)

  • 1. Management Approach แนวคิดทางการจัดการ Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. เนือหา ้ - แนวคิดและทฤษฎีทางการจัดการ - แนวคิดการจัดการยุคคลาสสิค (Classical Approach) - แนวคิดการจัดการเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach) - แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) - แนวคิดการจัดการร่ วมสมัย (Contemporary Approach) 2
  • 4. แนวคิดและทฤษฎีทางการจัดการ แนวคิด (Concept) หมายถึง การสรุปและจัดระเบียบเรื่ องราวจาก รายละเอียดต่าง ๆ เพื่อวางเป็ นหลักการ ทฤษฎี (Theory) หมายถึง แนวความคิดที่เกิดขึ ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ มี ก ารทดสอบและการสั ง เกตจนเป็ นที่ แ น่ ใ จเป็ นข้ อสรุ ป อย่ า ง กว้ างขวางที่ พรรณนาและอธิ บายพฤติก รรมการจัดการอย่างเป็ น ระบบ Concept (แนวคิด) VS Theory (ทฤษฎี) 4
  • 5. แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ ที่มา : Management : from the Executive’s Viewpoint (ดร.สาคร สุขศรี วงศ์) 5
  • 6. แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ แนวคิดด้ านการจัดการ Contemporary Classical Approaches Behavioral Approaches Quantitative Approaches Approaches (ยุคดังเดิม) ้ (เชิงพฤติกรรม) (เชิงปริมาณ) (เชิงร่ วมสมัย) การจัดการเชิง การศึกษาที่เมือง การบริหารในเชิง การจัดการเชิงระบบ วิทยาศาสตร์ ฮอร์ ธอร์ น วิทยาการจัดการ การจัดการตาม การจัดการเชิงบริหาร ทฤษฎีแรงจูงใจของ การจัดการเชิงบริหาร Abraham Maslow สถานการณ์ การจัดการระบบ ขบวนการแนวคิด ฯลฯ ราชการ มนุษยสัมพันธ์ 6
  • 7. 1. แนวคิดยุคคลาสสิ ค (Classical Approach) 1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) 1.2 แนวคิดการจัดการเชิงบริ หาร (Administrative Management) 1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) 7
  • 8. 1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เกิดขึ ้นในยุค ปฏิวัติอุตสาหกรรมจากนักวิทยาศาสตร์ และนักคิดในยุคนัน ที่ต้องการพัฒนา ้ ประสิทธิภาพในการทางาน โดยมีการตังสมมุติฐาน กาหนดตัวแปร ทดลอง และ ้ วัดผลการทดลองในกรณีตาง ๆ ซึงคล้ ายกับหลักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ่ ่ แนวความคิดนี ้เกิดจากแนวคิดของ Frederick Winslow Taylor (1856) และมี ผู้สนับสนุนแนวคิด ที่สาคัญนี ้ คือ Henry Gantt รวมทัง้ Frank and Lillian Gilberth 8
  • 9. 1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) Frederick Winslow Taylor (1856) เฟรดเดอริก วินสโลว์ เทย์ เลอร์ ผู้ค้นพบการพัฒนาประสิทธิภาพในการทางาน จนได้ ชื่อว่าเป็ น “บิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ” หลักในการ จัดการ 4 ประการคือ 1. ในการทางานแต่ละงาน ให้ ใช้ วิธีทางวิทยาศาสตร์ ในการ คิดค้ นและกาหนด “วิธีที่ดีที่สด” สาหรับงานนัน ุ ้ 2. ให้ จดหมวดหมูในการทางานให้ เหมาะสม ั ่ 3. คัดเลือกคนงานที่เหมาะสมแล้ วฝึ กอบรมและพัฒนา ตามวิธีการที่กาหนด 4. ให้ ฝ่ายบริ หารประสานงานและทาความเข้ าใจ กับคนงานในเรื่ องต่าง ๆ อย่างใกล้ ชิด 9
