SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 159
Baixar para ler offline
พันธุศาสตร์ และ
เทคโนโลยีชีวภาพ
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) “ เทคโนโลยีพันธุศาสตร์ ”
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) “ Do you know genetics? ”
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว เกษราภรณ์ แสนสุวงศ์ เลขที่ 16 ม.6/7
2. นางสาว กาญจนา ปัญญาวารินทร์ เลขที่ 17 ม.6/7
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน
 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากในปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาอย่างแพร่หลาย และเป็นที่นิยม ทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงใน ด้านต่างๆในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าจะเป็นการทางาน การเดินทาง คมนาคม
การสื่อสาร ทุกอย่างที่กล่าวมามีการนาเอา เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาท รวมทั้งสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นมา
ใหม่ทั้งพืชและสัตว์มีความหลากหลายเพิ่มขึ้น เนื่องจากการการ เปลี่ยนแปลงลาดับบนยีน ซึ่ง
ความหลากหลายที่เกิดขึ้น มาจากการที่มนุษย์รู้จักคิดและใช้เทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์มาดัดแปลง
ดังนั้นจะเห็นว่าเทคโนโลยีพันธุศาสตร์มีความสาคัญต่อยุคปัจจุบัน มีประโยชน์ต่อด้านการเกษตร
การแพทย์ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และการพัฒนาอุตสาหกรรม
ผู้จัดทาจึงมีความสนใจในเรื่องการเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กับยีนของสิ่งมีชีวิต หรือที่
เรียกว่า เทคโนโลยีพันธุ วิศวกรรม และอาจมีบุคคลอื่นๆที่สนใจ จึงจัดทาโครงงานนี้มาเพื่อเป็น
การศึกษาและเผยแพร่ความรู้ต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้ที่สนใจเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้
2. เพื่อให้ผู้ที่สนใจเกิดการเรียนรู้
3. เพื่อนาความรู้ด้านพันธุศาสตร์ไปใช้ประโยชน์
4. เพื่อทาให้เทคโนโลยีพันธุศาสตร์เป็นที่รู้จักและยอมรับอย่างแพร่หลาย
HOMEพันธุวิศวกรรม
เทคโนโลยีชีวภาพ
จีโนม
จีโนมิกส์
การโคลนนิ่ง
จีเอ็มโอ
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
จีเอ็มโอ
พืชจีเอ็มโอ
ตัวอย่างพืชจีเอ็มโอ
ปัจจัยที่มีส่วนสาคัญ
ในการฝากถ่ายยีน จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุวิศวกรรม
ข้อแตกต่างระหว่าง
GMOs กับ GMO
ข้อเสีย
ข้อดี หรือ ประโยชน์
เทคโนโลยีชีวภาพ
ประเภทของเทคโนโลยีชีวภาพ
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพ
ประวัติของเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์
เทคโนโลยีชีวภาพกับโรคเบาหวาน
เทคโนโลยีชีวภาพกับสมุนไพร
ตัวอย่างเทคโนโลยีชีวภาพ
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพ
ด้านการเกษตร
ด้านอุตสาหกรรม
ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านการแพทย์
การโคลนนิ่ง
ประวัติการโคลนนิ่ง
การโคลนนิ่งในไทย
การโคลนนิ่งมนุษย์
การโคลนนิ่งที่เกิด
ขึ้นเองตามธรรมชาติ
การโคลนนิ่งสัตว์
การโคลนนิ่งพืช
ประโยชน์ /ข้อดี
ผลเสีย / ข้อเสีย
พันธุวิศวกรรมคืออะไร?
(What is genetic
engineering ?)
พันธุวิศวกรรม (genetic engineering)
คือกระบวนการที่ได้นาความรู้ต่างๆที่ได้จากการศึกษาชีววิทยา
ระดับโมเลกุล หรือ อณูชีววิทยา (molecular biology) นามา
ประยุกต์ใช้ใน การปรับเปลี่ยน, ดัดแปลง, เคลื่อนย้าย, ตรวจสอบสาร
พันธุกรรม [ดีเอ็นเอ (DNA)] , ยีน(gene) และผลิตภัณฑ์ของสาร
พันธุกรรมอย่างพวกอาร์เอ็นเอ(RNA)และโปรตีนของสิ่งมีชีวิต เพื่อ
นามาใช้ให้เป็นประโยชน์
โดยปกติแล้ว พันธุวิศวกรรม(genetic engineering) จะเป็นการตัด
ต่อยีนหรือเป็นการเคลื่อนย้ายยีน(transgenesis)จากสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง
ใส่เข้าไปกับยีนของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง นั่นคือทาให้เกิดการถ่ายทอดของ
ยีนและลักษณะที่ยีนนั้นได้ทาการควบคุมอยู่ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตที่ถูกนายีนใส่
เข้าไป มียีนที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ โดยอาจทาการเพิ่มปริมาณยีนขึ้น
อีกเพื่อให้มีปริมาณที่มากเพียงพอที่จะนาไปทาให้ได้ผลผลิตมีคุณภาพที่ดีขึ้น
และทาให้ได้ปริมาณของผลผลิตที่สูงขึ้นอีกด้วย โดยที่พันธุวิศวกรรม
(genetic engineering)อาจจะทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตรูปแบบใหม่ที่อาจ
ไม่เคยปรากฏในธรรมชาติมาก่อน
ตัวอย่างที่ทาพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) เช่น การใส่ยีนที่
สร้างฮอร์โมนอินซูลินเข้าไปในแบคทีเรียหรือยีสต์ เพื่อให้สิ่งมีชีวิตเหล่านี้
สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้ แล้วทาการเพาะเลี้ยงสิ่งมีชีวิตเหล่านี้ให้ได้ใน
ปริมาณที่มากเพื่อจะได้ผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้มากตาม โดยสามารถนามาทา
การสกัดให้บริสุทธิ์เพื่อใช้ทาการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานได้ เป็นต้น
สิ่งมีชีวิตที่ได้จากพันธุวิศวกรรม ที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายยีนเรียกว่า “สิ่งมีชีวิต
เคลื่อนย้ายยีน(transgenic organisms)” อย่างในกรณีของพืชก็จะถูกเรียกว่า
“transgenic plants (พืชเคลื่อนย้ายยีนหรือพืชดัดแปลงพันธุกรรม)”แต่มักจะ
เรียกสิ่งมีชีวิตที่ได้จากพันธุวิศวกรรม รวมๆโดยทั่วไปว่า เป็นสิ่งมีชีวิตดัดแปลง
พันธุกรรมหรือสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม (genetically modified organisms
,GMOs)โดยที่มีการกล่าวกันว่าการเกิดพันธุวิศวกรรมคือการปฏิวัติครั้งใหญ่ในด้าน
การเกษตรและการแพทย์ที่เรียกว่า “Genomic revolution”
พันธุวิศวกรรม
การใช้ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม
พันธุวิศวกรรมกับการพัฒนา
เทคโนโลยีชีวภาพ
การใช้ประโยชน์ของ
พันธุวิศวกรรม
การใช้ประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม
ด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช
ด้านการพัฒนาพันธุ์สิ่งมีชีวิต
ด้านการแพทย์
ด้านการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
ด้านการพัฒนา
อุตสาหกรรม
ด้านการปรับปรุงพันธุ์พืชให้
ต้านทานโรคหรือแมลง
การปรับปรุงพันธุ์แบบดั้งเดิมนั้น ซึ่งยังคงทากันอยู่ โดยใช้วิธีหาพันธุ์ต้านทานซึ่งส่วน
ใหญ่เป็นพันธุ์ป่าและมีลักษณะไม่ดีอยู่มาก จากนั้นเอาพันธุ์ต้านทานผสมพันธุ์พ่อแม่เข้าด้วยกัน
รวมทั้งลักษณะต้านทานด้วยเหตุนี้ จึงต้องเสียเวลาคัดเลือก และพัฒนาพันธุ์ต่ออีกอย่างน้อย 8-
