SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                1

                         ใบความรูที่ 1 ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101)                  เวลา 2 ชั่วโมง             ครูผูสอน ครูณัฐพล บัวอุไร

       คอมพิวเตอร คือ เครื่องมือหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีความสามารถในการประมวลผลขอมูลใน
รูปแบบดิจิทัล ทําใหสามารถสงเสริมการทํางานดานตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น คอมพิวเตอรมี
ลักษณะการทํางานภายใตการควบคุมของชุดคําสั่งที่มนุษยเขียนขึ้น โดยจะทํางานอยางเปนระบบผาน
สวนประกอบตางๆ ของคอมพิวเตอร
ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร
            การทํางานของคอมพิวเตอรจะประกอบไปดวยหนวยการทํางานหลักๆ 4 หนวย ไดแก หนวยรับขอมูล
หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจํา และหนวยแสดงผล โดยจะเริ่มจากการรับขอมูลจากผูใชเขาสูระบบ
คอมพิวเตอรผานหนวยรับขอมูล แบงขอมูลออกเปนแฟมขอมูลเพื่อจัดเก็บในหนวยความจํา แลวนําแฟมขอมูล
ดั ง กล า วไปประมวลผลที่ ห น ว ยประมวลผลกลาง ซึ่ ง หน ว ยประมวลผลกลางจะมี ก ารทํ า งานร ว มกั บ
หนวยความจําตลอดเวลา จากนั้นคอมพิวเตอรจึงสง สารสนเทศที่ไดไปยัง หนวยแสดงผลในรูป แบบที่ผูใช
กําหนดไว


                                             หน่ วยความจํารอง




                                            หน่ วยประมวลผลกลาง
            หน่ วยรับเข้ า                                                      หน่ วยส่ งออก




                                             หน่ วยความจําหลัก


                             รูปแสดงความสั มพันธ์ ขององค์ประกอบพืนฐานของคอมพิวเตอร์




                   ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]               2

หนวยตางๆ ที่ทํางานในระบบคอมพิวเตอรจะมีหนาที่ตางๆ กัน ดังนี้
1. หนวยรับขอมูล (Input Unit) ทําหนาที่รับขอมูล โปรแกรม และคําสั่งจากผูใช โดยจะแปลงขอมูลที่ไดรับ
ในรูปแบบตางๆ ใหเปนขอมูลหรือสัญญาณดิจิทัล แลวสงไปยังหนวยความจํา เพื่อนําไปประมวลผลในหนวย
ประมวลผลกลางตอไป
                                                                      01001001

                                                                      10110110
                                               แปลงข้ อมูล
                                                                      01110110

                                                                      01001100

2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือที่นิยมเรียกสั้นๆ วา ซีพียู (CPU) จัดเปน
มันสมองของระบบสารสนเทศ เนื่องจากทําหนาที่ในการประมวลผลคําสั่งและควบคุมการทํางานทั้งหมดของ
ระบบคอมพิวเตอร ประกอบดวย 2 สวน ไดแก
       2.1 หนวยควบคุม (Control Unit) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรทุกสวน โดยจะดูแล
เวลาในการประมวลผลตามคําสั่งที่ไดรับ ใหมีการประมวลผลเปนจังหวะตามสัญญาณนาฬิกา
        2.2 หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit) ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร
เชน บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบคาของขอมูลทางตรรกศาสตร เชน มากกวา นอยกวา เปนตน




3. หนวยความจํา (Memory Unit) แบงเปน 2 ประเภท ไดแก หนวยความจําหลัก และหนวยความจํา
สํารอง โดยหนวยความจําหลักจะตองทํางานรวมกับหนวยประมวลผลกลาง เมื่อผานการประมวลผลขอมูลและ
ปดเครื่องคอมพิวเตอรแลว ขอมูลที่เก็บไวทั้งกอนและหลังขณะที่ทํางานจะหายไป ขอมูลดังกลาวจึงไมสามารถ
นํากลับมาใชไดอีกในอนาคต จึงตองบันทึกขอมูลไวในหนวยความจําสํารอง เพื่อเก็บรักษาขอมูลดังกลาวไวดวย