  • 10. 1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) Henry Gantt (เฮนรี่ แกนท์ ) ซึงสร้ างผลงานที่มีชื่อเสียงและ ่ ยังใช้ อยู่ในทุกวันนี ้ คือการกาหนดแผนภูมิการทางานในรู ปแบบ “Gantt Chart” 10
  • 12. 1.1 แนวคิดการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) Frank and Lillian Gilbreth (แฟรงค์ และ ลิเลียน กิ ล เบร็ ต ) มี ผ ลงานที่ ส าคั ญ คื อ การศึ ก ษาความ เคลื่ อ นไหวในการท างานเพื่ อ ลดการเคลื่ อ นไหวที่ ไ ม่ จ าเป็ นออกไป จึ ง ท าให้ ส ามารถลดระยะเวลาในการ ทางาน และลดความเมื่อยล้ าจากขันตอนการทางานที่ไม่ ้ จ าเป็ น จึ ง เป็ นที่ ม าของการศึ ก ษา การยศาสตร์ (Ergonomics) ในปั จจุบน โดยหลักการที่สาคัญคือ ั 1. เวลาและการเคลื่อนไหว (Time and Motion) 2. เทคนิคการทางานให้ ง่ายขึ ้น (Job simplification) 3. การกาหนดมาตรฐานของงาน (Work standard) 4. การจ่ายค่าจ้ างจูงใจ (Incentive wage plans) 12
  • 13. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) การจัดการตามหลักการบริ ห าร (Administrative Management) เป็ น แนวคิดที่ สองของแนวคิด หลักการแบบดังเดิม ที่ ใ ห้ ความสาคัญกับหลักการ ้ จัดการของผู้บริ หารในภาพรวมทังหมด และแนวทางของการจัดโครงสร้ างที่ดี ้ ที่สดขององค์การ แนวคิดการจัดการเชิงบริ หารเห็นว่าประสิทธิภาพขององค์การ ุ อาจเพิ่มขึ ้นได้ โดยการปรับปรุ งกระบวนการบริ หาร ซึ่งถือเป็ นวิถีทางที่นาไปสู่ จุดมุงหมายขององค์การได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ่ โดยบุคคลที่สาคัญสาหรับแนวคิดการจัดการเชิงบริ หาร ได้ แก่ Henry Fayol (1841) 13
  • 14. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) Henry Fayol (1841) อองรี ฟาโยล์ เป็ นผู้ที่มี บทบาทสาคัญต่อการพัฒนาแนวคิดการจัดการเชิงบริ หาร ซึ่งต่อมาได้ รับชื่อว่าเป็ น “บิดาแห่งการจัดการแนวใหม่ ” ผลงานที่สาคัญ คือ - การริเริ่มกาหนดกิจกรรมหลักในองค์กรธุรกิจ (Business Activities) - หน้ าที่ทางการจัดการ (Management Function) - คุณลักษณะของผู้จดการ ั - หลักการจัดการ (Principle of Management) 14
  • 15. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) กิจกรรมหลัก (Business Activities) ในองค์ กรธุรกิจ 6 ประการ 1. เทคนิคและการผลิต (Technical & Production) 2. การพาณิชย์ (Commercial) 3. การเงิน (Financial) 4. ความมันคง (Security) ่ 5. การบัญชี (Accounting) Henry Fayol (1841) 6. การจัดการ (Management) 15
  • 16. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) หน้ าที่ทางการจัดการ (Management Function) 1. การวางแผน (Planning) คือ การกาหนดแนวทาง ของกิจกรรมต่าง ๆ ที่จะทาในอนาคต 2. การจัดองค์ การ (Organizing) คือ การจัดหาและใช้ ทรัพยากรเพื่อนาไปสูการปฏิบติตามแผน ่ ั 3. การบังคับบัญชา (Commanding) คือ การคัดเลือก ชีนา และ ้ ประเมินผลพนักงานเพื่อประกันผลการทางานสูงสุตามแผนที่วางไว้ 4. การประสานงาน (Coordinating) คือ การผนึกความพยายามและความร่วมมือจาก หน่วยต่าง ๆ ในองค์การเข้ าด้ วยกัน การแบ่งปั นข้ อมูลและการร่วมกันแก้ ไขปั ญหา 5. การควบคุม (Controlling) คือ การสร้ างหลักประกันว่างานต่าง ๆ จะเป็ นไปตามแผนและ การแก้ ไขปรับปรุงข้ อบกพร่องที่เกิดขึ ้น 16
