SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 77
LOGO
The Best Knowledge
ISO 9001:2008
GMP
HACCP
Total Quality Management
P-D-C-A
Kaizen
แนะนำวิทยำกร
คุณจิรำทรัพย์ กิจกำรสังวร
 วุฒิกำรศึกษำ
ปริญญำตรี บริหำรธุรกิจ สำขำกำรตลำด
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน วิทยำเขตขอนแก่น
 ประสบกำรณ์ทำงำน
1. บจก.CMC Biotech จำกัด
ตำแหน่ง HR Officer 2549 - 2551
2. บจก.โรงพยำบำลวิรัชศิลป์
ตำแหน่ง HR Officer 2551 - 2554
3. บจก.สันติภำพ(ฮั่วเพ้ง 1958) สำขำชุมพร
ตำแหน่ง หัวหน้ำแผนกทรัพยำกรมนุษย์ 2554 - 2556
4. บจก.สงวนยำงยนต์ชุมพร
ตำแหน่ง ผู้จัดกำรฝ่ำยทรัพยำกรมนุษย์ 2556- 2557
5. บจก.สันติภำพ(ฮั่วเพ้ง 1958) สำขำชุมพร
ตำแหน่ง หัวหน้ำแผนกส่งเสริม TQM 2557 – ปัจจุบัน
The Best Knowledge
คำถำมคำใจที่หลำยคนมักถำมกันคือ “จะทำอย่ำงไรล่ะ ที่จะได้ผลงำน
ที่ดีออกมำ?”
คำตอบคือ ทุกคนในองค์กรจะต้องสร้ำงสิ่งที่เรียกว่ำ “กำรรับประกันคุณภำพ”
กำรที่ทุกคนรับประกันว่ำ ลูกค้ำจะได้ในสิ่งที่เขำต้องกำร
แล้วจะทำอย่ำงไรล่ะ? ... คำตอบคือ
1. ทุกคนต้องมีแนวคิดให้ถูกต้องเสียก่อน
2. ต้องมีเครื่องมือในกำรวิเครำะห์ข้อมูลที่เหมำะสมกับงำนต้องวิเครำะห์ให้ถูก
3. บริหำรงำนให้ถูกต้อง ภำยใต้อำนำจหน้ำที่ที่รับผิดชอบ
- - กำรรับประกันคุณภำพ - -
The Best Knowledge
หัวข้อที่ 1
ระบบ ISO 9001
The Best Knowledge
International Organization for Standardization
International Organization for Standardization คือ องค์กำรมำตรฐำน
สำกลหรือองค์กำรระหว่ำงประเทศว่ำด้วยกำรมำตรฐำน เป็นองค์กรที่ให้
กำรรับรองมำตรฐำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ และอุตสำหกรรม
ส่วนมำตรฐำนที่องค์กำรนี้ออกมำ ก็ใช้ชื่อนำหน้ำว่ำ ISO เช่น ISO 9000,
ISO 9001 และ ISO 14000 ซึ่งก็เป็นมำตรฐำนที่ว่ำด้วยระบบบริหำรคุณภำพ
และระบบบริหำรสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
ISO จะมีสมำชิกจำกหลำยๆ ประเทศทั่วโลก และสมำชิกก็แบ่งเป็น
ระดับต่ำงๆที่แตกต่ำงกันไปอีก ซึ่งเป็นองค์กรระหว่ำงประเทศ และมำตรฐำน
ต่ำงๆที่ออกมำนั้นก็จะเป็นมำตรฐำนระหว่ำงประเทศ (International Standard)
นอกจำกนี้มำตรฐำน ISO ยังสำมำรถประยุกต์ใช้ได้กับทุกองค์กร
ไม่ว่ำจะเป็นองค์กรชนิดใดขนำดใหญ่ หรือ ขนำดเล็ก ผลิตสินค้ำอะไร หรือ
ให้บริกำรอะไร
“ระบบมำตรฐำนสำกล”
The Best Knowledge
เลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ??
หลำยคนอำจสงสัยว่ำเลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ตัวเลขดังกล่ำวถูกกำหนดขึ้น
เพื่อกำรแบ่งแนวทำงและวิธีกำรในกำรบริหำรองค์กร ดังนี้
ISO 9000 คือกำรจัดระบบกำรบริหำรเพื่อประกันคุณภำพ ที่สำมำรถตรวจสอบได้
โดยผ่ำนระบบเอกสำร
ISO 9001 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งกำรออกแบบ และ
พัฒนำกำรผลิต กำรติดตั้ง และกำรบริกำร “ระบบจัดกำรด้ำนคุณภำพ”
ISO 9002 มำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพำะกำรผลิต กำรติดตั้ง
และกำรบริกำร
ISO 9003 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องกำรตรวจ และกำร
ทดสอบขั้นสุดท้ำย
ISO 14000 เป็นระบบมำตรฐำนระบบกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กร
มีกำรพัฒนำปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่ำงต่อเนื่อง
ISO 18000 มำตรฐำนระบบกำรจัดกำร อำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัย
The Best Knowledge
1. เพื่อกำรแข่งขันทำงธุรกิจ
- ISO เป็นระบบมำตรฐำนสำกลที่ทั่วโลกยอมรับ ทุกธุรกิจจึงอยำกทำ
ระบบ ISO รวมถึงสำมำรถใช้กำรแข่งขันในตลำดในประเทศ และต่ำงประเทศ
2. เพื่อควำมเชื่อมั่นของลูกค้ำ
- ระบบ ISO เป็นสัญลักษณ์ที่ทำให้ลูกค้ำมั่นใจและไว้วำงใจว่ำเป็น
บริษัทฯที่มีกระบวนกำรทำงำนที่ดี
3. เพื่อกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบ
- ระบบ ISO เป็นระบบมำตรฐำนที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำนด้ำน
งำนเอกสำร ซึ่งจะมีวิธีปฏิบัติงำน และขั้นตอนปฏิบัติงำนที่ดีซึ่งจะทำให้พนักงำน
ของบริษัทฯนั้นทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ทำไมบริษัทต่ำงๆถึงทำระบบ ISO
The Best Knowledge
เลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ??
หลำยคนอำจสงสัยว่ำเลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ตัวเลขดังกล่ำวถูกกำหนดขึ้น
เพื่อกำรแบ่งแนวทำงและวิธีกำรในกำรบริหำรองค์กร ดังนี้
ISO 9000 คือกำรจัดระบบกำรบริหำรเพื่อประกันคุณภำพ ที่สำมำรถตรวจสอบได้
โดยผ่ำนระบบเอกสำร
ISO 9001 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งกำรออกแบบ และ
พัฒนำกำรผลิต กำรติดตั้ง และกำรบริกำร “ระบบจัดกำรด้ำนคุณภำพ”
ISO 9002 มำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพำะกำรผลิต กำรติดตั้ง
และกำรบริกำร
ISO 9003 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องกำรตรวจ และกำร
ทดสอบขั้นสุดท้ำย
ISO 14000 เป็นระบบมำตรฐำนระบบกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กร
มีกำรพัฒนำปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่ำงต่อเนื่อง
ISO 18000 มำตรฐำนระบบกำรจัดกำร อำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัย
The Best Knowledge
กำรรับรองมำตรฐำน
ในกำรได้รับใบรับรองมำตรฐำน ISO 9001 : 2008 นั้นจะต้องให้ผู้ออกใบรับรอง
ซึ่งเรียกว่ำ C.B. (Certified Body) มำทำกำรตรวจประเมิน หำกสอดคล้องกับ
มำตรฐำนก็จะได้รับใบรับรอง โดยใบรับรองจะมีอำยุ 3 ปี
The Best Knowledge
หลักกำรของระบบคุณภำพ
1. Customer Focus / มุ่งเน้นที่ลูกค้ำ
2. Leadership / กำรชี้นำ
3. Involvement / กำรมีส่วนร่วม
4. Process Approach / กำรเข้ำถึงกระบวนกำร
5. System Approach to Management / กำรนำระบบเข้ำมำบริหำร
6. Continual Improvement / กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง
7. Factual Approach to Decision Making / กำรตัดสินใจโดยใช้
ข้อมูลที่ถูกต้อง
8. Mutual Beneficial Supplier Relationships / ควำมสัมพันธ์กับ
ผู้ขำยแบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน
The Best Knowledge
1. Customer Focus / มุ่งเน้นที่ลูกค้ำ
องค์กรจะขึ้นอยู่กับลูกค้ำ โดยกำรทำควำมเข้ำใจกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ
ทั้งในปัจจุบันและอนำคต มุ่งที่จะบรรลุควำมต้องกำร และให้เหนือควำมคำดหวัง
ของลูกค้ำ
- มั่นใจว่ำเป้ำหมำยขององค์นั้นสอดคล้องกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ
- สื่อสำรให้ทรำบทั่วทั้งองค์กร ถึงควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของลูกค้ำ
- ปรับปรุงควำมสัมพันธ์ของลูกค้ำ เพื่อนำไปสู่ผลทำงธุรกิจ
- วิจัยและทำควำมเข้ำใจกับควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของลูกค้ำ
- บริหำรควำมสัมพันธ์กับลูกค้ำอย่ำงเป็นระบบ
The Best Knowledge
2. Leadership / กำรชี้นำ
ผู้บริหำรระดับสูงต้องกำหนดจุดประสงค์ที่ชัดเจน และดำเนินกำรแจ้ง
นโยบำยให้เป็นไปในแนวทำงเดียวกัน สร้ำงบรรยำกำศให้พนักงำนทุกคน
มีส่วนร่วมอย่ำงเต็มที่ในกำรทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
- ต้องกำหนดวิสัยทัศน์ / กำหนดนโยบำย/ กำหนดเป้ำหมำยที่ท้ำทำย
- พนักงำนจะต้องเข้ำใจ และได้รับกำรจูงใจที่จะบรรลุเป้ำหมำยขององค์กร
- กิจกรรมต่ำงๆจะได้รับกำรประเมินและจัดทำในแนวทำงเดียวกัน
- ลดควำมคลำดเคลื่อนในกำรสื่อสำรระหว่ำงแต่ละระดับในองค์กร
The Best Knowledge
3. Involvement / กำรมีส่วนร่วม
บุคลำกรในทุกระดับมีควำมสำคัญกับองค์กร และใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถ
ของตนเองอย่ำงเต็มที่ เพื่อผลประโยชน์ขององค์กร โดยใช้หลักMotivation
รวมถึงกำรรับฟังข้อคิดเห็นต่ำงๆ
- พนักงำนต้องมีควำมเข้ำใจถึงควำมสำคัญในกำรมีส่วนร่วมและ
กำรสร้ำงสรรค์ผลงำนตนเองและขององค์กร
- พนักงำนต้องกล้ำบอกถึงอุปสรรคในกำรทำงำน / ต้องสำมำรถ
วิเครำะห์ปัญหำ และวิเครำะห์วิธีกำรแก้ไขปัญหำได้
- พนักงำนต้องร่วมกันแก้ไขปัญหำและกำรปรับปรุงต่ำงๆ
The Best Knowledge
4. Process Approach / กำรเข้ำถึงกระบวนกำร
ผลลัพธ์ที่ต้องกำรจะต้องประสบผลสำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพ
เมื่อทรัพยำกรและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องถูกบริหำรในรูปแบบของกระบวนกำร
- ใช้วิธีกำรที่เป็นระบบในกำรกำหนดกิจกรรม เพื่อให้ได้ผลตำมที่ต้องกำร
- กำหนดควำมรับผิดชอบ เพื่อควบคุมกิจกรรมหลัก
- วิเครำะห์และวัดควำมสำมำรถในแต่ละกิจกรรมหลัก
- เน้นที่จะควบคุมปัจจัยต่ำงๆที่จะมีผลกระทบต่อกิจกรรมหลัก เช่น วิธีกำร ,
ทรัพยำกรที่ใช้ เป็นต้น
- วัดและวิเครำะห์ควำมเสี่ยง หรือผลกระทบต่อกิจกรรม ลูกค้ำ ผู้ขำย เป็นต้น
1
2
2
3 4 5 Out PutIn Put
Process
The Best Knowledge
5. System Approach to Management /
กำรนำระบบเข้ำมำบริหำร
กำหนด ทำควำมเข้ำใจ และบริหำรระบบซึ่งประกอบด้วยกระบวนกำรต่ำงๆ
ที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้ได้ผลในกำรปรับปรุงและพัฒนำในด้ำนประสิทธิภำพ
และประสิทธิผลขององค์กร
- จัดทำระบบเพื่อบรรลุเป้ำหมำยขององค์กร โดยวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพ
และประสิทธิผล
- จัดทำระบบโดยมีจุดแนวคิดที่จะสร้ำงกระบวนกำรที่มีควำมสอดคล้อง
ขึ้นในองค์กร
- เข้ำใจในควำมสำมำรถขององค์กร และจัดเตรียมทรัพยำกรที่ต้องกำร
ก่อนกำรดำเนินกำร
- กำหนดเป้ำหมำยและกำหนดแนวทำงสำหรับแต่ละกระบวนกำร
The Best Knowledge
6. Continual Improvement / กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง
กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง ควรที่จะเป็นวัตถุประสงค์ถำวรขององค์กร
- ให้กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่องในผลิตภัณฑ์ และกระบวนกำร
เป็นวัตถุประสงค์สำหรับทุกหน่วยงำนย่อยในองค์กร
- กำหนดเป้ำหมำย เพื่อนำทำงและวัดผลจำกกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง
- สร้ำงระบบที่จะให้พนักงำนในแต่ละฝ่ำยงำนทรำบถึงผลลัพธ์ของ
กำรทำงำนและให้พนักงำนเกิดควำมยอมรับในผลของกำรทำงำนนั้นๆ
เพื่อที่จะได้นำไปทำกำรปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น หรือบรรลุวัตถุประสงค์
The Best Knowledge
7. Factual Approach to Decision Making /
กำรตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง
มีกำรเก็บข้อมูลจำกกำรปฏิบัติงำนจริง โดยใช้เครื่องมือในกำร
วิเครำะห์ข้อมูลอย่ำงเหมำะสม และใช้กำรตัดสินใจบนพื้นฐำน
ของควำมเป็นจริง หรืออำจจะใช้วิธีกำรระดมสมองร่วมกันกับทีมงำน
- วิเครำะห์ข้อมูลด้วยวิธีกำรที่เชื่อถือได้
- มั่นใจว่ำข้อมูลถูกต้อง และมีควำมน่ำเชื่อถือเพียงพอ (แหล่ง
ที่มำของข้อมูล)
- มีกำรแจ้งผลกำรตัดสินใจให้ทีมงำน หรือผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทรำบ
The Best Knowledge
8. Mutual Beneficial Supplier Relationships /
ควำมสัมพันธ์กับผู้ขำยแบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน
องค์กรและผู้ขำยจะต้องพึ่งพำซึ่งกันและกัน และมีผลประโยชน์
ร่วมกัน เพื่อเพิ่มควำมสำมำรถในกำรสร้ำงเสริมคุณค่ำทั้ง 2 ฝ่ำย
- คัดเลือกผู้ขำยหลัก
- เพิ่มควำมสำมำรถในกำรตอบสนองในกำรเปลี่ยนแปลงตำม
ควำมต้องกำรของตลำดและลูกค้ำ
- ใช้ควำมชำนำญร่วมกัน
- สร้ำงระบบที่สำมำรถพัฒนำและปรับปรุงร่วมกัน
The Best Knowledge
หลักกำรของระบบคุณภำพ ISO
1. Customer Focus / มุ่งเน้นที่ลูกค้ำ
2. Leadership / กำรชี้นำ
3. Involvement / กำรมีส่วนร่วม
4. Process Approach / กำรเข้ำถึงกระบวนกำร
5. System Approach to Management / กำรนำระบบเข้ำมำบริหำร
6. Continual Improvement / กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง
7. Factual Approach to Decision Making / กำรตัดสินใจโดยใช้
ข้อมูลที่ถูกต้อง
8. Mutual Beneficial Supplier Relationships / ควำมสัมพันธ์กับ
ผู้ขำยแบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน
The Best Knowledge
1. Vision , Mission , Company Objective , Policy
2. Organization Chart
3. Job Description
4. เขียนเอกสำรระบบ ISO ของแต่ละหน่วยงำน
WP = ระเบียบปฏิบัติงำน (Work Procedure)
WI = วิธีปฏิบัติงำน (Work Instruction)
SD = เอกสำรสนับสนุน (Supporting Document)
FM = แบบฟอร์ม (Form)
QM = คู่มือคุณภำพ (Quality Manual)
ขั้นตอนในกำรจัดทำเอกสำรระบบคุณภำพ ISO
The Best Knowledge
หัวข้อที่ 2
ระบบ GMP
The Best Knowledge
ควำมหมำยของระบบ GMP
GMP =Good Manufacturing Practices
หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติที่ดีใน “กำรผลิตอำหำร”
GMP คือ เกณฑ์ข้อกำหนดขั้นพื้นฐำนที่จำเป็นในกำรผลิตและ
ควบคุมกำรผลิตอำหำรที่ปลอดภัย เพื่อให้ผู้ผลิตได้ปฏิบัติตำม
โดยเน้นกำรป้องกันขจัดควำมเสี่ยงที่อำจจะทำให้อำหำรเป็นพิษ
และอันตรำยต่อผู้บริโภค
The Best Knowledge
หลักกำรของระบบ GMP
หลักกำรของ GMP จะครอบคลุมตั้งแต่ สถำนที่ตั้งของสถำนประกอบกำร
โครงสร้ำงอำคำร ระบบกำรผลิตที่ดี มีควำมปลอดภัย และมีคุณภำพได้มำตรฐำน
ในทุกๆขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นวำงแผนกำรผลิต ระบบควบคุม กำรรับวัตถุดิบ
กระบวนกำรในกำรผลิต จนเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป กำรจัดเก็บ กำรควบคุม
คุณภำพ และกำรขนส่งจนถึงผู้บริโภค มีระบบบันทึกข้อมูล ตรวจสอบและติดตำม
ผลคุณภำพผลิตภัณฑ์ รวมถึงระบบกำรจัดกำรที่ดี ในเรื่องสุขอนำมัย (Sanitation
และHygiene) เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ำยมีคุณภำพ และควำมปลอดภัย เป็นที่มั่นใจ
เมื่อถึงมือผู้บริโภค
ทั้งนี้ GMP ยังเป็นระบบประกันคุณภำพขั้นพื้นฐำน ก่อนที่จะพัฒนำไปสู่ระบบ
ประกันคุณภำพอื่นๆต่อไป เช่น ระบบ HACCP (Hazards Analysis and Critical
Control Points) และ ISO 9000 อีกด้วย
The Best Knowledge
โครงสร้ำง
พื้นฐำน
1. สถำนที่ตั้งและอำคำรผลิต
2. เครื่องมือเครื่องจักร
และอุปกรณ์กำรผลิต
ระบบ
ปฏิบัติกำร
3. กำรควบคุมกระบวน
กำรผลิต
4. กำรสุขำภิบำล
6. บุคลำกรและสุขลักษณะ
ของผู้ปฏิบัติงำน
5. กำรบำรุงรักษำและกำร
ทำควำมสะอำด
บุคลำกร
หลักกำรของ GMP
ในแต่ละข้อกำหนดมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ผลิตมีมำตรกำรป้องกันกำร
ปนเปื้อน อันตรำยทั้งทำงด้ำนจุลินทรี เคมี และกำยภำพลงสู่ผลิตภัณฑ์ ซึ่งอำจ
มำจำกสิ่งแวดล้อม ตัวอำคำร เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ กำรดำเนินงำนในแต่ละ
ขั้นตอนกำรผลิต รวมถึงกำรจัดกำรในด้ำนสุขอนำมัยทั้งในส่วนของควำม
สะอำด กำรบำรุงรักษำและผู้ปฏิบัติงำน
The Best Knowledge
กำยภำพ เคมี จุลินทรีย์
ควำมปลอดภัย ปลอดภัยจำกอันตรำย 3 ประกำร
อันตรำย 3 ประกำร
The Best Knowledge
หัวใจ 3 ประกำร ของกำรผลิตอำหำรที่ปลอดภัย
หัวใจที่ 1 ลดอันตรำยเบื้องต้น
คัดเลือกวัตถุดิบ ส่วนผสมที่มีคุณภำพดี ใช้ภำชนะ
บรรจุที่สะอำดและมีกำรล้ำงทำควำมสะอำดรวมทั้ง
ผลิตในสถำนที่ที่มีสภำพแวดล้อมที่ดีและเครื่องมือ
อุปกรณ์ไม่ก่อให้เกิดกำรปนเปื้อน
หัวใจที่ 2 ลด/ยับยั้ง-ทำลำยเชื้อจุลินทรีย์
ใช้ควำมร้อนฆ่ำเชื้ออย่ำงเพียงพอ
หัวใจที่ 3 ป้องกันกำรปนเปื้อนซ้ำ
โดยกำรปฏิบัติงำนอย่ำงถูกสุขลักษณะ
แยกระหว่ำงของสุก และของดิบ
The Best Knowledge
กำรผลิตอำหำรที่ไม่ถูกหลักGMP
ผลที่จะเกิด
1. เกิดกำรปนเปื้อนของเชื้อโรคในอำหำร
2. เกิดกำรสูญเสียอำหำร
3. สถำนที่ผลิตเป็นที่อยู่อำศัยของสัตว์พำหะนำเชื้อ
4. ผู้ปฏิบัติงำนเกิดกำรเจ็บป่วย
5. สูญเสียลูกค้ำและผลกำไร
6. ถูกดำเนินกำรตำมกฎหมำย
