SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 16
Baixar para ler offline
สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการก่อตั้งอาเซียน สัญลักษณ์ของอาเซียน วัตถุประสงค์
ในการก่อตั้งอาเซียน คาขวัญของอาเซียน โครงสร้างองค์กรของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน
วิถีอาเซียนปริญญาอาเซียน ประชาคมอาเซียน และเป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
หน่วยที่ 1 รู้จักอาเซียน
1. ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
2. สัญลักษณ์ของอาเซียน
3. วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน
4. คาขวัญของอาเซียน
5. โครงสร้างองค์กรของอาเซียน
6. กฎบัตรอาเซียน
7. วิถีอาเซียน
8. ปริญญาอาเซียน
9. ประชาคมอาเซียน
10. เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
จานวน 4 ชั่วโมง
ผลการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้
เวลาที่ใช้
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 2
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง รู้จักอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คาแนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก
ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ
ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ
1. อาเซียน มีชื่อเต็มว่าอย่างไร
ก. สมาคมประชาชาติแห่งทวีปเอเชีย
ข. องค์กรแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออก
ค. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก
ง. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. คาว่า ASEAN มาจากชื่อเต็มว่าอย่างไร
ก. Asia South East Association Nations
ข. Association of Southeast Asia Nations
ค. Association for South East Asia National
ง. Asia South East Association for National
3. บุคคลสาคัญของประเทศไทยในข้อใดที่ถือว่าเป็นผู้ก่อตั้งอาเซียน
ก. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
ข. นายศุภชัย พานิชยศักดิ์
ค. ดร.มหาเดย์ มูฮัมหมัด
ง. ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
4. การลงนามในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่าอย่างไร
ก. กฎบัตรกรุงเทพ
ข. กฎบัตรอาเซียน
ค. ปฏิญญากรุงเทพ
ง. ปฏิญญาเอเชียตะวันออก
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 3
5. คาขวัญของอาเซียนคือข้อใด
ก. หนึ่งประชาคม หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งเศรษฐกิจ
ข. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
ค. หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม หนึ่งวิสัยทัศน์
ง. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาชาติ
6. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด
ก. รวง 10 ต้น
ข. รวงข้าว 11 ต้น
ค. รวงข้าว 12 รวง
ง. รวงข้าว 13 รวง
7. การประชุมประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนเรียกว่าอะไร
ก. การประชุมอาเซียนซัมมิท
ข. การประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียน
ค. การจัดการประชุมร่วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิก
ง. การประชุมที่เรียกว่า "อาเซียนบวกสาม
8. ข้อใดคือประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯทั้งหมด
ก. ไทย เมียนมาร์ เวียดนาม สิงคโปร์ มาเลเซีย
ข. ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์
ค. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ง. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย
9. สานักงานใหญ่ของอาเซียนตั้งอยู่ที่ใด
ก. กรุงฮานอย
ข. กรุงจาการ์ตา
ค. กรุงเทพมหานคร
ง. กรุงกัวลาลัมเปอร์
10. ประเทศใดที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนอันดับสุดท้าย
ข. พม่า
ก. บรูไน
ค. กัมพูชา
ง. อินโดนีเซีย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 4
หน่วยที่ 1 ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
รายวิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 (สาระเพิ่มเติม) มัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รวมเวลา 40 ชั่วโมง
…………………............................................…………………………………
ตอนที่ 1 ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
การเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนของประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ ทาให้อาเซียนมี
สมาชิกครบ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ สอดคล้องกับปฎิญญาอาเซียน
ซึ่งระบุว่า อาเซียนพร้อมรับทุกประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ที่พร้อมที่
จะรับเป้าหมาย หลักการและวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นสมาชิกภูมิภาคอาเซียนใน
ปัจจุบัน (สถิติในปี 2550) นั้น ประกอบด้วยประชากรประมาณ 567 ล้านคนมีพื้นที่
โดยรวม 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติประมาณ 1,100 พันล้าน
ดอลลาร์ และรายได้โดยรวมจากการค้าประมาณ 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ และมีสานัก
เลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) เป็นหน่วยประสานงานและอานวยความสะดวก
ในการดาเนินการตามนโยบายของผู้นาอาเซียนในด้านต่าง ๆ อานวยความสะดวกในการ
ประชุมของอาเซียนทุกระดับ เป็นฝ่ายเลขานุการในการประชุมอาเซียน และเสนอแนะ
โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน
ที่ตั้งของอาเซียน อยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย
วันก่อตั้งอาเซียน วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510
สมาชิกกลุ่มแรก ประเทศอินโดนีเซีย ไทย สิงคโปร์
มาเลเซียและฟิลิปปินส์
ภาษาที่ใช้ในการทางานของอาเซียน ภาษาอังกฤษ
อัตลักษณ์ของอาเซียน อาเซียนต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกัน
ของตนเองและความรู้สึก เป็นส่วนหนึ่ง
ในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน
คาขวัญของอาเซียน "One Vision, One Idenity,
One Community"
"หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์
หนึ่งประชาคม"
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 5
ตอนที่ 2 สัญลักษณ์ของอาเซียน
สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสี
ขาว สีน้าเงิน โดยมีความหมายดังนี้
ตราสัญลักษณ์ สัญลักษณ์เป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด หมายถึง การที่ประเทศใน
ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและ ความเป็นน้าหนึ่ง
ใจเดียวกัน พื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน้าเงิน ซึ่งแสดงถึงความ เป็นเอกภาพ มี
ตัวอักษรคาว่า "asean" สีน้าเงินอยู่ใต้ภาพ อันแสดงถึง ความมุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกันเพื่อ
ความมั่นคง สันติภาพ เอกภาพ และ ความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมด
ที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียนเป็นสีสาคัญที่ปรากฏในธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิก
อาเซียน
ต้นข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ
สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึงความเจริญรุ่งเรือง
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
ธงอาเซียน ธงอาเซียนแสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และพลวัติ
ของอาเซียน สีของธงได้แก่ น้าเงิน แดง ขาว และเหลือง ซึ่งแสดงถึง สีหลักในธงชาติ
ของบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด
สีน้าเงิน แสดงถึงสันติภาพและเสถียรภาพ แดงบ่งชี้ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
ขาว แสดงความบริสุทธิ์ เหลืองเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญรุ่งเรือง
รวงข้าว แสดงถึงความใฝ่ฝันของบรรดาผู้ก่อตั้งอาเซียน ให้มีอาเซียนที่ประกอบด้วย
บรรดาประเทศทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผูกพันกันอย่าง
มีมิตรภาพและเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
วงกลม แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 6
ตอนที่ 3 วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน
ประชาคมอาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมืองและความ
เจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลก
มีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความ
ร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการ
ดาเนินงานในด้านเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุ ประสงค์ 4 ด้านคือ
1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base)
โดยจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการ
เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น
2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้
ความสาคัญกับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบาย
การแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ภาษีและการพัฒนา
โครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน)
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม และการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของ
อาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน
วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน
วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration)
มี 7 ประการ ดังนี้
1) ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม
2) ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
3) ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และ
ด้านการบริหาร
4) ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย
5) ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม
การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต
6) ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
7) ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 7
ตอนที่ 4 คาขวัญของอาเซียน
คาขวัญของอาเซียน
ภาษาสากล "One Vision, One Identity, One Community"
ภาษาไทย “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม”
ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยและประเทศในแถบอาเซียน รวมทั้งหมด 10 ประเทศ
ประกอบด้วย ประเทศบรูไน พม่า กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์
ไทย และเวียดนาม ก็จะทาการรวมตัวเป็น "ประชาคมอาเซียน" ความร่วมมือของเหล่า
ประเทศสมาชิกที่จะผลักดันให้เกิดประโยชน์ต่อภูมิภาคอย่างมากมาย
ทั้งนี้เพื่อให้คุณผู้อ่านได้เตรียมความพร้อมกับการร่วมประชาคมอาเซียนกันมาก
ขึ้น ทางกระปุกดอทคอมได้นาข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนมาฝากอีกเช่นเคย โดยสิ่งที่เรานามา
ฝากในครั้งนี้ก็คือเรื่องของ "วิสัยทัศน์อาเซียน" เพื่อให้ชาติสมาชิกอาเซียนเข้าใจตรงกันถึง
แนวทางและจุดมุ่งหมายที่จะให้อาเซียนเป็นไปในอนาคต
วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (The ASEAN Vision 2020) ที่ได้รับการรับรอง
จากที่ประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการครั้งที่ 2 เมื่อเดือน ธันวาคม
พ.ศ.2540 ในโอกาสครบรอบ 30 ปีของการจัดตั้งอาเซียน โดยที่ประชุมเห็นชอบต่อ
วิสัยทัศน์ในการให้อาเซียนเป็น
1. วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (A concert of Southeast
Asian Nations)
2. การมุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก (An Outward-Looking ASEAN)
3. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มั่นคง และรุ่งเรือง เป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาอย่าง
มีพลวัต (A Partnership in Dynamic Development)
4. การเป็นชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร (A Community of Caring Societies)
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 8
ตอนที่ 5 โครงสร้างองค์กรของอาเซียน
เอกสารหลักที่กาหนดโครงสร้างองค์กรของอาเซียน ไว้ในหมวดที่ 4 ดังนี้
1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
(ASEAN Summit) ประกอบด้วย ประมุขหรือหัวหน้ารัฐบาล มีอานาจหน้าที่ในการกาหนด
นโยบายสูงสุดและแนวทางความร่วมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสาคัญ โดยให้
ประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียนเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม 2 ครั้งต่อปี หรือเรียก
ประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจาเป็น
2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs)
คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก
อาเซียน ทาหน้าที่เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อ
ตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดาเนินงาน
และกิจการต่างๆ ของอาเซียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมีการประชุม
อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี
3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils)
คณะมนตรีประชาคมอาเซียนประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก อันได้แก่คณะ
มนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะ
มนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็น
ผู้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอานาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทางานตาม
นโยบาย โดยเสนอรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผู้นา มีการประชุมอย่างน้อยปีละ
2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีที่เหมาะสมจากประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธาน
อาเซียน
4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial
Bodies) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านกลาโหม
ด้านการศึกษา ฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและ
ข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู่ในขอบข่ายการดาเนินงานของตน และ
เสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการรวมตัว
ของประชาคมอาเซียน
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 9
ตอนที่ 6 กฎบัตรอาเซียน
ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Association of South East Asian Nations : ASEAN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศ
ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์
ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504
เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้อง
หยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศ
มาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหา
หนทางความร่วมมือกันอีกครั้งแต่หากท่านหมายถึง “AEC ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน” สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ส.ค.
2510 หลังจากการลงนามอนุปริญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญากรุงเทพ
(The Bangkok Declaration)โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ ประกอบด้วย
1. นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย
2. ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและ
รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย
3. นายนาซิโซ รามอส รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์
4. นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีต่างประเทศสิงคโปร์
5. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ จาก
ประเทศไทย หลังจากจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนเมื่อ 8 ส.ค.2510 แล้ว อาเซียนได้เปิดรับ
สมาชิกใหม่จากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มเติมเป็นระยะ ตามลาดับ
ชื่อภาพ : พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 10
ตอนที่ 7 วิถีอาเซียน
วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ความสาเร็จในระดับหนึ่งของความร่วมมือใน
อาเซียนตลอดระยะเวลา 30 ปีแรก ของการก่อตั้งอาเซียน เกิดจากพฤติกรรมทางการเมือง
ระหว่างประเทศในอาเซียนที่มีลักษณะพิเศษนอกเหนือไปจากธรรมเนียมปฏิบัติทาง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งรวมถึงสนธิสัญญามิตรภาพ
และความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in
Southeast Asia – TAC) เช่น การเคารพอธิปไตยและไม่แทรกแซงกิจกรรมของประเทศ
อื่น การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีการสันติและหลีกเลี่ยงการใช้กาลังต่อกัน
(Nischalke, 2000 : 90) และทาให้ในช่วงทศวรรษที่ 90 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้
ยอมรับวิถีทางแห่งการดาเนินการทางการทูตระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นที่รู้จัก
กันในนามของ ASEAN Way ที่บ่งบอกถึงลักษณะทางวัฒนธรรมทางการทูตที่คล้ายเคียง
กันของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งประกอบไปด้วยลักษณะที่สาคัญ
(Beeson, Mark, 2004 : 221-223)ดังนี้
ประการแรก ประเทศสมาชิกอาเซียนจะให้ความเคารพในอานาจอธิปไตยของ
ประเทศสมาชิกและจะดาเนินการในทุกวิถีทางเพื่อให้มั่นใจว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ นี้จะเป็นอิสระจากการแทรกแซงของประเทศมหาอานาจนอก ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ และจะไม่มีการแทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก แม้กระทั่งในกฎบัตร
อาเซียนที่ได้รับการลงนามใน ปี 2007 ในโอกาสครบรอบ 40 ปี อาเซียนก็ยังคงไว้ซึ่ง
หลักการไม่ยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศสมาชิกโดยได้ระบุไว้ในหัวข้อ e มาตรา 2
ของกฎบัตรอาเซียน
ประการที่สอง วิถีอาเซียนและเป็นลักษณะพิเศษในวัฒนธรรมทางการทูตใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือการให้ความสาคัญกับการปรึกษาหารือ และการเห็น
พ้องต้องกันในการตัดสินใจของอาเซียน หลักการนี้มาจากภาษาอินโดนีเซีย Musyawarah
(การปรึกษาหารือ) และ Mufakat (การเห็นพ้องต้องกัน) ซึ่งหมายความว่า ประเด็น
การตัดสินใจร่วมกันใดๆก็ตาม ประเทศสมาชิกทั้งหมดต้องเห็นพ้องต้องกันจึงจะถือว่าเป็น
มติหรือข้อตกลงอาเซียนในขณะเดียวกันดูเหมือนว่าสมาชิกอาเซียนจะไม่ชอบเรื่องใดๆ ที่
จะก่อให้เกิดความประหลาดใจในที่ประชุมระดับผู้นาประเทศ
กลไกที่ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเกิดความรู้สึกเป็นครอบครัวเดียวกัน
ทาให้บรรยากาศการประชุมเป็นไปด้วยดีมาโดยตลอด ในขณะที่การพบปะอย่างไม่เป็น
ทางการของรัฐมนตรีหรือผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียน ทาให้การประชุมอย่างเป็นทางการ
ของสมาชิกอาเซียน โดยส่วนใหญ่เป็นแค่พิธีการและจบลงด้วยบรรยากาศที่เป็นมิตรเสมอ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 11
ตอนที่ 8 ปริญญาอาเซียน
ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok
Declaration) เป็นเอกสารในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ซึ่งได้รับการลงนามที่ประเทศไทย ณ กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 8 สิงหาคม พ .ศ.
2510 โดยในขณะนั้นมีสมาชิกผู้ก่อตั้งจานวน 5 ประเทศ (Association of Southeast
Asian Nations. ASEAN Secretariat. 2009: 37) ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์
มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อที่จะสกัดการแพร่ขยายของลัทธิ
คอมมิวนิสต์ในเวียดนาม โดยกาหนดหลักการเบื้องต้นของอาเซียน อย่างเช่น การร่วมมือ
กัน มิตรภาพ และการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวต่อสถานการณ์ภายในประเทศ ของ สมาชิกทั้งหมด
(สานักนายรัฐมนตรี. 2552: 8)