  • 17. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) คุณลักษณะของผู้จัดการ 5 ประการ ได้ แก่ 1. มีร่างกายแข็งแรง 2. มีสิตปั ญญา 3. มีความรู้ 4. มีความสามารถ 5. มีประสบการณ์ 17
  • 18. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) หลักการจัดการ (Principles of Management) 14 ข้ อ 1. การแบ่งงานกันทา (Division of Work) 2. อานาจหน้ าที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibilities) 3. ระเบียบวินย (Discipline) ั 4. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) 5. เอกภาพในแนวทาง (Unity of Direction) 6. ประโยชน์สวนบุคคลเป็ นรองประโยชน์สวนรวม (Subordination of ่ ่ Individual to General Interest) 7. ผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration)
  • 19. 1.2 แนวคิดการจัดการเชิ งบริหาร (Administrative Management) หลักการจัดการ (Principles of Management) 14 ข้ อ 8. การรวมอานาจไว้ ที่สวนกลาง (Centralization) ่ 9. การจัดสายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) 10. ลาดับขันในการบังคับบัญชา (Order) ้ 11. ความเสมอภาค (Equity) 12. ความมันคงในการจ้ างงาน (Stability of Tenure) ่ 13. ความคิดริเริ่ม (Initiative) 14. ความสามัคคี (Esprit de Corps)
  • 20. 1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) การจั ด การตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) เป็ น แนวความคิ ด ทางการจั ด การตามระบบราชการ มุ่ ง เน้ นการศึ ก ษาระบบ โครงสร้ างองค์การที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะองค์การขนาดใหญ่ ได้ แก่ รัฐบาล ทหาร ธุรกิจ การเมือง และองค์การอื่น ๆ จะมีความซับซ้ อนของงานและ มีความเป็ นทางการสูง โดยบุค คลที่ ส าคัญ สาหรั บ แนวคิ ดการจัด การตามระบบราชการ ได้ แ ก่ Max Weber
  • 21. 1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) Max Weber (แมกซ์ เว็บเบอร์ ) นักสังคมวิทยา ชาวเยอรมัน ได้ ทาการศึกษาระบบโครงสร้ างองค์การ ซึง ่ ในการศึ ก ษาของเขาได้ เน้ นไปที่ ก ารท างานภายใน องค์การ และการพิจารณาโครงสร้ างของสังคมโดยรวมที่ เกี่ ย วข้ อ งสัม พัน ธ์ กับ อ านาจหน้ า ที่ โดยเรี ย กรู ป แบบ อง ค์ ก า รใ น อุ ด มค ติ ขอ ง เข าว่ า “ ร ะบ บร า ชก า ร (Bureaucracy)” โดยเค้ าเชื่อว่ารู ปองค์การแบบนี ้จะทาให้ Max Weber การทางานมีประสิทธิภาพสูงสุด โดย Max Weber ได้ กาหนดลักษณะขององค์การตามแนวคิดในระบบ ราชการ 5 คุณลักษณะดังนี ้ 21
