SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 65
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0
Infographic in Education 4.0
วิทยากร : อ.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
Kridsanapong.ler@hotmail.com
TouchPoint.in.th | Khaooat.com
facebook.com/TouchPoint.in.th
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
ทาไมสื่อการสอน เช่น อินโฟกราฟิก จึงมีความสาคัญกับผู้เรียน
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
มีเทคนิคการนาไปใช้อย่างไร เพื่อให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนสูงสุด
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
ประเด็นสนทนา
การศึกษาไทย
เรามาดูว่าการศึกษาไทยแต่ละยุคเป็น
อย่างไร เพื่อร่วมวิเคราะห์ว่าบทบาทของ
ครูจะเป็นอย่างไร
การศึกษาไทย 1.0
ยุคเกษตรกรรม
การศึกษาไทย 2.0
ยุคอุตสาหกรรม
การศึกษาไทย 3.0
ยุคเทคโนโลยี
การศึกษาไทย 4.0
ยุคผลิตภาพ
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
เปรียบเทียบการศึกษาไทยยุคต่างๆ
การศึกษาไทย 1.0
ยุคดาวน์โหลด
การศึกษาไทย 2.0
ยุคอุตสาหกรรม
การศึกษาไทย 3.0
ยุคเทคโนโลยี
การศึกษาไทย 4.0
ยุคผลิตภาพ
ความหมายของการศึกษา
ครูเป็นศูนย์กลาง นักเรียน
เชื่อครู
สร้างองค์ความรู้ร่วมกันจาก
แหล่งเรียนรู้ต่างๆ
สร้างองค์ความรู้ร่วมกัน และ
สร้างองค์ความรู้ใหม่จาก
ฐานความรู้เดิม
สร้างความรู้จากความสนใจเฉพาะ
บุคคลหรือกลุ่มคน เน้นการทางาน
เป็นทีมและมีนวัตกรรมเป็นผลลัพธ์
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
เปรียบเทียบการศึกษาไทยยุคต่างๆ
การศึกษาไทย 1.0
ยุคดาวน์โหลด
การศึกษาไทย 2.0
ยุคอุตสาหกรรม
การศึกษาไทย 3.0
ยุคเทคโนโลยี
การศึกษาไทย 4.0
ยุคผลิตภาพ
บทบาทของเทคโนโลยี
ห้องเรียนเป็นหลัก ไม่ให้
ความสาคัญกับเทคโนโลยี
เริ่มมีการใช้เทคโนโลยีอย่าง
ระมัดระวัง
เทคโนโลยีการสร้างองค์ความรู้
เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน
เทคโนโลยีการสร้างนวัตกรรมเป็น
ส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
เปรียบเทียบการศึกษาไทยยุคต่างๆ
การศึกษาไทย 1.0
ยุคดาวน์โหลด
การศึกษาไทย 2.0
ยุคอุตสาหกรรม
การศึกษาไทย 3.0
ยุคเทคโนโลยี
การศึกษาไทย 4.0
ยุคผลิตภาพ
บทบาทด้านการสอน
ครูสอนนักเรียน ครูสอนนักเรียน และนักเรียน
สอนกันเอง โดยใช้เทคโนโลยี
บ้าง
ครูสอนนักเรียน นักเรียนสอน
กันเอง และนักเรียนสอนครู
ร่วมกันสร้างความรู้โดยใช้
เทคโนโลยี
ความรู้เกิดขึ้นทุกที่ ทุกเวลา ทั้งใน
ชีวิตประจาวัน การเรียน และการ
ทางาน
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
เปรียบเทียบการศึกษาไทยยุคต่างๆ
การศึกษาไทย 1.0
ยุคดาวน์โหลด
การศึกษาไทย 2.0
ยุคอุตสาหกรรม
การศึกษาไทย 3.0
ยุคเทคโนโลยี
การศึกษาไทย 4.0
ยุคผลิตภาพ
ลักษณะโรงเรียน
เรียนในอาคาร เรียนในอาคาร มีการนา
อินเทอร์เน็ต หรือสื่อการ
เรียนการสอนเข้ามาใช้ใน
ห้องเรียน
เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ในสังคม
ที่สร้างสรรค์ เป็นชุมชนการ
เรียนรู้
เรียนในโลกไร้พรหมแดนผ่าน
อินเทอร์เน็ต ที่ส่งเสริมการ
สร้างนวัตกรรม
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ทักษะชีวิตและอาชีพ
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