10 ปี กว่าจะได้พันธุ์ต้านทานและมีลักษณะอื่น ๆ ดีด้วย เพราะไม่สามารถเลือกยีน(gene)ที่
สามารถต้านทานใส่ไปได้โดยตรง ดังนั้นวิธีการปรับปรุงพันธุ์โดยการถ่ายฝากยีน(gene)ที่ได้รับ
จากชนิดพันธุ์อื่น จึงสามารถลดระยะเวลาการพัฒนาพันธุ์ได้มาก
 พันธุ์พืชต้านทานแมลง
มีสารสกัดชีวภาพจากแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis หรือ บีที ที่ใช้กาจัดแมลง
กลุ่มหนึ่งอย่างได้ผลโดยการฉีดพ่นคล้ายสารเคมีอื่น ๆ เพื่อลดการใช้สารเคมีด้วยความก้าวหน้า
ทางวิชาการทาให้สามารถแยกยีนบีที จากจุลินทรีย์นี้และถ่ายฝากให้พืชพันธุ์ต่าง ๆ เช่น ฝ้าย
ข้าวโพด และมันฝรั่ง เป็นต้น ให้ต้านทานแมลงกลุ่มนั้น และใช้อย่างได้ผลเป็นการค้าแล้วในบาง
ประเทศ
 พันธุ์พืชต้านทานโรคไวรัส
โรคไวรัสของพืชหลายชนิดเช่น โรคจุดวงแหวนในมะละกอ (papaya ring-
spot virus) สามารถป้องกันกาจัดได้โดยวิธีนายีน(gene)เปลือกโปรตีน (coat
protein) ของไวรัสนั้นถ่ายฝากไปในพืช เหมือนเป็นการปลูกวัคซีนให้พืชนั่นเอง
กระบวนการดังกล่าวได้ถูกนาใช้กันอย่างแพร่หลายในพืชชนิดต่างๆแล้ว เป็นต้น
ทางการพัฒนาพันธุ์สิ่งมีชีวิต
ให้มีคุณภาพผลผลิตดี
∆ การถ่ายฝากยีน(gene)สุกงอมช้า(delayedripeninggene)
ในมะเขือเทศ การสุกในผลไม้เกิดจากการผลิตสาร ethylene เพิ่มมากในระยะสุกแก่
นักวิชาการสามารถวิเคราะห์โครงสร้างยีน(gene)นี้และมีวิธีการควบคุมการแสดงออกโดย
วิธีการถ่ายฝากยีน(gene)ได้ทาให้ผลไม้สุกงอมช้า สามารถเก็บไว้ได้นาน ส่งไปจาหน่ายไกล ๆ
ได้ สหรัฐเป็นประเทศแรกที่ผลิตมะเขือเทศสุกงอมช้าได้เป็นการค้า และวางตลาดให้ประชาชน
รับประทานแล้ว
∆ การพัฒนาพันธุ์พืชให้ผลิตสารพิเศษ
เช่น สารที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ ที่มีคุณค่าทางอาหารสูง อาจเป็นแหล่งผลิตวิตามิน
ผลิตวัคซีน และผลิตสารที่นาไปสู่การผลิตทางอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น พลาสติกที่สามารถย่อย
สลายได้ง่ายและโพลิเมอร์ชนิดต่าง ๆ เป็นต้น
∆ การพัฒนาพันธุ์สัตว์
มีการพัฒนาพันธุ์โดยการถ่ายฝากยีน
(gene)ทั้งในปศุสัตว์ และสัตว์น้า รวมทั้งน้าปลา ได้มี
ตัวอย่างหลายรายการ เช่น การถ่ายฝากยีน(gene)เร่ง
การเจริญเติบโต และยีน(gene)ต้านทานโรคต่าง ๆ เป็น
ต้น อย่างไรก็ตามประโยชน์ของพันธุวิศวกรรม(genetic
engineering)ในเรื่องการผลิตสัตว์นั้นเป็นเรื่องของการ
พัฒนาชุดตรวจระวังโรคเป็นส่วนใหญ่
∆ การพัฒนาสายพันธุ์จุลินทรีย์
ให้มีคุณลักษณะพิเศษบางอย่าง เช่น ให้สามารถกาจัดคราบน้ามันได้ดีเป็นต้น
ทางด้านการแพทย์และ
สาธารณสุข
เทคโนโลยีชีวภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์
ความรู้จากการวิจัยจีโนม(Genome) ทาให้นักวิจัยรู้สึก
ถึงระดับยีน(gene)สิ่งมีชีวิต รู้ว่ายีน(gene)ใดอยู่ที่ไหน
บนโครโมโซม(chromosome) หรือนอกโครโมโซม
(chromosome) สามารถสังเคราะห์ชิ้นส่วนนั้นได้หรือ
ตัดออกมาได้แล้วนาไปใช้ประโยชน์ในเรื่องต่างๆ
 การตรวจโรค เมื่อสามารถสังเคราะห์ชิ้นส่วนของดีเอ็นเอ(DNA) หรือยีน(gene)ได้แล้ว ก็
สามารถพัฒนาเป็น molecularprobes สาหรับใช้ในการตรวจโรคต่างๆได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 การพัฒนายารักษาโรคและวัคซีน ยารักษาโรค และวัคซีน ใหม่ๆ ผลิตโดยวิธีพันธุวิศวกรรม
(genetic engineering)ในจุลินทรีย์ หรือ recombinant DNA ทั้งสิ้น
 การสับเปลี่ยนยีนด้อยด้วยยีนดี (gene therapy) ในอนาคต เมื่องานวิจัยจีโนมมนุษย์สาเร็จ
ความหวังของคนที่ป่วยเป็นโรคทางพันธุกรรม อาจมีหนทางรักษาโดยวิธีปรับเปลี่ยนยีน
(gene)ได้
ทางด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีชีวภาพ นาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และช่วยอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง พืชที่ได้รับการถ่ายฝากยีน(gene)ต้านทานโรคและแมลง ทาให้ไม่
ต้องใช้สารเคมีฉีดพ่นหรือใช้ในปริมาณที่ลดลงมาก พันธุวิศวกรรม(genetic engineering)อาจ
นาไปสู่การผลิตพืชที่ใช้ปุ๋ยน้อย และ น้าน้อย ทาให้เป็นการลดการใช้ปุ๋ยเคมีเป็นการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม และนาไปสู่การสร้างสมดุลทรัพยากรชีวภาพได้
ทางด้านการพัฒนาอุตสาหกรรม
เมื่อวัตถุดิบได้รับการปรับเปลี่ยนคุณภาพให้ตรงกับความต้องการของอุตสาหกรรม
โดยใช้พันธุวิศวกรรม(genetic engineering)แล้ว อุตสาหกรรมใหม่ๆจะเกิดตามมากมาย เช่น
การเปลี่ยนโครงสร้างแป้ง น้ามัน และโปรตีน ในพืช หรือการลดปริมาณเซลลูโลสในไม้เป็นต้น
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพในอนาคต จะเป็นการปฏิรูปแบบอุตสาหกรรมใหม่โดยเน้น
การใช้วัตถุดิบจากสิ่งมีชีวิตมากขึ้น รถยนต์ทั้งคัน อาจทาจากแป้งข้าวโพด สารเคมีทั้งหมดอาจ
พัฒนาจากแป้ง เชื้อเพลิงอาจพัฒนาจากวัตถุดิบพืชเป็นต้น
พันธุวิศวกรรมกับการพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
(How to genetic engineering improve biotechnology)
การที่ พันธุวิศวกรรม พัฒนาไปในหลายๆด้านนั้น ไม่ว่าจะเป็นการตัดต่อพันธุกรรมพืช
หรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับดีเอ็นเอ(DNA)หรือทางด้านอื่นๆ เป็นผลทาให้การพัฒนาทางด้าน
เทคโนโลยีชีวภาพ พัฒนาตามไปด้วย เพราะเนื่องด้วย พันธุวิศกรรม นั้นเป็นส่วนหนึ่ง
เทคโนโลยีชีวภาพนั่นเอง
จีเอ็มโอ (GMOs) คือ อะไร
(What is GMOs ?)
จีเอ็มโอ ย่อมาจากคาภาษาอังกฤษว่า Genetically Modified Organisms (GMOs)
คือ สิ่งมีชีวิตซึ่งไม่ว่าจะเป็นพืช หรือสัตว์ หรือแบคทีเรีย หรือ จุลินทรีย์ ที่ถูกดัดแปลง พันธุกรรม
จากกระบวนการทาง พันธุวิศวกรรม (Genetic Engineering)
 โดยจากการตัดเอายีน(gene)ของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง มาใส่เข้าไปในยีน(gene)ของสิ่งมีชีวิต
อีกชนิดหนึ่ง โดยตามปกติไม่เคยผสมพันธุ์กันได้ในธรรรมชาติเพื่อให้สิ่งมีชีวิตชนิดนั้น ที่มี
คุณลักษณะหรือคุณสมบัติตามที่ต้องการซึ่งสิ่งมีชีวิตที่ถูกนายีน(gene)มาใส่เข้าไปแล้วก็
คือ จีเอ็มโอ(GMOs) ตัวอย่างเช่น นายีน(gene)ทนความหนาวเย็นจากปลาขั้วโลกมาผสม
กับมะเขือเทศเพื่อให้มะเขือเทศปลูกในที่ที่อากาศหนาวเย็นได้ นายีน(gene)จากแบคทีเรีย
ชนิดหนึ่งมาใส่ในยีน(gene)ของถั่วเหลืองเพื่อให้ถั่วเหลืองทนทานต่อยาปราบวัชพืช นายีน
(gene)จากไวรัสมาใส่ในมะละกอเพื่อให้มะละกอต้านทานโรคไวรัสใบด่างวงแหวนได้ เป็น
ต้น
 โดยพืชที่ได้รับการตัดต่อยีน(gene)จากกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม (Genetic
Engineering) อาจเรียกแบบเฉพาะได้ว่า Transgenic Plant ส่วนคาว่า จีเอ็มโอ(GMOs)
เป็นคาที่เรียกสิ่งมีชีวิตทั่วไปที่ได้รับการตัดต่อยีน(gene)
 พืชจีเอ็มโอ (GMOs)ที่มีขายตามท้องตลาดในปัจจุบัน ได้แก่ถั่วเหลือง, ข้าวโพด, มันฝรั่ง,
มะเขือเทศ, มะละกอ, ฝ้าย, คาโนลา (Canola) (พืชให้น้ามัน) และ สควอช (Squash)