  • 22. 1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) คุณลักษณะ 6 ประการตามแนวคิด Max Weber 1. การแบ่ งงานกันทาตามความถนัด (Division of work) งานต่าง ๆ ในองค์การจะถูกแตกแยกออกเป็ นงานเล็ก ๆ ง่าย ๆ มีลกษณะ ั เป็ นงานประจา (Routine) และเป็ นงานที่ถกกาหนดไว้ อย่างดี ซึงจะ ู ่ ช่วยทาให้ บคคลที่ปฏิบติงานเกิดความเชี่ยวชาญในงานเฉพาะด้ าน ุ ั และมีความรับผิดชอบต่องานที่ปฏิบติั Max Weber 2. การจัดโครงสร้ างองค์ การลดหลั่นกันไปตามลาดับขันของอานาจหน้ าที่ (Hierarchy ้ of authority) มีการกาหนดโครงสร้ างของอานาจหน้ าที่ ลาดับชันของสายการบังคับบัญชาจะ ้ ลดหลันกันลงไปตามลาดับผู้ที่อยู่ในตาแหน่งที่สงกว่าจะบังคับบัญชาผู้ที่อยู่ในตาแหน่งที่ต่า ่ ู กว่า 22
  • 23. 1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) คุณลักษณะ 6 ประการตามแนวคิด Max Weber 3. การมีกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และวิธีท่ ีปฏิบัติอย่ างเป็ น ทางการมีลายลักษณ์ อักษรชัดเจน (Formal rules, regulations and procedures) ซึ่งจะส่งเสริ มให้ มีการทางานอย่างเป็ นระบบมี มาตรฐานในการทางาน โดยมีการประสานงานของงานต่าง ๆ ได้ ดี Max Weber ขึ ้น โดยทุกคนต้ องปฏิบติตามกฎนัน ั ้ 4. ความสัมพันธ์ ท่ เป็ นทางการ (Impersonality) ความสัมพันธ์ ของตัวบุคคลในองค์การโดย ี ไม่มีเรื่ องความสัมพันธ์สวนตัวเข้ ามาเกี่ยวข้ อง การปฏิบติหน้ าที่ในองค์การจะมีลกษณะเป็ น ่ ั ั ทางการ ไม่ยดถือตัวบุคคลคือทุกคนได้ รับการปฏิบติอย่างเท่าเทียมกัน ึ ั 23
  • 24. 1.3 แนวคิดการจัดการตามระบบราชการ (Bureaucratic Management) คุณลักษณะ 6 ประการตามแนวคิด Max Weber 5. การคัดเลือกบุคคลอย่ างเป็ นทางการ (Formal selection) ใน การคัดเลือกบุคคลเข้ าทางานและการเลื่อนตาแหน่งให้ สงขึ ้นจะต้ อง ู อาศัยหลักความสามารถซึ่งวัดได้ จากผลการปฏิบติงาน การศึกษา ั การฝึ กอบรม และการสอบ นอกจากนี ้ การให้ ออกจากงานก็จะต้ อง มีหลักเกณฑ์ที่ชดเจน ั Max Weber 6. ความเป็ นสายอาชีพ (Career orientation) ผู้บริ หารในระบบราชการจะเป็ นผู้บริ หารมือ อาชีพมากกว่าเป็ นเจ้ าของกิจการ โดยทางานภายใต้ เงินเดือนประจา และมุ่งพัฒนาวิชาชีพ ของตนในองค์การ 24
  • 25. แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ แนวคิดด้ านการจัดการ Contemporary Classical Approaches Behavioral Approaches Quantitative Approaches Approaches (ยุคดังเดิม) ้ (เชิงพฤติกรรม) (เชิงปริมาณ) (เชิงร่ วมสมัย) การจัดการเชิง การศึกษาที่เมือง การบริหารในเชิง การจัดการเชิงระบบ วิทยาศาสตร์ ฮอร์ ธอร์ น วิทยาการจัดการ การจัดการตาม การจัดการเชิงบริหาร ทฤษฎีแรงจูงใจของ การจัดการเชิงบริหาร Abraham Maslow สถานการณ์ การจัดการระบบ ขบวนการแนวคิด ฯลฯ ราชการ มนุษยสัมพันธ์ 25
  • 26. 2. แนวคิดการจัดการเชิงพฤติกรรม (Behavioral Approach) 2.1 กรณีศึกษาที่เมืองฮอร์ ธอร์ น (The Hawthorne Studies) 2.2 ทฤษฎีแรงจูงใจของ Abraham Maslow 2.3 ขบวนการแนวคิดมนุษยสัมพันธ์ (The human relations movement) 26