เต็มใจร่วมมือ
ใส่ใจนวัตกรรม
มีวิจารณญาณ แก้ปัญหาเป็น
สื่อสารดี
คิดสร้างสรรค์
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21
ฉลาดสื่อสาร
รู้เท่าทันสื่อ
รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อัพเดตทุกข้อมูลข่าวสาร
ทักษะสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21
ใส่ใจดูแลตัวเอง
รู้จักปรับตัว
ริเริ่มสิ่งใหม่
มีความยืดหยุ่น
รู้จักเข้าสังคม
พัฒนาอาชีพ
มีความเป็นผู้นา
รับผิดชอบหน้าที่
เรียนรู้วัฒนธรรม
หมั่นหาความรู้รอบด้าน
ทักษะชีวิตและอาชีพ
ครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง ?
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
การเป็นครูในยุคดิจิตอล
ปัจจุบันเป็นยุคดิจิตอลที่มี เนื้อหา ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ เป็น Big Data และมักถูกจัดเก็บเป็น ในยุค Cloud Knowledge
ผู้เรียนมีขีดความสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ง่ายและรวดเร็ว ทาให้ไม่จาเป็นต้องรอครูป้อนเนื้อหา
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
การเป็นครูในยุคดิจิตอล
ต้องเน้นการนาเนื้อหามาประยุกต์ใช้ หรือต่อยอดทางความคิด และต้องจัดการ
เรียนรู้ทักษะและความรู้ที่จาเป็นให้นักเรียน ไม่เน้นการสอนตามเนื้อหาในหลักสูตร
ต้องเน้นให้นักเรียนแสวงหาความรู้ได้เอง โดยใช้วิธีการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry-Based
Learning) การใช้ทฤษฎีการเชื่อมต่อ (Connectivism) แล้วสามารถสังเคราะห์ความรู้ จาก
ข้อมูลข่าวสารที่แสวงหามาได้
ในปัจจุบันครูมีบทบาทอย่างไรในการใช้สื่อกับผู้เรียนบ้าง
การเป็นครูในยุคดิจิตอล
ต้องเป็นนักจัดการที่ดี จัดการให้นักเรียนได้เรียนรู้โดยลงมือปฏิบัติ (Action Learning)
การเรียนรู้จากชิ้นงาน (Consturtionism) และต้องเปลี่ยนการสอบเป็นการประเมินเพื่อ
การพัฒนาปรับปรุง
ต้องมีเทคนิคในการทาให้บรรยากาศการเรียนรู้มีความสนุกกับการทากิจกรรม เช่น การใช้
หลักการของเกม (Gamification Learning) การเรียนรู้จากปัญหา (Problem Based
Learning) เพื่อการเรียนรู้ มีแรงจูงใจให้คิด สร้างสรรค์ นาเสนอ ความรู้อย่างสนุกสนาน
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
สื่อ
สื่อ (Media) หมายถึง สื่อหรือการติดต่อให้ถึงกันผ่านช่องทางใดช่องทางหนึ่ง โดยสื่อจะอยู่ในรูปแบบต่างๆ เช่น สื่อ
สิ่งพิมพ์ สื่อดิจิทัล และสื่อธรรมชาติ
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ (Creative) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นจะต้องผ่านกระบวนการคิดที่
แฝงไปด้วยความคิดหลากหลายรูปแบบโดยเห็นถึงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ผู้คิด
สามารถเลือกความคิดใดความคิดหนึ่งหรือสามารถต่อยอดความคิดที่หลากลายเป็น
ความคิดใหม่ โดยอาศัยภูมิความรู้และจินตนาการ
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
สื่อสร้างสรรค์
สื่อสร้างสรรค์ (Creative Media) หมายถึง สื่อที่เกิดจากกระบวนการของ
ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อผลิตเป็นสื่อใหม่ในรูปแบบต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
ดิจิทัล และสื่อธรรมชาติ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม หรือต่อยอดเพื่อ