                 ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                    3

           3.1 หนวยความจําหลัก (Primary Storage) ขอมูลที่เก็บไวในหนวยความจําหลักนี้ จะเปนขอมูลที่
จํา เป น ตอ งใช ในหนว ยประมวลผลกลาง โดยจะเรีย กใช ห รื อ เตรีย มขอ มู ล ใหพ ร อมก อนสง ไปยั ง หน ว ย
ประมวลผลกลาง หนวยความจําหลักแบงเปน 3 ประเภท คือ
                      หนวยความจําแรม (RAM : Random Access Memory) ทําหนาที่เก็บขอมูลหรือ
                      ซอฟตแวรในระหวางที่มีก ารประมวลผลขอมูล โดยขอมูลและซอฟตแวรนี้จ ะถูก ลบ
                      หายไปทันทีเมื่อปดคอมพิวเตอร




                      หนวยความจํารอม (ROM : Read Only Memory) เปนหนวยความจําที่บันทึกขอมูล
                      คําสั่งเริ่มตนของระบบ สวนใหญจะเปนขอมูลที่ถูกบันทึกมาจากโรงงานผูผลิตฮารดแวร
                      หรือเครื่องคอมพิวเตอรนั้น ขอมูลในหนวยความจํารอมจะไมถูกลบหายไปถึงแมวาจะปด
                      เครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลเหลานี้จะไมสามารถลบหรือแกไขไดดวยวิธีปกติ




                      หนวยความจําซีมอส (CMOS Memory) เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอสนเทศที่ใชเปน
                      ประจําของระบบคอมพิวเตอร เชน ประเภทของฮารดดิสก โดยจะใชกระแสไฟฟาจาก
                      แบตเตอรี่ที่ติดตั้งบนเมนบอรด ดังนั้นเมื่อปดเครื่องคอมพิวเตอรขอมูลจึงไมสูญหาย และ
                      สามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลไดอัตโนมัติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณนั้น




                   ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
[เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร]                 4

        3.2 หนวยความจําสํารอง (Secondary Storage) ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลตางๆ ไวเพื่อใหสามารถ
        นําขอมูล ชุดคําสั่ง หรือซอฟตแวรนั้นๆ กลับมาใชใหมในอนาคตได ขอมูลที่อยูในหนวยความจําสํารอง
        มีทั้ง ที่เ ปนขอมูล ดิบ ที่ยัง ไมผานการประมวลผลและสารสนเทศตางๆ มัก มีขนาดใหญก วาขอมูล ที่
        บันทึกในหนวยความจําหลัก โดยหนวยความจําสํารองหลักที่ใชในระบบคอมพิวเตอร ไดแก ฮารดดิสก
        สวนฮารดแวรในหนวยความจําสํารองอื่นๆ จะออกแบบมาเพื่อใหสามารถพกพอไดสะดวก ฮารดแวรที่
        นิยมใชในปจจุบัน ไดแก แผนซีดี แผนดีวีดี และ USB Flash Drive




4. หนวยแสดงผล (Output Unit) ทําหนาที่ติดตอสื่อสารและแสดงผลตอผูใช ทั้ง ในขณะที่ทําการ
ประมวลผลและหลังจากการประมวลผลเสร็จแลว ซึ่งจะรับสารสนเทศที่ไดจากหนวยประมวลผลกลางมาแปลง
ใหเปนขอมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบที่ผูใชเขาใจ โดยทั่วไปจะใชจอภาพ (Monitor) เพื่อติดตอสื่อสารกับผูใช
เปนหลัก นอกจากนี้ยังใชฮารดแวรประเภทอื่นๆ นําเสนอขอมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบที่ผูใชตองการ เชน
การแสดงผลเปนเอกสารสิ่ง พิมพดวยเครื่องคอมพิวเตอร (Printer) และการแสดงผลเปนเสียงดวยลําโพง
(Speakerphone)




                  ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

More Related Content

What's hot

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docbenjawankokonz
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลังkanjana2536
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุNattapon
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 