พืช GMOs คือ อะไร
(What is Transgenic Plant ?)
พืช GMOs หรือ พืชดัดแปลงพันธุกรรม คือ พืชที่ได้รับการคัดเลือกให้มาผ่าน
กระบวนการทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) เพื่อที่จะให้พืชชนิดนั้นมีคุณลักษณะ
หรือคุณสมบัติที่จาเพาะเจาะจงตรงตามความต้องการ
เช่น พืชที่ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศที่ไม่เอื้อต่อการเจริญเติบโต, พืชที่มีความสามารถ
ต้านทานแมลงศัตรูพืชได้, พืชที่มีสารอาหารทางโภชนาการหรือสารชีวโมเลกุลบางชนิดที่
เพิ่มขึ้น เช่น มี โปรตีน หรือ วิตามิน หรือ ไขมัน ที่เพิ่มขึ้น เป็นต้น
พืช GMOs หรือ พืชดัดแปลงพันธุกรรม
ถือว่าเป็น จีเอ็มโอ (GMOs – Genetically
Modified Organisms) หรือ สิ่งมีชีวิตดัดแปลง
พันธุกรรม ประเภทหนึ่ง ซึ่งพืชที่ผ่านการตัดต่อยีน
(Gene)แล้วจากกระบวนการทางพันธุวิศวกรรม
(Genetic Engineering) มีอีกชื่อเรียกหนึ่งที่มัก
เรียกกัน นั่นคือ “Transgenic Plant”
พืชจีเอ็มโอ (พืช GMOs) ที่ได้มีการวางจาหน่ายแล้วตามท้องตลาดในปัจจุบัน ได้แก่
ข้าวโพด, มะเขือเทศ, ถั่วเหลือง, ฝ้าย, มันฝรั่ง, มะละกอ, สควอช (Squash) และ คาโนลา
(Canola)(พืชที่ให้น้ามัน)
ตัวอย่างของ พืช GMOs หรือ พืชดัดแปลงพันธุกรรม
(Examples of GMOs, Plants)
 มะเขือเทศ GMOs
ทาให้ได้มะเขือเทศมีลักษณะที่ดีขึ้น มีความ
ทนทานต่อโรคมากขึ้น จากการที่ใส่
antisense gene ของยีน(gene)ที่ผลิต
เอนไซม์polygalacturonase (PG) ทาให้
เอนไซม์polygalacturonase ถูกรบกวน
การแสดงออก มีผลทาให้เนื้อของมะเขือ
เทศมีความแข็งมากขึ้นทาให้ลดความ
เสียหายหรือการบอบช้าขณะทาการขนส่ง
ลง ทาให้มะเขือเทศเน่าช้าลงหลังจากที่เก็บ
เกี่ยวแล้ว
 มะละกอ GMOs
ทาให้ได้มะละกอที่ต้านทานโรคห่าได้หรือต้านทานโรคไวรัสใบด่างวงแหวนได้และทา
ให้ได้มะละกอมีจานวนเมล็ดที่น้อยลง
 ถั่วเหลือง GMOs
ทาให้ได้ถั่วเหลืองที่มีลักษณะที่ดีขึ้น จากการนายีน(gene)จากแบคทีเรียใส่ลงไปในดี
เอ็นเอ(DNA)ของถั่วเหลือง ทาให้ถั่วเหลืองมีความสามารถที่ทนทานต่อสารเคมีที่ปราบ
วัชพืชชนิด Roundup (glyphosate) หรือ glufosinate ได้ดีกว่าถั่วเหลืองแบบทั่วไป มีผล
ทาให้สามารถใช้สารเคมีชนิด Roundup ได้ในปริมาณที่มากขึ้น ก่อให้เกิดได้ผลผลิตของถั่ว
เหลืองมีจานวนมากขึ้นไปด้วย, จากการที่ทาการ knocked out ยีน(gene)เดิมที่ทาให้เกิด
ไขมันชนิดอิ่มตัว ทาให้ได้ถั่วเหลืองที่มีไขมันชนิดอิ่มตัวน้อยลง, จากการที่นายีน(gene)พวก
ยีนบีทีใส่ลงไปในถั่วเหลืองทาให้ถั่วเหลืองสามารถฆ่าหนอนแมลงที่เป็นศัตรูของถั่วเหลือง
ได้
 ฝ้าย GMOs
ทาให้ได้ฝ้ายที่สามารถฆ่าหนอนที่
เป็นศัตรูของฝ้ายได้โดยได้ใส่ยีน(gene)ของ
แบคทีเรียที่ชื่อ Bacillus thuringiensis var.
kurataki (B.t.k)แทรกเข้าไปในโครโมโซม
(chromosome)ของต้นฝ้าย ทาให้ฝ้ายสามารถ
ที่จะสร้างโปรตีน Cry 1A ที่สามารถฆ่าหนอน
ที่เป็นศัตรูของฝ้ายได้
 มันฝรั่ง GMOs
ทาให้ได้มันฝรั่ง (Potato)ที่มีลักษณะ
ที่ดีขึ้น มีคุณค่าทางสารอาหารที่เพิ่มมากขึ้นโดยได้
ใส่ยีน(gene)ของแบคทีเรียที่ชื่อ Bacillus
thuringiensis แทรกเข้าไปในยีน(gene)ของมัน
ฝรั่ง ทาให้มันฝรั่ง GMOs มีคุณค่าทางสารอาหาร
(เพิ่มปริมาณโปรตีน)ที่เพิ่มมากขึ้น และในบาง
ชนิดอาจมีประโยชน์ในทางการแพทย์ที่สามารถ
ผลิตวัคซีนที่เป็นประโยชน์กับมนุษย์ได้อีกด้วย
 ข้าวโพด GMOs
ทาให้ได้ข้าวโพดที่มีลักษณะที่ดีขึ้น
สามารถสร้างสารพิษทาให้แมลงที่มากัดกินข้าวโพด
ตายได้โดยได้ใส่ยีน(gene)ของแบคทีเรียที่ชื่อ
Bacillus thuringiensis แทรกเข้าไปในยีน(gene)ของ
เมล็ดข้าวโพด จึงสามารถทาให้ข้าวโพดสร้างสารที่
เป็นพิษต่อแมลงที่เป็นศัตรูของข้าวโพดได้โดยเมื่อ
แมลงที่เป็นศัตรูของข้าวโพดมากัดกินข้าวโพด GMOs
แมลงก็จะตายลง
 อ้อย GMOs
ทาให้ได้อ้อยที่มีลักษณะที่ดีขึ้น ทาให้
สามารถต่อต้านยาฆ่าแมลง และมีปริมาณน้าตาล
ซูโครสในปริมาณที่สูงขึ้น
 ข้าว GMOs
ทาให้ได้ข้าวที่มีลักษณะที่ดีขึ้น
สามารถทนแล้ง ทนเค็มได้ หรือ มีสารอาหาร
อย่างบีต้าแคโรทีน(beta-carotene) ที่เป็นสาร
เริ่มต้น (precursor)ของวิตามิน A ได้
 พริกหวาน GMOs
ทาให้ได้พริกหวานที่มีลักษณะที่ดีขึ้น จาก
การที่ใส่ยีน(gene)coat protein ของไวรัสลงไปในดี
เอ็นเอ(DNA)ทาให้สามารถต้านทานไวรัสได้
 สตรอเบอรี่GMOs
ทาให้ได้สตรอเบอรี่ที่มีลักษณะที่ดีขึ้น
อย่างเช่น ผลของสตรอเบอรี่เน่าเสียได้ช้าลง ก่อให้เกิด
ความสะดวกในการขนส่งมากยิ่งขึ้น ทาให้ผลของ
สตรอเบอรี่มีสารอาหารเพิ่มมากขึ้น
 แอปเปิล GMOs
ทาให้ได้แอปเปิลที่มีลักษณะที่ดีขึ้น คือ
ทาให้แอปเปิลมีความสดใหม่และมีความกรอบของ
ผลแอปเปิลเป็นระยะเวลาที่ยาวนานขึ้นหรือคือทาให้
ระยะเวลาในการเน่าเสียช้าลง (delay ripening) ทา
ให้แอปเปิลทนทานต่อแมลงต่างๆ ที่เป็นศัตรูของ
แอปเปิล
 วอลนัท GMOs
ทาให้ได้เม็ดวอลนัทมีลักษณะที่ดีขึ้น คือ
ทนทานต่อโรคของวอลนัทมากขึ้น
 คาโนลา(Canola) GMOs
ทาให้ได้คาโนลา(Canola)มีลักษณะที่ดี
ขึ้น ต้านทานยาปราบวัชพืชพวก glyphosate หรือ
glufosinate ได้ ทาให้ได้น้ามันจากคาโนลา
(Canola)มากขึ้น
 สควอช(Squash)GMOs
ทาให้ได้สควอช(Squash)มีลักษณะที่ดี
ขึ้น จากการที่ใส่ยีน(gene)coat protein ของไวรัส
ลงไปในดีเอ็นเอ(DNA)ทาให้สามารถต้านทาน
ไวรัสได้
ปัจจัยที่มีส่วนสาคัญ
ในการถ่ายฝากยีนเข้าสู่พืช
๐ การเลือกใช้เทคนิคในการถ่ายฝากยีนเข้าสู่พืชให้เหมาะสมกับประเภทหรือชนิดของพืชนั้น
หรือ เหมาะกับเซลล์หรือกลุ่มเซลล์หรือเนื้อเยื่อของพืชที่ถูกคัดเลือกมาใช้
๐ การใช้ระดับของปัจจัยต่างๆหรือเงื่อนไขต่างๆที่ส่งผลต่อวิธีการถ่ายฝากยีน เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดในการถ่ายฝากยีน
๐ การคัดเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์หรือเนื้อเยื่อของพืช ที่มีความสามารถในการพัฒนาเป็น
ต้นได้ในอัตราส่วนที่สูง เพื่อใช้เป็นเป้าหมายในการถ่ายฝากยีนเข้าไป เช่น เอ็มบริโอ
(Embryo), แคลลัส (Callus) ซึ่งเป็นกลุ่มเซลล์พื้นฐานที่สามารถที่จะชักนาการ
เจริญเติบโตได้หลายทาง โดยขี้นอยู่กับสารที่ใช้ในการควบคุมการเจริญเติบโตหรือสารเคมี
อื่นๆที่ใช้เติมเข้าไปในอาหารเพาะเลี้ยง, เซลล์แขวนลอย (Suspension Cells) ซึ่งเป็นเซลล์
เดี่ยวๆ (Single Cell)หรือกลุ่มของเซลล์ที่มีขนาดเล็ก (Aggregate Cells) ที่ถูก
เพาะเลี้ยงในอาหารเหลวบนเครื่องหมุนเหวี่ยงอาหาร ทาให้เซลล์เหล่านั้นเกิดการแขวน
ลอยตัวในอาหาร, เซลล์โปรโตพลาสต์ หรือ โพรโทพลาสต์(Protoplast) ซึ่งเป็นเซลล์ที่ไม่
มีผนังเซลล์ (Cell Wall) โดยจะใช้เอนไซม์ในการย่อยผนังเซลล์ออกไปหรือใช้วิธีกลในการ
แยกเอาผนังเซลล์ออกมา เป็นต้น
๐ การเลือกใช้ ส่วนที่ควบคุมการแสดงออกของยีน (Promoter), ยีนเครื่องหมายที่ใช้ในการ
คัดเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์หรือเนื้อเยื่อ ของพืชที่มีการแทรกยีน(Gene)เข้าในจีโนม
(Genome)หรือดีเอ็นเอ(DNA)แล้ว (Selectable Marker Gene) หรือ ยีนรายงานผลของ
การถ่ายฝากยีน (ReporterGene) ที่มีประสิทธิภาพสูง และโดยเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
ชนิดของเซลล์หรือกลุ่มเซลล์หรือเนื้อเยื่อ ของพืชที่นามาทาการถ่ายฝากยีน
๐ การจัดการระบบให้ใช้ระยะเวลาที่สั้นที่สุดของเซลล์หรือกลุ่มเซลล์หรือเนื้อเยื่อของพืช
เป้าหมายที่นามาถ่ายฝากยีน ในการเพาะเลี้ยง การคัดเลือก และการพัฒนาเป็นต้น เพื่อให้
ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต้องการซึ่งเกิดจากขั้นตอนการเพาะเลี้ยง(Somaclonal
Variation) ลดลง
ข้อดี หรือ ประโยชน์ ของ GMOs
(Advantages of GMOs)
๐ ประโยชน์ทางด้านการเกษตร
- ทาให้เกิดพืชที่ให้ผลผลิตมากขึ้น ตัวอย่างเช่น ผลมีขนาดใหญ่ขึ้น (เช่น มะเขือเทศมีผลขนาด
ใหญ่ขึ้น), ผลมีปริมาณมากขึ้น (เช่น ปริมาณเมล็ดข้าวต่อต้นมากขึ้น), ผลมีน้าหนักมากขึ้น (เช่น
มะละกอที่มีน้าหนักมากกว่ามะละกอปกติทั่วไป)
- ทาให้เกิดพืชที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม โดย ทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศที่ไม่เอื้ออานวย
ต่อการเพาะปลูกหรือเจริญเติบโตของพืช ตัวอย่างเช่นพืชที่ทนแล้ง (เช่น ข้าวทนแล้ง), พืชที่ทน
ต่อดินเค็ม (เช่น ข้าวทนดินเค็ม), พืชที่ทนต่อดินเปรี้ยว เป็นต้น
- ทาให้เกิดพืชที่ทนต่อศัตรูพืช เช่น พืชที่ทนต่อเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคพืช พืชที่ทนต่อเชื้อราที่
ก่อให้เกิดโรคพืช พืชที่ทนต่อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคพืช ทนต่อแมลงศัตรูพืช หรือแม้แต่ทนต่อ
ยาฆ่าแมลง และทนต่อยาปราบวัชพืช
- เมื่อทาให้พืชลดการใช้สารเคมีพิษจากสารเคมีที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อเกษตรกรก็ลดลง
- ทาให้เกิดพืชที่มีผลผลิตที่สามารถเก็บรักษาเป็นเวลานาน และอยู่ได้นาน ทาให้ขั้นตอนในการ
ขนส่งสามารถขนส่งในระยะไกลโดยไม่เน่าหรือเสีย เช่น มะเขือเทศที่ถูกทาให้สุกช้า หรือถึงแม้จะ
สุกแต่ก็ไม่งอม เนื้อยังแข็งและกรอบ ไม่เละเมื่อไปถึงมือผู้บริโภค
๐ ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
- ทาให้เกิดพืช ผัก ผลไม้มีคุณค่าทางโภชนาการเพิ่มมากขึ้น เช่น ทาให้มะเขือเทศมีวิตามินอี
มากขึ้น ทาให้ส้มหรือมะนาวที่มีวิตามินซีเพิ่มมากขึ้น ทาให้กล้วยมีวิตามินเอเพิ่มขึ้น เป็นต้น
- ทาให้ลดการขาดแคลนอาหารได้ เนื่องจากการปรับปรุงพันธุ์ให้มีผลผลิตและความต้านทาน
ต่างๆมากขึ้น ทาให้มีผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น ตอบสนองต่อความต้องอาหารที่เพิ่มมากขึ้น
๐ ประโยชน์ด้านการพาณิชย์
- ลดขั้นตอนและระยะเวลาของการผสมพันธุ์พืชซึ่งหากช่วงชีวิตของพืชที่ต้องการปรับปรุงพันธุ์
ด้วยวิธีเดิมยาวนานกว่าจะได้ผล และต้องทาการคัดเลือกพันธุ์อยู่หลายครั้ง การทา GMOs ทาให้
ขั้นตอนนี้เร็วและแม่นยายิ่งขึ้นกว่าเดิมมาก
- ทาให้เกิดพืชพันธุ์ใหม่ๆที่มีประโยชน์ในการพาณิชย์ เช่น ดอกไม้หรือพวกไม้ประดับที่มีรูปร่าง
แปลกกว่าเดิม มีขนาดใหญ่กว่าเดิม สีสันแปลกไปจากเดิม (เช่น กุหลาบสีน้าเงิน)หรือมีความ
คงทนกว่าเดิม
๐ ประโยชน์ต่อด้านการอุตสาหกรรม
- หากทาพืช GMOs ให้สามารถลดการใช้สารเคมีและ
ช่วยให้มีผลผลิตมากขึ้นกว่าเดิม ทาให้ต้นทุนการผลิต
ลดต่าลงและเวลาที่ใช้ก็ลดลงด้วย วัตถุดิบที่ได้มาจาก
ภาคการเกษตร เช่น ซังข้าวโพด แกลบ กากถั่วเหลือง
อาหารสัตว์จึงมีราคาถูกลง
- มี GMOs หลายชนิดที่ไม่ใช่พืช ที่ใช้กันอยู่ใน
อุตสาหกรรมอาหาร เช่น เอนไซม์ที่ใช้ในการผลิตน้าผัก
ผลไม้หรือ เอนไซม์ไคโมซิน (Chymosin)ที่ใช้ในการ
ผลิตเนยแข็งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จาก GMOs และทามา
เป็นเวลานานแล้ว ทาให้ลดทั้งต้นทุนการผลิตและเวลา
ที่ต้องใช้ลง
๐ ประโยชน์ต่อด้านการแพทย์
- การผลิตวัคซีน หรือยาชนิดต่างๆ ในอุตสาหกรรมยาปัจจุบันนี้ล้วนแล้วแต่ใช้ GMOs ช่วยแทบ
ทั้งสิ้น อีกไม่นานนี้ เราอาจมีน้านมวัวที่มีส่วนประกอบของฮอร์โมนหรือตัวยาที่จาเป็นต่อมนุษย์
- ช่วยลดการขาดแคลนยาหรือวัคซีนได้มากขึ้น เพราะ GMOs สามารถช่วยเพิ่มการผลิตสิ่ง
เหล่านี้ให้เพิ่มขึ้นได้
๐ ประโยชน์ต่อด้านสิ่งแวดล้อม
- หากทาพืช GMOs ให้สามารถป้องกันศัตรูพืชได้เอง จานวนการใช้สารเคมีชนิดต่างๆเพื่อการ
ปราบศัตรูพืชก็จะลดน้อยลงจนอาจถึงไม่ต้องใช้เลยก็ได้ทาให้มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก
สารเคมีลดลง
- ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพมากขึ้น เนื่องจากยีนที่มีการแสดงออกที่มีประโยชน์ถูก
เลือกให้รับโอกาสในการแสดงออกในสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมากขึ้น
ข้อเสีย หรือ ผลเสีย ของ GMOs
(Disadvantages of GMOs)
๐ ปัญหาด้านของความเสี่ยงต่อผู้บริโภค
อาจมีสิ่งอื่นเจือปนที่ทาให้เกิดอันตรายจากสารอาหารที่ได้จากจีเอ็มโอ(GMOs) ได้
เช่น เคยมีข่าวว่า คนในสหรัฐอเมริกาเกิดการล้มป่วยและเสียชีวิตเกิดขึ้น ซึ่งมีสาเหตุมาจากการ
บริโภค กรดอะมิโน L-Tryptophan ซึ่งเป็นสารอาหารที่ได้จากจีเอ็มโอ(GMOs)โดยเป็น
ผลิตภัณฑ์ของบริษัท Showa Denko แต่ความจริงแล้วจีเอ็มโอ(GMOs) ไม่ได้เป็นสาเหตุของ
อันตราย แต่เกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการหลังการทาให้บริสุทธิ์ของผลิตภัณฑ์โดยใน
ขั้นของการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) มีความบกพร่องจนมีสิ่งเจือปนที่ไม่ต้องการ
เหลืออยู่
จีเอ็มโอ(GMOs)อาจเป็นพาหะของสารที่เป็นอันตรายได้ อย่างในการทดลองของ Dr.Pusztai ได้
ทาการทดลองให้หนูกินมันฝรั่งดิบที่มีสารเลคติน(lectin)เจือปนอยู่ แล้วผลออกมาว่าหนูมี
ภูมิคุ้มกันลดลง รวมถึงลาไส้ของหนูมีลักษณะบวมอย่างผิดปกตินักวิทยาศาสตร์จานวนมาก
วิจารณ์การทดลองนี้ว่า มีความบกพร่องในการออกแบบการทดลองรวมถึงในวิธีการทดลอง ซึ่ง
เชื่อว่าต่อไปจะมีการทดลองที่รัดกุมมากขึ้น และมีคนกังวลว่า ดีเอ็นเอ (DNA) จากไวรัสที่ใช้ใน
การทาจีเอ็มโอ(GMOs) อาจเป็นอันตรายได้
อาจมีสารบางอย่างจากจีเอ็มโอ(GMOs) มีไม่เท่ากับปริมาณสารปกติในธรรมชาติ (สารที่ไม่ได้
เกิดจากการตัดต่อพันธุกรรมแล้วใส่ยีน(gene)ที่จะผลิตสารนั้นโดยตรงลงไป)อย่างมีรายงานว่า
ถั่วเหลืองที่เกิดจากการตัดต่อพันธุกรรมมีสาร isoflavone {เป็นสารจาพวก phytoestrogen
[ซึ่งคล้ายสารจาพวกฮอร์โมนเอสโตรเจน(estrogen)ในคน]} มากกว่าถั่วเหลืองในธรรมชาติ
เล็กน้อย ซึ่งยังไม่แน่ใจว่า การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมน estrogen อาจทาให้เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
จีเอ็มโอ(GMOs) หรือเปล่า โดยเฉพาะในเด็กทารก