เพิ่มมูลค่าจากสื่อที่มีอยู่เดิม
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
องค์ประกอบของสื่อ
ตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ เสียง
Text Still Image Animation Video Sound
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
รูปแบบของสื่อ
คลิปวิดีโอ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ มัลติมีเดีย สื่อปฏิสัมพันธ์
Video Clip E-Book Website Multimedia Interactive Media
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
สามารถสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้
ความสะดวกสาหรับการเรียนด้วยตนเอง
การออกแบบกระบวนการสอน
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
สามารถสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้
• การยืดหยุ่นในเรื่องเวลา
• มีอิสระในการเลือกสถานที่เรียน
• การมีอิสระในการเลือกเนื้อหาและการเรียน
• การวินิจฉัย การเรียนซ่อมเสริม และการยกเว้น
• การมีอิสระในการเลือกรูปแบบการเรียน
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
สามารถสนองความต้องการในการเรียนด้วยตนเองได้
• มีวิธีการใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้อย่างอิสระ มีคาแนะนาการเรียนและเนื้อหาเสริม
• มีความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยยึดหลักการสอน ผู้เรียนศึกษาได้ด้วยตนเองตั้งแต่ต้นจนจบ
• มีความยืดหยุ่นในเรื่องเวลาการเรียน ผู้เรียนสามารถเรียนเมื่อใด และนานเท่าใดก็ได้
• มีอิสระในการเลือกสถานที่เรียน และบทเรียนต้องมีขนาดกะทัดรัด สะดวกต่อการพกพา
• มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน สามารถตอบสนอง โต้ตอบ บอกผลการตอบสนองแก่ผู้เรียนได้ทันที
• มีการสื่อสารที่ดีระหว่างบทเรียนกับผู้เรียน โดยผู้เรียนต้องรู้ว่ากาลังทาอะไร
การศึกษาในยุค 4.0 สื่อที่ใช้สอนกับผู้เรียน ควรมีลักษณะอย่างไร
คุณลักษณะของสื่อเพื่อการเรียนรู้
การออกแบบกระบวนการสอน
• การนาเข้าสู่บทเรียน >> แสดงให้เห็นความคิดรวบยอด และสร้างความสนใจ
• การสอน / การนาเสนอเนื้อหา >> ออกแบบสื่อและเนื้อหาอย่างเหมาะสมลงตัว
• การเสริมความเข้าใจ >> มีกิจกรรม เกม หรือแบบฝึกหัด
• การสรุปบทเรียน >> สรุปประเด็นสาคัญ และทบทวนบทเรียน
• การทดสอบหลังเรียน >> เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน โดยการใช้ข้อทดสอบ
ทาไมสื่อการสอน เช่น อินโฟกราฟิก จึงมีความสาคัญกับผู้เรียน
สรุปข้อมูลในปริมาณมากให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
ปัจจุบันผู้เรียนอ่านหนังสือน้อยลง ไม่ชอบอ่านข้อความที่มีความยาวหลายบรรทัด จนกลายเป็น “ยาวไปไม่อ่าน” อินโฟ
กราฟิกเป็นตัวช่วยที่ดีที่สามารถสรุปเรื่องราวครบครันให้อยู่ในภาพเดียว ช่วยสื่อสารความรู้ได้อย่างรวดเร็วและมี
ประสิทธิภาพมากกว่าเดิม
ทาไมสื่อการสอน เช่น อินโฟกราฟิก จึงมีความสาคัญกับผู้เรียน
ภาพกราฟิกจะช่วยให้สื่อน่าสนใจอละเสริมสร้างความจาที่ดี
จากการวิจัยพบว่ามนุษย์สามารถจดจาภาพและสีได้ดีกว่าข้อความ การใช้สถิติ แผนภูมิ และภาพประกอบ ในงานอินโฟ
กราฟิก จะทาให้งานมีเอกลักษณ์ น่าจดจา กระตุ้นให้เกิดความรู้สึกอยากอ่านข้อมูลเหล่านั้นมากกว่าข้อมูลที่มีแต่ตัวหนังสือ