นอกจากนี้แล้วเมื่อวันที่ 13 เดือน มกราคม พ.ศ. 2550 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียน
ได้ร่วมกันกาหนดเป้าหมายภายในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) (ประภัสสร เทพชาตรี . 2552
: 35) อาเซียนสามารถรวมตัวกันเป็น "ประชาคมอาเซียน" ทั้งในแง่การเมือง ความมั่นคง
เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม (Association of Southeast Asian Nations. 2009 :
58) โดยยึดประโยชน์สูงสุดของภาคประชาชน ในประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นศูนย์กลาง
นอกจากการเป็นสมาชิกก่อตั้งของอาเซียนแล้ว ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม2551 จนสิ้น
ปี 2552 ไทยยังดารงตาแหน่งประธานอาเซียนอีกด้วย โดยในฐานะประธานอาเซียน ไทยได้
มีโอกาสเป็นเจ้าภาพการประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนถึงสองครั้ง โดยครั้งแรกเดือน
กุมภาพันธ์ 2552 ที่อาเภอชะอา และอาเภอหัวหิน และครั้งที่สองจัดระหว่างวันที่
23 - 25 ตุลาคม 2552 นอกจากนี้แล้วประเทศไทยยังได้เป็นประธานอาเซียนด้วยในขณะนี้
คือ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ พ.ศ. 2551 – 2555 (สานักนายกรัฐมนตรี. 2552: 17-19)
ชื่อภาพ : ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 12
ตอนที่ 9 ประชาคมอาเซียน
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
Asian Nations: ASEAN) หรือ ประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย
สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน เพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและขีด
ความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ รวมถึงให้อาเซียนมีความ
แข็งแกร่ง มีภูมิต้านทานที่ดี ในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลก
ประชาคมอาเซียน เปรียบกับการเป็นครอบครัวเดียวกันของประเทศสมาชิก
อาเซียน ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 พร้อมกับมีการร่วม
ลงนามในปฏิญญาให้เป็นประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015)
พร้อมกับมีการแบ่งประชาคมย่อยออกเป็น 3 ประชาคม หรือ 3 เสาหลัก ได้แก่
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security
Community – APSC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC)
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Asean Socio-Cultural Community –
ASCC)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คืออะไร หรือ AEC คืออะไร หลายคนอาจจะยัง
สงสัย วันนี้เราจะพาไปทาความรู้จักกับคาว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC กัน
ความเป็นมาพอสังเขป
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาสมาคมประชาชาติ
แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เนื่องจากสมาชิกอาเซียนเห็นว่า ปัจจุบันอาเซียนมี
จานวนประเทศ 10 ประเทศ ประชากรเกือบ 500 ล้านคน ดังนั้นถือว่าเป็นเศรษฐกิจ
ภูมิภาคขนาดใหญ่ จึงควรร่วมมือกัน เพื่อทาให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในด้านต่าง ๆ มาก
ขึ้น เหตุนี้เอง อาเซียนจึงกลายสภาพเป็น เออีซี ในที่สุด โดยจะก่อตั้งเออีซีอย่างเป็น
ทางการใน พ.ศ. 2558 เลื่อนเข้ามาจากเดิมคือ พ.ศ. 2563
อย่างไรก็ตาม อนาคตข้างหน้า เออีซีมีแนวโน้มขยายเป็น อาเซียน +3 คือ เพิ่ม จีน
เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น ก่อนที่จะเป็น อาเซียน +6 โดยเพิ่ม จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์ และอินเดีย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 13
ตอนที่ 10 เป้าหมายสาคัญของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เป้าหมายสาคัญของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC มี 4 ด้าน คือ
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production
Base) เพื่อเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ลงทุน แรงงานฝีมือ เงินทุน อย่างเสรี ส่วนนี้ จริงๆ
เป็นการดาเนินตามพันธกรณีที่ได้ตกลงและดาเนินการมากันอยู่แล้ว ทั้ง
AFTA (ASEAN Free Trade Area) เริ่มปี 2535 (1992)
AFAS (ASEAN Framework Agreement on Services) กรอบความตกลงว่า
ด้วยการค้าบริการ ลงนามปี 2538 (1995)ได้เจรจาเปิดเสรีเป็นรอบๆ เจรจาไปแล้ว
5 รอบ
AIA (ASEAN Investment Area) กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ลงนาม
และมีผลตั้งแต่ 2541 (1998)
2. สร้างขีดความสามามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic
Region) ให้ความสาคัญกับประเด็นด้านนโยบาย ที่ช่วยการรวมกลุ่ม เช่น นโยบายการ
แข่งขัน นโยบายภาษี, ทรัพย์สินทางปัญญา, พัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานร่วมกัน
ดาเนินการโดยแลกเปลี่ยนข้อมูล ฝึกอบรมบุคคลากรร่วมกัน
3. สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Equitable Economic
Development) สนับสนุนการพัฒนา SMES สร้างขีดความสามารถผ่านโครงการที่มี
อยู่แล้ว
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Fully Integrated into Global
Economy) เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจอาเซียนกับนอกภูมิภาค เช่น ทา FTA
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 14
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง รู้จักอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คาแนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก
ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ
ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ
1. อาเซียน มีชื่อเต็มว่าอย่างไร
ก. สมาคมประชาชาติแห่งทวีปเอเชีย
ข. องค์กรแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออก
ค. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก
ง. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. คาว่า ASEAN มาจากชื่อเต็มว่าอย่างไร
ก. Asia South East Association Nations
ข. Association of Southeast Asia Nations
ค. Association for South East Asia National
ง. Asia South East Association for National
3. บุคคลสาคัญของประเทศไทยในข้อใดที่ถือว่าเป็นผู้ก่อตั้งอาเซียน
ก. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
ข. นายศุภชัย พานิชยศักดิ์
ค. ดร.มหาเดย์ มูฮัมหมัด
ง. ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
4. การลงนามในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่าอย่างไร
ก. กฎบัตรกรุงเทพ
ข. กฎบัตรอาเซียน
ค. ปฏิญญากรุงเทพ
ง. ปฏิญญาเอเชียตะวันออก
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 15
5. คาขวัญของอาเซียนคือข้อใด
ก. หนึ่งประชาคม หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งเศรษฐกิจ
ข. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
ค. หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม หนึ่งวิสัยทัศน์
ง. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาชาติ
6. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด
ก. รวง 10 ต้น
ข. รวงข้าว 11 ต้น
ค. รวงข้าว 12 รวง
ง. รวงข้าว 13 รวง
7. การประชุมประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนเรียกว่าอะไร
ก. การประชุมอาเซียนซัมมิท
ข. การประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียน
ค. การจัดการประชุมร่วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิก
ง. การประชุมที่เรียกว่า "อาเซียนบวกสาม
8. ข้อใดคือประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯทั้งหมด
ก. ไทย เมียนมาร์ เวียดนาม สิงคโปร์ มาเลเซีย
ข. ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์
ค. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ง. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย
9. สานักงานใหญ่ของอาเซียนตั้งอยู่ที่ใด
ก. กรุงฮานอย
ข. กรุงจาการ์ตา
ค. กรุงเทพมหานคร
ง. กรุงกัวลาลัมเปอร์
10. ประเทศใดที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนอันดับสุดท้าย
ข. พม่า
ก. บรูไน
ค. กัมพูชา
ง. อินโดนีเซีย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 16
บรรณานุกรม
The Founding of ASEAN เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของอาเซียน The Official Website
of the สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554
Association of South East Asian Nations (http://www.aseansec.org) ข้อมูลทั่วไป
ของอาเซียน สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554
เว็บไซต์กองอาเชียน กระทรวงต่างประเทศ (http://www.mfa.go.th/asean) มารู้จัก
อาเซียนกันเถอะเอกสารเผยแพร่ออนไลน์ สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554
ศูนย์อาเซียนศึกษาโรงเรียนอนุบาลสบปราบ
http://www.anbsp.thmy.com/asean%20symbol.html
สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554
ประชาคมอาเซียน (http://xn--42cle0dg2bid7g0axd4b6k.net/structure) สืบค้นเมื่อ
วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554
สุระ ดามาพงษ์และคณะ. (2551). เกร็ดน่ารู้อาเซียน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิชย์.
สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551). แบบปฏิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม
อาเซียน ม. 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม
อาเซียน ม. 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม
อาเซียน ม. 3. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
องค์ความรู้ปะชาคมอาเซียน (http://thai-aec.com) สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน
พ.ศ. 2554 ศูนย์ประชาสัมพันธ์อาเซียน
(http://region7.prd.go.th/ewt_news.php?nid=10690&filename
=aseanMay) สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPyns Fnm
 