  • 27. 1.1 กรณีศึกษาที่เมืองฮอร์ ธอร์ น (The Hawthorne Studies) การศึ ก ษาที่ ฮ อว์ ธ อร์ น เป็ นการศึ ก ษาทดลองทาง พฤติ ก รรมศาสตร์ ข องมนุษ ย์ ใ นการท างาน ผู้ น าในการ ศึ ก ษาวิ จัย ครั ง นี ้ คื อ เอลตัน มาโย (Elton ้ Mayo) ได้ ท าการศึ ก ษาที่ โ รงงานฮอว์ ธ อร์ น ของบริ ษั ท เวสเทิ ร์ น อิเล็กทริกส์ (Western Electric) โดยมีสมมติฐานของการทดลองว่าความสามารถในการผลิตของคนงานมี ความสัมพันธ์ โดยตรงกับสภาพแวดล้ อมทางแสงในที่ทางานโดยแบ่งพนักงาน ออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง (Experiment group) และกลุ่มควบคุม (Control group) ซึ่งผลการวิจยพบว่าแสงสว่างลดลง ผลผลิตของพนักงานกลับเพิ่มขึ ้น จึง ั เป็ นที่ มาของการวิจัยในเวลาต่อมา ซึ่งจากงานวิจัยนี สามารถสรุ ป “ปั จจัยเชิ ง ้ พฤติกรรม” ได้ ดงนี ้ ั 27
  • 28. 1.1 กรณีศึกษาที่เมืองฮอร์ ธอร์ น (The Hawthorne Studies) ข้ อสรุ ป “ปั จจัยเชิงพฤติกรรม” จากการวิจัยของ George Mayo 1. มนุษย์ เป็ นสิ่งมีชีวิตจิตใจ มีความต้ องการ ความปรารถนา มี เปาหมาย ้ 2. พฤติกรรมของมนุษย์ ไม่สามารถจูงใจในรู ปของตัวเงินอย่างเดียว แต่จะขึ ้นอยู่กบค่านิยม ความเชื่อถือ อารมณ์ และความรู้สกที่มีอยู่ใน ั ึ ตัวของแต่ละคนด้ วย 3. ความสามารถในการท างานของคนงานไม่ ไ ด้ ขึ น อยู่กั บ ้ สภาพแวดล้ อมทางกายภาพอย่างเดียวแต่ขึ ้นอยู่กบสภาพแวดล้ อมทาง ั George Mayo สังคมของหน่วยงาน ซึงได้ แก่ รูปแบบสภาวะของผู้นาด้ วย ่ 4. มนุษย์มีธรรมชาติเป็ นมนุษย์สงคม ซึ่งต้ องพึงพอใจและมีความสัมพันธ์ต่อกันและกัน ดังนัน ั ้ อิทธิ พลของกลุ่มจึงมีส่วนสาคัญยิ่งในการกาหนดปทัสถานทางสังคม (Social norms) และ มาตรฐานของงาน 28
  • 29. 1.2 ทฤษฎีแรงจูงใจของ Abraham Maslow Abraham Maslow (อับบราฮัม มาสโลว์) ได้ นาเสนอเรื่ องความต้ องการของมนุษย์ในองค์การเป็ นเรื่ องที่ ผู้บริ หารต้ องเอาใจใส่ เพราะความต้ องการมีผลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมในการทางานของพนักงาน สมมุติ ฐ านที่ ใ ช้ อ ธิ บ ายทฤษฏี แ รงจูง ใจของมาสโลว์ Abraham Maslow ประกอบด้ วย 1. มนุษย์มีความต้ องการที่ไม่สิ ้นสุด 2. ความต้ องการในระดับล่างต้ องได้ รับการตอบสนองก่อนจึงจะเริ่ มมีความต้ องการในขันต่อไป ้ 3. ความต้ องการของมนุษย์มีความสลับซับซ้ อน 29
  • 30. 1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow 30
  • 31. 1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Physiological needs คือ ความต้ องการทางกายภาพที่สามารถดารงชีพ อยู่ได้ ได้ แก่ อาหาร นา ที่อยู่อาศัย ้ 31
  • 32. 1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Safety คือ ความต้ องการถึงความปลอดภัย ทังจากโรคภัยไข้ เจ็บและความ ้ ปลอดภัยในชีวตและทรัพย์ สน ิ ิ 32
  • 33. 1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Love/Social คือ ความต้ องการการเข้ าสังคมและการยอมรั บจากสังคม ภายนอกร่ วมถึงต้ องการความรั ก 33
  • 34. 1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Esteem คือ ความต้ องการที่จะได้ รับการยกย่ องเชิดชู อาจจะต้ องการการ เลื่อนตาแหน่ งในองค์ การ หรื อรั บรางวัลจากการทางาน 34
  • 35. 1.2 ความต้ องการ 5 ขั้นของ Abraham Maslow Self-Actualization คือ ความต้ องการขันสูงสุดของมนุษย์ ซ่ งหมายถึงการ ้ ึ เข้ าใจตัวเอง เข้ าใจโลก เข้ าใจธรรมชาติ หรื อความสาเร็จในสิ่งที่ตนเองต้ องการ จะเป็ น หรื อต้ องการจะทา 35