และยังทาให้ประหยัดพื้นที่ในการนาเสนอข้อมูลได้ดีกว่าการใส่แต่เพียงแต่ตัวหนังสืออีกด้วย
ทาไมสื่อการสอน เช่น อินโฟกราฟิก จึงมีความสาคัญกับผู้เรียน
สามารถให้ข้อมูลได้หลากหลายสาระ
สามารถให้ความรู้ผ่านเนื้อหาได้หลากกลาย เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคม
สุขศึกษา ศิลปะ พระพุทธศาสนา ฯลฯ หรือประยุกต์ใช้กับความรู้ทั่วไปได้ เช่น
• ให้ความรู้ >> สุขภาพดีเริ่มต้นที่ 3อ 2ส 1ฟ
• ข่าวสารสาคัญ >> 7 ข้อควรรู้ สัญญาธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์และรถจักรยานยนต์ (ฉบับใหม่)
• ขั้นตอน >> 5 ขั้นตอนการสร้างสื่อการเรียนการสอนให้ปัง
• การจัดอันดับ >> จัดอันดับพลังงานในกาแฟคาปูชิโน่เย็นของแต่ละแบรนด์
• เล่าประวัติศาสตร์ >> เหตุการณ์สาคัญในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ทาไมสื่อการสอน เช่น อินโฟกราฟิก จึงมีความสาคัญกับผู้เรียน
สะดวกในการเผยแพร่
นาไปเผยแพร่ในสื่อต่างๆ ได้ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ หรืออัพโหลดไว้บน Website, Facebook, Twitter, Slideshare ฯลฯ
ทาให้ผู้เรียนสามารถรับรู้ข้อมูลได้อย่างครบถ้วนภายในภาพเดียว และสามารถเผยแพร่ต่อได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
ทาไมสื่อการสอน เช่น อินโฟกราฟิก จึงมีความสาคัญกับผู้เรียน
ทุกอย่างรอบตัวล้วนแล้วแต่เป็นสื่อ อินโฟกราฟิกจะมีส่วนอยู่ในทุกๆ สื่อ เราจะต้อง
นาสื่อที่มีอยู่หรือที่สร้างขึ้นใหม่ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ผ่านรูปแบบการเรียนรู้
(Learning Model) ที่ครูพัฒนาขึ้น ดังนั้นครูในยุคดิจิตอลจะต้องเป็นนักออกแบบ
การเรียนรู้ (Learning Designer)
อินโฟกราฟิกจะมีส่วนอยู่ในทุกๆ สื่อ
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ความหมายของอินโฟกราฟิก
การสื่อความหมายด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย
กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อ
ความหมายข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ
Information
ข้อมูลที่ถูกย่อยในลักษณะของสารสนเทศ โดยผ่าน
กระบวนการวิเคราะห์จากข้อมูลที่มีอยู่
Graphic
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ความหมายของอินโฟกราฟิก
ดังนั้นอินโฟกราฟิก (Infographic) หมายถึง การนาข้อมูลมาสรุปเป็นสารสนเทศ ในลักษณะของกราฟิก เพื่อสื่อความหมาย
ที่เข้าใจง่าย ตรงตามที่ผู้สื่อสารต้องการ อ่านเพิ่มเติมที่ touchpoint.in.th/infographic-design
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ความหมายของอินโฟกราฟิก
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ความหมายของอินโฟกราฟิก
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ความหมายของอินโฟกราฟิก
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
กาหนดประเด็น
รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
1 32 4 5 6 7 8 9
คัดเลือกสาระสาคัญ
จัดหมวดหมู่
สร้างไอเดียการเล่าเรื่อง
วางเลย์เอาท์
หาภาพประกอบ
ทาให้สวยงาม
เผยแพร่ผลงาน
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
• Who >> กลุ่มผู้อ่านเป็นใคร (มีผลต่อการออกแบบ)
• What >> ทาเรื่องเกี่ยวกับอะไร
• Why >> ทาไปทาไม ทาด้วยเหตุผลใด ทาเพื่อ...