The Best Knowledge
ข้อกำหนดGMP
สำระสำคัญในข้อกำหนด GMP
1. สถำนที่ตั้งและอำคำรผลิต
1.1 สถำนที่ตั้งตัวอำคำรและที่ใกล้เคียง ต้องอยู่ในที่ที่จะไม่ทำให้อำหำรที่ผลิตเกิด
กำรปนเปื้อนได้ง่ำย โดย
- สถำนที่ตั้งตัวอำคำรและบริเวณโดยรอบสะอำด ไม่ปล่อยให้มีกำรสะสม หรือสิ่ง
ปฏิกูลอันอำจเป็นแหล่งเพำะพันธุ์สัตว์และแมลง รวมทั้งเชื้อโรคต่ำงๆ ขึ้นได้
- อยู่ห่ำงจำกบริเวณหรือสถำนที่ที่มีฝุ่นมำกผิดปกติ
- ไม่อยู่ใกล้เคียงกับสถำนที่น่ำรังเกียจ
- บริเวณพื้นที่ตั้งตัวอำคำรไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก และมีท่อระบำยน้ำ เพื่อให้ไหล
ลงสู่ทำงระบำยน้ำสำธำรณะ ต้องมีกรรมวิธีที่มีประสิทธิภำพในกำรป้องกันและกำจัด
สัตว์รบกวน และสัตว์นำโรค ตลอดจนฝุ่นผงต่ำงๆ
The Best Knowledge
ข้อกำหนดGMP
1.2 อำคำรผลิตมีขนำดเหมำะสม มีกำรออกแบบและก่อสร้ำงในลักษณะที่ง่ำย
แก่กำรทะนุบำรุงสภำพ รักษำควำมสะอำด และสะดวกในกำรปฏิบัติงำน
The Best Knowledge
- พื้น ฝำผนัง และเพดำนของอำคำรสถำนที่ผลิต ต้องก่อสร้ำงด้วยวัสดุที่คงทน
ทำควำมสะอำด และซ่อมแซมให้อยู่ในสภำพที่ดีตลอดเวลำ
- ต้องแยกบริเวณผลิตอำหำรออกเป็นสัดส่วน ไม่ปะปนกับที่อยู่อำศัย
- ต้องมีมำตรกำรป้องกันสัตว์และแมลงไม่ให้เข้ำในบริเวณอำคำรผลิต
- จัดให้มีพื้นที่เพียงพอที่จะติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรผลิตให้เป็นไปตำม
สำยงำนกำรผลิตอำหำรแต่ละประเภท และแบ่งแยกพื้นที่กำรผลิตเป็นสัดส่วน
เพื่อป้องกันกำรปนเปื้อนอันอำจเกิดขึ้นกับอำหำรที่ผลิตขึ้น
- ไม่มีสิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่เกี่ยวข้องกับกำรผลิตอยู่ในบริเวณผลิต
- จัดให้มีแสงสว่ำงและกำรระบำยอำกำศที่เหมำะสมเพียงพอสำหรับกำรปฏิบัติงำน
ภำยในอำคำรผลิต
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในกำรผลิต
2.1 ภำชนะหรืออุปกรณ์ในกำรผลิตที่พื้นผิวสัมผัสอำหำร ต้องทำจำกวัสดุที่
ไม่ทำปฏิกิริยำกับอำหำรอันอำจเป็นอันตรำยต่อผู้บริโภค
2.2 โต๊ะที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรผลิตในส่วนที่พื้นผิวสัมผัสอำหำร ต้องทำ
ด้วยวัสดุที่ไม่เกิดสนิม ทำควำมสะอำดง่ำย และไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยำที่อำจเป็น
อันตรำยแก่สุขภำพของผู้บริโภค
2.3 กำรออกแบบติดตั้งเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปอำหำร
ที่ใช้เหมำะสมและคำนึงถึงกำรปนเปื้อนที่อำจจะเกิดขึ้น รวมทั้งสำมำรถทำ
ควำมสะอำดตัวเครื่องมือ เครื่องจักร และบริเวณที่ตั้งได้ง่ำยและทั่วถึง
2.4 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในกำรผลิต ต้องเพียงพอต่อกำร
ปฏิบัติงำน
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
3. กำรควบคุมกระบวนกำรผลิต
3.1 กำรดำเนินกำรทุกขั้นตอนจะต้องมีกำรควบคุมตำมหลักสุขำภิบำลที่ดีตั้งแต่
กำรตรวจรับวัตถุดิบและส่วนผสมในกำรผลิตอำหำร กำรขนย้ำย กำรจัดเตรียม
กำรผลิต กำรบรรจุ กำรเก็บรักษำอำหำร และกำรขนส่ง
- วัตถุดิบ และส่วนผสมในกำรผลิตอำหำร ต้องมีกำรคัดเลือกให้อยู่ในสภำพที่
สะอำด มีคุณภำพดี เหมำะสำหรับใช้ในกำรผลิตอำหำรสำหรับบริโภค ต้องล้ำงหรือ
ทำควำมสะอำดตำมควำมจำเป็น เพื่อขจัดสิ่งสกปรก หรือสิ่งปนเปื้อนที่อำจติดหรือ
ปนมำกับวัตถุนั้นๆ และต้องเก็บรักษำวัตถุดิบภำยใต้สภำวะที่ป้องกันกำรปนเปื้อนได้
โดยมีกำรเสื่อมสลำยน้อยที่สุด และมีกำรหมุนเวียน สต๊อกของวัตถุดิบและส่วนผสม
อำหำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
- ภำชนะบรรจุอำหำรและภำชนะที่ใช้ในกำรขนถ่ำยวัตถุดิบและส่วนผสม
ในกำรผลิตอำหำร ตลอดจนเครื่องมือที่ใช้ในกำรนี้ ต้องอยู่ในสภำพที่เหมำะสม
และไม่ทำให้เกิดกำรปนเปื้อนกับอำหำรในระหว่ำงกำรผลิต
- น้ำแข็งและไอน้ำที่ใช้ในกระบวนกำรผลิตที่สัมผัสกับอำหำร ต้องมีคุณภำพ
มำตรฐำนตำมประกำศกระทรวงสำธำรณสุขเรื่องน้ำแข็งและน้ำบริโภค และ
กำรนำไปใช้ในสภำพที่ถูกสุขลักษณะ
- น้ำที่ใช้ในกระบวนกำรผลิตอำหำร ต้องเป็นน้ำสะอำดบริโภคได้ มีคุณภำพ
มำตรฐำนตำมประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่อง น้ำบริโภค และกำรนำไปใช้
ในสภำพที่ถูกสุขลักษณะ
- กำรผลิต กำรเก็บรักษำ ขนย้ำย และขนส่งผลิตภัณฑ์อำหำร ต้องป้องกัน
กำรปนเปื้อนและป้องกันกำรเสื่อมสลำยของอำหำรและภำชนะบรรจุด้วย
- กำรดำเนินกำรควบคุมกระบวนกำรผลิตทั้งหมด ให้อยู่ภำยใต้สภำวะที่
เหมำะสม
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
3.2 จัดทำบันทึกและรำยงำนอย่ำงน้อยดังต่อไปนี้
- ผลกำรตรวจวิเครำะห์ผลิตภัณฑ์
- ชนิดและปริมำณกำรผลิตของผลิตภัณฑ์และวันเดือนปีที่ผลิต โดยให้เก็บ
บันทึกและรำยงำนไว้อย่ำงน้อย 2 ปี
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
4. กำรสุขำภิบำล
4.1 น้ำที่ใช้ภำยในโรงงำน ต้องเป็นน้ำสะอำดและจัดให้มีกำรปรับคุณภำพน้ำ
ตำมควำมจำเป็น
4.2 จัดให้มีห้องส้วมและอ่ำงล้ำงมือหน้ำห้องส้วมให้เพียงพอสำหรับ
ผู้ปฏิบัติงำน และต้องถูกสุขลักษณะ มีอุปกรณ์ในกำรล้ำงมืออย่ำงครบถ้วน
และต้องแยกต่ำงหำกจำกบริเวณผลิต หรือไม่เปิดสู่บริเวณผลิตโดยตรง
4.3 จัดให้มีอ่ำงล้ำงมือในบริเวณผลิตให้เพียงพอและมีอุปกรณ์กำรล้ำงมือ
อย่ำงครบถ้วน
4.4 จัดให้มีวิธีกำรป้องกันและกำจัดสัตว์และแมลงในสถำนที่ผลิตตำมควำม
เหมำะสม
4.5 จัดให้มีภำชนะรองรับขยะมูลฝอยที่มีฝำปิดในจำนวนที่เพียงพอ และ
มีระบบกำจัดขยะมูลฝอยที่เหมำะสม
4.6 จัดให้มีทำงระบำยน้ำทิ้งและสิ่งโสโครกอย่ำงมีประสิทธิภำพ เหมำะสม
และไม่ก่อให้เกิดกำรปนเปื้อนกลับเข้ำสู่กระบวนกำรผลิตอำหำร
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
5. กำรบำรุงรักษำและกำรทำควำมสะอำด
5.1 ตัวอำคำรสถำนที่ผลิตต้องทำควำมสะอำดและรักษำให้อยู่ในสภำพ
สะอำดถูกสุขลักษณะโดยสม่ำเสมอ
5.2 ต้องทำควำมสะอำด ดูแลและเก็บรักษำเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์
ในกำรผลิตให้อยู่ในสภำพที่สะอำดทั้งก่อนและหลังกำรผลิต สำหรับชิ้นส่วนของ
เครื่องมือ เครื่องจักรต่ำงๆ ที่อำจเป็นแหล่งสะสมจุลินทรีย์ หรือก่อให้เกิดกำร
ปนเปื้อนอำหำร สำมำรถทำควำมสะอำดด้วยวิธีที่เหมำะสมและเพียงพอ
5.3 พื้นผิวที่สัมผัสกับอำหำรของเครื่องมือและอุปกรณ์กำรผลิต ต้องทำ
ควำมสะอำดอย่ำงสม่ำเสมอ
5.4 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในกำรผลิต ต้องมีกำรตรวจสอบ
และบำรุงรักษำให้อยู่ในสภำพใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสม่ำเสมอ
5.5 กำรใช้สำรเคมีที่ใช้ล้ำงทำควำมสะอำด ตลอดจนเคมีวัตถุที่ใช้เกี่ยวข้อง
กับกำรผลิตอยู่ภำยใต้เงื่อนไขที่ปลอดภัย และกำรเก็บรักษำวัตถุดังกล่ำว
จะต้องแยกเป็นสัดส่วนและปลอดภัย
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
6. บุคลำกรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงำน (personal hygiene)
6.1 ผู้ปฏิบัติงำนในบริเวณผลิตต้องไม่เป็นโรคติดต่อหรือโรคน่ำรังเกียจ
ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวง หรือมีบำดแผลอันอำจก่อให้เกิดกำรปนเปื้อน
ของผลิตภัณฑ์
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
6.2 เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำนทุกคนในขณะที่ดำเนินกำรผลิตและมีกำรสัมผัสโดยตรงกับ
อำหำร หรือส่วนผสมของอำหำร หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของพื้นที่ผิวที่อำจมีกำรสัมผัสกับ
อำหำร ต้องปฏิบัติดังนี้
- สวมเสื้อผ้ำที่สะอำดและเหมำะสมต่อกำรปฏิบัติงำน กรณีที่ใช้เสื้อคลุมก็ต้องสะอำด
- ล้ำงมือให้สะอำดทุกครั้งก่อนเริ่มปฏิบัติงำน และหลังกำรปนเปื้อน
- ใช้ถุงมือที่อยู่ในสภำพสมบูรณ์และสะอำดถูกสุขลักษณะ ทำด้วยวัสดุที่ไม่มี
สำรละลำยหลุดออกมำปนเปื้อนอำหำรและของเหลวซึมผ่ำนไม่ได้ สำหรับจับต้องหรือ
สัมผัสกับอำหำร กรณีไม่สวมถุงมือต้องมีมำตรกำรให้คนงำนล้ำงมือ เล็บ แขนให้สะอำด
- ไม่สวมใส่เครื่องประดับต่ำงๆ ขณะปฏิบัติงำน และดูแลสุขอนำมัยของมือและเล็บ
ให้สะอำดอยู่เสมอ
- สวมหมวก หรือผ้ำคลุมผม หรือตำข่ำย
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
6.3 มีกำรฝึกอบรมเจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับสุขลักษณะทั่วไป และ
ควำมรู้ทั่วไปในกำรผลิตอำหำรตำมควำมเหมำะสม
ข้อกำหนดGMP
The Best Knowledge
หัวข้อที่ 3
ระบบ HACCP
The Best Knowledge
HACCP = Hazard Analysis Critical Control Point
กำรวิเครำะห์อันตรำย จุดควบคุมวิกฤต เป็นแนวคิดเกี่ยวกับมำตรกำรป้องกัน
อันตรำย ที่อำจเกิดขึ้น ในแต่ละขั้นตอนของกำรดำเนินกิจกรรมใด ๆ
โดยมีกระบวนกำรดำเนินงำนเชิงวิทยำศำสตร์ คือ มีกำรศึกษำถึงอันตรำย
กำรหำทำงป้องกันไว้ล่วงหน้ำ รวมทั้งมีกำรควบคุม และเฝ้ำระวัง
เพื่อให้แน่ใจว่ำมำตรกำรป้องกันที่กำหนดขึ้นนั้น มีประสิทธิภำพตลอดเวลำ
HACCP เป็นมำตรฐำนกำรผลิต ที่มีมำตรกำรป้องกันอันตรำยที่ผู้บริโภค
อำจจะได้รับจำกกำรบริโภคอำหำร
ควำมหมำยของระบบ HACCP
The Best Knowledge
หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP
หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP มี 7 ประกำรกล่ำวคือ
หลักกำรที่ 1 กำรวิเครำะห์อันตรำย จำกผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ที่อำจมีต่อผู้บริโภคที่เป็น
กลุ่มเป้ำหมำย โดยกำรประเมินควำมรุนแรง และโอกำสที่จะเกิดอันตรำยต่ำงๆ
ในทุกขั้นตอนกำรผลิต จำกนั้นจึงกำหนดวิธีกำรป้องกัน เพื่อลดหรือขจัดอันตรำยเหล่ำนั้น
หลักกำรที่ 2 กำรกำหนดจุดควบคุมวิกฤต ในกระบวนกำรผลิต
จุดควบคุมวิกฤต หมำยถึง ตำแหน่งวิธีกำร หรือขั้นตอนในกระบวนกำรผลิต ซึ่งหำกสำมำรถ
ควบคุมให้อยู่ในค่ำ หรือลักษณะที่กำหนดไว้ได้แล้วจะทำให้มีกำรขจัดอันตรำยหรือลด
กำรเกิดอันตรำยจำกผลิตภัณฑ์นั้นได้
หลักกำรที่ 3 กำรกำหนดค่ำวิกฤต ณ จุดควบคุมวิกฤต ค่ำวิกฤตซึ่งอำจเป็นค่ำตัวเลข
หรือลักษณะเป้ำหมำย ของคุณภำพ ด้ำนควำมปลอดภัยที่ต้องกำรของผลผลิต ณ จุดควบคุม
วิกฤต ซึ่งกำหนดขึ้นเป็นเกณฑ์สำหรับกำรควบคุม เพื่อให้แน่ใจว่ำจุดควบคุมวิกฤต
อยู่ภำยใต้กำรควบคุม
The Best Knowledge
หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP
หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP มี 7 ประกำรกล่ำวคือ
หลักกำรที่ 4 ทำกำรเฝ้ำระวัง โดยกำหนดขึ้น อย่ำงเป็นระบบมีแผนกำรตรวจสอบ
หรือเฝ้ำสังเกตกำรณ์ และบันทึกข้อมูล เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่ำ กำรปฏิบัติงำน ณ จุดควบคุม
วิกฤตมีกำรควบคุม อย่ำงถูกต้อง
หลักกำรที่ 5 กำหนดมำตรกำรแก้ไข สำหรับข้อบกพร่อง และใช้มำตรกำรนั้นทันที
กรณีที่พบว่ำ จุดควบคุมวิกฤตไม่อยู่ภำยใต้ กำรควบคุมตำมค่ำวิกฤต ที่กำหนดไว้
หลักกำรที่ 6 ทบทวนประสิทธิภำพ ของระบบ HACCP ที่ใช้งำนอยู่ รวมทั้งใช้ผล
กำรวิเครำะห์ทดสอบ ทำงห้องปฏิบัติกำรเพื่อประกอบกำรพิจำรณำ ในกำรยืนยันว่ำ
ระบบ HACCP ที่ใช้อยู่นั้นมีประสิทธิภำพเพียงพอ ที่จะสร้ำงควำมเชื่อมั่นในควำมปลอดภัย
ของผลิตภัณฑ์ได้
หลักกำรที่ 7 จัดทำระบบบันทึก และเก็บรักษำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรผลิต
และผลิตภัณฑ์อำหำรแต่ละชนิดไว้เพื่อเป็นหลักฐำน ให้สำมำรถค้นได้เมื่อจำเป็น
The Best Knowledge
จำกหลักกำรทั้ง 7 ประกำรนี้ ทำให้ต้องมีกำรจัดทำ วิธีปฏิบัติในรำยละเอียด
ให้เหมำะสมกับแต่ละผลิตภัณฑ์ แต่ละกระบวนกำรผลิต แต่ละสถำนที่ผลิต
เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรป้องกันอันตรำยอย่ำงเต็มที่
วิธีกำรที่ใช้ ในระบบ HACCP เป็นกระบวนกำร ทำงวิทยำศำสตร์มี
กำรศึกษำรวบรวม วิเครำะห์ข้อมูล ตัดสินใจ วำงแผน ดำเนินงำนตำมแผน
ติดตำมกำกับดูแลกำรปฏิบัติงำนในระบบ แก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้น และทบทวน
ประสิทธิภำพของระบบอยู่ตลอดเวลำ จึงจำเป็นที่ผู้ประกอบกำรผลิตอำหำรจะ
ใช้ระบบนี้ ต้องมีกำรจัดตั้งทีมงำนซึ่งประกอบด้วยผู้มีควำมรู้ ควำมชำนำญ
หลำยสำขำ เช่น ด้ำนวิทยำศำสตร์กำรอำหำร วิศวกรรมโรงงำน สุขำภิบำล
อำหำร หรืออื่น ๆ ตำมควำมจำเป็น เพื่อทำหน้ำที่พัฒนำระบบ กำรจัดทำ
เอกสำร และตรวจประเมินผลกำรปฏิบัติงำน
หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP
The Best Knowledge
หัวข้อที่ 4
ระบบบริหำร TQM
The Best Knowledge
TQM (Total Quality Management)
คือ
ระบบกำรจัดกำรที่ทำให้องค์กรยั่งยืน โดยทุกคนมีส่วนร่วม
The Best Knowledge
ทุกกระบวนกำรในองค์กรที่ เพื่อนร่วมงำนทุกคน
มีส่วนร่วมในกำรทำให้ลูกค้ำเกิดควำมประทับใจ
คุณภำพที่ลูกค้ำ(ภำยใน-ภำยนอก) ประทับใจ-พึงพอใจ
ที่ได้รับจำกกระบวนกำรก่อนหน้ำ
กำรปรับปรุงกระบวนกำรให้ดีขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง
ด้วยกำรจัดกำรอย่ำงมีคุณภำพ
T
Q
M
Total
Quality
Management
The Best Knowledge
ควำมสำคัญของกำรนำ TQM มำใช้ และปัจจัยแห่งควำมสำเร็จ
กำรสร้ำงคนที่ เรียนรู้เป็น คิดเป็น ทำงำนเป็น มีภำวะผู้นำ
มีพลังแรงจูงใจภำยใน และมีค่ำนิยมคุณภำพ
จุดมุ่งหมำยที่สำคัญของระบบบริหำรแบบ TQM และพนักงำนในองค์กร
จะเป็นพนักงำนผู้ทรงภูมิ มีควำมรู้ในกำรทำงำน หรือที่เรียกกันว่ำ
“Knowledge Worker”
กำรเข้ำร่วมอย่ำงจริงจังของพนักงำนทั่วทั้งองค์กร จะเกิดขึ้นได้
ต่อเมื่อผู้บริหำรระดับสูงแสดงออกซึ่งควำมมุ่งมั่นตั้งใจอันแน่วแน่
ให้เป็นที่ประจักษ์รับรู้ได้อย่ำงเป็นรูปธรรมและอย่ำงชัดเจนแล้วเท่ำนั้น
The Best Knowledge
1. สร้ำงควำมพึงพอใจให้กับลูกค้ำ
2. ทุกคนมีส่วนร่วม
3. ใช้ระบบบริหำรคุณภำพที่ประกอบด้วยปรัชญำ แนวคิด และวิธีกำรอย่ำงชัดเจน
หลักกำร TQM 3 ประกำร
ประทับใจ ดึงดูดใจพึงพอใจ
ลูกค้า จงรักภักดี (Brand
Royalty
ลูกค้า
The Best Knowledge
NEXT PROCESS IS OUR CUSTOMER ทำงำน ตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป
PROCESS ORIENTATION เอำใจใส่ ในกำรปรับปรุงกระบวนกำร
STANDARDIZATION จัดทำ มำตรฐำน
Prevention เน้น กำรป้องกันมิให้ปัญหำเกิดซ้ำ
P-D-C-A ปรับปรุง คุณภำพงำนให้ตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำ หรือกระบวนกำรถัดไป
Market-In ผลิต สินค้ำ/บริกำรตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ
MANAGEMENT BY FACTตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลจริง
TQM Concept
The Best Knowledge
1. Market-In
ผลิต สินค้ำ/บริกำรตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ
กำรที่เรำจะผลิตสินค้ำ/บริกำรใดๆ ขึ้นมำ เพื่อให้ลูกค้ำซื้อ
หรือใช้บริกำรของเรำ เรำจะต้องมีกำรรับฟังเสียงจำกลูกค้ำก่อน
แล้วนำเสียงหรือควำมต้องกำรของลูกนั้น มำออกแบบให้ตรงตำม
ควำมต้องกำรของลูกค้ำ แล้วผลิตให้ตรงตำมแบบ แล้วทำกำร
ส่งมอบให้ลูกค้ำ พร้อมรับฟังกำรป้อนข้อมูลกลับจำกลูกค้ำ
แล้วนำข้อมูลนั้นไปทำกำรออกแบบ และผลิตสินค้ำ/บริกำรให้กับ
ลูกค้ำในครั้งต่อๆไป
(กำรทำวิจัยผู้บริโภค / กำรประเมินควำมพึงพอใจของลูกค้ำ CS)
TQM Concept
The Best Knowledge
2. NEXT PROCESS IS OUR CUSTOMER
ทำงำนตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป
เรำจะทำงำนตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป
โดยหำควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป แล้วมำกำหนดเป็น
ดัชนีวัดผลงำน (kqi, kQI) / (KPI) ของเรำ แล้วทำงำนให้ได้ตรง
ตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป
The Best Knowledge
ไม่พึ่งพำกำรตรวจสอบขั้นสุดท้ำย(Final Inspection) เรำต้องเอำใจใส่ปรับปรุง
กระบวนกำรปฏิบัติงำน (Process Oriented) โดยทำให้ถูกตั้งแต่แรก
(จัดทำคู่มือ ปฏิบัติงำน=QWP→QWI→QWF) แล้วเลือกมุ่งเน้นปฏิบัติ
ควบคุมกิจกรรมที่สำคัญๆ ที่ส่งผลให้กิจกรรมต่ำงๆ ในกระบวนกำรนั้นบรรลุผล
และพร้อมนำ QWP,QWI นั้นมำตั้งเป็นมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน(Standardization)