เกิดสารภูมิแพ้(allergen)ซึ่งอาจได้มาจากสิ่งมีชีวิตที่เป็นแหล่งเดิมของยีน(gene)ที่นามาใช้ทา
จีเอ็มโอ(GMOs)นั้น อย่างการใช้ยีน(gene)จากถั่ว Brazil nut มาทาจีเอ็มโอ(GMOs)เพื่อเพิ่ม
คุณค่าของโปรตีนในถั่วเหลืองให้มากขึ้นสาหรับเป็นอาหารสัตว์ ก่อนที่จะออกจาหน่ายพบว่า
จีเอ็มโอ(GMOs)ที่เป็นถั่วเหลืองชนิดนี้อาจทาให้คนกลุ่มหนึ่งเกิดอาการแพ้ได้เนื่องจากได้รับ
โปรตีนที่เป็นสารภูมิแพ้จากถั่ว Brazil nut ทางบริษัทจึงได้ระงับการพัฒนาและการจาหน่าย
จีเอ็มโอ(GMOs)ชนิดนี้ แต่ถึงอย่างนั้นพืชจีเอ็มโอ(GMOs)ชนิดอื่นๆ ที่มีจาหน่ายอยู่ทั่วโลกใน
ขณะนี้อย่างพวก ถั่วเหลืองและข้าวโพดนั้นได้มีการประเมินแล้วว่า มีอัตราความเสี่ยงไม่
แตกต่างจากถั่วเหลืองและข้าวโพดที่ปลูกอยู่ทั่วไปในธรรมชาติ
๐ ปัญหาด้านของความเสี่ยงต่อสิ่งแวดล้อม
สารพิษบางชนิดที่ใช้ปราบแมลงศัตรูพืช อาจกระทบถึงแมลงและสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ
ที่มีประโยชน์ต่อพืช เช่น Bt toxin ที่มักใส่ในจีเอ็มโอ(GMOs) อย่างผลการทดลองของ Losey
มหาวิทยาลัย Cornell ได้ศึกษาผลกระทบของสารฆ่าแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis
(บีที) ในข้าวโพดตัดต่อพันธุกรรมที่มีต่อผีเสื้อ Monarch ในการทดลองนี้ทาในสถานที่ทดลอง
ภายใต้สภาวะเงื่อนไขที่ Stress โดยให้ผลเพียงในขั้นต้นเท่านั้น ซึ่งต้องมีการทดลองในภาคสนาม
อีกเพื่อให้ได้ผลที่มีนัยสาคัญ ก่อนที่จะมีการสรุปผลและมีการนาไปขยายความต่อไป
การนาจีเอ็มโอ(GMOs)ออกสู่สิ่งแวดล้อมทั่วไป โดยอาจมีผลกระทบต่อความหลากหลายทาง
ชีวภาพ ซึ่งอาจทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์ใหม่ที่มีลักษณะเด่นเหนือกว่าสายพันธุ์ดั้งเดิมใน
ธรรมชาติมากจนกลืนสายพันธุ์ดั้งเดิมในธรรมชาติให้หายไปหรือสูญพันธุ์ไป หรืออาจเกิดลักษณะ
เด่นอะไรบางอย่างถูกถ่ายทอดไปยังสายพันธุ์ที่ไม่ต้องการหรืออาจทาให้ศัตรูพืชดื้อต่อสารเคมี
ปราบศัตรูพืช อาจทาให้เกิด “สุดยอดแมลง(superbug)” หรือ “สุดยอดวัชพืช(super weed)”
ได้
๐ ปัญหาด้านของเศรษฐกิจและสังคม
ปัญหาในเรื่องอื่น ที่ไม่ใช่เรื่องวิทยาศาสตร์เช่น การผูกขาดทางสินค้าจีเอ็มโอ(GMOs)ของ
บริษัทเอกชนที่จดสิทธิบัตรเกี่ยวกับจีเอ็มโอ(GMOs)นั้น ทาให้ในอนาคตอาจเกิดความไม่มั่นคง
ทางด้านอาหารได้และไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ต่อไป รวมถึง ปัญหาในเวทีการค้าระหว่าง
ประเทศที่กีดกันสินค้าจีเอ็มโอ(GMOs)
ข้อแตกต่างระหว่าง GMOs กับ GMO
(Difference between GMOs and GMO)
GMOs ย่อมาจากคาว่า Genetically Modified Organisms ส่วน GMO ย่อมาจาก
คาว่า Genetically Modified Organism ซึ่งคือ GMOs เป็นรูปพหูพจน์ของ GMO โดยที่ GMO
เป็นรูปเอกพจน์ หมายความว่าตัว s ที่ตามหลังคาว่า GMO ทาให้ GMOs เป็นรูปพหูพจน์ดังนั้น
ความแตกต่างระหว่าง GMOs และ GMO คือ คาว่า GMO กล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงทาง
พันธุกรรมเพียงตัวเดียวหรือเพียงต้นเดียว ส่วน GMOs กล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่ถูกดัดแปลงทาง
พันธุกรรมที่มากกว่า 1 ตัวหรือ 1 ต้น ขึ้นไป
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม (GMM) คือ อะไร
(What is GMM?)
จุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Microorganism, GMM) คือ
จุลินทรีย์(Microorganism)ที่ถูกดัดแปลงพันธุกรรมจากกระบวนการทาง พันธุวิศวกรรม
(Genetic Engineering)ให้มีความแตกต่างไปจากพันธุกรรมเดิม โดยที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เอง
ตามธรรมชาติเพื่อจะให้มีคุณลักษณะที่เป็นประโยชน์ตามที่ต้องการ เช่น เพื่อให้ผลิตเอนไซม์
บางอย่างในปริมาณมากๆ
จุลินทรีย์(Microorganism)ที่มีสารพันธุกรรมเปลี่ยนแปลงไปด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ไม่
ถือว่าเป็นจุลินทรีย์ดัดแปลงพันธุกรรม (Genetically Modified Microorganism, GMM)
- การแลกเปลี่ยนดีเอ็นเอ(DNA)ของจุลินทรีย์(Microorganism)ด้วยวิธีการตามธรรมชาติ
- การใช้เทคนิค Self Cloning
- การใช้เทคนิค in vitro Fertilization
- การใช้เทคนิคก่อการกลายพันธุ์ (Mutagenesis)
- การใช้เทคนิคชักนาให้เกิดโพลีพลอยด์ (Polyploid)
- การใช้เทคนิคการหลอมเซลล์หรือการหลอมโปรโตพลาสต์ ที่ไม่ทาให้เกิดสารพันธุกรรมใหม่ที่
ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เองตามธรรมชาติ
เทคโนโลยีชีวภาพคืออะไร?
(What is biotechnology ?)
เทคโนโลยีชีวภาพ
คือเทคโนโลยีซึ่งนาเอาความรู้ทางด้านต่างๆ
ของวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับสิ่งมีชีวิต หรือ
ชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิต หรือผลผลิตของสิ่งมีชีวิต
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นทางการ
ผลิตหรือทางกระบวนการ ของสินค้าหรือบริการ
เพื่อใช้ประโยชน์เฉพาะอย่างตามที่เราต้องการ โดย
สามารถใช้ประโยชน์ทางด้านต่างๆ เช่น ด้าน
การเกษตร ด้านอาหาร ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านทางการแพทย์ เป็นต้น
โดยทาง United Nations Convention on Biological Diversity
ได้ให้นิยามของเทคโนโลยีชีวภาพ ไว้ว่า
“Any technological application that uses biological systems,
living organisms, or derivatives thereof, to make or modify
products or processes for specific use.”
“การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆมาใช้กับ ระบบทางชีวภาพ หรือ สิ่งมีชีวิต
หรือ สิ่งที่ได้จากระบบทางชีวภาพและสิ่งมีชีวิต เพื่อที่ทาการสร้างหรือปรับปรุง
แก้ไข ผลิตภัณฑ์ หรือ กระบวนการ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในเรื่องเฉพาะด้าน”
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพ
(Applications of biotechnology)
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีชีวภาพมีหลายด้าน เช่น
1. เทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อการเกษตร คือ การพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์พืช โดยวิธีการ
เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและเซลล์พืช การตัดแต่งยีน ตัวอย่างเช่น การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อ
ขยายพันธุ์กล้วยไม้ การตัดแต่งยีนเพื่อการพัฒนาพันธุ์พืชต้านทานต่อศัตรูพืชหรือโรคพืช
การพัฒนาผลไม้ให้สุกงอมช้า
2. เทคโนโลยีชีวภาพเพื่ออุตสาหกรรม
อาหาร คือ การเพิ่มคุณค่าผลผลิตของ
อาหาร ตัวอย่างเช่น การลดปริมาณ
โคเลสเตอรอลในไข่แดง การทาให้โค
และสุกรเพิ่มปริมาณเนื้อ
3. เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อสิ่งแวดล้อม คือ
การลดการใช้สารเคมีที่เป็นผลเสียต่อ
สิ่งแวดล้อม ตัวอย่างเช่น การนาของเสีย