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนเฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนthaneerat
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)rutchadaphun123
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่thnaporn999
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามNattha Namm
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 

Mais procurados (20)

ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียนเฉลยแบบทดสอบอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบอาเซียน
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น)
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
Power point รวมกลุ่มเศรษฐกิจ แก้ใหม่
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนามสงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทายใบความรู้ ปริศนาคำทาย
ใบความรู้ ปริศนาคำทาย
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 

Destaque

แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1sompriaw aums
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Destaque (10)

แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
Asean flag
Asean flag Asean flag
Asean flag
 
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Semelhante a เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน

Turning point-to-asean
Turning point-to-aseanTurning point-to-asean
Turning point-to-aseanteannantika
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์Kornnicha Wonglai
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Kruthai Kidsdee
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนnook555
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]กุลเศรษฐ บานเย็น
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนkhanittawan
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPattama Poyangyuen
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdf
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdfฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdf
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdfPawachMetharattanara
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 

Semelhante a เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน (20)

Turning point-to-asean
Turning point-to-aseanTurning point-to-asean
Turning point-to-asean
 
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
ชุดอาเซียน ครูพิณทิพย์
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
หน่วยการเรียนรู้ที่1 [โหมดความเข้ากันได้]
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
We Are ASEAN
We Are ASEANWe Are ASEAN
We Are ASEAN
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
Asean book
Asean bookAsean book
Asean book
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdf
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdfฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdf
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน(การ์ตูน).pdf
 
58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss58210401122 งาน2ss
58210401122 งาน2ss
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 

Mais de หรร 'ษๅ

แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 

Mais de หรร 'ษๅ (20)

แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 

เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน

  • 1. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับประวัติการก่อตั้งอาเซียน สัญลักษณ์ของอาเซียน วัตถุประสงค์ ในการก่อตั้งอาเซียน คาขวัญของอาเซียน โครงสร้างองค์กรของอาเซียน กฎบัตรอาเซียน วิถีอาเซียนปริญญาอาเซียน ประชาคมอาเซียน และเป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน หน่วยที่ 1 รู้จักอาเซียน 1. ประวัติการก่อตั้งอาเซียน 2. สัญลักษณ์ของอาเซียน 3. วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน 4. คาขวัญของอาเซียน 5. โครงสร้างองค์กรของอาเซียน 6. กฎบัตรอาเซียน 7. วิถีอาเซียน 8. ปริญญาอาเซียน 9. ประชาคมอาเซียน 10. เป้าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จานวน 4 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลาที่ใช้
  • 2. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง รู้จักอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม คาแนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ 1. อาเซียน มีชื่อเต็มว่าอย่างไร ก. สมาคมประชาชาติแห่งทวีปเอเชีย ข. องค์กรแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออก ค. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก ง. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2. คาว่า ASEAN มาจากชื่อเต็มว่าอย่างไร ก. Asia South East Association Nations ข. Association of Southeast Asia Nations ค. Association for South East Asia National ง. Asia South East Association for National 3. บุคคลสาคัญของประเทศไทยในข้อใดที่ถือว่าเป็นผู้ก่อตั้งอาเซียน ก. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์ ข. นายศุภชัย พานิชยศักดิ์ ค. ดร.มหาเดย์ มูฮัมหมัด ง. ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ 4. การลงนามในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่าอย่างไร ก. กฎบัตรกรุงเทพ ข. กฎบัตรอาเซียน ค. ปฏิญญากรุงเทพ ง. ปฏิญญาเอเชียตะวันออก
  • 3. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 3 5. คาขวัญของอาเซียนคือข้อใด ก. หนึ่งประชาคม หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งเศรษฐกิจ ข. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม ค. หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม หนึ่งวิสัยทัศน์ ง. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาชาติ 6. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด ก. รวง 10 ต้น ข. รวงข้าว 11 ต้น ค. รวงข้าว 12 รวง ง. รวงข้าว 13 รวง 7. การประชุมประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนเรียกว่าอะไร ก. การประชุมอาเซียนซัมมิท ข. การประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียน ค. การจัดการประชุมร่วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิก ง. การประชุมที่เรียกว่า "อาเซียนบวกสาม 8. ข้อใดคือประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯทั้งหมด ก. ไทย เมียนมาร์ เวียดนาม สิงคโปร์ มาเลเซีย ข. ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ค. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ง. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย 9. สานักงานใหญ่ของอาเซียนตั้งอยู่ที่ใด ก. กรุงฮานอย ข. กรุงจาการ์ตา ค. กรุงเทพมหานคร ง. กรุงกัวลาลัมเปอร์ 10. ประเทศใดที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนอันดับสุดท้าย ข. พม่า ก. บรูไน ค. กัมพูชา ง. อินโดนีเซีย
  • 4. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 4 หน่วยที่ 1 ประวัติการก่อตั้งอาเซียน รายวิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 (สาระเพิ่มเติม) มัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รวมเวลา 40 ชั่วโมง …………………............................................………………………………… ตอนที่ 1 ประวัติการก่อตั้งอาเซียน การเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนของประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี้ ทาให้อาเซียนมี สมาชิกครบ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ สอดคล้องกับปฎิญญาอาเซียน ซึ่งระบุว่า อาเซียนพร้อมรับทุกประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ที่พร้อมที่ จะรับเป้าหมาย หลักการและวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นสมาชิกภูมิภาคอาเซียนใน ปัจจุบัน (สถิติในปี 2550) นั้น ประกอบด้วยประชากรประมาณ 567 ล้านคนมีพื้นที่ โดยรวม 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติประมาณ 1,100 พันล้าน ดอลลาร์ และรายได้โดยรวมจากการค้าประมาณ 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ และมีสานัก เลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) เป็นหน่วยประสานงานและอานวยความสะดวก ในการดาเนินการตามนโยบายของผู้นาอาเซียนในด้านต่าง ๆ อานวยความสะดวกในการ ประชุมของอาเซียนทุกระดับ เป็นฝ่ายเลขานุการในการประชุมอาเซียน และเสนอแนะ โครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ที่ตั้งของอาเซียน อยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย วันก่อตั้งอาเซียน วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 สมาชิกกลุ่มแรก ประเทศอินโดนีเซีย ไทย สิงคโปร์ มาเลเซียและฟิลิปปินส์ ภาษาที่ใช้ในการทางานของอาเซียน ภาษาอังกฤษ อัตลักษณ์ของอาเซียน อาเซียนต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกัน ของตนเองและความรู้สึก เป็นส่วนหนึ่ง ในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุ เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน คาขวัญของอาเซียน "One Vision, One Idenity, One Community" "หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม"
  • 5. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 5 ตอนที่ 2 สัญลักษณ์ของอาเซียน สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสี ขาว สีน้าเงิน โดยมีความหมายดังนี้ ตราสัญลักษณ์ สัญลักษณ์เป็นรวงข้าวสีเหลือง 10 มัด หมายถึง การที่ประเทศใน ภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและ ความเป็นน้าหนึ่ง ใจเดียวกัน พื้นที่วงกลมสีแดง ขอบสีขาวและน้าเงิน ซึ่งแสดงถึงความ เป็นเอกภาพ มี ตัวอักษรคาว่า "asean" สีน้าเงินอยู่ใต้ภาพ อันแสดงถึง ความมุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกันเพื่อ ความมั่นคง สันติภาพ เอกภาพ และ ความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีทั้งหมด ที่ปรากฏในสัญลักษณ์ของอาเซียนเป็นสีสาคัญที่ปรากฏในธงชาติของแต่ละประเทศสมาชิก อาเซียน ต้นข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถึงความเจริญรุ่งเรือง สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง ธงอาเซียน ธงอาเซียนแสดงถึงเสถียรภาพ สันติภาพ ความสามัคคี และพลวัติ ของอาเซียน สีของธงได้แก่ น้าเงิน แดง ขาว และเหลือง ซึ่งแสดงถึง สีหลักในธงชาติ ของบรรดาประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งหมด สีน้าเงิน แสดงถึงสันติภาพและเสถียรภาพ แดงบ่งชี้ความกล้าหาญและความก้าวหน้า ขาว แสดงความบริสุทธิ์ เหลืองเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญรุ่งเรือง รวงข้าว แสดงถึงความใฝ่ฝันของบรรดาผู้ก่อตั้งอาเซียน ให้มีอาเซียนที่ประกอบด้วย บรรดาประเทศทั้งหมดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผูกพันกันอย่าง มีมิตรภาพและเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน วงกลม แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน
  • 6. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 6 ตอนที่ 3 วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งอาเซียน ประชาคมอาเซียน ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้างสันติภาพใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันนามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมืองและความ เจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการค้าระหว่างประเทศในโลก มีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึ้น ทาให้อาเซียนได้หันมามุ่งเน้นกระชับและขยายความ ร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึ้น แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community Blueprint) ซึ่งเป็นแผนงานบูรณาการการ ดาเนินงานในด้านเศรษฐกิจเพื่อให้บรรลุวัตถุ ประสงค์ 4 ด้านคือ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว (single market and production base) โดยจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี และการ เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น 2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน โดยให้ ความสาคัญกับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบาย การแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา ภาษีและการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน การขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงาน) 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้มีการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม และการเสริมสร้างขีดความสามารถผ่านโครงการต่าง ๆ 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจของ อาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เพื่อให้อาเซียนมีท่าทีร่วมกันอย่างชัดเจน วัตถุประสงค์ในการก่อตั้งประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์หลักที่กาหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดังนี้ 1) ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคมและวัฒนธรรม 2) ส่งเสริมการมีเสถียรภาพ สันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค 3) ส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และ ด้านการบริหาร 4) ส่งเสริมความร่วมมือซึ่งกันและกันในการฝึกอบรมและการวิจัย 5) ส่งเสริมความร่วมมือในด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การสื่อสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดารงชีวิต 6) ส่งเสริมการมีหลักสูตรการศึกษาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 7) ส่งเสริมความร่วมมือกับองค์กรระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ
  • 7. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 7 ตอนที่ 4 คาขวัญของอาเซียน คาขวัญของอาเซียน ภาษาสากล "One Vision, One Identity, One Community" ภาษาไทย “หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม” ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยและประเทศในแถบอาเซียน รวมทั้งหมด 10 ประเทศ ประกอบด้วย ประเทศบรูไน พม่า กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม ก็จะทาการรวมตัวเป็น "ประชาคมอาเซียน" ความร่วมมือของเหล่า ประเทศสมาชิกที่จะผลักดันให้เกิดประโยชน์ต่อภูมิภาคอย่างมากมาย ทั้งนี้เพื่อให้คุณผู้อ่านได้เตรียมความพร้อมกับการร่วมประชาคมอาเซียนกันมาก ขึ้น ทางกระปุกดอทคอมได้นาข้อมูลเกี่ยวกับอาเซียนมาฝากอีกเช่นเคย โดยสิ่งที่เรานามา ฝากในครั้งนี้ก็คือเรื่องของ "วิสัยทัศน์อาเซียน" เพื่อให้ชาติสมาชิกอาเซียนเข้าใจตรงกันถึง แนวทางและจุดมุ่งหมายที่จะให้อาเซียนเป็นไปในอนาคต วิสัยทัศน์อาเซียน 2020 (The ASEAN Vision 2020) ที่ได้รับการรับรอง จากที่ประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการครั้งที่ 2 เมื่อเดือน ธันวาคม พ.ศ.2540 ในโอกาสครบรอบ 30 ปีของการจัดตั้งอาเซียน โดยที่ประชุมเห็นชอบต่อ วิสัยทัศน์ในการให้อาเซียนเป็น 1. วงสมานฉันท์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (A concert of Southeast Asian Nations) 2. การมุ่งปฏิสัมพันธ์กับประเทศภายนอก (An Outward-Looking ASEAN) 3. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ มั่นคง และรุ่งเรือง เป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาอย่าง มีพลวัต (A Partnership in Dynamic Development) 4. การเป็นชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร (A Community of Caring Societies)
  • 8. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 8 ตอนที่ 5 โครงสร้างองค์กรของอาเซียน เอกสารหลักที่กาหนดโครงสร้างองค์กรของอาเซียน ไว้ในหมวดที่ 4 ดังนี้ 1. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ประกอบด้วย ประมุขหรือหัวหน้ารัฐบาล มีอานาจหน้าที่ในการกาหนด นโยบายสูงสุดและแนวทางความร่วมมือของอาเซียน และตัดสินใจในเรื่องสาคัญ โดยให้ ประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธานอาเซียนเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม 2 ครั้งต่อปี หรือเรียก ประชุมพิเศษหรือเฉพาะกิจเมื่อมีความจาเป็น 2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน ทาหน้าที่เตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานความตกลงและข้อ ตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานระหว่าง 3 เสาหลัก ดูแลการดาเนินงาน และกิจการต่างๆ ของอาเซียนในภาพรวม คณะมนตรีประสานงานอาเซียนจะมีการประชุม อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี 3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) คณะมนตรีประชาคมอาเซียนประกอบด้วย คณะมนตรีประชาคม 3 เสาหลัก อันได้แก่คณะ มนตรีการเมืองและความมั่นคงอาเซียน คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และคณะ มนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ซึ่งเป็นผู้แทนที่ประเทศสมาชิกแต่งตั้งให้เป็น ผู้รับผิดชอบแต่ละเสาหลัก มีอานาจหน้าที่ในการประสานงานและติดตามการทางานตาม นโยบาย โดยเสนอรายงานและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมผู้นา มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ประธานการประชุมเป็นรัฐมนตรีที่เหมาะสมจากประเทศสมาชิกซึ่งเป็นประธาน อาเซียน 4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerial Bodies) องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (เช่น ด้านสาธารณสุข ด้านกลาโหม ด้านการศึกษา ฯลฯ) ประกอบด้วยรัฐมนตรีเฉพาะสาขา มีหน้าที่ปฏิบัติตามข้อตกลงและ ข้อตัดสินใจของที่ประชุมสุดยอดอาเซียนที่อยู่ในขอบข่ายการดาเนินงานของตน และ เสริมสร้างความร่วมมือในสาขาของแต่ละองค์กรให้เข้มแข็งขึ้น เพื่อสนับสนุนการรวมตัว ของประชาคมอาเซียน