เพื่อรักษำผลกำรปรับปรุงมิให้ถดถอย
วิถีชีวิตกำรทำงำนในกระบวนกำร TQM นั้น จะใช้วิธีกำรควบคุมคุณภำพ
โดยทำงำนให้ถูกต้อง ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของงำน (quality at the source)
และในขั้นตอนลำดับต่อ ๆ ไป ทุกขั้นตอน
3. PROCESS ORIENTATION
เอำใจใส่ ในกำรปรับปรุงกระบวนกำร
The Best Knowledge
WP = ระเบียบปฏิบัติงำน (Work Procedure)
QWP = ระเบียบปฏิบัติงำนคุณภำพ (Quality Work Procedure)
WI = วิธีปฏิบัติงำน (Work Instruction)
QWI = วิธีปฏิบัติงำนคุณภำพ (Quality Work Instruction)
FM = แบบฟอร์ม (Form)
QWF = แบบฟอร์มงำนคุณภำพ (Quality Work Form)
ชื่อประเภทเอกสำรคุณภำพ ISO กับ TQM
The Best Knowledge
4. STANDARDIZATION จัดทำมำตรฐำน
แนวคิดนี้ต้องกำรบอกพวกเรำว่ำ หำกเรำสำมำรถรู้ว่ำอะไร
เป็นปัจจัยในกำรทำงำนที่เหมำะสม และนำไปสู่ผลของกำร
ทำงำนที่ดีแล้ว เพื่อรักษำสภำพนั้นไว้ให้ดีอยู่เสมอ เรำต้อง
กำหนดเป็นมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน โดยจัดทำคู่มือกำรปฏิบัติ
ทำงำน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงำน หรือพนักงำนใหม่ได้ทำกำรศึกษำ
วิธีทำงำนที่ถูกต้องตำมคู่มือกำรปฏิบัติงำนที่เรำเขียน
The Best Knowledge
ไม่แก้ไขปัญหำงำนเฉพำะหน้ำ แต่เน้นแก้ไขปัญหำในเชิงป้องกัน
(Prevention) โดยแก้ปัญหำที่รำกเหง้ำของปัญหำ (ค้นหำลักษณะ
ปัญหำ อำกำรสุดท้ำยของปัญหำ และระบุสำเหตุ และแก้ไข)
5. Prevention เน้นกำรป้องกันมิให้ปัญหำเกิดซ้ำ
The Best Knowledge
ไม่ทำงำนที่ได้รับมอบหมำยด้วยวิธีกำรเดิมๆ จะต้องปรับปรุง
คุณภำพงำนให้ตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำด้วยกำร
หมุนวงล้อ PDCA อย่ำงต่อเนื่อง
6. P-D-C-A ปรับปรุงคุณภำพงำนให้ตอบสนองควำมต้องกำร
ของลูกค้ำ หรือกระบวนกำรถัดไป
The Best Knowledge
ในกำรตัดสินใจ แก้ไขปัญหำ เรำจะไม่ใช้ควำมรู้สึก เรำจะใช้
ข้อมูลจริง โดยไปดู พื้นที่จริง ของจริง สถำนกำรณ์จริง (3G)
ในกำรปฏิบัติงำน มำเป็นข้อมูลประกอบ ในกำรตัดสินใจ
พร้อมพิจำรณำวิเครำะห์ปัญหำโดยอำศัยหลักกำรทำงทฤษฎี
และระเบียบกฎเกณฑ์ลงไปเป็นพื้นฐำนในกำรปฏิบัติด้วย
7. MANAGEMENT BY FACT ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลจริง
The Best Knowledge
Genba : สถำนที่จริง
Genbutsu : วัสดุ สิ่งของ
ตัวจริง ภำพจริง
Genjitsu : สถำนกำรณ์จริง
สิ่งแวดล้อมจริง
3 G รู้จักกันอย่ำงแพร่หลำย
ในฐำนะกระบวนกำร
วิเครำะห์กำรบริหำรจัดกำร
ด้วยกำรหำข้อมูลจำกแหล่ง
ที่เหตุกำรณ์จริงเกิดขึ้น
ก่อนจะตัดสินใจในกำร
แก้ปัญหำ
3 G
G มำจำกคำว่ำ GEN เป็นเสียงในภำษำญี่ปุ่น แปลว่ำ แหล่งกำเนิด ต้นตอ เป็นจริง
มีอยู่จริง เห็นได้ สัมผัสได้ฯลฯ
The Best Knowledge
หัวข้อที่ 5
PDCA วงจรบริหำรงำนคุณภำพ
The Best Knowledge
PDCA วงจรบริหำรงำนคุณภำพ
Dr. Deming (ดร.เดมมิ่ง) ได้นำวงจรของWalter Shewhart (วอล์ทเตอร์
ซิวฮำร์ท) มำปรับปรุงและอธิบำยให้เห็นเป็นรูปธรรม ซึ่งWalter Shewhart
ได้เขียนเกี่ยวกับShewhart Cycle ไว้ในหนังสือของเขำในปี ค.ศ.1939
โดยที่เดมมิ่งเรียกวงจรนี้ว่ำ Walter Shewhart หรือ PDSA Cycle
ส่วนในประเทศญี่ปุ่นรู้จักกันในนำม Deming Cycle และคนทั่วไปนิยม
เรียกว่ำ PDCA Cycle ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก ๆดังนี้
PDSA Cycle
P = Plan หมำยถึง กำรวำงแผนเพื่อปรับปรุงคุณภำพ
D = Do หมำยถึง กำรลงมือปฏิบัติตำมแผน
S = Study หมำยถึง กำรประเมินผลย้อนกลับเพื่อยืนยันแผน หรือเพื่อปรับแผน
A = Act หมำยถึง ทำเป็นแผนถำวร หรือศึกษำเพื่อปรับปรุงแผน
The Best Knowledge
PDCA Cycle
P = Plan หมำยถึง กำรวำงแผนเพื่อปรับปรุงคุณภำพ
D = Do หมำยถึง กำรปฏิบัติตำมขั้นตอนในแผนงำน
C = Check หมำยถึง กำรตรวจสอบผลกำรดำเนินงำน
A = Action หมำยถึง กำรปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหำ
The Best Knowledge
ควำมหมำยของ PDCA
Plan กำรวำงแผน (Plan: P) เป็นส่วนประกอบของวงจรที่มีควำมสำคัญ เนื่องจำก
กำรวำงแผนจะเป็นจุดเริ่มต้นของงำนและเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้กำรทำงำน
ในส่วนอื่นเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิผล กำรวำงแผนในวงจรเดมมิ่ง เป็นกำรหำ
องค์ประกอบของปัญหำ โดยวิธีกำรระดมควำมคิด กำรเลือกปัญหำ กำรหำสำเหตุ
ของปัญหำ กำรหำวิธีกำรแก้ปัญหำ กำรจัดทำตำรำงกำรปฏิบัติงำน กำรกำหนด
วิธีดำเนินกำร กำรกำหนดวิธีกำรตรวจสอบและประเมินผล
DO กำรปฏิบัติตำมแผน (Do: D) เป็นกำรลงมือปฏิบัติตำมแผนที่กำหนดไว้ใน
ตำรำงกำรปฏิบัติงำน ทั้งนี้ สมำชิกกลุ่มต้องมีควำมเข้ำใจถึงควำมสำคัญและควำม
จำเป็นในแผนนั้นๆ ควำมสำเร็จของกำรนำแผนมำปฏิบัติต้องอำศัยกำรทำงำน
ด้วยควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดีจำกสมำชิก ตลอดจนกำรจัดกำรทรัพยำกรที่
จำเป็นต้องใช้ในกำรปฏิบัติงำนตำมแผนนั้นๆ ในขั้นตอนนี้ขณะที่ลงมือปฏิบัติจะมี
กำรตรวจสอบไปด้วย หำกไม่เป็นไปตำมแผนอำจจะต้องมีกำรปรับแผนใหม่ และ
เมื่อแผนนั้นใช้งำนได้ก็นำไปใช้เป็นแผนและถือปฏิบัติต่อไป
The Best Knowledge
Check กำรตรวจสอบ (Check: C) หมำยถึง กำรตรวจสอบดูว่ำ
เมื่อปฏิบัติงำนตำมแผน หรือกำรแก้ปัญหำงำนตำมแผนแล้ว
ผลลัพธ์เป็นอย่ำงไร สภำพปัญหำได้รับกำรแก้ไขตรงตำม
เป้ำหมำยที่กลุ่มตั้งใจหรือไม่ กำรไม่ประสบผลสำเร็จอำจจะ
เกิดจำกสำเหตุหลำยประกำร เช่น ไม่ปฏิบัติตำมแผน ควำม
ไม่เหมำะสมของแผนกำรเลือกใช้เทคนิคที่ไม่เหมำะสม เป็นต้น
Action กำรดำเนินกำรให้เหมำะสม (Action : A) เป็นกำรกระทำ
ภำยหลังที่กระบวนกำร 3 ขั้นตอนตำมวงจรได้ดำเนินกำร
เสร็จแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นกำรนำเอำผลจำกขั้นกำรตรวจสอบ (C)
มำดำเนินกำรให้เหมำะสมต่อไป
ควำมหมำยของ PDCA
The Best Knowledge
วงจร PDCA ที่สมบูรณ์จะเกิดขึ้นเมื่อเรำนำผลที่ได้จำกขั้นตอนกำร
ดำเนินกำรที่เหมำะสม (A)มำดำเนินกำรให้เหมำะสมในกระบวนกำรวำงแผนอีกครั้ง
หนึ่ง (P) และเป็นวงจรอย่ำงนี้เรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด จนกระทั่งเรำสำมำรถใช้วงจรนี้
กับทุกกิจกรรมที่คล้ำยกันได้อย่ำงเป็นปกติธรรมดำไม่ยุ่งยำกอีกต่อไป จะเห็นว่ำ
วงจร PDCA จะไม่ได้หยุดหรือจบลง
เมื่อหมุนครบรอบ แต่วงล้อ PDCA จะหมุนไปข้ำงหน้ำเรื่อยๆ โดยจะ
ทำงำนในกำรแก้ไขปัญหำในระดับที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้น และยำกขึ้น หรือเป็นกำร
เรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด ซึ่งสอดคล้องกับปรัชญำของกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง
(Continuous Improvement) ปัจจุบันทั้งแรงงำนปฏิบัติกำร แรงงำนที่มีควำมรู้
และผู้บริหำรชำวไทยส่วนใหญ่จะรู้จัก PDCA มำกขึ้นกว่ำในอดีต ถึงแม้จะไม่
เข้ำใจรำยละเอียดและขั้นตอนกำรดำเนินงำนอย่ำงสมบูรณ์ แต่ก็ช่วยให้กำรพัฒนำ
คุณภำพอย่ำงต่อเนื่องมีประสิทธิภำพ และเห็นผลที่เป็นรูปธรรมมำกขึ้น อย่ำงไรก็ดี
หัวใจสำคัญของวงจร Deming ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ PDCA เท่ำนั้น แต่อยู่ที่คนที่มี
คุณภำพ และเข้ำใจคุณภำพอย่ำงแท้จริง หรือที่เรียกว่ำ คุณภำพอยู่ที่ใจ (Quality
at Heart) ที่พร้อมจะเปิดใจเรียนรู้ และพัฒนำตนเองอยู่ตลอดเวลำ อย่ำงมุ่งมั่น
และไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค
The Best Knowledge
วงจร PDCA กับกำรปรับปรุงงำน
The Best Knowledge
ประโยชน์ของ PDCA
สถำบันเพิ่มผลผลิตแห่งชำติ. (2552) ได้กล่ำวถึงประโยชน์ของ PDCA ไว้ดังนี้
1. เพื่อป้องกัน
1.1 กำรนำวงจร PDCA ไปใช้ ทำให้ผู้ปฏิบัติมีกำรวำงแผน กำรวำงแผนที่ดี
ช่วยป้องกันปัญหำที่ไม่ควรเกิด ช่วยลดควำมสับสนในกำรทำงำน ลดกำรใช้
ทรัพยำกรมำกหรือน้อยเกินควำมพอดี ลดควำมสูญเสียในรูปแบบต่ำงๆ
1.2 กำรทำงำนที่มีกำรตรวจสอบเป็นระยะ ทำให้กำรปฏิบัติงำนมีควำม
รัดกุมขึ้น และแก้ไขปัญหำได้อย่ำงรวดเร็วก่อนจะลุกลำม
1.3 กำรตรวจสอบที่นำไปสู่กำรแก้ไขปรับปรุง ทำให้ปัญหำที่เกิดขึ้นแล้ว
ไม่เกิดซ้ำ หรือลดควำมรุนแรงของปัญหำ ถือเป็นกำรนำควำมผิดพลำด
มำใช้ให้เกิดประโยชน์
The Best Knowledge
2. เพื่อแก้ไขปัญหำ
2.1 ถ้ำเรำประสบสิ่งที่ไม่เหมำะสม ไม่สะอำด ไม่สะดวก ไม่มีประสิทธิภำพ
ไม่ประหยัด เรำควร แก้ปัญหำ
2.2 กำรใช้ PDCA เพื่อกำรแก้ปัญหำ ด้วยกำรตรวจสอบว่ำมีอะไรบ้ำงที่
เป็นปัญหำ เมื่อหำปัญหำได้ ก็นำมำวำงแผนเพื่อดำเนินกำรตำมวงจร
PDCA ต่อไป
3. เพื่อปรับปรุง
“ทำวันนี้ให้ดีกว่ำเมื่อวำนนี้ และพรุ่งนี้ต้องดีกว่ำวันนี้” PDCA เพื่อกำร
ปรับปรุง คือไม่ต้องรอให้เกิดปัญหำ แต่เรำต้องเสำะแสวงหำสิ่งต่ำงๆหรือ
วิธีกำรที่ดีกว่ำเดิมอยู่เสมอ เพื่อยกระดับคุณภำพชีวิตและสังคม เมื่อเรำคิด
ว่ำจะปรับปรุงอะไร ก็ให้ใช้วงจร PDCA เป็นขั้นตอนในกำรปรับปรุง
ข้อสำคัญ ต้องเริ่ม PDCA ตัวเองก่อนมุ่งไปที่คนอื่น
The Best Knowledge
โดยปกติเรำสำมำรถใช้วงจร PDCA เป็นเครื่องมือในกำรดำเนินงำน 2 ลักษณะดังนี้
1. ทุกครั้งที่เริ่มต้นทำกิจกรรม PDCA จะช่วยให้กิจกรรมมีกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง
กำรใช้งำน PDCA ในแนวทำงนี้เริ่มจำกกำรตั้งเป้ำหมำยด้วยกำรวำงแผน (P) และ
นำแผนไปสู่กำรปฏิบัติ (D) หลังจำกนั้นก็มีกำรตรวจสอบประเมินผลกำรปฏิบัติตำมแผน (C)
ว่ำผลที่ได้นั้นเป็นไปตำมที่คิดไว้มำกน้อยเพียงใด และขั้นตอนสุดท้ำยคือ นำผลที่ได้จำกกำร
ประเมินไปดำเนินกำรต่อตำมควำมเหมำะสม (A)
หำกผลกำรปฏิบัติเป็นไปตำมแผนที่ตั้งไว้ก็จะจัดทำเป็นมำตรฐำนวิธีกำรดำเนินกำร เพื่อทำ
กิจกรรมลักษณะเดียวกันต่อไป
หำกว่ำผลกำรดำเนินกำรไม่เป็นไปตำมแผนที่ตั้งไว้ อำจจะจำเป็นต้องคิดปรับเปลี่ยนบำง
อย่ำงเช่น เปลี่ยนแผน เปลี่ยนวิธีดำเนินกำร เป็นต้น
2. เมื่อต้องกำรแก้ปัญหำที่เกิดขึ้น กำรใช้งำน PDCA ในแนวทำงนี้เริ่มต้นจำกกำรระบุปัญหำ
และคิดค้นวิธีกำรแก้ไขปัญหำด้วยกำรกำหนดเป็นแผน (P) แล้วลงมือแก้ไขปัญหำตำมแผน
(D) ในกำรแก้ไขปัญหำอำจจะสำเร็จหรือไม่สำเร็จก็ได้ซึ่งจะทรำบได้ด้วยกำรตรวจสอบ
ผลลัพธ์และประเมินวิธีแก้ปัญหำที่เลือกใช้ (C) และสุดท้ำยเมื่อตรวจสอบและประเมินผลแล้ว
หำกวิธีกำรแก้ไขปัญหำนั้นใช้ได้ผลแก้ปัญหำนั้นได้ ก็นำวิธีกำรนั้นมำเพื่อใช้แก้ไขปัญหำที่มี
ลักษณะเดียวกันในอนำคตต่อไป
หำกวิธีกำรแก้ไขปัญหำนั้นไม่ได้ผลก็จะมีกำรคิดหำวิธีกำรแก้ไขปัญหำแบบใหม่มำใช้ต่อไป
The Best Knowledge
หัวข้อที่ 6
กำรปรับปรุงงำนแบบ KAIZEN
The Best Knowledge
ไคเซ็น หรือ KAIZEN
ควำมหมำย ไคเซ็น หรือ KAIZEN
เป็นคำในภำษำญี่ปุ่น แปลตรงตัวได้ว่ำ "กำรแก้ไขสิ่งที่ไม่ดีให้ดีขึ้น" หรือ
"กำรทำให้ดีขึ้น" แต่ในทำงปฏิบัตินิยมใช้ในควำมหมำยที่จำเพำะเจำะจงกว่ำว่ำคือ
"กำรปรับปรุงให้ดีขึ้นทีละเล็กละน้อย“
จุดมุ่งหมำย กำรเขียนรำยงำนผลงำนไคเซ็น
กำรเขียนรำยงำนผลงำนไคเซ็นนั้น จะกระทำหลังจำกที่ปฏิบัติได้ผลแล้ว และ
มีจุดมุ่งหมำยเพื่อ สรุปทบทวนควำมรู้ของตนเองและแบ่งปันให้แก่ผู้อื่น
วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของ "KAIZEN"
คือ กำรพัฒนำพนักงำนให้รู้จักคิด ตระหนักรู้ถึงปัญหำ รู้จักค้นคว้ำหำควำมรู้
มำปรับปรุงงำน ในควำมรับผิดชอบของตนเองให้ดีขึ้นอยู่เสมอ ส่วนประสิทธิผลของ
กำรปรับปรุงนั้นเป็นผลพลอยได้ ที่ต่อเนื่องตำมมำเท่ำนั้น
The Best Knowledge
ควำมเข้ำใจผิดเกี่ยวกับ “ไคเซ็น”
1. เป็นกิจกรรมเสริมที่แยกต่ำงหำกจำกงำนประจำ ตรงกันข้ำม เป็นกำรทำให้
งำนประจำตำมหน้ำที่บรรลุวัตถุประสงค์ได้ดียิ่งขึ้น
2. จะทำให้พนักงำนต้องทำงำนเพิ่มขึ้น ตรงกันข้ำม ทำงำนน้อยลง เพรำะเป็น
กำรคิดค้นหำ และวิธีกำรทำงำนใหม่ๆ มำแทนวิธีกำรทำงำนแบบเดิม
3. คิดว่ำไคเซ็น ใช้ได้ในงำนโรงงำนอุตสำหกรรมเท่ำนั้น ในควำมเป็นจริง
สำมำรถประยุกต์ใช้กับงำนทุกประเภท ไม่ว่ำ กำรตลำด ขำย ธุรกำร บุคคล
บริหำร วำงแผน งำนสำรสนเทศ ฯลฯ
4. คิดว่ำ ไคเซ็นนั้น ทำเพื่อประโยชน์ของบริษัท ตรงกันข้ำม ไคเซ็นทำเพื่อ
ประโยชน์ของพนักงำนเอง ทั้งทำงำนสะดวกขึ้น และด้ำนกำรพัฒนำควำมรู้
และทัศนคติของพนักงำน
The Best Knowledge
หน้ำที่ต่ำงๆ กำรบริหำร กำรปรับปรุงงำนแบบ “ไคเซ็น”
พนักงาน ผู้บังคับบัญชาระดับต้น คณะกรรมการส่งเสริมทีคิวเอ็ม
เข ้ารับการฝึกอบรม เข ้ารับการฝึกอบรม และ
ฝึกอบรมลูกน้อง
หาความรู้แนวคิดที่ถูกต ้อง โดยการ
จัดฝึกอบรม
สังเกตเห็นปัญหา สืบสาว
สาเหตุ คิดค ้นวิธีปรับปรุงงาน
คัดเลือกวิธีที่ดีที่สุด ทดลอง
ปฏิบัติ
ให ้กาลังใจ ให ้คาชี้แนะ
ให ้คาปรึกษา
หากไม่ดีขึ้น กลับไปค ้นหา
สาเหตุ หาวิธีใหม่ ทดลอง
ตรวจสอบผล
หากดีขึ้น เขียนรายงานผลของ
การไคเซ็น
ตรวจและให ้คาชึ้แนะ
รวบรวมพิจารณา คัดเลือกผลงาน
ไคเซ็น ดีเด่น ประจาเดือน ประจาปี
แจกรางวัล ประชาสัมพันธ์ และ
ประกาศเกียรติคุณ
ทบทวนปรับปรุงแนวทางการ
ส่งเสริมกิจกรรมไคเซ็นThe Best Knowledge
หลักกำรสำหรับออกแบบใหม่หรือปรับปรุงกระบวนกำรปฏิบัติงำนให้มี
ประสิทธิภำพ/ประสิทธิผลสูงขึ้น
กำรใช้หลักกำรไคเซ็น ระบุว่ำมี 7 ประกำร ซึ่งกล่ำวได้ว่ำเป็นวิธีกำรเชิงระบบ
(System Approach ) หรือปรัชญำในกำรสร้ำงคุณภำพงำนของเดมมิ่ง ที่เรียกว่ำ
PDCA ( Plan – Do – Cheek – Action ) ที่นำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในทุกงำนทุก
กิจกรรม หรือ ทุกระบบกำรปฏิบัติงำนนั่นเอง ไม่ว่ำงำนนั้นจะเป็นงำนเล็กหรืองำน
ใหญ่ อันประกอบด้วย
1. ค้นหำปัญหำ และกำหนดหัวข้อแก้ไขปัญหำ
2. วิเครำะห์สภำพปัจจุบันของปัญหำเพื่อรู้สถำนกำรณ์ของปัญหำ
3. วิเครำะห์หำสำเหตุ
4. กำหนดวิธีกำรแก้ไข สิ่งที่ต้องระบุคือ ทำอะไร ทำอย่ำงไร ทำเมื่อไร
5. ใครเป็นคนทำ และทำอย่ำงไร
6. ลงมือดำเนินกำร
7. ตรวจดูผล และผลกระทบต่ำง ๆ และกำรรักษำสภำพที่แก้ไขแล้ว
โดยกำรกำหนดมำตรฐำนกำรทำงำน
The Best Knowledge
หลักกำร ECRS ในกำรปรับปรุงงำน
กำรเปลี่ยนแปลงบำงส่วนของงำนนั้น หมำยถึง กำรพิจำรณำเปลี่ยนแปลงงำน
ในบำงเรื่องบำงอย่ำงที่สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้
E = Eliminate หมำยถึง กำรตัดขั้นตอนกำรทำงำนที่ไม่จำเป็น ในกระบวนกำร
ออกไป
C = Combine หมำยถึง กำรรวมขั้นตอนกำรทำงำนเข้ำด้วยกัน เพื่อประหยัดเวลำ
หรือแรงงำนในกำรทำงำน
R = Rearrange หมำยถึง กำรจัดลำดับงำนใหม่ให้เหมำะสม
S = Simplify หมำยถึง ปรับปรุงวิธีกำรทำงำน หรือสร้ำงอุปกรณ์ช่วยให้ทำงำน
ได้ง่ำยขึ้น
The Best Knowledge
แนวทำงบริหำรกำรปรับปรุงงำนแบบไคเซ็น
ระบบข้อเสนอแนะแบบเดิม ระบบปฏิบัติกำรปรับปรุงงำนแบบไคเซ็น
วัตถุประสงค์ของระบบ
รับข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท
วัตถุประสงค์ของระบบ
ทบทวนและปรับปรุง “วิธีกำรทำงำน” ของ “ตนเอง”
ช่องทำงกำรปรับปรุง
เขียนใส่กล่องรับข้อเสนอแนะ
ช่องทำงกำรปรับปรุง
ปรึกษำหัวหน้ำ -> ทดลองปฏิบัติ -> เขียนรำยงำน
กำรค้นพบปัญหำและคิดค้นไอเดีย
ชี้ให้เห็นปัญหำของผู้อื่น เสนอแนะให้ผู้อื่นปฏิบัติ
รับทรำบปัญหำและไอเดียกำรปรับปรุงจำกผู้อื่น
กำรค้นพบปัญหำและคิดค้นไอเดีย
สังเกตพบปัญหำของตนเองด้วยตัวเอง
คิดหำวิธีกำรปรับปรุงด้วยตัวเอง หรือ ปรึกษำ
หัวหน้ำ
กำรลงมือปฏิบัติ
ผมพูด คุณทำ
กำรลงมือปฏิบัติ
คิดหำวิธีกำรปรับปรุงเอง ปฏิบัติด้วยตนเอง
กำรให้รำงวัล
พิจำรณำว่ำ ได้รำงวัล หรือ ไม่ได้
เป็นค่ำตอบแทนแลกเปลี่ยนกับไอเดีย
กำรให้รำงวัล
พิจำรณำเอง ปฏิบัติเอง
พัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเอง
กำรชมเชยจำกเพื่อนร่วมงำน
ปัญหำและอุปสรรค
เป็นเวทีระบำยควำมไม่พอใจต่อผู้อื่นและบริษัท
มีข้อเสนอแนะไร้สำระมำกมำยเพรำะไม่ต้องทำเอง
ทุกคนเบื่อหน่ำยในที่สุด
ปัญหำและอุปสรรค
ทำแล้วสนุก ใครทำมำก ก็ได้ประโยชน์มำก
ยิ่งมีผลงำนไคเซ็นมำกเท่ำใด ก็ยิ่งดี ไม่มีใครว่ำ
เกิดผลในทำงปฏิบัติทันที ไม่ต้องรอกำรอนุมัติให้ทำ
The Best Knowledge
LOGO
The Best Knowledge By:Jktom
The Best Knowledge