จากสิ่งมีชีวิตไปทาปุ๋ยหรือการผลิตปุ๋ย
ชีวภาพจากสารอินทรีย์ การใช้จุลินทรีย์
ในการกาจัดขยะหรือน้าเสีย
4.เทคโนโลยีชีวภาพด้านเทคโนโลยีการแพทย์เพื่อสุขภาพ ตัวอย่างเช่น การผลิต
วัคซีนป้องกันโรค การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคและการ
เยียวยารักษา การใช้เทคโนโลยีดีเอ็นเอตรวจสอบความผิดปกติทางพันธุกรรมหรือ
โรคทางพันธุกรรมต่างๆ การผลิตยาจากผลิตภัณฑ์จากสิ่งมีชีวิต
ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ทาง
เทคโนโลยีชีวภาพในชีวิตประจาวัน
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่ทาจากนม
ชนิดต่างๆ เช่น นมสด นมพร่องมันเนย หรือ
นมถั่วเหลือง โดยการหมักนมร่วมกับแบคทีเรีย
พวก แลคโตบาซิลัส เอซิโดซิส และ สเตรปโต
คอคคัส เทอร์โมฟิลลัส แบคทีเรียพวกนี้จะช่วย
ย่อยน้าตาลแลคโตสที่อยู่ในนมให้กลายเป็นกรด
แลคติค ทาให้เกิดภาวะกรดและมีรสเปรี้ยว จะทา
ได้ 2 แบบ คือ นมเปรี้ยว ที่มีลักษณะเป็นน้า
คล้ายเครื่องดื่ม อีกชนิดหนึ่ง คือ โยเกิร์ต
ที่มีลักษณะเป็นของเหลวข้น
o นมเปรี้ยวและโยเกิร์ต
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เป็นอาหารที่ทาจากแป้งสาลีที่ผสมกับน้าและยีสต์
หรือ ผงฟู และอาจใช้ส่วนผสมอื่นๆเพื่อใช้ในการแต่งสี รสชาติและกลิ่น ให้แตกต่างกัน
ไป จากนั้นนาส่วนผสมเหล่านี้มาตีรวมให้เข้ากันและนาไปอบ
o ขนมปัง
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เป็น
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทาจากน้าองุ่นที่นามาหมัก
ด้วยยีสต์จะทาให้เปลี่ยนน้ําตาลในองุ่นให้กลายไป
เป็นแอลกอฮอล์แต่ไวน์สามารถทาได้จากการหมัก
น้ําผลไม้เกือบทุกชนิดกับยีสต์แต่จะให้กลิ่นและ
รสชาติที่แตกต่างกันไป ถึงอย่างนั้นก็ยังเรียกไวน์
เช่นเดียวกันโดยจะเรียกชื่อผลไม้ชนิดนั้นๆตาม
ไปด้วย เช่น ไวน์สับปะรด
o ไวน์ หรือ เหล้าองุ่น
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่ลักษณะเป็น
ของเหลวใสมีรสเปรี้ยวมักใช้ปรุงอาหาร ได้จากการ
หมักยีสต์กับวัตถุดิบที่มี น้าตาล เช่น ผลไม้ต่างๆ
หรือ น้าตาล กากน้าตาลหรือพวกเมล็ดธัญพืช เช่น
ข้าว ข้าวโพด ซึ่งพวกนี้จะต้องเปลี่ยนแป้งให้เป็น
น้าตาลก่อนจึงหมักกับยีสต์ แล้วจะได้แอลกอฮอล์
จากนั้นจึงนาแอลกอฮอล์มาหมักด้วยแบคทีเรียใน
กลุ่มAcetobacter และGluconobacterใน
ภาวะที่มีออกซิเจนทาให้เกิดกรดอะซิติก ถ้านามา
กลั่นจะได้น้าส้มสายชูกลั่น
o น้าส้มสายชู
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ
ที่เป็นซอสชนิดหนึ่งใช้ในการปรุง
อาหาร ทาจากการหมักถั่วเหลืองกับ
เชื้อรา Aspergillus oryzae
(หรือ Aspergillus soyae)
o ซีอิ๊ว
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพ
ที่ใช้ในการปรุงรสอาหาร ทาจากการ
หมักถั่วเหลืองด้วยเกลือร่วมกับเชื้อรา
o เต้าเจี้ยว
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เป็นขนม
หวานสีใส ลักษณะคล้ายเยลลี่ทาจากการหมักน้า
มะพร้าวผ่านการทาให้แข็งตัวจนกลายเป็น
เซลลูโลสโดย ใช้แบคทีเรีย Acetobacter
xylinum วุ้นที่เกิดขึ้นเป็นพอลิเมอร์ของน้าตาล
กลูโคสต่อกันด้วยพันธะบีต้า-1,4 ไกลโคซิดิก
(ϐ-1,4 glycosidic bond)หรืออาจเรียกว่า
เป็นเนื้อเยื่อประเภทเซลลูโลส
o วุ้นมะพร้าว
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เป็น
อาหาร ได้จากการนาก้อนเต้าหู้มาหมักด้วย
เชื้อราแล้วหมักดองในน้าปรุงรส ที่ทาจาก
ส่วนประกอบต่างๆ เช่น น้าตาล เกลือ ผง
พะโล้ ไวน์ อาจมีพริกแดง ข้าวแดง ขิง อยู่
ด้วย หรือนาก้อนเต้าหู้มาหมักดองในเต้าเจี้ยว
สีแดงในเต้าหู้ยี้ ได้จากการหมัก ข้าว ด้วย
เชื้อรา Monascus purpureus ใช้เป็น
สารให้สี
o เต้าหู้ยี้
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เป็นอาหารทา
จากเนื้อหมูส่วนสะโพกที่แยกไขมันและเอ็นออกแล้ว
ผสมกับหนังหมู อาจผสมหูหมูหรือจมูกหมูที่ต้มสุกและ
หั่นเป็นเส้น เติมเกลือ ข้าวสุก กระเทียมบด น้าตาล
ทราย ผสมให้เข้ากัน อาจเติมพริกสดด้วยก็ได้ ห่อเป็น
มัดด้วยพลาสติก หรือห่อด้วยใบตองสด หรือบรรจุใน
ภาชนะบรรจุลักษณะอื่นๆ มัดให้แน่นด้วยยาง เชือก
หรือตอก เพื่อจะไล่อากาศภายในออกมา จะได้เกิด
สภาวะไม่มีอากาศ ซึ่งเป็นสภาวะที่ lactic acid
bacteria เจริญได้ดี และสร้างกรดหมักจนมีรสเปรี้ยว
o แหนม
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพที่เป็นอาหาร
ได้จากการนาผลไม้ทั้งผลมาล้างให้สะอาด
อาจจะมีการตัดแต่งเพิ่มเติม เช่น ปอกเปลือก
คว้านเมล็ด และจากนั้นอาจจะนาไปแช่ในน้า
ปูนใสหรือสารที่ช่วยทาให้กรอบก่อน แล้วจึง
นามาดองในน้าดอง ในระยะเวลาที่เหมาะสม
หรืออาจนามาดองในน้าปรุงรสอีกครั้งหนึ่ง แล้ว
นามาใส่ในภาชนะเพื่อเก็บรักษา
o ผลไม้ดอง
ในการหมักดองช่วงแรกจะเกิดกระบวนการออสโมซิสน้าตาลที่อยู่ในผลไม้จะมีการแพร่ออกมา
อยู่ในน้าเกลือ ทาให้ในน้าเกลือมีสารอาหารที่ใช้ในการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อน
มากับผลไม้ตามธรรมชาติ เกิดการเจริญขึ้นได้ โดยเฉพาะพวก Achromobacter และยีสต์จะ
เปลี่ยนน้าตาลให้กลายเป็นกรด, แอลกอฮอล์ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อเกิดสภาวะเป็น
กรดทาให้จุลินทรีย์พวก Lactic Acid Bacteria เช่น Leuconostoc mesenteroids
เจริญเติบโตขึ้นมาได้ ทาให้เกิดกรดแลคติก โดยจะเปลี่ยนน้าตาลให้เป็นพวกกรดแอซีติก ,
แอลกอฮอล์ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อภายในถังหมักเกิดมีความเป็นกรดเพิ่มมากขึ้น
เชื้อ Leuconostoc จะเจริญช้าลงและจะมีเชื้อแบคทีเรียLactobacillus brevis เจริญและ
เปลี่ยนน้าตาลให้เป็นกรดแลคติก 1-2% จากนั้นแบคทีเรียพวก Lactobacillus platarum
จะเจริญ เปลี่ยนน้าตาลให้เป็นกรดแลคติก จนมีความเข้มข้น 2.5% ปฏิกิริยาการหมักจึงสิ้นสุด
เป็นผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยีชีวภาพมีสถานะ
เป็นสารละลายของเหลวประกอบไปด้วยจุลินทรีย์
จานวนมาก มีสีดาออกน้าตาล มีกลิ่นอมเปรี้ยว
อมหวาน และยังสามารถใช้ช่วยในการปรับ
ความสมดุลของสิ่งแวดล้อมและของสิ่งมีชีวิตได้
ในบางครั้งน้าหมักชีวภาพยังสามารถนาไปล้าง
ห้องน้าได้ จะช่วยให้ขจัดกลิ่นเหม็นไม่พึงประสงค์
ได้ น้าหมักชีวภาพ ได้จากการหมักเศษซากพืช
หรือเศษซากสัตว์ กับสารที่ให้ความหวาน
o น้าหมักชีวภาพหรือน้าสกัดชีวภาพหรือน้าจุลินทรีย์
เทคโนโลยีชีวภาพทาง
ด้านการแพทย์และสุขภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพสามารถนามาประยุกต์ใช้ในทางด้านการแพทย์และสุขภาพ
ได้หลายอย่างหลายด้าน ตัวอย่างเช่น
 ด้านยารักษาโรค
เช่น การนาความรู้มาประยุกต์กันระหว่างทางเทคโนโลยีชีวภาพกับสมุนไพรหรือ
สมุนไพรไทย จนสามารถทายารักษาโรคตัวใหม่ได้
 ด้านการป้องกันโรค
เช่น การตรวจดีเอ็นเอ เพื่อวิเคราะห์โรคทางพันธุกรรมของพ่อแม่เพื่อดูว่าบุตรที่เกิด