• Where >> ทาที่ไหน หรือเหตุการณ์ของสิ่งที่ทาอยู่ที่ไหน
• When >> ทาเมื่อไหร่ เสร็จเมื่อไหร่
• How >> ทาอย่างไร ใช้เครื่องมืออะไร
1. กาหนดประเด็น
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เมื่อได้เรื่องที่จะทาแล้ว จะต้องรวบรวมข้อมูลและข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นทุกอย่างให้ละเอียด ไม่ว่าจะเป็นข้อความ หรือข้อมูลทางสถิติ
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
3. คัดเลือกสาระสาคัญ
คัดแยกข้อมูลที่สาคัญและจาเป็นต้องใช้ โดยพิจารณาจาก อะไรที่คนอยากรู้หรือไม่อยากรู้ จดหรือไฮท์ไลท์ประโยคหรือคา
ที่เราอ่านแล้วรู้สึก Wow แล้วลองถามเพื่อนว่า Wow เหมือนเราหรือไม่
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
4. จัดหมวดหมู่
นาข้อมูลที่กระจายมาจัดเป็นกลุ่ม เช่น ความหมาย สาเหตุ วิธีแก้ไข เทคนิค เป็นต้น
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
5. สร้างไอเดียการเล่าเรื่อง
การสร้าง Infographic ให้ปัง ควรตั้งชื่อเรื่องให้กระชับ น่าฟัง ชวนอ่าน และควร
นาเสนอเป็นภาพด้วยการเล่าเรื่อง เพื่อความไม่น่าเบื่อจากการเล่าตรงๆ คิดถึงการ
เชื่อมโยงระหว่างข้อมูลกับรูปภาพให้ได้ จะได้รู้ว่าควรใช้ภาพแบบใดในการเล่าเรื่อง
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
6. วางเลย์เอาท์
แบ่งสัดส่วนข้อมูล ภาพประกอบ และที่สาคัญต้องคานึงถึง
พื้นที่ว่างด้วย เพราะพื้นที่ว่างจะช่วยให้รู้สึกสบายตา และช่วย
ให้ผู้อ่านโฟกัสข้อมูลสาคัญได้ง่ายมากขึ้น
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
7. หาภาพประกอบ
ภาพประกอบมีความสาคัญมาก ภาพ 1 ภาพ ใช้แทนคาพูดได้มาก ต้องเป็นภาพที่สัมพันธ์กับข้อมูล รวมถึงไอคอนต่างๆ ด้วย
เว็บภาพประกอบฟรี freepik.com และ flaticon.com แต่วาดเองจะดีกว่า
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
8. ทาให้สวยงาม
ความสวยงามขึ้นอยู่กับ
เลยเอาท์ | รูปภาพประกอบ | โทนสี | ฟอนต์ | ที่ว่าง
โปรแกรมที่ใช้ เช่น Adobe Photoshop | Adobe Illustrator | Piktochart
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ขั้นตอนการทาอินโฟกราฟิก
9. เผยแพร่ผลงาน
นา Infographic ที่สมบูรณ์เผยแพร่สู่โลกออนไลน์ เช่น Website | Facebook พร้อมแคปชั่นที่น่าดึงดูด
ติด TAG หรือ #HASHTAG เพื่อให้ Search Engine หาเจอได้ง่าย
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
รูปแบบของภาพ
ภาพแบบเวกเตอร์ (Vector)
เป็นรูปแบบภาพที่ประมวลผลด้วยการคานวณทางคณิตศาสตร์ มีสีและตาแหน่งของ
สีที่แน่นอน สามารถย่อหรือขยายได้โดยไม่เสียคุณภาพไฟล์
ภาพแบบราสเตอร์ (Raster/Bitmap)
เป็นรูปแบบภาพที่ค่าสีจะถูกเก็บไว้ในแต่ละพิกเซล มีการเก็บค่าสีที่เฉพาะเจาะจงใน
แต่ละตาแหน่ง หากย่อหรือขยายรูปภาพก็จะเสียคุณภาพของไฟล์ไป
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
โหมดสีของภาพ
RGB ประกอบด้วยสีหลักคือ Red (สีแดง), Green
(สีเขียว), Blue (สีน้าเงิน) ผสมกัน เหมาะสาหรับ
ภาพที่ใช้แสดงผลบนจอภาพ
CMYK ประกอบด้วยสีหลักคือ Cyan (สีฟ้าอมเขียว),
Magenta (ชมพูอมม่วง), Yellow (สีเหลือง), Black
(สีดา) เหมาะสาหรับภาพที่ใช้ในงานพิมพ์
• เส้น
• รูปร่าง
• รูปทรง
• น้าหนัก
องค์ประกอบของงานกราฟิก
• พื้นผิว
• ที่ว่าง
• สี
• ตัวอักษร
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
ความละเอียดของภาพ
Resolution คือ ความละเอียดในการแสดงผลของภาพ ยิ่งมีค่ามากยิ่งมีความละเอียดสูงและมีขนาดไฟล์ที่ใหญ่ เช่น หากภาพ