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพRonnarit Junsiri
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)Utai Sukviwatsirikul
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
ISO 9001 2015 Overview presentation
ISO 9001 2015 Overview presentation ISO 9001 2015 Overview presentation
ISO 9001 2015 Overview presentation Govind Ramu
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานคู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานSupakarn Yimchom
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยTui Ka
 
บทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Managementบทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation ManagementSakda Hwankaew
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationNukool Thanuanram
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555RMUTT
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบViam Manufacturing
 
Iso 9001 2015 Quality Transition ISO Consultant Implementation Certification...
Iso 9001 2015 Quality Transition  ISO Consultant Implementation Certification...Iso 9001 2015 Quality Transition  ISO Consultant Implementation Certification...
Iso 9001 2015 Quality Transition ISO Consultant Implementation Certification...Robert Jasper
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนPrachyanun Nilsook
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 

Mais procurados (20)

ISO9001:2015 presentation
ISO9001:2015 presentationISO9001:2015 presentation
ISO9001:2015 presentation
 
PPT-ISO14001-DIS-Aug14
PPT-ISO14001-DIS-Aug14PPT-ISO14001-DIS-Aug14
PPT-ISO14001-DIS-Aug14
 
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพChapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
Chapter 5 เครื่องมือเพื่อการควบคุมคุณภาพ
 
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
GPP กับการจัดการเชิงคุณภาพ (Quality Management)
 
QES Awareness (nukool)
QES Awareness (nukool)QES Awareness (nukool)
QES Awareness (nukool)
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
ISO 9001 2015 Overview presentation
ISO 9001 2015 Overview presentation ISO 9001 2015 Overview presentation
ISO 9001 2015 Overview presentation
 
7 qc tool online
7 qc tool online7 qc tool online
7 qc tool online
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงานคู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
คู่มือสุขภาพประจำตัวพนักงาน
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
 
บทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Managementบทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Management
 
ISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and ImplementationISO9001 2008-Req. and Implementation
ISO9001 2008-Req. and Implementation
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
Kaizen วัตถุดิบ
Kaizen   วัตถุดิบKaizen   วัตถุดิบ
Kaizen วัตถุดิบ
 
Iso 9001 2015 Quality Transition ISO Consultant Implementation Certification...
Iso 9001 2015 Quality Transition  ISO Consultant Implementation Certification...Iso 9001 2015 Quality Transition  ISO Consultant Implementation Certification...
Iso 9001 2015 Quality Transition ISO Consultant Implementation Certification...
 