มาจะมีโอกาสเกิดโรคทางพันธุกรรมใดๆหรือไม่ หรือ การทาวัคซีนเพื่อป้องกันโรค
 ด้านการวินิจฉัยหาสาเหตุโรค
เช่น การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคต่างๆ หรือ การตรวจดี
เอ็นเอ เพื่อวิเคราะห์โรคทางพันธุกรรม
 ด้านการรักษาโรค
เช่น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพกับการรักษาโรคเบาหวาน
รวมถึงการประยุกต์รวมความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพกับทางด้านการแพทย์
มาใช้ในงานทางด้านกฏหมายอย่างงานทางนิติวิทยาศาสตร์เพื่อใช้ในการ
วิเคราะห์หลักฐาน พิสูจน์หลักฐาน หรือ ในการสืบสวนคดี รวมถึงการพิสูจน์
เอกลักษณ์บุคคล การพิสูจน์เครือญาติด้วย ดีเอ็นเอ
เด็กหลอดแก้ว (IVF) คืออะไร?
เด็กหลอดแก้ว (In Vitro Fertilization, IVF) คือ
เทคโนโลยีที่ช่วยในการปฎิสนธิระหว่างไข่และสเปิร์มที่ภายนอกร่างกาย เพื่อเป็นการแก้ไข
ปัญหาภาวะการมีบุตรยาก ด้วยการนาไข่ออกมาจากร่างกายของฝ่ายผู้หญิงและนาเอาสเปิร์ม
ของฝ่ายผู้ชาย มาทาการปฏิสนธิกันภายในภาชนะบรรจุของเหลว เสร็จแล้วจึงนาไข่ที่มีการ
ปฏิสนธิแล้ว หรือ ตัวอ่อนเอ็มบริโอใส่เข้าไปยังมดลูกของฝ่ายผู้หญิง เพื่อทาให้การตั้งครรภ์
นั้นสมบูรณ์ คาว่า “เด็กหลอดแก้ว” มาจากการที่ขั้นตอนในการทาให้เกิดเด็กมีการปฎิสนธิ
แบบ “In Vitro” ที่เป็นภาษาละติน แปลว่า “ภายนอกสิ่งมีชีวิต” ซึ่งIn Vitroโดยทั่วไป
มักจะทากันในหลอดทดลองและหลอดทดลองจะทามาจากแก้ว จึงได้เรียกหลอดทดลองว่า
หลอดแก้ว และเป็นเหตุให้เรียกเด็กที่เกิดจากขั้นตอนเหล่านี้ว่า “เด็กหลอดแก้ว”
ปัจจัยในการเลือกทาเด็กหลอดแก้ว (In Vitro Fertilization, IVF)
โดยจะพิจารณาจากปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะมีบุตรยากในคู่สมรสได้แก่
- ฝ่ายผู้หญิงมีปัญหาเกี่ยวกับระบบท่อนาไข่ผิดปกติ
- ฝ่ายผู้ชายมีปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพเชื้ออสุจิหรือเชื้ออสุจิผิดปกติ
- ฝ่ายผู้หญิงมีปัญหาเกี่ยวกับภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ระบบฮอร์โมนรังไข่ผิดปกติ
- ผ่านการทาผสมเทียมมาแล้วแต่ไม่สาเร็จ
- มีปัญหาเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
- มีความจาเป็นต้องใช้ไข่ที่ได้รับการบริจาคจากผู้อื่น
- การตรวจโรคทางพันธุกรรมของบุตรก่อนเกิดโดยมีการตรวจก่อนที่จะมีการถ่ายฝากตัวอ่อนเข้าสู่
มดลูก ด้วยวิธีการ Embryo Biopsy
- การมีภาวะที่ไม่ทราบสาเหตุของการมีบุตรยาก โดยที่คู่สมรสมีความพยายามมามากกว่า3ปี
ขั้นตอนการทาเด็กหลอดแก้ว
1.เตรียมความพร้อมของคู่สมรส โดยการ
- สรุปประวัติการรักษา - ตรวจร่างกาย - ตรวจระบบฮอร์โมนรังไข่
- ตรวจอัลตราซาวด์มดลูกและรังไข่ - ตรวจความแข็งแรงของเชื้ออสุจิ
2.วางแผนและทาความเข้าใจร่วมกันระหว่างแพทย์และคู่สมรส
3.ทาการกระตุ้นรังไข่เพื่อให้มีการตกไข่และทาให้ไข่สุกในรังไข่
4.ตรวจการเปลี่ยนแปลงของไข่ด้วยการอัลตราซาวนด์
5.เก็บไข่ออกจากร่างกายฝ่ายหญิงพร้อมกับการเก็บเชื้ออสุจิจากฝ่ายชาย
6.นาไข่ไปปฏิสนธิกับสเปิร์ม
7.เพาะเลี้ยงตัวอ่อนในน้ายาเลี้ยงให้เติบโตและแข็งแรงภายในห้องปฏิบัติการ
8.ถ่ายฝากตัวอ่อนเพื่อฝังตัวในโพรงมดลูก
9.ตรวจติดตามระดับฮอร์โมนของฝ่ายหญิงในระหว่างการฝังตัวของตัวอ่อนหรือการตั้งครรภ์
ระยะเวลาในการทาเด็กหลอดแก้ว
เด็กหลอดแก้วจะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ
4-6 สัปดาห์จึงจะเสร็จสมบูรณ์ โดยที่
หลังจากมีการถ่ายฝากตัวอ่อนเข้าสู่โพรง
มดลูกแล้วประมาณ 2 สัปดาห์ทางแพทย์
จะนัดมาตรวจเลือดเพื่อทดสอบการ
ตั้งครรภ์
โอกาสสาเร็จในการทาเด็กหลอดแก้ว
โอกาสสาเร็จจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง
โดยทั่วไปจะมีโอกาสตั้งครรภ์ที่ประมาณ
15-35 % และเด็กมีโอกาสเกิดความพิการ
ไม่แตกต่างจากการตั้งครรภ์ โดยธรรมชาติ
การแท้งบุตรของการทาเด็กหลอดแก้ว
ถ้าสภาพร่างกายของฝ่ายผู้หญิงที่มาทาเด็กหลอดแก้วเด็กหลอดแก้วหากตั้งครรภ์ตามปกติแล้ว
มีโอกาสที่จะแท้งสูง การตั้งครรภ์ด้วยการทาเด็กหลอดแก้ว“เด็กหลอดแก้วนั้นจึงมีความเสี่ยง
มากที่จะแท้งมากตามมาด้วย
เทคโนโลยีชีวภาพ
กับโรคเบาหวาน
เนื่องด้วยการเป็นโรคเบาหวานร่างกายจะไม่สามารถผลิตอินซูลินได้เพียงพอต่อ
ความต้องการของร่างกาย ทาให้เกิดภาวะผิดปกติ ดังนั้นจึงต้องมีการฉีดอินซูลิน
เข้าสู่ร่างกายผู้ป่วยเพื่อมาทดแทน ระยะแรกในผลิตอินซูลินจะผลิตจากตับอ่อนของ
หมูหรือวัว เนื่องจากว่าอินซูลินจากตับอ่อนของหมูมีกรดอะมิโนเพียงหน่วยเดียวที่
แตกต่างจากอินซูลินของคน และอินซูลินจากตับอ่อนของวัวมีกรดอะมิโนแค่ 3
หน่วยที่แตกต่างจากของคน แต่ถึงอย่างนั้นก็ยังพบว่าผู้ที่รับอินซูลินจากตับอ่อนของ
หมูหรือวัวเกิดอาการแพ้เกิดขึ้น เช่น มีอาการหายใจติดขัด มีผื่นเกิดขึ้นทั่วร่างกาย
มีความดันโลหิตลดลงกว่าปกติ ชีพจรเต็นเร็วกว่าปกติ เป็นต้น
ดังนั้นในปัจจุบันจึงใช้เทคโนโลยีชีวภาพเรื่องพันธุวิศวกรรม มาช่วยในการผลิตอินซูลิน
โดยการตัดต่อยีนที่สร้างอินซูลินของคนใส่ลงไปในดีเอ็นเอของแบคทีเรียอี โคไล(E.coli) ให้
แบคทีเรียผลิตให้ เพราะแบคทีเรียสามารถเพิ่มจานวนได้ง่ายทาให้สามารถผลิตอินซูลินได้จานวน
มาก ด้วยวิธีการนี้ทาให้มีผู้ป่วยที่มีอาการแพ้อินซูลินที่ฉีดเข้ามีน้อยลงไปมาก
เทคโนโลยีชีวภาพกับ
สมุนไพรหรือสมุนไพรไทย
ในปัจจุบันสมุนไพรหรือสมุนไพรไทยมักจะถูกนามาใช้เพื่อการรักษาโรค ดังนั้นเพื่อที่จะ
พัฒนาความรู้และขีดความสามารถของสมุนไพรและสมุนไพรไทยให้เพิ่มมากขึ้น จึงได้มีการใช้
ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการค้นหาสรรพคุณของสมุนไพรหรือสมุนไพรไทยเพิ่มเติม
จากที่มีอยู่เดิมๆ มีการสกัดสารต่างๆจากสมุนไพรหรือสมุนไพรไทยที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค
ให้บริสุทธิ์และหาโครงสร้างของสารชนิดนั้น ทาการทดลองทดสอบประสิทธิภาพในการรักษาของ
สารชนิดนั้นเพื่อที่จะพัฒนาเป็นเครื่องสาอางหรือยารักษาโรคแผนปัจจุบันต่อไป
ตัวอย่างของงานวิจัยทางเทคโนโลยีชีวภาพเกี่ยวกับสมุนไพรหรือสมุนไพรไทย เช่น
การใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีชีวภาพวิจัยออกมาว่า สารสกัดจากต้นมะหาดสามารถยับยั้ง
การทางานของเอนไซม์ไทโรซิเนสได้ ซึ่งเอนไซม์ตัวนี้เป็นเอนไซม์สาคัญต่อกลไกการสร้างเม็ด
สีผิวของผิวหนัง ดังนั้น เมื่อการทางานของเอนไซม์ไทโรซิเนส ถูกยับยั้ง ทาให้การสร้างเม็ดสี
ผิวของผิวหนังลดน้อยลง จึงทาให้ผิวขาวขึ้น จะเห็นว่ามีผลิตภัณฑ์ ครีมผิวขาว หรือ โลชั่น
หลายอย่างมีส่วนผสมของสารสกัดมะหาดเพื่อทาให้สีผิวขาวขึ้น และเนื่องจากสารสกัดมะหาดมา
จากธรรมชาติโอกาสที่จะเกิดอาการแพ้จึงมีน้อยกว่าสารเคมีสังเคราะห์ทั่วๆไป
ประวัติของเทคโนโลยีชีวภาพ
(History of biotechnology)
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic
Genetic