มีความละเอียด 150 Pixels/Inch หมายความว่าใน 1 ตารางนิ้วประกอบด้วยเม็ดสี 150 พิกเซล
• สาหรับงานในจอภาพควรปรับ 72 Pixels/Inch
• สาหรับงานในจอภาพ Retina Display ควรปรับ 150 Pixels/Inch
• สาหรับงานพิมพ์ควรปรับ 300 Pixels/Inch
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
แหล่งดาวน์โหลดภาพประกอบฟรี
• morguefile.com
• splitshire.com
• pixabay.com
• freerangestock.com
• kaboompics.com
• isorepublic.com
• moveast.me
• burst.shopify.com
• imcreator.com/free
• negativespace.co
• albumarium.com
• freepik.com
• flaticon.com
• pexels.com
• stocksnap.io
• lifeofpix.com
• stockvault.net
อินโฟกราฟิกจะสามารถประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0 ได้อย่างไร
การประยุกต์ใช้ในการศึกษา 4.0
เมื่อครูมีองค์ความรู้ด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการสร้างสื่ออินโฟกราฟิกแล้ว ไม่ใช่เรื่องยากที่จะนาไปต่อ
ยอดกับสื่อการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์, Presentation, Website, Social Media, Interactive, Virtual Classroom,
MOOC, VR, AR และสื่อออนไลน์ต่างๆ โดยครูเป็นผู้สร้างตอนเทนต์ให้น่าสนใจ ส่วนจะอยู่แพล็ตฟอร์มใด ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยี
ในยุคสมัยนั้น
มีเทคนิคการนาไปใช้อย่างไร เพื่อให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนสูงสุด
อินโฟกราฟิก (Infographic) มีเทคนิคการนาไปใช้ง่ายๆ แบ่งออกเป็น 3 ด้าน
1. ด้านเนื้อหา >> ถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ ทันสมัย น่าสนใจ
2. ด้านการออกแบบ >> สวยงาม อ่านง่าย สบายตา ดึงดูดความสนใจ
3. แพล็ตฟอร์ม >> ที่อยู่ของงานอินโฟกราฟิกที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
เทคนิคการใช้อินโฟกราฟิก
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Website
เว็บไซต์เปรียบเสมือนบ้านออนไลน์ที่เป็นมิตรกับ SEO มากที่สุด เป็นที่ที่ทาให้งานอินโฟกราฟิกของเรามีตัวตนปัจจุบันมี
เครื่องมือมากมายสาหรับการสร้างเว็บไซต์ และหมั่นติด TAG เพื่อให้ Search Engine ค้นเจอได้ง่าย
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Social Media
เป็นขุมพลังชั้นยอดที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายหรือผู้เรียนได้มากที่สุด เพราะชีวิตประจาวันของผู้เรียนยุคนี้ติด Social Media
มาก ดังนั้นแพล็ตฟอร์มนี้จาเป็นต้องมีอย่างยิ่ง และต้องเรียนรู้การผูก Social Media ต่างๆ เข้าไว้ รวมถึงผูกกับ
เว็บไซต์ด้วย และหมั่นติด TAG และ #Hashtag จะทาให้งานอินโฟกราฟิกปังไปอีก
+ + + = ปัง
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
PowerPoint
PowerPoint เป็นโปรแกรมที่สร้างสื่อการเรียนรู้ได้ง่ายที่สุด แต่ต้องต่อยอดไปยัง Slideshare หรือช่องทางออนไลน์
อื่นๆ แล้วผูกเข้ากับ Social Media รับรอง ปัง
+ + + = ปัง
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Interactive
สื่อปฏิสัมพันธ์ (Interactive) เป็นสื่อยุคดิจิตอลที่ได้รับความนิยมมาก เราสามารถใช้หลักการออกแบบอินโฟกราฟิกเข้า
ไปในสื่อการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์ได้ ทาให้สื่อการเรียนรู้น่าสนใจมากขึ้นไปอีก
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Virtual Classroom
เป็นห้องเรียนเสมือนจริง เราสามารถนาอินโฟกราฟิกมาใช้ในห้องเรียนเสมือนจริงได้ เพื่อนาเสนอเนื้อหาได้อย่าง
น่าสนใจมากขึ้น ส่วนอื่นๆ ระบบ LMS จะเป็นตัวจัดการการเรียนรู้ทั้งหมด สามารถนาสื่อปฏิสัมพันธ์มาฝังในห้องเรียน