Intro to TS-16949
Intro to TS-16949Intro to TS-16949
Intro to TS-16949
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 

Destaque

หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)Virendra Singh
 
KITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATIONKITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATIONGina Bal
 

Destaque (8)

หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
Presentation haccp
Presentation haccpPresentation haccp
Presentation haccp
 
Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
GMP Introduction
GMP IntroductionGMP Introduction
GMP Introduction
 
Back To Basic Gmp
Back To Basic GmpBack To Basic Gmp
Back To Basic Gmp
 
Introduction to GMP Training by
Introduction to GMP Training byIntroduction to GMP Training by
Introduction to GMP Training by
 
Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)Good Manufacturing Practices(GMP)
Good Manufacturing Practices(GMP)
 
KITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATIONKITCHEN SAFETY AND SANITATION
KITCHEN SAFETY AND SANITATION
 

Semelhante a ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ

804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการweeraya
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์pomkritta
 
Baldrige awareness series 6 focus on the future
Baldrige awareness series 6   focus on the futureBaldrige awareness series 6   focus on the future
Baldrige awareness series 6 focus on the futuremaruay songtanin
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeUtai Sukviwatsirikul
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDrDanai Thienphut
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Chanchot Jombunud
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Chanchot Jombunud
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Chanchot Jombunud
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWatcharin Chongkonsatit
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 

Semelhante a ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ (20)

804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
804501 ห้างหุ้นส่วนจำกัด สหภัณฑ์พาณิชย์บริการ
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
Baldrige awareness series 6 focus on the future
Baldrige awareness series 6   focus on the futureBaldrige awareness series 6   focus on the future
Baldrige awareness series 6 focus on the future
 
14321
1432114321
14321
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing home
 
Dr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioDataDr Danai Thieanphut -BioData
Dr Danai Thieanphut -BioData
 
Apos
AposApos
Apos
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
รายงาน Om
รายงาน Omรายงาน Om
รายงาน Om
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
Thailand4.0
Thailand4.0Thailand4.0
Thailand4.0
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 

Mais de Jirasap Kijakarnsangworn

Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of TrainingKirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of TrainingJirasap Kijakarnsangworn
 
 วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต
 วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต
 วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิตJirasap Kijakarnsangworn
 
พัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกัน
พัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกันพัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกัน
พัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกันJirasap Kijakarnsangworn
 
หัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กร
หัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กรหัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กร
หัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กรJirasap Kijakarnsangworn
 
Key performance indicator & job description
Key performance indicator & job descriptionKey performance indicator & job description
Key performance indicator & job descriptionJirasap Kijakarnsangworn
 

Mais de Jirasap Kijakarnsangworn (13)

Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of TrainingKirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
Kirkpatrick Model & Follow Up & Evaluation of Training
 
21 hr jobs of the future
21 hr jobs of the future21 hr jobs of the future
21 hr jobs of the future
 
9 future of work trends post covid-19
9 future of work trends post covid-199 future of work trends post covid-19
9 future of work trends post covid-19
 
Eye for waste
Eye for wasteEye for waste
Eye for waste
 
Kaizen คืออะไร??
Kaizen คืออะไร??Kaizen คืออะไร??
Kaizen คืออะไร??
 
ทฤษฏีก้างปลา
ทฤษฏีก้างปลา ทฤษฏีก้างปลา
ทฤษฏีก้างปลา
 
 วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต
 วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต
 วิธีทำงานให้สนุกและสร้างสุขในชีวิต
 
พัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกัน
พัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกันพัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกัน
พัฒนาองค์กรยุค 3.0 คืออะไรกัน
 
หัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กร
หัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กรหัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กร
หัวหน้างาน ตัวสร้าง หรือ ตัวทำลาย ความภักดีองค์กร
 
Key performance indicator & job description
Key performance indicator & job descriptionKey performance indicator & job description
Key performance indicator & job description
 
Continual improvement
Continual  improvementContinual  improvement
Continual improvement
 
Improvement internal process
Improvement internal processImprovement internal process
Improvement internal process
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 