  • 36. 1.3 ขบวนการแนวคิดมนุษยสั มพันธ์ (The human relations movement) แนวคิดมนุ ษยสัมพันธ์ (The human relations movement) เป็ นการศึกษาของ Douglas Mc Gregor ซึงศึกษา ่ เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์และได้ ชี ้ให้ เห็นถึงการที่ผ้ บริ หาร ู จะควบคุมผู้ใต้ บงคับบัญชาได้ อย่างมีประสิทธิภาพได้ นนต้ อง ั ั้ ทราบถึ ง ลัก ษณะพฤติ ก รรมของคน ความต้ องการ และ แรงจูงใจของคนให้ ถ่องแท้ เสียก่อน Douglas Mc Gregor แมคเกรเกอร์ จึงได้ เสนอกลยุทธ์ ด้านการจัดการที่เรี ยกว่า “ทฤษฎีเอ็กซ์ และทฤษฎีวาย” (Theory X & and Theory Y) ซึงเป็ นทฤษฎีที่จาแนกพฤติกรรมของ ่ มนุษย์ออกเป็ น 2 ประเภท เพื่อที่จะใช้ กลยุทธ์ การจัดการที่เหมาะสมกับลักษณะ ของคนแต่ละประเภท 36
  • 37. 1.3 ขบวนการแนวคิดมนุษยสั มพันธ์ (The human relations movement) ที่มา : องค์การและการจัดการ (ทรงศักดิ์ พิริยะกฤต) 37
  • 38. แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ แนวคิดด้ านการจัดการ Contemporary Classical Approaches Behavioral Approaches Quantitative Approaches Approaches (ยุคดังเดิม) ้ (เชิงพฤติกรรม) (เชิงปริมาณ) (เชิงร่ วมสมัย) การจัดการเชิง การศึกษาที่เมือง การบริหารในเชิง การจัดการเชิงระบบ วิทยาศาสตร์ ฮอร์ ธอร์ น วิทยาการจัดการ การจัดการตาม การจัดการเชิงบริหาร ทฤษฎีแรงจูงใจของ Abraham Maslow สถานการณ์ การจัดการระบบ ขบวนการแนวคิด ฯลฯ ราชการ มนุษยสัมพันธ์ 38
  • 39. 3. แนวคิดการจัดการเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) 3.1 การบริหารในเชิงวิทยาการจัดการ 39
  • 40. 3.1 การบริหารในเชิงวิทยาการจัดการ เทคนิคและเครื่ องมือที่ใช้ ในการบริ หารในเชิงวิทยาการจัดการนิยมนามาใช้ ประกอบด้ วย เทคนิคเชิงปริ มาณ ได้ แก่ โปรแกรมเชิงเส้ นตรง (Linear programming) และไม่ใช่เส้ นตรง (Non – linear programming) การวิเคราะห์เครื อข่าย (Network analysis) ทฤษฎีการเรี ยงลาดับ (Queering theory) การจาลองแบบคอมพิวเตอร์ (Computer simulations) และการวิจยการปฏิบติงาน (OR) เป็ นต้ น ั ั 40
  • 41. 3.1 การบริหารในเชิงวิทยาการจัดการ ลักษณะที่สาคัญของการบริหารในเชิงปริมาณหรื อในเชิงวิทยาการจัดการมีดงนี ้คือ ั 2.1 เน้ นการตัดสินใจเพื่อใช้ ประโยชน์ทางการบริ หาร เนื่องจาก ในการบริ หารต้ องเผชิญกับทางเลือก หลายทางเลือก ผู้บริ หารจึงจาเป็ นต้ องเลือกเอาทางเลือกใดทางเลือกหนึง่ 2.2 ยึดหลักเศรษฐศาสตร์ เป็ นมาตรฐานในการตัดสินใจ คือ คานึงถึงรายได้ สงสุด ค่าใช้ จ่ายต่าสุด ู อัตราตอบแทนมากที่สด หรื อได้ ประโยชน์มากที่สด ุ ุ 2.3 ในการศึกษาวิเคราะห์จะใช้ สตรหรื อรูปแบบการวิเคราะห์ตามหลักการทางคณิตศาสตร์ หรื อเชิง ู ปริ มาณ ซึงเป็ นรูปแบบที่ย่งยากซับซ้ อน ่ ุ 2.4 ต้ องอาศัยเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้ อมูลจานวนมาก ช่วยในการศึกษาวิเคราะห์ ซึ่งบุคคลคนเดียวไม่สามารถวิเคราะห์หรื อจดจาได้ หมด ดังนัน การอาศัยเครื่ องคอมพิวเตอร์ จึงทาให้ ้ การตัดสินใจเร็ วชัดเจน ตรงประเด็น และทันเหตุการณ์ เป็ นผลให้ ลดการสูญเสียเวลาและค่าใช้ จ่าย ก่อให้ เกิดการประหยัด มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดเป็ นอย่างดี 41