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 

Mais procurados (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 

Destaque

พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaThanyamon Chat.
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอheronana
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ Wuttipong Tubkrathok
 
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไรจีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไรmmaaww
 
Gmo คืออะไร
Gmo คืออะไรGmo คืออะไร
Gmo คืออะไรweerasak1972
 
Gmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉันGmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉันt039
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไรUrai1961
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพSupaluk Juntap
 
Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...
Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...
Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...Heba FromAlla
 
Geneticall Modified Food
Geneticall Modified FoodGeneticall Modified Food
Geneticall Modified Foodmrtague
 

Destaque (20)

Gmo
GmoGmo
Gmo
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dnaMicrosoft power point   พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
Microsoft power point พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทาง dna
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
ประโยชน์ของเทคโนโลยีชีวภาพ
 
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไรจีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
จีเอ็มโอ (Gmo) คืออะไร
 
Gmo คืออะไร
Gmo คืออะไรGmo คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
Gmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉันGmo ในความคิดของฉัน
Gmo ในความคิดของฉัน
 
Gmo คืออะไร
Gmo  คืออะไรGmo  คืออะไร
Gmo คืออะไร
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...
Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...
Applicationsofgeneticengineeringtechniquesinagriculturebydatha 131009204300-p...
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Geneticall Modified Food
Geneticall Modified FoodGeneticall Modified Food
Geneticall Modified Food
 

Semelhante a Genetic

หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพMelody Minhyok
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีnattieboice
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒cherdpr1
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfโครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfPalmuja22
 
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์Supatchaya Rayangam
 

Semelhante a Genetic (20)

Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ5 เทคโนโลยีชีวภาพ
5 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยีความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของการใช้เทคโนโลยี
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfโครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
 
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
ใบงานที่ 2 การสร้างเอกสารใหม่และฝึกพิมพ์
 

Mais de Kanjana Panyawarin

ใบงานท 8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___
ใบงานท   8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___ใบงานท   8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___
ใบงานท 8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___Kanjana Panyawarin
 
ใบงานท 7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__
ใบงานท   7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__ใบงานท   7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__
ใบงานท 7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__Kanjana Panyawarin
 
ใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีKanjana Panyawarin
 
ใบงานท 5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__
ใบงานท   5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__ใบงานท   5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__
ใบงานท 5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__Kanjana Panyawarin
 
ใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาKanjana Panyawarin
 
ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงานKanjana Panyawarin
 
ใบงานที่2ความหมายและความสำคัญ
ใบงานที่2ความหมายและความสำคัญใบงานที่2ความหมายและความสำคัญ
ใบงานที่2ความหมายและความสำคัญKanjana Panyawarin
 

Mais de Kanjana Panyawarin (20)

ใบงานท 8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___
ใบงานท   8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___ใบงานท   8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___
ใบงานท 8 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาโปรแกรมประย_กต___
 
ใบงานท 7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__
ใบงานท   7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__ใบงานท   7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__
ใบงานท 7 โครงงานประเภท__การประย_กต_ใช_งาน__
 
ใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
ใบงานท 5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__
ใบงานท   5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__ใบงานท   5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__
ใบงานท 5 โครงงานประเภท__การพ_ฒนาเคร__องม_อ__
 
ใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4ความหมายและตัวอย่างหัวข้อโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 เร__อง ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่2ความหมายและความสำคัญ
ใบงานที่2ความหมายและความสำคัญใบงานที่2ความหมายและความสำคัญ
ใบงานที่2ความหมายและความสำคัญ
 
Blog (1)
Blog (1)Blog (1)
Blog (1)
 
ชีวะ
ชีวะชีวะ
ชีวะ
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ฟิสิก
ฟิสิกฟิสิก
ฟิสิก
 
คณิต เฉลย
คณิต เฉลยคณิต เฉลย
คณิต เฉลย
 
คนิด
คนิดคนิด
คนิด
 
อังกิด
อังกิดอังกิด
อังกิด
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ชีวะ
ชีวะชีวะ
ชีวะ
 
ฟิสิก
ฟิสิกฟิสิก
ฟิสิก
 

Genetic