ความรู้เบื้องต้นระบบคุณภาพ

  • 1. LOGO The Best Knowledge ISO 9001:2008 GMP HACCP Total Quality Management P-D-C-A Kaizen
  • 2. แนะนำวิทยำกร คุณจิรำทรัพย์ กิจกำรสังวร  วุฒิกำรศึกษำ ปริญญำตรี บริหำรธุรกิจ สำขำกำรตลำด มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน วิทยำเขตขอนแก่น  ประสบกำรณ์ทำงำน 1. บจก.CMC Biotech จำกัด ตำแหน่ง HR Officer 2549 - 2551 2. บจก.โรงพยำบำลวิรัชศิลป์ ตำแหน่ง HR Officer 2551 - 2554 3. บจก.สันติภำพ(ฮั่วเพ้ง 1958) สำขำชุมพร ตำแหน่ง หัวหน้ำแผนกทรัพยำกรมนุษย์ 2554 - 2556 4. บจก.สงวนยำงยนต์ชุมพร ตำแหน่ง ผู้จัดกำรฝ่ำยทรัพยำกรมนุษย์ 2556- 2557 5. บจก.สันติภำพ(ฮั่วเพ้ง 1958) สำขำชุมพร ตำแหน่ง หัวหน้ำแผนกส่งเสริม TQM 2557 – ปัจจุบัน The Best Knowledge
  • 3. คำถำมคำใจที่หลำยคนมักถำมกันคือ “จะทำอย่ำงไรล่ะ ที่จะได้ผลงำน ที่ดีออกมำ?” คำตอบคือ ทุกคนในองค์กรจะต้องสร้ำงสิ่งที่เรียกว่ำ “กำรรับประกันคุณภำพ” กำรที่ทุกคนรับประกันว่ำ ลูกค้ำจะได้ในสิ่งที่เขำต้องกำร แล้วจะทำอย่ำงไรล่ะ? ... คำตอบคือ 1. ทุกคนต้องมีแนวคิดให้ถูกต้องเสียก่อน 2. ต้องมีเครื่องมือในกำรวิเครำะห์ข้อมูลที่เหมำะสมกับงำนต้องวิเครำะห์ให้ถูก 3. บริหำรงำนให้ถูกต้อง ภำยใต้อำนำจหน้ำที่ที่รับผิดชอบ - - กำรรับประกันคุณภำพ - - The Best Knowledge
  • 5. International Organization for Standardization International Organization for Standardization คือ องค์กำรมำตรฐำน สำกลหรือองค์กำรระหว่ำงประเทศว่ำด้วยกำรมำตรฐำน เป็นองค์กรที่ให้ กำรรับรองมำตรฐำนต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ และอุตสำหกรรม ส่วนมำตรฐำนที่องค์กำรนี้ออกมำ ก็ใช้ชื่อนำหน้ำว่ำ ISO เช่น ISO 9000, ISO 9001 และ ISO 14000 ซึ่งก็เป็นมำตรฐำนที่ว่ำด้วยระบบบริหำรคุณภำพ และระบบบริหำรสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ISO จะมีสมำชิกจำกหลำยๆ ประเทศทั่วโลก และสมำชิกก็แบ่งเป็น ระดับต่ำงๆที่แตกต่ำงกันไปอีก ซึ่งเป็นองค์กรระหว่ำงประเทศ และมำตรฐำน ต่ำงๆที่ออกมำนั้นก็จะเป็นมำตรฐำนระหว่ำงประเทศ (International Standard) นอกจำกนี้มำตรฐำน ISO ยังสำมำรถประยุกต์ใช้ได้กับทุกองค์กร ไม่ว่ำจะเป็นองค์กรชนิดใดขนำดใหญ่ หรือ ขนำดเล็ก ผลิตสินค้ำอะไร หรือ ให้บริกำรอะไร “ระบบมำตรฐำนสำกล” The Best Knowledge
  • 6. เลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ?? หลำยคนอำจสงสัยว่ำเลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ตัวเลขดังกล่ำวถูกกำหนดขึ้น เพื่อกำรแบ่งแนวทำงและวิธีกำรในกำรบริหำรองค์กร ดังนี้ ISO 9000 คือกำรจัดระบบกำรบริหำรเพื่อประกันคุณภำพ ที่สำมำรถตรวจสอบได้ โดยผ่ำนระบบเอกสำร ISO 9001 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งกำรออกแบบ และ พัฒนำกำรผลิต กำรติดตั้ง และกำรบริกำร “ระบบจัดกำรด้ำนคุณภำพ” ISO 9002 มำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพำะกำรผลิต กำรติดตั้ง และกำรบริกำร ISO 9003 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องกำรตรวจ และกำร ทดสอบขั้นสุดท้ำย ISO 14000 เป็นระบบมำตรฐำนระบบกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กร มีกำรพัฒนำปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่ำงต่อเนื่อง ISO 18000 มำตรฐำนระบบกำรจัดกำร อำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัย The Best Knowledge
  • 7. 1. เพื่อกำรแข่งขันทำงธุรกิจ - ISO เป็นระบบมำตรฐำนสำกลที่ทั่วโลกยอมรับ ทุกธุรกิจจึงอยำกทำ ระบบ ISO รวมถึงสำมำรถใช้กำรแข่งขันในตลำดในประเทศ และต่ำงประเทศ 2. เพื่อควำมเชื่อมั่นของลูกค้ำ - ระบบ ISO เป็นสัญลักษณ์ที่ทำให้ลูกค้ำมั่นใจและไว้วำงใจว่ำเป็น บริษัทฯที่มีกระบวนกำรทำงำนที่ดี 3. เพื่อกำรทำงำนอย่ำงเป็นระบบ - ระบบ ISO เป็นระบบมำตรฐำนที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำนด้ำน งำนเอกสำร ซึ่งจะมีวิธีปฏิบัติงำน และขั้นตอนปฏิบัติงำนที่ดีซึ่งจะทำให้พนักงำน ของบริษัทฯนั้นทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ทำไมบริษัทต่ำงๆถึงทำระบบ ISO The Best Knowledge
  • 8. เลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ?? หลำยคนอำจสงสัยว่ำเลข ISO แตกต่ำงกันอย่ำงไร ตัวเลขดังกล่ำวถูกกำหนดขึ้น เพื่อกำรแบ่งแนวทำงและวิธีกำรในกำรบริหำรองค์กร ดังนี้ ISO 9000 คือกำรจัดระบบกำรบริหำรเพื่อประกันคุณภำพ ที่สำมำรถตรวจสอบได้ โดยผ่ำนระบบเอกสำร ISO 9001 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลทั้งกำรออกแบบ และ พัฒนำกำรผลิต กำรติดตั้ง และกำรบริกำร “ระบบจัดกำรด้ำนคุณภำพ” ISO 9002 มำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเฉพำะกำรผลิต กำรติดตั้ง และกำรบริกำร ISO 9003 เป็นมำตรฐำนระบบคุณภำพ ซึ่งกำกับดูแลเรื่องกำรตรวจ และกำร ทดสอบขั้นสุดท้ำย ISO 14000 เป็นระบบมำตรฐำนระบบกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้องค์กร มีกำรพัฒนำปรับปรุงสิ่งแวดล้อม อย่ำงต่อเนื่อง ISO 18000 มำตรฐำนระบบกำรจัดกำร อำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัย The Best Knowledge
  • 9. กำรรับรองมำตรฐำน ในกำรได้รับใบรับรองมำตรฐำน ISO 9001 : 2008 นั้นจะต้องให้ผู้ออกใบรับรอง ซึ่งเรียกว่ำ C.B. (Certified Body) มำทำกำรตรวจประเมิน หำกสอดคล้องกับ มำตรฐำนก็จะได้รับใบรับรอง โดยใบรับรองจะมีอำยุ 3 ปี The Best Knowledge
  • 10. หลักกำรของระบบคุณภำพ 1. Customer Focus / มุ่งเน้นที่ลูกค้ำ 2. Leadership / กำรชี้นำ 3. Involvement / กำรมีส่วนร่วม 4. Process Approach / กำรเข้ำถึงกระบวนกำร 5. System Approach to Management / กำรนำระบบเข้ำมำบริหำร 6. Continual Improvement / กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง 7. Factual Approach to Decision Making / กำรตัดสินใจโดยใช้ ข้อมูลที่ถูกต้อง 8. Mutual Beneficial Supplier Relationships / ควำมสัมพันธ์กับ ผู้ขำยแบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน The Best Knowledge
  • 11. 1. Customer Focus / มุ่งเน้นที่ลูกค้ำ องค์กรจะขึ้นอยู่กับลูกค้ำ โดยกำรทำควำมเข้ำใจกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ ทั้งในปัจจุบันและอนำคต มุ่งที่จะบรรลุควำมต้องกำร และให้เหนือควำมคำดหวัง ของลูกค้ำ - มั่นใจว่ำเป้ำหมำยขององค์นั้นสอดคล้องกับควำมต้องกำรของลูกค้ำ - สื่อสำรให้ทรำบทั่วทั้งองค์กร ถึงควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของลูกค้ำ - ปรับปรุงควำมสัมพันธ์ของลูกค้ำ เพื่อนำไปสู่ผลทำงธุรกิจ - วิจัยและทำควำมเข้ำใจกับควำมต้องกำรและควำมคำดหวังของลูกค้ำ - บริหำรควำมสัมพันธ์กับลูกค้ำอย่ำงเป็นระบบ The Best Knowledge
  • 12. 2. Leadership / กำรชี้นำ ผู้บริหำรระดับสูงต้องกำหนดจุดประสงค์ที่ชัดเจน และดำเนินกำรแจ้ง นโยบำยให้เป็นไปในแนวทำงเดียวกัน สร้ำงบรรยำกำศให้พนักงำนทุกคน มีส่วนร่วมอย่ำงเต็มที่ในกำรทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร - ต้องกำหนดวิสัยทัศน์ / กำหนดนโยบำย/ กำหนดเป้ำหมำยที่ท้ำทำย - พนักงำนจะต้องเข้ำใจ และได้รับกำรจูงใจที่จะบรรลุเป้ำหมำยขององค์กร - กิจกรรมต่ำงๆจะได้รับกำรประเมินและจัดทำในแนวทำงเดียวกัน - ลดควำมคลำดเคลื่อนในกำรสื่อสำรระหว่ำงแต่ละระดับในองค์กร The Best Knowledge
  • 13. 3. Involvement / กำรมีส่วนร่วม บุคลำกรในทุกระดับมีควำมสำคัญกับองค์กร และใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถ ของตนเองอย่ำงเต็มที่ เพื่อผลประโยชน์ขององค์กร โดยใช้หลักMotivation รวมถึงกำรรับฟังข้อคิดเห็นต่ำงๆ - พนักงำนต้องมีควำมเข้ำใจถึงควำมสำคัญในกำรมีส่วนร่วมและ กำรสร้ำงสรรค์ผลงำนตนเองและขององค์กร - พนักงำนต้องกล้ำบอกถึงอุปสรรคในกำรทำงำน / ต้องสำมำรถ วิเครำะห์ปัญหำ และวิเครำะห์วิธีกำรแก้ไขปัญหำได้ - พนักงำนต้องร่วมกันแก้ไขปัญหำและกำรปรับปรุงต่ำงๆ The Best Knowledge
  • 14. 4. Process Approach / กำรเข้ำถึงกระบวนกำร ผลลัพธ์ที่ต้องกำรจะต้องประสบผลสำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพ เมื่อทรัพยำกรและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องถูกบริหำรในรูปแบบของกระบวนกำร - ใช้วิธีกำรที่เป็นระบบในกำรกำหนดกิจกรรม เพื่อให้ได้ผลตำมที่ต้องกำร - กำหนดควำมรับผิดชอบ เพื่อควบคุมกิจกรรมหลัก - วิเครำะห์และวัดควำมสำมำรถในแต่ละกิจกรรมหลัก - เน้นที่จะควบคุมปัจจัยต่ำงๆที่จะมีผลกระทบต่อกิจกรรมหลัก เช่น วิธีกำร , ทรัพยำกรที่ใช้ เป็นต้น - วัดและวิเครำะห์ควำมเสี่ยง หรือผลกระทบต่อกิจกรรม ลูกค้ำ ผู้ขำย เป็นต้น 1 2 2 3 4 5 Out PutIn Put Process The Best Knowledge
  • 15. 5. System Approach to Management / กำรนำระบบเข้ำมำบริหำร กำหนด ทำควำมเข้ำใจ และบริหำรระบบซึ่งประกอบด้วยกระบวนกำรต่ำงๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน เพื่อให้ได้ผลในกำรปรับปรุงและพัฒนำในด้ำนประสิทธิภำพ และประสิทธิผลขององค์กร - จัดทำระบบเพื่อบรรลุเป้ำหมำยขององค์กร โดยวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพ และประสิทธิผล - จัดทำระบบโดยมีจุดแนวคิดที่จะสร้ำงกระบวนกำรที่มีควำมสอดคล้อง ขึ้นในองค์กร - เข้ำใจในควำมสำมำรถขององค์กร และจัดเตรียมทรัพยำกรที่ต้องกำร ก่อนกำรดำเนินกำร - กำหนดเป้ำหมำยและกำหนดแนวทำงสำหรับแต่ละกระบวนกำร The Best Knowledge
  • 16. 6. Continual Improvement / กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง ควรที่จะเป็นวัตถุประสงค์ถำวรขององค์กร - ให้กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่องในผลิตภัณฑ์ และกระบวนกำร เป็นวัตถุประสงค์สำหรับทุกหน่วยงำนย่อยในองค์กร - กำหนดเป้ำหมำย เพื่อนำทำงและวัดผลจำกกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง - สร้ำงระบบที่จะให้พนักงำนในแต่ละฝ่ำยงำนทรำบถึงผลลัพธ์ของ กำรทำงำนและให้พนักงำนเกิดควำมยอมรับในผลของกำรทำงำนนั้นๆ เพื่อที่จะได้นำไปทำกำรปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น หรือบรรลุวัตถุประสงค์ The Best Knowledge
  • 17. 7. Factual Approach to Decision Making / กำรตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลที่ถูกต้อง มีกำรเก็บข้อมูลจำกกำรปฏิบัติงำนจริง โดยใช้เครื่องมือในกำร วิเครำะห์ข้อมูลอย่ำงเหมำะสม และใช้กำรตัดสินใจบนพื้นฐำน ของควำมเป็นจริง หรืออำจจะใช้วิธีกำรระดมสมองร่วมกันกับทีมงำน - วิเครำะห์ข้อมูลด้วยวิธีกำรที่เชื่อถือได้ - มั่นใจว่ำข้อมูลถูกต้อง และมีควำมน่ำเชื่อถือเพียงพอ (แหล่ง ที่มำของข้อมูล) - มีกำรแจ้งผลกำรตัดสินใจให้ทีมงำน หรือผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทรำบ The Best Knowledge
  • 18. 8. Mutual Beneficial Supplier Relationships / ควำมสัมพันธ์กับผู้ขำยแบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน องค์กรและผู้ขำยจะต้องพึ่งพำซึ่งกันและกัน และมีผลประโยชน์ ร่วมกัน เพื่อเพิ่มควำมสำมำรถในกำรสร้ำงเสริมคุณค่ำทั้ง 2 ฝ่ำย - คัดเลือกผู้ขำยหลัก - เพิ่มควำมสำมำรถในกำรตอบสนองในกำรเปลี่ยนแปลงตำม ควำมต้องกำรของตลำดและลูกค้ำ - ใช้ควำมชำนำญร่วมกัน - สร้ำงระบบที่สำมำรถพัฒนำและปรับปรุงร่วมกัน The Best Knowledge
  • 19. หลักกำรของระบบคุณภำพ ISO 1. Customer Focus / มุ่งเน้นที่ลูกค้ำ 2. Leadership / กำรชี้นำ 3. Involvement / กำรมีส่วนร่วม 4. Process Approach / กำรเข้ำถึงกระบวนกำร 5. System Approach to Management / กำรนำระบบเข้ำมำบริหำร 6. Continual Improvement / กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง 7. Factual Approach to Decision Making / กำรตัดสินใจโดยใช้ ข้อมูลที่ถูกต้อง 8. Mutual Beneficial Supplier Relationships / ควำมสัมพันธ์กับ ผู้ขำยแบบมีผลประโยชน์ร่วมกัน The Best Knowledge
  • 20. 1. Vision , Mission , Company Objective , Policy 2. Organization Chart 3. Job Description 4. เขียนเอกสำรระบบ ISO ของแต่ละหน่วยงำน WP = ระเบียบปฏิบัติงำน (Work Procedure) WI = วิธีปฏิบัติงำน (Work Instruction) SD = เอกสำรสนับสนุน (Supporting Document) FM = แบบฟอร์ม (Form) QM = คู่มือคุณภำพ (Quality Manual) ขั้นตอนในกำรจัดทำเอกสำรระบบคุณภำพ ISO The Best Knowledge
  • 22. ควำมหมำยของระบบ GMP GMP =Good Manufacturing Practices หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติที่ดีใน “กำรผลิตอำหำร” GMP คือ เกณฑ์ข้อกำหนดขั้นพื้นฐำนที่จำเป็นในกำรผลิตและ ควบคุมกำรผลิตอำหำรที่ปลอดภัย เพื่อให้ผู้ผลิตได้ปฏิบัติตำม โดยเน้นกำรป้องกันขจัดควำมเสี่ยงที่อำจจะทำให้อำหำรเป็นพิษ และอันตรำยต่อผู้บริโภค The Best Knowledge
  • 23. หลักกำรของระบบ GMP หลักกำรของ GMP จะครอบคลุมตั้งแต่ สถำนที่ตั้งของสถำนประกอบกำร โครงสร้ำงอำคำร ระบบกำรผลิตที่ดี มีควำมปลอดภัย และมีคุณภำพได้มำตรฐำน ในทุกๆขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นวำงแผนกำรผลิต ระบบควบคุม กำรรับวัตถุดิบ กระบวนกำรในกำรผลิต จนเป็นผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป กำรจัดเก็บ กำรควบคุม คุณภำพ และกำรขนส่งจนถึงผู้บริโภค มีระบบบันทึกข้อมูล ตรวจสอบและติดตำม ผลคุณภำพผลิตภัณฑ์ รวมถึงระบบกำรจัดกำรที่ดี ในเรื่องสุขอนำมัย (Sanitation และHygiene) เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ขั้นสุดท้ำยมีคุณภำพ และควำมปลอดภัย เป็นที่มั่นใจ เมื่อถึงมือผู้บริโภค ทั้งนี้ GMP ยังเป็นระบบประกันคุณภำพขั้นพื้นฐำน ก่อนที่จะพัฒนำไปสู่ระบบ ประกันคุณภำพอื่นๆต่อไป เช่น ระบบ HACCP (Hazards Analysis and Critical Control Points) และ ISO 9000 อีกด้วย The Best Knowledge
  • 24. โครงสร้ำง พื้นฐำน 1. สถำนที่ตั้งและอำคำรผลิต 2. เครื่องมือเครื่องจักร และอุปกรณ์กำรผลิต ระบบ ปฏิบัติกำร 3. กำรควบคุมกระบวน กำรผลิต 4. กำรสุขำภิบำล 6. บุคลำกรและสุขลักษณะ ของผู้ปฏิบัติงำน 5. กำรบำรุงรักษำและกำร ทำควำมสะอำด บุคลำกร หลักกำรของ GMP ในแต่ละข้อกำหนดมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้ผู้ผลิตมีมำตรกำรป้องกันกำร ปนเปื้อน อันตรำยทั้งทำงด้ำนจุลินทรี เคมี และกำยภำพลงสู่ผลิตภัณฑ์ ซึ่งอำจ มำจำกสิ่งแวดล้อม ตัวอำคำร เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ กำรดำเนินงำนในแต่ละ ขั้นตอนกำรผลิต รวมถึงกำรจัดกำรในด้ำนสุขอนำมัยทั้งในส่วนของควำม สะอำด กำรบำรุงรักษำและผู้ปฏิบัติงำน The Best Knowledge
  • 25. กำยภำพ เคมี จุลินทรีย์ ควำมปลอดภัย ปลอดภัยจำกอันตรำย 3 ประกำร อันตรำย 3 ประกำร The Best Knowledge
  • 26. หัวใจ 3 ประกำร ของกำรผลิตอำหำรที่ปลอดภัย หัวใจที่ 1 ลดอันตรำยเบื้องต้น คัดเลือกวัตถุดิบ ส่วนผสมที่มีคุณภำพดี ใช้ภำชนะ บรรจุที่สะอำดและมีกำรล้ำงทำควำมสะอำดรวมทั้ง ผลิตในสถำนที่ที่มีสภำพแวดล้อมที่ดีและเครื่องมือ อุปกรณ์ไม่ก่อให้เกิดกำรปนเปื้อน หัวใจที่ 2 ลด/ยับยั้ง-ทำลำยเชื้อจุลินทรีย์ ใช้ควำมร้อนฆ่ำเชื้ออย่ำงเพียงพอ หัวใจที่ 3 ป้องกันกำรปนเปื้อนซ้ำ โดยกำรปฏิบัติงำนอย่ำงถูกสุขลักษณะ แยกระหว่ำงของสุก และของดิบ The Best Knowledge