  • 42. แนวคิดทางการจัดการในยุคต่ าง ๆ แนวคิดด้ านการจัดการ Contemporary Classical Approaches Behavioral Approaches Quantitative Approaches Approaches (ยุคดังเดิม) ้ (เชิงพฤติกรรม) (เชิงปริมาณ) (เชิงร่ วมสมัย) การจัดการเชิง การศึกษาที่เมือง การบริหารในเชิง การจัดการเชิงระบบ วิทยาศาสตร์ ฮอร์ ธอร์ น วิทยาการจัดการ การจัดการตาม การจัดการเชิงบริหาร ทฤษฎีแรงจูงใจของ Abraham Maslow สถานการณ์ การจัดการระบบ ขบวนการแนวคิด ฯลฯ ราชการ มนุษยสัมพันธ์ 42
  • 43. 4. แนวคิดการจัดการร่ วมสมัย (Contemporary Approach) 4.1 การจัดการเชิงระบบ (Management System Approach) 4.2 การจัดการตามสถานการณ์ (Contingency Management Approach) 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 43
  • 44. 4.1 การจัดการเชิงระบบ (Management System Approach) แนวคิดการจัดการเชิงระบบ หรื อทฤษฎีเชิงระบบ (System theory) เป็ น แนวคิดที่มององค์การเป็ นระบบตามหน้ าที่ที่สมพันธ์ กับสิ่งแวดล้ อม มีปฏิกิริยา ั กับสิ่งแวดล้ อมเพื่อความอยู่รอด ซึ่งเป็ นลักษณะสาคัญ ขององค์การแบบระบบ เปิ ด (Open system) ในขณะที่ระบบปิ ด (Closed system) สาหรับองค์ประกอบของ องค์ ก ารในฐานะที่ เ ป็ นระบบจะประกอบด้ ว ย 4 ส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ องกัน ได้ แ ก่ 1) ปั จจัยนาเข้ า 2) กระบวนการแปรสภาพ 3) ผลผลิต และ 4) การย้ อนกลับ 44
  • 45. 4.1 การจัดการเชิงระบบ 45
  • 46. 4.2 การจัดการตามสถานการณ์ (Contingency Management Approach) เป็ นแนวคิดซึ่งชี ้ให้ ผ้ บริ หารเห็นว่า การเลือกใช้ วิธีการบริ หารจัดการแบบใด ู จึงจะมีประสิทธิ ภาพสูงสุดนันขึนอยู่กับสถานการณ์ ในแต่ละสถานการณ์ การ ้ ้ แก้ ปัญหาทางการจัดการจึงไม่อาจหาวิธีใดที่ดีที่สดเพียงวิธีเดียวได้ แต่ผ้ บริ หาร ุ ู จาเป็ นต้ องศึกษาสภาพแวดล้ อมต่าง ๆ ตลอดจนติดตามการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ ตลอดเวลาเพื่อให้ สามารถเลือกใช้ วิธีการบริ หารจัดการที่เหมาะสม กับสถานการณ์ (Optimal Solution) 46
  • 47. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 2. การจัดการกลยุทธ์ (Strategy Management) 3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร ทรั พยากรมนุษย์ 47
  • 48. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 1. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) แนวความคิด การจัดการในยุคโลกาภิวัตน์ ด้านคุณภาพด้ วยการสร้ าง คุณค่าของสินค้ าและบริ การ สามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าหรื อ ตลาด น าไปสู่ค วามได้ เ ปรี ย บการแข่ ง ขัน และพัฒ นาองค์ ก ารเพื่ อ ให้ มี ก าร เจริ ญเติบโตยังยืน มีแนวทางต่าง ๆ โดยมีแนวทางต่าง ๆ เช่น ISO, TQM, QC, ่ Kaizen (Continuous Improvement), Six sigma, PDCA Model, KPI 48