เสมือนจริงได้ด้วย
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Massive Open Online Course : MOOC
หลักสูตรออนไลน์แบบเปิดมหาชน (Massive Open Online Course : MOOC) และคอร์สออนไลน์ต่างๆ กาลังได้รับความ
นิยม เราอาจพัฒนา “อินโฟกราฟิก” สู่ “โมชั่นกราฟิก” เพื่อทาอินโฟกราฟิกให้เคลื่อนไหว ทาให้สื่อการเรียนรู้น่าสนใจมากขึ้น
อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ touchpoint.in.th/mooc
edX Future Learn Coursera
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Massive Open Online Course : MOOC
ปัจจุบันมี MOOC หลายผู้ให้บริการ ได้แก่ edX, FutureLearn,
Coursera, Udemy, Udacity, Iversity และเป็นเรื่องที่น่ายินดี
อย่างยิ่งที่ประเทศไทยจะมีผู้ให้บริการ Thai MOOC ที่เกิดขึ้น
จากความร่วมมือของหลายสถาบัน โดยใน Thai MOOC มี
เนื้อหามากมายและใช้งานได้จริง และที่สาคัญคือเรียนฟรี ไม่มี
ค่าใช้จ่าย สามารถเข้าไปดูได้ที่ www.thaimooc.org
piktochart.com canva.com
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Application
ปัจจุบันมีเว็บแอพพลิเคชั่นให้บริการฟรีมากมาย สาหรับประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ และบางแอพพลิเคชั่นสามารถ
สร้างอินโฟกราฟิกได้ด้วย
ประเภทสร้างอินโฟกราฟิกและสื่อนาเสนอ
prezi.com powtoon.com
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Application
ปัจจุบันมีเว็บแอพพลิเคชั่นให้บริการฟรีมากมาย สาหรับประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ และบางแอพพลิเคชั่นสามารถ
สร้างอินโฟกราฟิกได้ด้วย
ประเภทสร้างเกมและชุดคาถาม
gogopp.com plickers.comkahoot.com zipgrade.com
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Application
ปัจจุบันมีเว็บแอพพลิเคชั่นให้บริการฟรีมากมาย สาหรับประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนได้ และบางแอพพลิเคชั่นสามารถ
สร้างอินโฟกราฟิกได้ด้วย
ประเภทการจัดการชั้นเรียน
classdojo.com nearpod.comedmodo.comclassroom.google.commoodle.com
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Virtual Reality (VR)
เทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality : VR) เป็นการจาลองสภาพแวดล้อมทั้งที่
เป็นสภาพแวดล้อมจริงหรือจากจินตนาการ โดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สามารถ
รับชมผ่านอุปกรณ์ต่างๆ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์สวมใส่
Panotour
Tourweaver
สื่ออื่นๆ ที่น่าจับตามอง
Augmented Reality
เทคโนโลยีความจริงเสริม (Augmented Reality: AR) หมายถึง เทคโนโลยีที่ผสมผสานระหว่างโลกของความจริง (Real
World) เข้ากับโลกเสมือน (Virtual World) โดยใช้วิธีซ้อนภาพในโลกเสมือนไว้บนภาพในโลกความเป็นจริง ผ่านอุปกรณ์
ดิจิทัล ได้แก่ แว่นตาดิจิทัล แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน หรืออุปกรณ์แสดงผลภาพอื่นๆ เพื่อให้เห็นภาพเสมือนอยู่ใน
สภาพแวดล้อมจริง
เราสามารถนาอินโฟกราฟิกไปเป็นส่วนหนึ่งของสื่อต่างๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์, Presentation,
Website, Social Media, Interactive, Virtual Classroom, MOOC, VR, AR และสื่อ
ออนไลน์ต่างๆ โดยครูเป็นผู้สร้างตอนเทนต์ให้น่าสนใจ ส่วนจะอยู่แพล็ตฟอร์มใด ขึ้นอยู่กับ
เทคโนโลยีในยุคสมัยนั้น ครูจะไม่ใช่แค่เพียงผู้สอน แต่เป็นนักออกแบบการเรียนรู้
อินโฟกราฟิกจะมีส่วนอยู่ในทุกๆ สื่อ
#Infographic #Education 4.0 #อินโฟกราฟิก #การศึกษา 4.0