  • 27. กำรผลิตอำหำรที่ไม่ถูกหลักGMP ผลที่จะเกิด 1. เกิดกำรปนเปื้อนของเชื้อโรคในอำหำร 2. เกิดกำรสูญเสียอำหำร 3. สถำนที่ผลิตเป็นที่อยู่อำศัยของสัตว์พำหะนำเชื้อ 4. ผู้ปฏิบัติงำนเกิดกำรเจ็บป่วย 5. สูญเสียลูกค้ำและผลกำไร 6. ถูกดำเนินกำรตำมกฎหมำย The Best Knowledge
  • 28. ข้อกำหนดGMP สำระสำคัญในข้อกำหนด GMP 1. สถำนที่ตั้งและอำคำรผลิต 1.1 สถำนที่ตั้งตัวอำคำรและที่ใกล้เคียง ต้องอยู่ในที่ที่จะไม่ทำให้อำหำรที่ผลิตเกิด กำรปนเปื้อนได้ง่ำย โดย - สถำนที่ตั้งตัวอำคำรและบริเวณโดยรอบสะอำด ไม่ปล่อยให้มีกำรสะสม หรือสิ่ง ปฏิกูลอันอำจเป็นแหล่งเพำะพันธุ์สัตว์และแมลง รวมทั้งเชื้อโรคต่ำงๆ ขึ้นได้ - อยู่ห่ำงจำกบริเวณหรือสถำนที่ที่มีฝุ่นมำกผิดปกติ - ไม่อยู่ใกล้เคียงกับสถำนที่น่ำรังเกียจ - บริเวณพื้นที่ตั้งตัวอำคำรไม่มีน้ำขังแฉะและสกปรก และมีท่อระบำยน้ำ เพื่อให้ไหล ลงสู่ทำงระบำยน้ำสำธำรณะ ต้องมีกรรมวิธีที่มีประสิทธิภำพในกำรป้องกันและกำจัด สัตว์รบกวน และสัตว์นำโรค ตลอดจนฝุ่นผงต่ำงๆ The Best Knowledge
  • 30. - พื้น ฝำผนัง และเพดำนของอำคำรสถำนที่ผลิต ต้องก่อสร้ำงด้วยวัสดุที่คงทน ทำควำมสะอำด และซ่อมแซมให้อยู่ในสภำพที่ดีตลอดเวลำ - ต้องแยกบริเวณผลิตอำหำรออกเป็นสัดส่วน ไม่ปะปนกับที่อยู่อำศัย - ต้องมีมำตรกำรป้องกันสัตว์และแมลงไม่ให้เข้ำในบริเวณอำคำรผลิต - จัดให้มีพื้นที่เพียงพอที่จะติดตั้งเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรผลิตให้เป็นไปตำม สำยงำนกำรผลิตอำหำรแต่ละประเภท และแบ่งแยกพื้นที่กำรผลิตเป็นสัดส่วน เพื่อป้องกันกำรปนเปื้อนอันอำจเกิดขึ้นกับอำหำรที่ผลิตขึ้น - ไม่มีสิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่เกี่ยวข้องกับกำรผลิตอยู่ในบริเวณผลิต - จัดให้มีแสงสว่ำงและกำรระบำยอำกำศที่เหมำะสมเพียงพอสำหรับกำรปฏิบัติงำน ภำยในอำคำรผลิต ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 31. 2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในกำรผลิต 2.1 ภำชนะหรืออุปกรณ์ในกำรผลิตที่พื้นผิวสัมผัสอำหำร ต้องทำจำกวัสดุที่ ไม่ทำปฏิกิริยำกับอำหำรอันอำจเป็นอันตรำยต่อผู้บริโภค 2.2 โต๊ะที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรผลิตในส่วนที่พื้นผิวสัมผัสอำหำร ต้องทำ ด้วยวัสดุที่ไม่เกิดสนิม ทำควำมสะอำดง่ำย และไม่ทำให้เกิดปฏิกิริยำที่อำจเป็น อันตรำยแก่สุขภำพของผู้บริโภค 2.3 กำรออกแบบติดตั้งเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์แปรรูปอำหำร ที่ใช้เหมำะสมและคำนึงถึงกำรปนเปื้อนที่อำจจะเกิดขึ้น รวมทั้งสำมำรถทำ ควำมสะอำดตัวเครื่องมือ เครื่องจักร และบริเวณที่ตั้งได้ง่ำยและทั่วถึง 2.4 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในกำรผลิต ต้องเพียงพอต่อกำร ปฏิบัติงำน ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 32. 3. กำรควบคุมกระบวนกำรผลิต 3.1 กำรดำเนินกำรทุกขั้นตอนจะต้องมีกำรควบคุมตำมหลักสุขำภิบำลที่ดีตั้งแต่ กำรตรวจรับวัตถุดิบและส่วนผสมในกำรผลิตอำหำร กำรขนย้ำย กำรจัดเตรียม กำรผลิต กำรบรรจุ กำรเก็บรักษำอำหำร และกำรขนส่ง - วัตถุดิบ และส่วนผสมในกำรผลิตอำหำร ต้องมีกำรคัดเลือกให้อยู่ในสภำพที่ สะอำด มีคุณภำพดี เหมำะสำหรับใช้ในกำรผลิตอำหำรสำหรับบริโภค ต้องล้ำงหรือ ทำควำมสะอำดตำมควำมจำเป็น เพื่อขจัดสิ่งสกปรก หรือสิ่งปนเปื้อนที่อำจติดหรือ ปนมำกับวัตถุนั้นๆ และต้องเก็บรักษำวัตถุดิบภำยใต้สภำวะที่ป้องกันกำรปนเปื้อนได้ โดยมีกำรเสื่อมสลำยน้อยที่สุด และมีกำรหมุนเวียน สต๊อกของวัตถุดิบและส่วนผสม อำหำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 33. - ภำชนะบรรจุอำหำรและภำชนะที่ใช้ในกำรขนถ่ำยวัตถุดิบและส่วนผสม ในกำรผลิตอำหำร ตลอดจนเครื่องมือที่ใช้ในกำรนี้ ต้องอยู่ในสภำพที่เหมำะสม และไม่ทำให้เกิดกำรปนเปื้อนกับอำหำรในระหว่ำงกำรผลิต - น้ำแข็งและไอน้ำที่ใช้ในกระบวนกำรผลิตที่สัมผัสกับอำหำร ต้องมีคุณภำพ มำตรฐำนตำมประกำศกระทรวงสำธำรณสุขเรื่องน้ำแข็งและน้ำบริโภค และ กำรนำไปใช้ในสภำพที่ถูกสุขลักษณะ - น้ำที่ใช้ในกระบวนกำรผลิตอำหำร ต้องเป็นน้ำสะอำดบริโภคได้ มีคุณภำพ มำตรฐำนตำมประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่อง น้ำบริโภค และกำรนำไปใช้ ในสภำพที่ถูกสุขลักษณะ - กำรผลิต กำรเก็บรักษำ ขนย้ำย และขนส่งผลิตภัณฑ์อำหำร ต้องป้องกัน กำรปนเปื้อนและป้องกันกำรเสื่อมสลำยของอำหำรและภำชนะบรรจุด้วย - กำรดำเนินกำรควบคุมกระบวนกำรผลิตทั้งหมด ให้อยู่ภำยใต้สภำวะที่ เหมำะสม ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 34. 3.2 จัดทำบันทึกและรำยงำนอย่ำงน้อยดังต่อไปนี้ - ผลกำรตรวจวิเครำะห์ผลิตภัณฑ์ - ชนิดและปริมำณกำรผลิตของผลิตภัณฑ์และวันเดือนปีที่ผลิต โดยให้เก็บ บันทึกและรำยงำนไว้อย่ำงน้อย 2 ปี ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 35. 4. กำรสุขำภิบำล 4.1 น้ำที่ใช้ภำยในโรงงำน ต้องเป็นน้ำสะอำดและจัดให้มีกำรปรับคุณภำพน้ำ ตำมควำมจำเป็น 4.2 จัดให้มีห้องส้วมและอ่ำงล้ำงมือหน้ำห้องส้วมให้เพียงพอสำหรับ ผู้ปฏิบัติงำน และต้องถูกสุขลักษณะ มีอุปกรณ์ในกำรล้ำงมืออย่ำงครบถ้วน และต้องแยกต่ำงหำกจำกบริเวณผลิต หรือไม่เปิดสู่บริเวณผลิตโดยตรง 4.3 จัดให้มีอ่ำงล้ำงมือในบริเวณผลิตให้เพียงพอและมีอุปกรณ์กำรล้ำงมือ อย่ำงครบถ้วน 4.4 จัดให้มีวิธีกำรป้องกันและกำจัดสัตว์และแมลงในสถำนที่ผลิตตำมควำม เหมำะสม 4.5 จัดให้มีภำชนะรองรับขยะมูลฝอยที่มีฝำปิดในจำนวนที่เพียงพอ และ มีระบบกำจัดขยะมูลฝอยที่เหมำะสม 4.6 จัดให้มีทำงระบำยน้ำทิ้งและสิ่งโสโครกอย่ำงมีประสิทธิภำพ เหมำะสม และไม่ก่อให้เกิดกำรปนเปื้อนกลับเข้ำสู่กระบวนกำรผลิตอำหำร ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 36. 5. กำรบำรุงรักษำและกำรทำควำมสะอำด 5.1 ตัวอำคำรสถำนที่ผลิตต้องทำควำมสะอำดและรักษำให้อยู่ในสภำพ สะอำดถูกสุขลักษณะโดยสม่ำเสมอ 5.2 ต้องทำควำมสะอำด ดูแลและเก็บรักษำเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ในกำรผลิตให้อยู่ในสภำพที่สะอำดทั้งก่อนและหลังกำรผลิต สำหรับชิ้นส่วนของ เครื่องมือ เครื่องจักรต่ำงๆ ที่อำจเป็นแหล่งสะสมจุลินทรีย์ หรือก่อให้เกิดกำร ปนเปื้อนอำหำร สำมำรถทำควำมสะอำดด้วยวิธีที่เหมำะสมและเพียงพอ 5.3 พื้นผิวที่สัมผัสกับอำหำรของเครื่องมือและอุปกรณ์กำรผลิต ต้องทำ ควำมสะอำดอย่ำงสม่ำเสมอ 5.4 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ในกำรผลิต ต้องมีกำรตรวจสอบ และบำรุงรักษำให้อยู่ในสภำพใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพสม่ำเสมอ 5.5 กำรใช้สำรเคมีที่ใช้ล้ำงทำควำมสะอำด ตลอดจนเคมีวัตถุที่ใช้เกี่ยวข้อง กับกำรผลิตอยู่ภำยใต้เงื่อนไขที่ปลอดภัย และกำรเก็บรักษำวัตถุดังกล่ำว จะต้องแยกเป็นสัดส่วนและปลอดภัย ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 37. 6. บุคลำกรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงำน (personal hygiene) 6.1 ผู้ปฏิบัติงำนในบริเวณผลิตต้องไม่เป็นโรคติดต่อหรือโรคน่ำรังเกียจ ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวง หรือมีบำดแผลอันอำจก่อให้เกิดกำรปนเปื้อน ของผลิตภัณฑ์ ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 38. 6.2 เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำนทุกคนในขณะที่ดำเนินกำรผลิตและมีกำรสัมผัสโดยตรงกับ อำหำร หรือส่วนผสมของอำหำร หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของพื้นที่ผิวที่อำจมีกำรสัมผัสกับ อำหำร ต้องปฏิบัติดังนี้ - สวมเสื้อผ้ำที่สะอำดและเหมำะสมต่อกำรปฏิบัติงำน กรณีที่ใช้เสื้อคลุมก็ต้องสะอำด - ล้ำงมือให้สะอำดทุกครั้งก่อนเริ่มปฏิบัติงำน และหลังกำรปนเปื้อน - ใช้ถุงมือที่อยู่ในสภำพสมบูรณ์และสะอำดถูกสุขลักษณะ ทำด้วยวัสดุที่ไม่มี สำรละลำยหลุดออกมำปนเปื้อนอำหำรและของเหลวซึมผ่ำนไม่ได้ สำหรับจับต้องหรือ สัมผัสกับอำหำร กรณีไม่สวมถุงมือต้องมีมำตรกำรให้คนงำนล้ำงมือ เล็บ แขนให้สะอำด - ไม่สวมใส่เครื่องประดับต่ำงๆ ขณะปฏิบัติงำน และดูแลสุขอนำมัยของมือและเล็บ ให้สะอำดอยู่เสมอ - สวมหมวก หรือผ้ำคลุมผม หรือตำข่ำย ข้อกำหนดGMP The Best Knowledge
  • 41. HACCP = Hazard Analysis Critical Control Point กำรวิเครำะห์อันตรำย จุดควบคุมวิกฤต เป็นแนวคิดเกี่ยวกับมำตรกำรป้องกัน อันตรำย ที่อำจเกิดขึ้น ในแต่ละขั้นตอนของกำรดำเนินกิจกรรมใด ๆ โดยมีกระบวนกำรดำเนินงำนเชิงวิทยำศำสตร์ คือ มีกำรศึกษำถึงอันตรำย กำรหำทำงป้องกันไว้ล่วงหน้ำ รวมทั้งมีกำรควบคุม และเฝ้ำระวัง เพื่อให้แน่ใจว่ำมำตรกำรป้องกันที่กำหนดขึ้นนั้น มีประสิทธิภำพตลอดเวลำ HACCP เป็นมำตรฐำนกำรผลิต ที่มีมำตรกำรป้องกันอันตรำยที่ผู้บริโภค อำจจะได้รับจำกกำรบริโภคอำหำร ควำมหมำยของระบบ HACCP The Best Knowledge
  • 42. หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP มี 7 ประกำรกล่ำวคือ หลักกำรที่ 1 กำรวิเครำะห์อันตรำย จำกผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ที่อำจมีต่อผู้บริโภคที่เป็น กลุ่มเป้ำหมำย โดยกำรประเมินควำมรุนแรง และโอกำสที่จะเกิดอันตรำยต่ำงๆ ในทุกขั้นตอนกำรผลิต จำกนั้นจึงกำหนดวิธีกำรป้องกัน เพื่อลดหรือขจัดอันตรำยเหล่ำนั้น หลักกำรที่ 2 กำรกำหนดจุดควบคุมวิกฤต ในกระบวนกำรผลิต จุดควบคุมวิกฤต หมำยถึง ตำแหน่งวิธีกำร หรือขั้นตอนในกระบวนกำรผลิต ซึ่งหำกสำมำรถ ควบคุมให้อยู่ในค่ำ หรือลักษณะที่กำหนดไว้ได้แล้วจะทำให้มีกำรขจัดอันตรำยหรือลด กำรเกิดอันตรำยจำกผลิตภัณฑ์นั้นได้ หลักกำรที่ 3 กำรกำหนดค่ำวิกฤต ณ จุดควบคุมวิกฤต ค่ำวิกฤตซึ่งอำจเป็นค่ำตัวเลข หรือลักษณะเป้ำหมำย ของคุณภำพ ด้ำนควำมปลอดภัยที่ต้องกำรของผลผลิต ณ จุดควบคุม วิกฤต ซึ่งกำหนดขึ้นเป็นเกณฑ์สำหรับกำรควบคุม เพื่อให้แน่ใจว่ำจุดควบคุมวิกฤต อยู่ภำยใต้กำรควบคุม The Best Knowledge
  • 43. หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP มี 7 ประกำรกล่ำวคือ หลักกำรที่ 4 ทำกำรเฝ้ำระวัง โดยกำหนดขึ้น อย่ำงเป็นระบบมีแผนกำรตรวจสอบ หรือเฝ้ำสังเกตกำรณ์ และบันทึกข้อมูล เพื่อให้เชื่อมั่นได้ว่ำ กำรปฏิบัติงำน ณ จุดควบคุม วิกฤตมีกำรควบคุม อย่ำงถูกต้อง หลักกำรที่ 5 กำหนดมำตรกำรแก้ไข สำหรับข้อบกพร่อง และใช้มำตรกำรนั้นทันที กรณีที่พบว่ำ จุดควบคุมวิกฤตไม่อยู่ภำยใต้ กำรควบคุมตำมค่ำวิกฤต ที่กำหนดไว้ หลักกำรที่ 6 ทบทวนประสิทธิภำพ ของระบบ HACCP ที่ใช้งำนอยู่ รวมทั้งใช้ผล กำรวิเครำะห์ทดสอบ ทำงห้องปฏิบัติกำรเพื่อประกอบกำรพิจำรณำ ในกำรยืนยันว่ำ ระบบ HACCP ที่ใช้อยู่นั้นมีประสิทธิภำพเพียงพอ ที่จะสร้ำงควำมเชื่อมั่นในควำมปลอดภัย ของผลิตภัณฑ์ได้ หลักกำรที่ 7 จัดทำระบบบันทึก และเก็บรักษำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกระบวนกำรผลิต และผลิตภัณฑ์อำหำรแต่ละชนิดไว้เพื่อเป็นหลักฐำน ให้สำมำรถค้นได้เมื่อจำเป็น The Best Knowledge
  • 44. จำกหลักกำรทั้ง 7 ประกำรนี้ ทำให้ต้องมีกำรจัดทำ วิธีปฏิบัติในรำยละเอียด ให้เหมำะสมกับแต่ละผลิตภัณฑ์ แต่ละกระบวนกำรผลิต แต่ละสถำนที่ผลิต เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรป้องกันอันตรำยอย่ำงเต็มที่ วิธีกำรที่ใช้ ในระบบ HACCP เป็นกระบวนกำร ทำงวิทยำศำสตร์มี กำรศึกษำรวบรวม วิเครำะห์ข้อมูล ตัดสินใจ วำงแผน ดำเนินงำนตำมแผน ติดตำมกำกับดูแลกำรปฏิบัติงำนในระบบ แก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้น และทบทวน ประสิทธิภำพของระบบอยู่ตลอดเวลำ จึงจำเป็นที่ผู้ประกอบกำรผลิตอำหำรจะ ใช้ระบบนี้ ต้องมีกำรจัดตั้งทีมงำนซึ่งประกอบด้วยผู้มีควำมรู้ ควำมชำนำญ หลำยสำขำ เช่น ด้ำนวิทยำศำสตร์กำรอำหำร วิศวกรรมโรงงำน สุขำภิบำล อำหำร หรืออื่น ๆ ตำมควำมจำเป็น เพื่อทำหน้ำที่พัฒนำระบบ กำรจัดทำ เอกสำร และตรวจประเมินผลกำรปฏิบัติงำน หลักกำรสำคัญของระบบ HACCP The Best Knowledge
  • 46. TQM (Total Quality Management) คือ ระบบกำรจัดกำรที่ทำให้องค์กรยั่งยืน โดยทุกคนมีส่วนร่วม The Best Knowledge
  • 48. ควำมสำคัญของกำรนำ TQM มำใช้ และปัจจัยแห่งควำมสำเร็จ กำรสร้ำงคนที่ เรียนรู้เป็น คิดเป็น ทำงำนเป็น มีภำวะผู้นำ มีพลังแรงจูงใจภำยใน และมีค่ำนิยมคุณภำพ จุดมุ่งหมำยที่สำคัญของระบบบริหำรแบบ TQM และพนักงำนในองค์กร จะเป็นพนักงำนผู้ทรงภูมิ มีควำมรู้ในกำรทำงำน หรือที่เรียกกันว่ำ “Knowledge Worker” กำรเข้ำร่วมอย่ำงจริงจังของพนักงำนทั่วทั้งองค์กร จะเกิดขึ้นได้ ต่อเมื่อผู้บริหำรระดับสูงแสดงออกซึ่งควำมมุ่งมั่นตั้งใจอันแน่วแน่ ให้เป็นที่ประจักษ์รับรู้ได้อย่ำงเป็นรูปธรรมและอย่ำงชัดเจนแล้วเท่ำนั้น The Best Knowledge
  • 49. 1. สร้ำงควำมพึงพอใจให้กับลูกค้ำ 2. ทุกคนมีส่วนร่วม 3. ใช้ระบบบริหำรคุณภำพที่ประกอบด้วยปรัชญำ แนวคิด และวิธีกำรอย่ำงชัดเจน หลักกำร TQM 3 ประกำร ประทับใจ ดึงดูดใจพึงพอใจ ลูกค้า จงรักภักดี (Brand Royalty ลูกค้า The Best Knowledge
  • 50. NEXT PROCESS IS OUR CUSTOMER ทำงำน ตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป PROCESS ORIENTATION เอำใจใส่ ในกำรปรับปรุงกระบวนกำร STANDARDIZATION จัดทำ มำตรฐำน Prevention เน้น กำรป้องกันมิให้ปัญหำเกิดซ้ำ P-D-C-A ปรับปรุง คุณภำพงำนให้ตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำ หรือกระบวนกำรถัดไป Market-In ผลิต สินค้ำ/บริกำรตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ MANAGEMENT BY FACTตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลจริง TQM Concept The Best Knowledge
  • 51. 1. Market-In ผลิต สินค้ำ/บริกำรตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ กำรที่เรำจะผลิตสินค้ำ/บริกำรใดๆ ขึ้นมำ เพื่อให้ลูกค้ำซื้อ หรือใช้บริกำรของเรำ เรำจะต้องมีกำรรับฟังเสียงจำกลูกค้ำก่อน แล้วนำเสียงหรือควำมต้องกำรของลูกนั้น มำออกแบบให้ตรงตำม ควำมต้องกำรของลูกค้ำ แล้วผลิตให้ตรงตำมแบบ แล้วทำกำร ส่งมอบให้ลูกค้ำ พร้อมรับฟังกำรป้อนข้อมูลกลับจำกลูกค้ำ แล้วนำข้อมูลนั้นไปทำกำรออกแบบ และผลิตสินค้ำ/บริกำรให้กับ ลูกค้ำในครั้งต่อๆไป (กำรทำวิจัยผู้บริโภค / กำรประเมินควำมพึงพอใจของลูกค้ำ CS) TQM Concept The Best Knowledge
  • 52. 2. NEXT PROCESS IS OUR CUSTOMER ทำงำนตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป เรำจะทำงำนตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป โดยหำควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป แล้วมำกำหนดเป็น ดัชนีวัดผลงำน (kqi, kQI) / (KPI) ของเรำ แล้วทำงำนให้ได้ตรง ตำมควำมต้องกำรของกระบวนกำรถัดไป The Best Knowledge
  • 53. ไม่พึ่งพำกำรตรวจสอบขั้นสุดท้ำย(Final Inspection) เรำต้องเอำใจใส่ปรับปรุง กระบวนกำรปฏิบัติงำน (Process Oriented) โดยทำให้ถูกตั้งแต่แรก (จัดทำคู่มือ ปฏิบัติงำน=QWP→QWI→QWF) แล้วเลือกมุ่งเน้นปฏิบัติ ควบคุมกิจกรรมที่สำคัญๆ ที่ส่งผลให้กิจกรรมต่ำงๆ ในกระบวนกำรนั้นบรรลุผล และพร้อมนำ QWP,QWI นั้นมำตั้งเป็นมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน(Standardization) เพื่อรักษำผลกำรปรับปรุงมิให้ถดถอย วิถีชีวิตกำรทำงำนในกระบวนกำร TQM นั้น จะใช้วิธีกำรควบคุมคุณภำพ โดยทำงำนให้ถูกต้อง ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของงำน (quality at the source) และในขั้นตอนลำดับต่อ ๆ ไป ทุกขั้นตอน 3. PROCESS ORIENTATION เอำใจใส่ ในกำรปรับปรุงกระบวนกำร The Best Knowledge