  • 49. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management) การจัดการเชิงกลยุทธ์ เป็ นเครื่ องมือของนักบริ หารในการบริ หารงาน เพื่อตอบสนอง ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพแวดล้ อ มที่ เ พิ่ ม ขึ น การบริ ห ารเชิ ง กลยุท ธ์ จ ะเน้ น และให้ ้ ความสาคัญต่อการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ (Strategic decision making) ที่ไม่เหมือนกับการ ตัดสินใจในลักษณะอื่น ๆ เพราะการบริ หารเชิงกลยุทธ์จะเกี่ยวข้ องกับอนาคตในระยะยาวของ องค์การทังหมด ซึงมีลกษณะดังนี ้ คือ ้ ่ ั - เป็ นกระบวนการของการบริ หารองค์การโดยรวม - เป็ นการบริ หารที่เน้ นการสร้ างกลยุทธ์ เพื่อสร้ างความได้ เปรี ยบในการแข่งขันให้ กบองค์การในระยะยาว ั - เป็ นการตัดสินใจที่อาศัยชันเชิง ไม่มีวิธีการที่สาเร็จรูป ้ - ต้ องอาศัยความร่ วมมือ พันธะผูกพัน (Commitment) และทรัพยากรในองค์การ - มีทิศทางที่ชดเจนต่อทางเลือกต่าง ๆ และแสดงให้ ทกคนในองค์การเข้ าใจตรงกัน ั ุ 49
  • 50. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management) แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์ -Five Force Model (Michael E. Porter) เครื่ องมือที่ใช้ ในการวิเคราะห์ การแข่ งขันในอุตสาหกรรม 50
  • 51. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management) แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์ -Porter’s Generic Strategy (Michael E. Porter) กลยุทธ์ การสร้ างความได้ เปรียบในการแข่ งขัน 51
  • 52. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management) แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์ -Value Chain (Michael E. Porter) การวิเคราะห์ ห่วงโซ่ คุณค่ าของกิจการ 52
  • 53. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 2. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategy Management) แนวทางต่าง ๆ ของการจัดการเชิงกลยุทธ์ - Balance Score Card : BSC (Kaplan & Norton) เทคนิควิธีในการประเมินประสิทธิภาพขององค์ กร 53
  • 54. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร ทรั พยากรมนุษย์ การจัดการในยุคโลกาภิวตน์ องค์การต้ องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงมาก ั ขึน ดังนัน การออกแบบองค์ ก ารจะต้ องก าหนดโครงสร้ างขององค์ การและ ้ ้ ระบบงานที่มีความยืดหยุ่น ทีมงานที่มีจานวนไม่มากเพื่อเหมาะสมกับงานที่มี ความเสี่ยง และการเปลี่ยนแปลงกรอบแนวคิดการจัดองค์การและการบริ หาร ทรัพยากรมนุษย์ภายใต้ การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญได้ แก่ - Re-engineering (การปรับรื อโครงสร้ างองค์กร) ้ - 7s McKinsey (การวิเคราะห์โครงสร้ างองค์กรด้ วย 7s McKinsey Model) 54
  • 55. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร ทรั พยากรมนุษย์ - Re-engineering : การปรับรื อโครงสร้ างองค์กร (Michael Hammer ้ & James Champy) 55
  • 56. 4.3 แนวคิดการจัดการยุคศตวรรษที่ 21 3. การออกแบบองค์ การและการจัดการด้ านการการบริหาร ทรั พยากรมนุษย์ - 7s McKinsey (การวิเคราะห์โครงสร้ างองค์กรด้ วย 7s McKinsey Model) 56
  • 57. SUMMARY & QUESTION 57