#Infographic #Education 4.0 #อินโฟกราฟิก #การศึกษา 4.0
วิทยากร : อ.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย
สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
แหล่งอ้างอิง
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู ด้วยสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ICT
goo.gl/rB4WCC
การศึกษาไทย 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา
goo.gl/Md7cCF
ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21
goo.gl/3atDn4
หลักการสื่อการเรียนรู้ สร้างได้ สร้างง่าย ตามกระบวนการ ADDIE
touchpoint.in.th/learning-media
อินโฟกราฟิกและหลักการออกแบบ
touchpoint.in.th/infographic-design
Kridsanapong.ler@hotmail.com
TouchPoint.in.th | Khaooat.com
facebook.com/TouchPoint.in.th

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานSurapon Boonlue
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Mais procurados (20)

สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
สีกับการออกแบบส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Color with User Interface Design)
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialismลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
ลัทธิจักรวรรดินิยม Imperialism
 
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
การเขียนสตอรี่บอร์ดภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Storyboard Writing for Motion Graphic)
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Semelhante a อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)

Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4edk2bn
 
Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4edk2bn
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Kanpirom Trangern
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอguest082d95
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)guest082d95
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddjaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 

Semelhante a อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0) (20)

Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Pp chapter4
Pp chapter4Pp chapter4
Pp chapter4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 

Mais de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google SheetsDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial MetaverseDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Mais de Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
ทักษะดิจิทัลสำหรับการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Digital Skills for Working in Th...
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับการท่องเที่ยว โรงแรม และอีเวนต์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
การตลาดผ่านเครื่องมือค้นหา (Search Engine Marketing)
 
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริงAR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
AR / VR / MR / XR มุ่งสู่อนาคตการท่องเที่ยวที่เหนือจริง
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 

อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)