  • 54. WP = ระเบียบปฏิบัติงำน (Work Procedure) QWP = ระเบียบปฏิบัติงำนคุณภำพ (Quality Work Procedure) WI = วิธีปฏิบัติงำน (Work Instruction) QWI = วิธีปฏิบัติงำนคุณภำพ (Quality Work Instruction) FM = แบบฟอร์ม (Form) QWF = แบบฟอร์มงำนคุณภำพ (Quality Work Form) ชื่อประเภทเอกสำรคุณภำพ ISO กับ TQM The Best Knowledge
  • 55. 4. STANDARDIZATION จัดทำมำตรฐำน แนวคิดนี้ต้องกำรบอกพวกเรำว่ำ หำกเรำสำมำรถรู้ว่ำอะไร เป็นปัจจัยในกำรทำงำนที่เหมำะสม และนำไปสู่ผลของกำร ทำงำนที่ดีแล้ว เพื่อรักษำสภำพนั้นไว้ให้ดีอยู่เสมอ เรำต้อง กำหนดเป็นมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน โดยจัดทำคู่มือกำรปฏิบัติ ทำงำน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงำน หรือพนักงำนใหม่ได้ทำกำรศึกษำ วิธีทำงำนที่ถูกต้องตำมคู่มือกำรปฏิบัติงำนที่เรำเขียน The Best Knowledge
  • 56. ไม่แก้ไขปัญหำงำนเฉพำะหน้ำ แต่เน้นแก้ไขปัญหำในเชิงป้องกัน (Prevention) โดยแก้ปัญหำที่รำกเหง้ำของปัญหำ (ค้นหำลักษณะ ปัญหำ อำกำรสุดท้ำยของปัญหำ และระบุสำเหตุ และแก้ไข) 5. Prevention เน้นกำรป้องกันมิให้ปัญหำเกิดซ้ำ The Best Knowledge
  • 57. ไม่ทำงำนที่ได้รับมอบหมำยด้วยวิธีกำรเดิมๆ จะต้องปรับปรุง คุณภำพงำนให้ตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำด้วยกำร หมุนวงล้อ PDCA อย่ำงต่อเนื่อง 6. P-D-C-A ปรับปรุงคุณภำพงำนให้ตอบสนองควำมต้องกำร ของลูกค้ำ หรือกระบวนกำรถัดไป The Best Knowledge
  • 58. ในกำรตัดสินใจ แก้ไขปัญหำ เรำจะไม่ใช้ควำมรู้สึก เรำจะใช้ ข้อมูลจริง โดยไปดู พื้นที่จริง ของจริง สถำนกำรณ์จริง (3G) ในกำรปฏิบัติงำน มำเป็นข้อมูลประกอบ ในกำรตัดสินใจ พร้อมพิจำรณำวิเครำะห์ปัญหำโดยอำศัยหลักกำรทำงทฤษฎี และระเบียบกฎเกณฑ์ลงไปเป็นพื้นฐำนในกำรปฏิบัติด้วย 7. MANAGEMENT BY FACT ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลจริง The Best Knowledge
  • 59. Genba : สถำนที่จริง Genbutsu : วัสดุ สิ่งของ ตัวจริง ภำพจริง Genjitsu : สถำนกำรณ์จริง สิ่งแวดล้อมจริง 3 G รู้จักกันอย่ำงแพร่หลำย ในฐำนะกระบวนกำร วิเครำะห์กำรบริหำรจัดกำร ด้วยกำรหำข้อมูลจำกแหล่ง ที่เหตุกำรณ์จริงเกิดขึ้น ก่อนจะตัดสินใจในกำร แก้ปัญหำ 3 G G มำจำกคำว่ำ GEN เป็นเสียงในภำษำญี่ปุ่น แปลว่ำ แหล่งกำเนิด ต้นตอ เป็นจริง มีอยู่จริง เห็นได้ สัมผัสได้ฯลฯ The Best Knowledge
  • 61. PDCA วงจรบริหำรงำนคุณภำพ Dr. Deming (ดร.เดมมิ่ง) ได้นำวงจรของWalter Shewhart (วอล์ทเตอร์ ซิวฮำร์ท) มำปรับปรุงและอธิบำยให้เห็นเป็นรูปธรรม ซึ่งWalter Shewhart ได้เขียนเกี่ยวกับShewhart Cycle ไว้ในหนังสือของเขำในปี ค.ศ.1939 โดยที่เดมมิ่งเรียกวงจรนี้ว่ำ Walter Shewhart หรือ PDSA Cycle ส่วนในประเทศญี่ปุ่นรู้จักกันในนำม Deming Cycle และคนทั่วไปนิยม เรียกว่ำ PDCA Cycle ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลัก ๆดังนี้ PDSA Cycle P = Plan หมำยถึง กำรวำงแผนเพื่อปรับปรุงคุณภำพ D = Do หมำยถึง กำรลงมือปฏิบัติตำมแผน S = Study หมำยถึง กำรประเมินผลย้อนกลับเพื่อยืนยันแผน หรือเพื่อปรับแผน A = Act หมำยถึง ทำเป็นแผนถำวร หรือศึกษำเพื่อปรับปรุงแผน The Best Knowledge
  • 62. PDCA Cycle P = Plan หมำยถึง กำรวำงแผนเพื่อปรับปรุงคุณภำพ D = Do หมำยถึง กำรปฏิบัติตำมขั้นตอนในแผนงำน C = Check หมำยถึง กำรตรวจสอบผลกำรดำเนินงำน A = Action หมำยถึง กำรปรับปรุงแก้ไขส่วนที่มีปัญหำ The Best Knowledge
  • 63. ควำมหมำยของ PDCA Plan กำรวำงแผน (Plan: P) เป็นส่วนประกอบของวงจรที่มีควำมสำคัญ เนื่องจำก กำรวำงแผนจะเป็นจุดเริ่มต้นของงำนและเป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้กำรทำงำน ในส่วนอื่นเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิผล กำรวำงแผนในวงจรเดมมิ่ง เป็นกำรหำ องค์ประกอบของปัญหำ โดยวิธีกำรระดมควำมคิด กำรเลือกปัญหำ กำรหำสำเหตุ ของปัญหำ กำรหำวิธีกำรแก้ปัญหำ กำรจัดทำตำรำงกำรปฏิบัติงำน กำรกำหนด วิธีดำเนินกำร กำรกำหนดวิธีกำรตรวจสอบและประเมินผล DO กำรปฏิบัติตำมแผน (Do: D) เป็นกำรลงมือปฏิบัติตำมแผนที่กำหนดไว้ใน ตำรำงกำรปฏิบัติงำน ทั้งนี้ สมำชิกกลุ่มต้องมีควำมเข้ำใจถึงควำมสำคัญและควำม จำเป็นในแผนนั้นๆ ควำมสำเร็จของกำรนำแผนมำปฏิบัติต้องอำศัยกำรทำงำน ด้วยควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดีจำกสมำชิก ตลอดจนกำรจัดกำรทรัพยำกรที่ จำเป็นต้องใช้ในกำรปฏิบัติงำนตำมแผนนั้นๆ ในขั้นตอนนี้ขณะที่ลงมือปฏิบัติจะมี กำรตรวจสอบไปด้วย หำกไม่เป็นไปตำมแผนอำจจะต้องมีกำรปรับแผนใหม่ และ เมื่อแผนนั้นใช้งำนได้ก็นำไปใช้เป็นแผนและถือปฏิบัติต่อไป The Best Knowledge
  • 64. Check กำรตรวจสอบ (Check: C) หมำยถึง กำรตรวจสอบดูว่ำ เมื่อปฏิบัติงำนตำมแผน หรือกำรแก้ปัญหำงำนตำมแผนแล้ว ผลลัพธ์เป็นอย่ำงไร สภำพปัญหำได้รับกำรแก้ไขตรงตำม เป้ำหมำยที่กลุ่มตั้งใจหรือไม่ กำรไม่ประสบผลสำเร็จอำจจะ เกิดจำกสำเหตุหลำยประกำร เช่น ไม่ปฏิบัติตำมแผน ควำม ไม่เหมำะสมของแผนกำรเลือกใช้เทคนิคที่ไม่เหมำะสม เป็นต้น Action กำรดำเนินกำรให้เหมำะสม (Action : A) เป็นกำรกระทำ ภำยหลังที่กระบวนกำร 3 ขั้นตอนตำมวงจรได้ดำเนินกำร เสร็จแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นกำรนำเอำผลจำกขั้นกำรตรวจสอบ (C) มำดำเนินกำรให้เหมำะสมต่อไป ควำมหมำยของ PDCA The Best Knowledge
  • 65. วงจร PDCA ที่สมบูรณ์จะเกิดขึ้นเมื่อเรำนำผลที่ได้จำกขั้นตอนกำร ดำเนินกำรที่เหมำะสม (A)มำดำเนินกำรให้เหมำะสมในกระบวนกำรวำงแผนอีกครั้ง หนึ่ง (P) และเป็นวงจรอย่ำงนี้เรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด จนกระทั่งเรำสำมำรถใช้วงจรนี้ กับทุกกิจกรรมที่คล้ำยกันได้อย่ำงเป็นปกติธรรมดำไม่ยุ่งยำกอีกต่อไป จะเห็นว่ำ วงจร PDCA จะไม่ได้หยุดหรือจบลง เมื่อหมุนครบรอบ แต่วงล้อ PDCA จะหมุนไปข้ำงหน้ำเรื่อยๆ โดยจะ ทำงำนในกำรแก้ไขปัญหำในระดับที่สูงขึ้น ซับซ้อนขึ้น และยำกขึ้น หรือเป็นกำร เรียนรู้ที่ไม่สิ้นสุด ซึ่งสอดคล้องกับปรัชญำของกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง (Continuous Improvement) ปัจจุบันทั้งแรงงำนปฏิบัติกำร แรงงำนที่มีควำมรู้ และผู้บริหำรชำวไทยส่วนใหญ่จะรู้จัก PDCA มำกขึ้นกว่ำในอดีต ถึงแม้จะไม่ เข้ำใจรำยละเอียดและขั้นตอนกำรดำเนินงำนอย่ำงสมบูรณ์ แต่ก็ช่วยให้กำรพัฒนำ คุณภำพอย่ำงต่อเนื่องมีประสิทธิภำพ และเห็นผลที่เป็นรูปธรรมมำกขึ้น อย่ำงไรก็ดี หัวใจสำคัญของวงจร Deming ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ PDCA เท่ำนั้น แต่อยู่ที่คนที่มี คุณภำพ และเข้ำใจคุณภำพอย่ำงแท้จริง หรือที่เรียกว่ำ คุณภำพอยู่ที่ใจ (Quality at Heart) ที่พร้อมจะเปิดใจเรียนรู้ และพัฒนำตนเองอยู่ตลอดเวลำ อย่ำงมุ่งมั่น และไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค The Best Knowledge
  • 67. ประโยชน์ของ PDCA สถำบันเพิ่มผลผลิตแห่งชำติ. (2552) ได้กล่ำวถึงประโยชน์ของ PDCA ไว้ดังนี้ 1. เพื่อป้องกัน 1.1 กำรนำวงจร PDCA ไปใช้ ทำให้ผู้ปฏิบัติมีกำรวำงแผน กำรวำงแผนที่ดี ช่วยป้องกันปัญหำที่ไม่ควรเกิด ช่วยลดควำมสับสนในกำรทำงำน ลดกำรใช้ ทรัพยำกรมำกหรือน้อยเกินควำมพอดี ลดควำมสูญเสียในรูปแบบต่ำงๆ 1.2 กำรทำงำนที่มีกำรตรวจสอบเป็นระยะ ทำให้กำรปฏิบัติงำนมีควำม รัดกุมขึ้น และแก้ไขปัญหำได้อย่ำงรวดเร็วก่อนจะลุกลำม 1.3 กำรตรวจสอบที่นำไปสู่กำรแก้ไขปรับปรุง ทำให้ปัญหำที่เกิดขึ้นแล้ว ไม่เกิดซ้ำ หรือลดควำมรุนแรงของปัญหำ ถือเป็นกำรนำควำมผิดพลำด มำใช้ให้เกิดประโยชน์ The Best Knowledge
  • 68. 2. เพื่อแก้ไขปัญหำ 2.1 ถ้ำเรำประสบสิ่งที่ไม่เหมำะสม ไม่สะอำด ไม่สะดวก ไม่มีประสิทธิภำพ ไม่ประหยัด เรำควร แก้ปัญหำ 2.2 กำรใช้ PDCA เพื่อกำรแก้ปัญหำ ด้วยกำรตรวจสอบว่ำมีอะไรบ้ำงที่ เป็นปัญหำ เมื่อหำปัญหำได้ ก็นำมำวำงแผนเพื่อดำเนินกำรตำมวงจร PDCA ต่อไป 3. เพื่อปรับปรุง “ทำวันนี้ให้ดีกว่ำเมื่อวำนนี้ และพรุ่งนี้ต้องดีกว่ำวันนี้” PDCA เพื่อกำร ปรับปรุง คือไม่ต้องรอให้เกิดปัญหำ แต่เรำต้องเสำะแสวงหำสิ่งต่ำงๆหรือ วิธีกำรที่ดีกว่ำเดิมอยู่เสมอ เพื่อยกระดับคุณภำพชีวิตและสังคม เมื่อเรำคิด ว่ำจะปรับปรุงอะไร ก็ให้ใช้วงจร PDCA เป็นขั้นตอนในกำรปรับปรุง ข้อสำคัญ ต้องเริ่ม PDCA ตัวเองก่อนมุ่งไปที่คนอื่น The Best Knowledge
  • 69. โดยปกติเรำสำมำรถใช้วงจร PDCA เป็นเครื่องมือในกำรดำเนินงำน 2 ลักษณะดังนี้ 1. ทุกครั้งที่เริ่มต้นทำกิจกรรม PDCA จะช่วยให้กิจกรรมมีกำรปรับปรุงอย่ำงต่อเนื่อง กำรใช้งำน PDCA ในแนวทำงนี้เริ่มจำกกำรตั้งเป้ำหมำยด้วยกำรวำงแผน (P) และ นำแผนไปสู่กำรปฏิบัติ (D) หลังจำกนั้นก็มีกำรตรวจสอบประเมินผลกำรปฏิบัติตำมแผน (C) ว่ำผลที่ได้นั้นเป็นไปตำมที่คิดไว้มำกน้อยเพียงใด และขั้นตอนสุดท้ำยคือ นำผลที่ได้จำกกำร ประเมินไปดำเนินกำรต่อตำมควำมเหมำะสม (A) หำกผลกำรปฏิบัติเป็นไปตำมแผนที่ตั้งไว้ก็จะจัดทำเป็นมำตรฐำนวิธีกำรดำเนินกำร เพื่อทำ กิจกรรมลักษณะเดียวกันต่อไป หำกว่ำผลกำรดำเนินกำรไม่เป็นไปตำมแผนที่ตั้งไว้ อำจจะจำเป็นต้องคิดปรับเปลี่ยนบำง อย่ำงเช่น เปลี่ยนแผน เปลี่ยนวิธีดำเนินกำร เป็นต้น 2. เมื่อต้องกำรแก้ปัญหำที่เกิดขึ้น กำรใช้งำน PDCA ในแนวทำงนี้เริ่มต้นจำกกำรระบุปัญหำ และคิดค้นวิธีกำรแก้ไขปัญหำด้วยกำรกำหนดเป็นแผน (P) แล้วลงมือแก้ไขปัญหำตำมแผน (D) ในกำรแก้ไขปัญหำอำจจะสำเร็จหรือไม่สำเร็จก็ได้ซึ่งจะทรำบได้ด้วยกำรตรวจสอบ ผลลัพธ์และประเมินวิธีแก้ปัญหำที่เลือกใช้ (C) และสุดท้ำยเมื่อตรวจสอบและประเมินผลแล้ว หำกวิธีกำรแก้ไขปัญหำนั้นใช้ได้ผลแก้ปัญหำนั้นได้ ก็นำวิธีกำรนั้นมำเพื่อใช้แก้ไขปัญหำที่มี ลักษณะเดียวกันในอนำคตต่อไป หำกวิธีกำรแก้ไขปัญหำนั้นไม่ได้ผลก็จะมีกำรคิดหำวิธีกำรแก้ไขปัญหำแบบใหม่มำใช้ต่อไป The Best Knowledge
  • 71. ไคเซ็น หรือ KAIZEN ควำมหมำย ไคเซ็น หรือ KAIZEN เป็นคำในภำษำญี่ปุ่น แปลตรงตัวได้ว่ำ "กำรแก้ไขสิ่งที่ไม่ดีให้ดีขึ้น" หรือ "กำรทำให้ดีขึ้น" แต่ในทำงปฏิบัตินิยมใช้ในควำมหมำยที่จำเพำะเจำะจงกว่ำว่ำคือ "กำรปรับปรุงให้ดีขึ้นทีละเล็กละน้อย“ จุดมุ่งหมำย กำรเขียนรำยงำนผลงำนไคเซ็น กำรเขียนรำยงำนผลงำนไคเซ็นนั้น จะกระทำหลังจำกที่ปฏิบัติได้ผลแล้ว และ มีจุดมุ่งหมำยเพื่อ สรุปทบทวนควำมรู้ของตนเองและแบ่งปันให้แก่ผู้อื่น วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของ "KAIZEN" คือ กำรพัฒนำพนักงำนให้รู้จักคิด ตระหนักรู้ถึงปัญหำ รู้จักค้นคว้ำหำควำมรู้ มำปรับปรุงงำน ในควำมรับผิดชอบของตนเองให้ดีขึ้นอยู่เสมอ ส่วนประสิทธิผลของ กำรปรับปรุงนั้นเป็นผลพลอยได้ ที่ต่อเนื่องตำมมำเท่ำนั้น The Best Knowledge
  • 72. ควำมเข้ำใจผิดเกี่ยวกับ “ไคเซ็น” 1. เป็นกิจกรรมเสริมที่แยกต่ำงหำกจำกงำนประจำ ตรงกันข้ำม เป็นกำรทำให้ งำนประจำตำมหน้ำที่บรรลุวัตถุประสงค์ได้ดียิ่งขึ้น 2. จะทำให้พนักงำนต้องทำงำนเพิ่มขึ้น ตรงกันข้ำม ทำงำนน้อยลง เพรำะเป็น กำรคิดค้นหำ และวิธีกำรทำงำนใหม่ๆ มำแทนวิธีกำรทำงำนแบบเดิม 3. คิดว่ำไคเซ็น ใช้ได้ในงำนโรงงำนอุตสำหกรรมเท่ำนั้น ในควำมเป็นจริง สำมำรถประยุกต์ใช้กับงำนทุกประเภท ไม่ว่ำ กำรตลำด ขำย ธุรกำร บุคคล บริหำร วำงแผน งำนสำรสนเทศ ฯลฯ 4. คิดว่ำ ไคเซ็นนั้น ทำเพื่อประโยชน์ของบริษัท ตรงกันข้ำม ไคเซ็นทำเพื่อ ประโยชน์ของพนักงำนเอง ทั้งทำงำนสะดวกขึ้น และด้ำนกำรพัฒนำควำมรู้ และทัศนคติของพนักงำน The Best Knowledge
  • 73. หน้ำที่ต่ำงๆ กำรบริหำร กำรปรับปรุงงำนแบบ “ไคเซ็น” พนักงาน ผู้บังคับบัญชาระดับต้น คณะกรรมการส่งเสริมทีคิวเอ็ม เข ้ารับการฝึกอบรม เข ้ารับการฝึกอบรม และ ฝึกอบรมลูกน้อง หาความรู้แนวคิดที่ถูกต ้อง โดยการ จัดฝึกอบรม สังเกตเห็นปัญหา สืบสาว สาเหตุ คิดค ้นวิธีปรับปรุงงาน คัดเลือกวิธีที่ดีที่สุด ทดลอง ปฏิบัติ ให ้กาลังใจ ให ้คาชี้แนะ ให ้คาปรึกษา หากไม่ดีขึ้น กลับไปค ้นหา สาเหตุ หาวิธีใหม่ ทดลอง ตรวจสอบผล หากดีขึ้น เขียนรายงานผลของ การไคเซ็น ตรวจและให ้คาชึ้แนะ รวบรวมพิจารณา คัดเลือกผลงาน ไคเซ็น ดีเด่น ประจาเดือน ประจาปี แจกรางวัล ประชาสัมพันธ์ และ ประกาศเกียรติคุณ ทบทวนปรับปรุงแนวทางการ ส่งเสริมกิจกรรมไคเซ็นThe Best Knowledge
  • 74. หลักกำรสำหรับออกแบบใหม่หรือปรับปรุงกระบวนกำรปฏิบัติงำนให้มี ประสิทธิภำพ/ประสิทธิผลสูงขึ้น กำรใช้หลักกำรไคเซ็น ระบุว่ำมี 7 ประกำร ซึ่งกล่ำวได้ว่ำเป็นวิธีกำรเชิงระบบ (System Approach ) หรือปรัชญำในกำรสร้ำงคุณภำพงำนของเดมมิ่ง ที่เรียกว่ำ PDCA ( Plan – Do – Cheek – Action ) ที่นำไปใช้หรือประยุกต์ใช้ในทุกงำนทุก กิจกรรม หรือ ทุกระบบกำรปฏิบัติงำนนั่นเอง ไม่ว่ำงำนนั้นจะเป็นงำนเล็กหรืองำน ใหญ่ อันประกอบด้วย 1. ค้นหำปัญหำ และกำหนดหัวข้อแก้ไขปัญหำ 2. วิเครำะห์สภำพปัจจุบันของปัญหำเพื่อรู้สถำนกำรณ์ของปัญหำ 3. วิเครำะห์หำสำเหตุ 4. กำหนดวิธีกำรแก้ไข สิ่งที่ต้องระบุคือ ทำอะไร ทำอย่ำงไร ทำเมื่อไร 5. ใครเป็นคนทำ และทำอย่ำงไร 6. ลงมือดำเนินกำร 7. ตรวจดูผล และผลกระทบต่ำง ๆ และกำรรักษำสภำพที่แก้ไขแล้ว โดยกำรกำหนดมำตรฐำนกำรทำงำน The Best Knowledge
  • 75. หลักกำร ECRS ในกำรปรับปรุงงำน กำรเปลี่ยนแปลงบำงส่วนของงำนนั้น หมำยถึง กำรพิจำรณำเปลี่ยนแปลงงำน ในบำงเรื่องบำงอย่ำงที่สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ E = Eliminate หมำยถึง กำรตัดขั้นตอนกำรทำงำนที่ไม่จำเป็น ในกระบวนกำร ออกไป C = Combine หมำยถึง กำรรวมขั้นตอนกำรทำงำนเข้ำด้วยกัน เพื่อประหยัดเวลำ หรือแรงงำนในกำรทำงำน R = Rearrange หมำยถึง กำรจัดลำดับงำนใหม่ให้เหมำะสม S = Simplify หมำยถึง ปรับปรุงวิธีกำรทำงำน หรือสร้ำงอุปกรณ์ช่วยให้ทำงำน ได้ง่ำยขึ้น The Best Knowledge
  • 76. แนวทำงบริหำรกำรปรับปรุงงำนแบบไคเซ็น ระบบข้อเสนอแนะแบบเดิม ระบบปฏิบัติกำรปรับปรุงงำนแบบไคเซ็น วัตถุประสงค์ของระบบ รับข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท วัตถุประสงค์ของระบบ ทบทวนและปรับปรุง “วิธีกำรทำงำน” ของ “ตนเอง” ช่องทำงกำรปรับปรุง เขียนใส่กล่องรับข้อเสนอแนะ ช่องทำงกำรปรับปรุง ปรึกษำหัวหน้ำ -> ทดลองปฏิบัติ -> เขียนรำยงำน กำรค้นพบปัญหำและคิดค้นไอเดีย ชี้ให้เห็นปัญหำของผู้อื่น เสนอแนะให้ผู้อื่นปฏิบัติ รับทรำบปัญหำและไอเดียกำรปรับปรุงจำกผู้อื่น กำรค้นพบปัญหำและคิดค้นไอเดีย สังเกตพบปัญหำของตนเองด้วยตัวเอง คิดหำวิธีกำรปรับปรุงด้วยตัวเอง หรือ ปรึกษำ หัวหน้ำ กำรลงมือปฏิบัติ ผมพูด คุณทำ กำรลงมือปฏิบัติ คิดหำวิธีกำรปรับปรุงเอง ปฏิบัติด้วยตนเอง กำรให้รำงวัล พิจำรณำว่ำ ได้รำงวัล หรือ ไม่ได้ เป็นค่ำตอบแทนแลกเปลี่ยนกับไอเดีย กำรให้รำงวัล พิจำรณำเอง ปฏิบัติเอง พัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเอง กำรชมเชยจำกเพื่อนร่วมงำน ปัญหำและอุปสรรค เป็นเวทีระบำยควำมไม่พอใจต่อผู้อื่นและบริษัท มีข้อเสนอแนะไร้สำระมำกมำยเพรำะไม่ต้องทำเอง ทุกคนเบื่อหน่ำยในที่สุด ปัญหำและอุปสรรค ทำแล้วสนุก ใครทำมำก ก็ได้ประโยชน์มำก ยิ่งมีผลงำนไคเซ็นมำกเท่ำใด ก็ยิ่งดี ไม่มีใครว่ำ เกิดผลในทำงปฏิบัติทันที ไม่ต้องรอกำรอนุมัติให้ทำ The Best Knowledge
  • 77. LOGO The Best Knowledge By:Jktom The Best Knowledge