  • 9. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 9 ตอนที่ 6 กฎบัตรอาเซียน ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations : ASEAN) เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ดาเนินการไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้อง หยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศ มาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟูสัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหา หนทางความร่วมมือกันอีกครั้งแต่หากท่านหมายถึง “AEC ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน” สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2510 หลังจากการลงนามอนุปริญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration)โดยสมาชิกผู้ก่อตั้งมี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และไทย ซึ่งผู้แทนทั้ง 5 ประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพ ประกอบด้วย 1. นายอาดัม มาลิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินโดนีเซีย 2. ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและ รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย 3. นายนาซิโซ รามอส รัฐมนตรีต่างประเทศฟิลิปปินส์ 4. นายเอส ราชารัตนัม รัฐมนตรีต่างประเทศสิงคโปร์ 5. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ จาก ประเทศไทย หลังจากจัดตั้ง ประชาคมอาเซียนเมื่อ 8 ส.ค.2510 แล้ว อาเซียนได้เปิดรับ สมาชิกใหม่จากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มเติมเป็นระยะ ตามลาดับ ชื่อภาพ : พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
  • 10. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 10 ตอนที่ 7 วิถีอาเซียน วิถีอาเซียน (ASEAN Way) ความสาเร็จในระดับหนึ่งของความร่วมมือใน อาเซียนตลอดระยะเวลา 30 ปีแรก ของการก่อตั้งอาเซียน เกิดจากพฤติกรรมทางการเมือง ระหว่างประเทศในอาเซียนที่มีลักษณะพิเศษนอกเหนือไปจากธรรมเนียมปฏิบัติทาง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศซึ่งรวมถึงสนธิสัญญามิตรภาพ และความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia – TAC) เช่น การเคารพอธิปไตยและไม่แทรกแซงกิจกรรมของประเทศ อื่น การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีการสันติและหลีกเลี่ยงการใช้กาลังต่อกัน (Nischalke, 2000 : 90) และทาให้ในช่วงทศวรรษที่ 90 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ ยอมรับวิถีทางแห่งการดาเนินการทางการทูตระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นที่รู้จัก กันในนามของ ASEAN Way ที่บ่งบอกถึงลักษณะทางวัฒนธรรมทางการทูตที่คล้ายเคียง กันของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งประกอบไปด้วยลักษณะที่สาคัญ (Beeson, Mark, 2004 : 221-223)ดังนี้ ประการแรก ประเทศสมาชิกอาเซียนจะให้ความเคารพในอานาจอธิปไตยของ ประเทศสมาชิกและจะดาเนินการในทุกวิถีทางเพื่อให้มั่นใจว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ นี้จะเป็นอิสระจากการแทรกแซงของประเทศมหาอานาจนอก ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และจะไม่มีการแทรกแซงกิจการภายในของประเทศสมาชิก แม้กระทั่งในกฎบัตร อาเซียนที่ได้รับการลงนามใน ปี 2007 ในโอกาสครบรอบ 40 ปี อาเซียนก็ยังคงไว้ซึ่ง หลักการไม่ยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศสมาชิกโดยได้ระบุไว้ในหัวข้อ e มาตรา 2 ของกฎบัตรอาเซียน ประการที่สอง วิถีอาเซียนและเป็นลักษณะพิเศษในวัฒนธรรมทางการทูตใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือการให้ความสาคัญกับการปรึกษาหารือ และการเห็น พ้องต้องกันในการตัดสินใจของอาเซียน หลักการนี้มาจากภาษาอินโดนีเซีย Musyawarah (การปรึกษาหารือ) และ Mufakat (การเห็นพ้องต้องกัน) ซึ่งหมายความว่า ประเด็น การตัดสินใจร่วมกันใดๆก็ตาม ประเทศสมาชิกทั้งหมดต้องเห็นพ้องต้องกันจึงจะถือว่าเป็น มติหรือข้อตกลงอาเซียนในขณะเดียวกันดูเหมือนว่าสมาชิกอาเซียนจะไม่ชอบเรื่องใดๆ ที่ จะก่อให้เกิดความประหลาดใจในที่ประชุมระดับผู้นาประเทศ กลไกที่ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนเกิดความรู้สึกเป็นครอบครัวเดียวกัน ทาให้บรรยากาศการประชุมเป็นไปด้วยดีมาโดยตลอด ในขณะที่การพบปะอย่างไม่เป็น ทางการของรัฐมนตรีหรือผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียน ทาให้การประชุมอย่างเป็นทางการ ของสมาชิกอาเซียน โดยส่วนใหญ่เป็นแค่พิธีการและจบลงด้วยบรรยากาศที่เป็นมิตรเสมอ
  • 11. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 11 ตอนที่ 8 ปริญญาอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) หรือ ปฏิญญากรุงเทพฯ (Bangkok Declaration) เป็นเอกสารในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้รับการลงนามที่ประเทศไทย ณ กรุงเทพมหานคร ในวันที่ 8 สิงหาคม พ .ศ. 2510 โดยในขณะนั้นมีสมาชิกผู้ก่อตั้งจานวน 5 ประเทศ (Association of Southeast Asian Nations. ASEAN Secretariat. 2009: 37) ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อที่จะสกัดการแพร่ขยายของลัทธิ คอมมิวนิสต์ในเวียดนาม โดยกาหนดหลักการเบื้องต้นของอาเซียน อย่างเช่น การร่วมมือ กัน มิตรภาพ และการไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวต่อสถานการณ์ภายในประเทศ ของ สมาชิกทั้งหมด (สานักนายรัฐมนตรี. 2552: 8) นอกจากนี้แล้วเมื่อวันที่ 13 เดือน มกราคม พ.ศ. 2550 ผู้นาประเทศสมาชิกอาเซียน ได้ร่วมกันกาหนดเป้าหมายภายในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) (ประภัสสร เทพชาตรี . 2552 : 35) อาเซียนสามารถรวมตัวกันเป็น "ประชาคมอาเซียน" ทั้งในแง่การเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม (Association of Southeast Asian Nations. 2009 : 58) โดยยึดประโยชน์สูงสุดของภาคประชาชน ในประเทศสมาชิกอาเซียนเป็นศูนย์กลาง นอกจากการเป็นสมาชิกก่อตั้งของอาเซียนแล้ว ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม2551 จนสิ้น ปี 2552 ไทยยังดารงตาแหน่งประธานอาเซียนอีกด้วย โดยในฐานะประธานอาเซียน ไทยได้ มีโอกาสเป็นเจ้าภาพการประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนถึงสองครั้ง โดยครั้งแรกเดือน กุมภาพันธ์ 2552 ที่อาเภอชะอา และอาเภอหัวหิน และครั้งที่สองจัดระหว่างวันที่ 23 - 25 ตุลาคม 2552 นอกจากนี้แล้วประเทศไทยยังได้เป็นประธานอาเซียนด้วยในขณะนี้ คือ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ พ.ศ. 2551 – 2555 (สานักนายกรัฐมนตรี. 2552: 17-19) ชื่อภาพ : ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
  • 12. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 12 ตอนที่ 9 ประชาคมอาเซียน สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations: ASEAN) หรือ ประชาคมอาเซียน เป็นเป้าหมายการรวมตัวกันของ ประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศประกอบด้วย ไทย พม่า ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา และ บรูไน เพื่อเพิ่มอานาจต่อรองและขีด ความสามารถการแข่งขันของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ รวมถึงให้อาเซียนมีความ แข็งแกร่ง มีภูมิต้านทานที่ดี ในการรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ระดับโลก ประชาคมอาเซียน เปรียบกับการเป็นครอบครัวเดียวกันของประเทศสมาชิก อาเซียน ถือกาเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 พร้อมกับมีการร่วม ลงนามในปฏิญญาให้เป็นประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายใน พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) พร้อมกับมีการแบ่งประชาคมย่อยออกเป็น 3 ประชาคม หรือ 3 เสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community – APSC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economics Community – AEC) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (Asean Socio-Cultural Community – ASCC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คืออะไร หรือ AEC คืออะไร หลายคนอาจจะยัง สงสัย วันนี้เราจะพาไปทาความรู้จักกับคาว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC กัน ความเป็นมาพอสังเขป ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) เกิดขึ้นมาจากการพัฒนาสมาคมประชาชาติ แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) เนื่องจากสมาชิกอาเซียนเห็นว่า ปัจจุบันอาเซียนมี จานวนประเทศ 10 ประเทศ ประชากรเกือบ 500 ล้านคน ดังนั้นถือว่าเป็นเศรษฐกิจ ภูมิภาคขนาดใหญ่ จึงควรร่วมมือกัน เพื่อทาให้อาเซียนมีความเข้มแข็งในด้านต่าง ๆ มาก ขึ้น เหตุนี้เอง อาเซียนจึงกลายสภาพเป็น เออีซี ในที่สุด โดยจะก่อตั้งเออีซีอย่างเป็น ทางการใน พ.ศ. 2558 เลื่อนเข้ามาจากเดิมคือ พ.ศ. 2563 อย่างไรก็ตาม อนาคตข้างหน้า เออีซีมีแนวโน้มขยายเป็น อาเซียน +3 คือ เพิ่ม จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น ก่อนที่จะเป็น อาเซียน +6 โดยเพิ่ม จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย
  • 13. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 13 ตอนที่ 10 เป้าหมายสาคัญของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป้าหมายสาคัญของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC มี 4 ด้าน คือ 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Production Base) เพื่อเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ ลงทุน แรงงานฝีมือ เงินทุน อย่างเสรี ส่วนนี้ จริงๆ เป็นการดาเนินตามพันธกรณีที่ได้ตกลงและดาเนินการมากันอยู่แล้ว ทั้ง AFTA (ASEAN Free Trade Area) เริ่มปี 2535 (1992) AFAS (ASEAN Framework Agreement on Services) กรอบความตกลงว่า ด้วยการค้าบริการ ลงนามปี 2538 (1995)ได้เจรจาเปิดเสรีเป็นรอบๆ เจรจาไปแล้ว 5 รอบ AIA (ASEAN Investment Area) กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ ลงนาม และมีผลตั้งแต่ 2541 (1998) 2. สร้างขีดความสามามารถทางเศรษฐกิจ (High Competitive Economic Region) ให้ความสาคัญกับประเด็นด้านนโยบาย ที่ช่วยการรวมกลุ่ม เช่น นโยบายการ แข่งขัน นโยบายภาษี, ทรัพย์สินทางปัญญา, พัฒนาโครงการสร้างพื้นฐานร่วมกัน ดาเนินการโดยแลกเปลี่ยนข้อมูล ฝึกอบรมบุคคลากรร่วมกัน 3. สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Equitable Economic Development) สนับสนุนการพัฒนา SMES สร้างขีดความสามารถผ่านโครงการที่มี อยู่แล้ว 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Fully Integrated into Global Economy) เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจอาเซียนกับนอกภูมิภาค เช่น ทา FTA
  • 14. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 14 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง รู้จักอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คาแนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ 1. อาเซียน มีชื่อเต็มว่าอย่างไร ก. สมาคมประชาชาติแห่งทวีปเอเชีย ข. องค์กรแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออก ค. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออก ง. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2. คาว่า ASEAN มาจากชื่อเต็มว่าอย่างไร ก. Asia South East Association Nations ข. Association of Southeast Asia Nations ค. Association for South East Asia National ง. Asia South East Association for National 3. บุคคลสาคัญของประเทศไทยในข้อใดที่ถือว่าเป็นผู้ก่อตั้งอาเซียน ก. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์ ข. นายศุภชัย พานิชยศักดิ์ ค. ดร.มหาเดย์ มูฮัมหมัด ง. ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ 4. การลงนามในการก่อตั้งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกว่าอย่างไร ก. กฎบัตรกรุงเทพ ข. กฎบัตรอาเซียน ค. ปฏิญญากรุงเทพ ง. ปฏิญญาเอเชียตะวันออก
  • 15. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 15 5. คาขวัญของอาเซียนคือข้อใด ก. หนึ่งประชาคม หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งเศรษฐกิจ ข. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม ค. หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม หนึ่งวิสัยทัศน์ ง. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาชาติ 6. สัญลักษณ์ของอาเซียนคือข้อใด ก. รวง 10 ต้น ข. รวงข้าว 11 ต้น ค. รวงข้าว 12 รวง ง. รวงข้าว 13 รวง 7. การประชุมประเทศสมาชิกกลุ่มอาเซียนเรียกว่าอะไร ก. การประชุมอาเซียนซัมมิท ข. การประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียน ค. การจัดการประชุมร่วมกับประเทศนอกกลุ่มสมาชิก ง. การประชุมที่เรียกว่า "อาเซียนบวกสาม 8. ข้อใดคือประเทศที่ร่วมลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯทั้งหมด ก. ไทย เมียนมาร์ เวียดนาม สิงคโปร์ มาเลเซีย ข. ไทย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ค. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ง. ไทย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ บรูไนดารุสซาลาม อินโดนีเซีย 9. สานักงานใหญ่ของอาเซียนตั้งอยู่ที่ใด ก. กรุงฮานอย ข. กรุงจาการ์ตา ค. กรุงเทพมหานคร ง. กรุงกัวลาลัมเปอร์ 10. ประเทศใดที่เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนอันดับสุดท้าย ข. พม่า ก. บรูไน ค. กัมพูชา ง. อินโดนีเซีย
  • 16. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 16 บรรณานุกรม The Founding of ASEAN เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของอาเซียน The Official Website of the สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 Association of South East Asian Nations (http://www.aseansec.org) ข้อมูลทั่วไป ของอาเซียน สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 เว็บไซต์กองอาเชียน กระทรวงต่างประเทศ (http://www.mfa.go.th/asean) มารู้จัก อาเซียนกันเถอะเอกสารเผยแพร่ออนไลน์ สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 ศูนย์อาเซียนศึกษาโรงเรียนอนุบาลสบปราบ http://www.anbsp.thmy.com/asean%20symbol.html สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 ประชาคมอาเซียน (http://xn--42cle0dg2bid7g0axd4b6k.net/structure) สืบค้นเมื่อ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 สุระ ดามาพงษ์และคณะ. (2551). เกร็ดน่ารู้อาเซียน. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิชย์. สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551). แบบปฏิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ม. 1. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ม. 2. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. สมเกียรติ ภู่ระหงษ์และคณะ. (2551) . แบบปฎิบัติกิจกรรมเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียน ม. 3. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. องค์ความรู้ปะชาคมอาเซียน (http://thai-aec.com) สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554 ศูนย์ประชาสัมพันธ์อาเซียน (http://region7.prd.go.th/ewt_news.php?nid=10690&filename =aseanMay) สืบค้นเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2554