What's hot (20)

แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.docข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
ข้อสอบคอม ป.4 ปี 2557.doc
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanya Burana
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ (20)

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

More from Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

More from Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์

  • 1. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 1 ใบความรูที่ 1 ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ง31101) เวลา 2 ชั่วโมง ครูผูสอน ครูณัฐพล บัวอุไร คอมพิวเตอร คือ เครื่องมือหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่มีความสามารถในการประมวลผลขอมูลใน รูปแบบดิจิทัล ทําใหสามารถสงเสริมการทํางานดานตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น คอมพิวเตอรมี ลักษณะการทํางานภายใตการควบคุมของชุดคําสั่งที่มนุษยเขียนขึ้น โดยจะทํางานอยางเปนระบบผาน สวนประกอบตางๆ ของคอมพิวเตอร ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร การทํางานของคอมพิวเตอรจะประกอบไปดวยหนวยการทํางานหลักๆ 4 หนวย ไดแก หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจํา และหนวยแสดงผล โดยจะเริ่มจากการรับขอมูลจากผูใชเขาสูระบบ คอมพิวเตอรผานหนวยรับขอมูล แบงขอมูลออกเปนแฟมขอมูลเพื่อจัดเก็บในหนวยความจํา แลวนําแฟมขอมูล ดั ง กล า วไปประมวลผลที่ ห น ว ยประมวลผลกลาง ซึ่ ง หน ว ยประมวลผลกลางจะมี ก ารทํ า งานร ว มกั บ หนวยความจําตลอดเวลา จากนั้นคอมพิวเตอรจึงสง สารสนเทศที่ไดไปยัง หนวยแสดงผลในรูป แบบที่ผูใช กําหนดไว หน่ วยความจํารอง หน่ วยประมวลผลกลาง หน่ วยรับเข้ า หน่ วยส่ งออก หน่ วยความจําหลัก รูปแสดงความสั มพันธ์ ขององค์ประกอบพืนฐานของคอมพิวเตอร์ ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 2. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 2 หนวยตางๆ ที่ทํางานในระบบคอมพิวเตอรจะมีหนาที่ตางๆ กัน ดังนี้ 1. หนวยรับขอมูล (Input Unit) ทําหนาที่รับขอมูล โปรแกรม และคําสั่งจากผูใช โดยจะแปลงขอมูลที่ไดรับ ในรูปแบบตางๆ ใหเปนขอมูลหรือสัญญาณดิจิทัล แลวสงไปยังหนวยความจํา เพื่อนําไปประมวลผลในหนวย ประมวลผลกลางตอไป 01001001 10110110 แปลงข้ อมูล 01110110 01001100 2. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) หรือที่นิยมเรียกสั้นๆ วา ซีพียู (CPU) จัดเปน มันสมองของระบบสารสนเทศ เนื่องจากทําหนาที่ในการประมวลผลคําสั่งและควบคุมการทํางานทั้งหมดของ ระบบคอมพิวเตอร ประกอบดวย 2 สวน ไดแก 2.1 หนวยควบคุม (Control Unit) ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรทุกสวน โดยจะดูแล เวลาในการประมวลผลตามคําสั่งที่ไดรับ ใหมีการประมวลผลเปนจังหวะตามสัญญาณนาฬิกา 2.2 หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit) ทําหนาที่คํานวณทางคณิตศาสตร เชน บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบคาของขอมูลทางตรรกศาสตร เชน มากกวา นอยกวา เปนตน 3. หนวยความจํา (Memory Unit) แบงเปน 2 ประเภท ไดแก หนวยความจําหลัก และหนวยความจํา สํารอง โดยหนวยความจําหลักจะตองทํางานรวมกับหนวยประมวลผลกลาง เมื่อผานการประมวลผลขอมูลและ ปดเครื่องคอมพิวเตอรแลว ขอมูลที่เก็บไวทั้งกอนและหลังขณะที่ทํางานจะหายไป ขอมูลดังกลาวจึงไมสามารถ นํากลับมาใชไดอีกในอนาคต จึงตองบันทึกขอมูลไวในหนวยความจําสํารอง เพื่อเก็บรักษาขอมูลดังกลาวไวดวย ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 3. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 3 3.1 หนวยความจําหลัก (Primary Storage) ขอมูลที่เก็บไวในหนวยความจําหลักนี้ จะเปนขอมูลที่ จํา เป น ตอ งใช ในหนว ยประมวลผลกลาง โดยจะเรีย กใช ห รื อ เตรีย มขอ มู ล ใหพ ร อมก อนสง ไปยั ง หน ว ย ประมวลผลกลาง หนวยความจําหลักแบงเปน 3 ประเภท คือ หนวยความจําแรม (RAM : Random Access Memory) ทําหนาที่เก็บขอมูลหรือ ซอฟตแวรในระหวางที่มีก ารประมวลผลขอมูล โดยขอมูลและซอฟตแวรนี้จ ะถูก ลบ หายไปทันทีเมื่อปดคอมพิวเตอร หนวยความจํารอม (ROM : Read Only Memory) เปนหนวยความจําที่บันทึกขอมูล คําสั่งเริ่มตนของระบบ สวนใหญจะเปนขอมูลที่ถูกบันทึกมาจากโรงงานผูผลิตฮารดแวร หรือเครื่องคอมพิวเตอรนั้น ขอมูลในหนวยความจํารอมจะไมถูกลบหายไปถึงแมวาจะปด เครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลเหลานี้จะไมสามารถลบหรือแกไขไดดวยวิธีปกติ หนวยความจําซีมอส (CMOS Memory) เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอสนเทศที่ใชเปน ประจําของระบบคอมพิวเตอร เชน ประเภทของฮารดดิสก โดยจะใชกระแสไฟฟาจาก แบตเตอรี่ที่ติดตั้งบนเมนบอรด ดังนั้นเมื่อปดเครื่องคอมพิวเตอรขอมูลจึงไมสูญหาย และ สามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลไดอัตโนมัติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณนั้น ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา
  • 4. [เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร] 4 3.2 หนวยความจําสํารอง (Secondary Storage) ทําหนาที่จัดเก็บขอมูลตางๆ ไวเพื่อใหสามารถ นําขอมูล ชุดคําสั่ง หรือซอฟตแวรนั้นๆ กลับมาใชใหมในอนาคตได ขอมูลที่อยูในหนวยความจําสํารอง มีทั้ง ที่เ ปนขอมูล ดิบ ที่ยัง ไมผานการประมวลผลและสารสนเทศตางๆ มัก มีขนาดใหญก วาขอมูล ที่ บันทึกในหนวยความจําหลัก โดยหนวยความจําสํารองหลักที่ใชในระบบคอมพิวเตอร ไดแก ฮารดดิสก สวนฮารดแวรในหนวยความจําสํารองอื่นๆ จะออกแบบมาเพื่อใหสามารถพกพอไดสะดวก ฮารดแวรที่ นิยมใชในปจจุบัน ไดแก แผนซีดี แผนดีวีดี และ USB Flash Drive 4. หนวยแสดงผล (Output Unit) ทําหนาที่ติดตอสื่อสารและแสดงผลตอผูใช ทั้ง ในขณะที่ทําการ ประมวลผลและหลังจากการประมวลผลเสร็จแลว ซึ่งจะรับสารสนเทศที่ไดจากหนวยประมวลผลกลางมาแปลง ใหเปนขอมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบที่ผูใชเขาใจ โดยทั่วไปจะใชจอภาพ (Monitor) เพื่อติดตอสื่อสารกับผูใช เปนหลัก นอกจากนี้ยังใชฮารดแวรประเภทอื่นๆ นําเสนอขอมูลหรือสารสนเทศในรูปแบบที่ผูใชตองการ เชน การแสดงผลเปนเอกสารสิ่ง พิมพดวยเครื่องคอมพิวเตอร (Printer) และการแสดงผลเปนเสียงดวยลําโพง (Speakerphone) ครูณัฐพล บัวอุไร [www.nattapon.com] || โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา