SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 38
Baixar para ler offline
แนวทางเวชปฏิบัติ 
การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งเด็ก 
ชนิด Acute leukemia และ Lymphoma
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
2 
คณะทำงาน 
1 ผศ.พญ. เมธินี ไหมแพง คณะแพทยศาสตร์หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธาน 
2 ผศ.พญ. กวิวัณณ์ วีรกุล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะทำงาน 
3 รศ.พ.อ. นพ. ไตรโรจน์ ครุธเวโช วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า คณะทำงาน 
4 ผศ.พญ.ภัทธา ธนรัตนากร คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะทำงาน 
5 รศ.นพ.ปัญญา เสกสรรค์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะทำงาน 
6 พญ.วันดี นิงสานนท์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี คณะทำงาน 
7 ศ.นพ.วิชัย เหล่าสมบัติ คณะแพทยศาสตร์หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะทำงาน 
8 รศ.นพ. สุรพล เวียงนนท์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะทำงาน 
9 ผศ.นพ.สุรเดช หงส์อิง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทำงาน 
10 รศ.นพ.อิศรางค์ นุชประยูร คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะทำงานและเลขานุการ 
คณะทำงานร่วม 
1 นพ.กมล เผือกเพ็ชร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 
2 ผศ.พญ.กลีบสไบ สรรรพกิจ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 
3 นพ.นัทธี นาคบุญนำ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 
4 รศ.นพ.รัชฎะ ลำกูล วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า 
5 พญ.สมใจ กาญจนพงษ์กุล สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 
6 ผศ.นพ.สามารถ ภคกษมา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
3 
คำนำ 
ชมรมโรคมะเร็งเด็ก (Thai Pediatric Oncology Group: ThaiPOG) ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของสถาบัน/ 
โรงพยาบาลที่ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งเด็กทั่วประเทศจำนวน 20 สถาบัน ได้ทำการศึกษาอุบัติการณ์ของผู้ป่วยมะเร็งใน 
เด็กไทยทุกชนิด โดยศึกษาผู้ป่วยใหม่ที่ได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเด็กในปี 2546 ซึ่งจากผลการวิจัย พบว่า โรคมะเร็ง 
เด็กในประเทศไทยที่พบมากที่สุดคือ acute lymphoblastic leukemias พบได้ประมาณร้อยละ 50 ของโรคมะเร็งทั้งหมด 
จำนวนผู้ป่วยที่มารับการรักษาในระบบสาธารณสุขทั้ง 20 สถาบัน มีประมาณ 400-500 รายต่อปี การรักษาโรค acute 
lymphoblastic leukemias ต้องใช้ยาเคมีบำบัดเป็นหลัก ร่วมกับยาที่รักษาภาวะแทรกซ้อน ในบางรายต้องมีการฉายรังสี 
รักษาเพื่อป้องกันหรือรักษาโรคที่เกิดกับระบบประสาทกลาง รวมทั้งการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด การรักษาโรค 
นี้ต้องใช้ระยะเวลาการรักษายาวนานถึง 3 ปี ผลข้างเคียงของการรักษาเหล่านี้ มีมากมาย ทั้งต่อชีวิตและสุขภาพของผู้ป่วยเอง 
การรักษามีผลกระทบต่อระบบอวัยวะสำคัญของร่างกาย ได้แก่ ตับ ไต หัวใจ สมอง ฯลฯ มีผลระยะยาวต่อการเจริญเติบโต 
การเจริญพันธุ์ และยังมีผลกระทบต่อบุคคลอื่นในครอบครัวของผู้ป่วย ทั้งทางจิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ด้วย 
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองพบชนิด non-hodgkin lymphoma (NHL) มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.9 ของมะเร็งต่อม 
น้ำเหลืองทั้งหมด มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด NHL นี้ พบ prognostic ไม่ดีในเด็ก จาก จากการศึกษาของโครงการวิจัยผู้ป่วย 
มะเร็งเด็กโดยชมรมผู้ป่วยมะเร็งเด็กพบว่า อัตรารอดชีพที่ 1 ปีของ NHL เป็น 58.92 (42.97-71.80) ซึ่งต่ำกว่ามะเร็งในกลุ่ม 
เดียวกันมาก สำหรับการรักษาโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด NHL นี้ประกอบไปด้วยการผ่าตัด รังสีรักษาและยาเคมีบำบัด 
ขึ้นอยู่กับระยะของโรค 
โดยการรักษาโรคมะเร็งเด็กในประเทศไทย ยังมีความแตกต่างกันอยู่ในแต่ละสถาบัน เนื่องจากมีข้อจำกัดในด้าน 
บุคลากร งบประมาณ ยา และอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการรักษาและวินิจฉัยโรค รวมทั้งมีข้อแตกต่างในการตอบสนองต่อ 
การรักษาของผู้ป่วยในประเทศไทย กับผู้ป่วยในต่างประเทศบ้างพอสมควร 
คณะกรรมการ ฯ ได้สร้าง national protocol การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งเด็กทั้ง 2 ชนิดขึ้น การประสานงานจาก 
สถาบันที่รักษามะเร็งเด็ก 8 แห่ง คือ จุฬาลงกรณ์ รามาธิบดี ศิริราช พระมงกุฎเกล้า สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ โดยมีความ 
มุ่งหวังเพื่อใช้เป็น protocol ที่ใช้ได้จริง เนื่องจากโรคมะเร็งในเด็กควรรับการรักษาหรือควบคุมโดยกุมารแพทย์โรคเลือด 
CPG นี้จึงมิได้มุ่งหวังให้กุมารแพทย์ทั่วไปปฏิบัติได้ เราเชื่อว่ามะเร็ง ALL และ lymphoma มีโอกาสหายขาดสูงเป็นโรคที่ 
ควรลงทุนในการรักษาให้เต็มที่ ทำให้เด็กที่เป็น ALL & lymphoma มีอัตราการหายขาดที่ยอมรับได้ทัดเทียมกับนานา 
ประเทศ ALL การรักษาได้ outcome ดีนั้น compliance เป็นปัจจัยสำคัญ ได้ expected เราจะกำหนดมาตรฐาน คือยาที่ 
จำเป็นต้องมีในการรักษา และการให้ยาที่สะดวกที่สุดต่อผู้ป่วยเพื่อให้ compliance สูงที่สุด เราจะใช้คำว่า national protocol 
เพื่อเป็นตัวอย่างที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที หรือใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ protocol อื่นที่จะทำการเปรียบเทียบกัน CPG ที่ 
สร้างขึ้นนี้ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อจะนำไปใช้เป็นฐานในการจ่ายเงิน หรือปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเรื่องค่าใช้จ่าย 
กำกับ 
14 กุมภาพันธ์ 2549
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
4 
สารบัญ 
หน้า 
National Protocol for Acute lymphoblastic leukemia (ALL) 5 
การวินิจฉัยผู้ป่วย (diagnostic investigation) 5 
การจำแนกชนิดของ ALL (Classification) 6 
การรักษา 
Low risk ALL 7 
High-risk ALL 10 
CNS disease 12 
testicular involvement 12 
National Protocol for Acute non-lymphocytic leukemia (ANLL) 14 
การจำแนกชนิดของ ANLL (Classification): 14 
การรักษา ANLL 14 
Appendix 
Guideline for Administration of High dose Methotrexate 34 
Modified Toxicity Criteria for Cancer Chemotherapy 35 
Chemotherapy Modification Guideline for Hepatic Dysfunction 36 
Chemotherapy Modification Guideline for Renal Dysfunction 37 
Anthracyclin Record Sheet 38 
Guideline For Drug Preparation 39
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
5 
Thai National protocol for treatment of childhood acute lymphoblastic leukemia (ALL) 
จุดประสงค์ของ National protocol for treatment of childhood ALL 
National protocol for treatment of childhood ALL ที่ฉบับนี้ มีความมุ่งหวังที่จะใช้เป็นแนวทางการรักษามะเร็งใน 
เด็กชนิด ALL ที่ใช้ได้จริง และเนื่องจากโรคมะเร็งในเด็กควรรับการรักษาหรือควบคุมโดยกุมารแพทย์โรคเลือด CPG นี้จึง 
มิได้มุ่งหวังให้กุมารแพทย์ทั่วไปปฏิบัติได้ เราเชื่อว่ามะเร็ง ALL มีโอกาสหายขาดสูงเป็นโรคที่ควรลงทุนในการรักษาให้ 
เต็มที่ ทำให้เด็กที่เป็น ALL มีอัตราการหายขาดที่ยอมรับได้ทัดเทียมกับนานาประเทศ ALL การรักษาได้ outcome ดีนั้น 
compliance เป็นปัจจัยสำคัญ ได้ expected เราจะกำหนดมาตรฐาน คือยาที่จำเป็นต้องมีในการรักษา และการให้ยาที่สะดวก 
ที่สุดต่อผู้ป่วยเพื่อให้ compliance สูงที่สุด เราจะใช้คำว่า national protocol เพื่อเป็นตัวอย่างที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที หรือ 
ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ protocol อื่นที่จะทำการเปรียบเทียบกัน CPG ที่สร้างขึ้นนี้ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อจะนำไปใช้เป็นฐานใน 
การจ่ายเงิน หรือปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเรื่องค่าใช้จ่ายกำกับ 
วิธีการสร้าง national protocol 
ด้วยสถาบันที่รักษามะเร็งเด็ก 8 แห่ง คือ จุฬาลงกรณ์ รามาธิบดี ศิริราช พระมงกุฎเกล้า สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ ให้การดูแล 
รักษาผู้ป่วยรวม 2 ใน 3 ของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะทำงานจึงได้รวบรวมตัวอย่าง protocol ที่ใช้รักษา ALL 
ของทุกสถาบันมาที่ผู้ประสานงานของ ThaiPOG ได้ทำการสรุปภาพรวมโดย นพ. สุรเดช หงส์อิง และ นพ. อิศรางค์ เพื่อ 
นำเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาร่วมกันว่า Thai national protocol ควรมีรายละเอียดอย่างใด ที่ประชุมได้อภิปรายและแสดง 
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ วิธีการรักษาที่เหมาะสมที่จะใช้ร่วมกัน 
ข้อตกลงเบื้องต้นในการรักษามะเร็งในเด็กชนิด acute lymphoblastic leukemia 
1. เด็กที่เป็น ALL จะได้รับการรักษาตามความเสี่ยงที่จะเกิดโรคกลับซ้ำ (risk-adapted approach) 
2. เด็กที่เป็น ALL จะได้รับการรักษาตามสูตรการรักษาที่ได้มีการวางแผนไว้ก่อน (protocol-driven therapy) 
3. เด็กที่เป็น ALL พึงได้รับการดูแลโดยกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเลือดเด็ก หรือกุมารแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรม 
และมีประสบการณ์ให้การให้ยาเคมีบำบัดเป็นตามสูตรยาที่ระบุไว้ในแนวทางการรักษานี้ หรือให้ยาและการดูแลเด็ก 
ภายใต้คำแนะนำและการดูแลต่อเนื่องโดยกุมารแพทย์โรคเลือดคนใดคนหนึ่งเป็นประจำ 
การวินิจฉัยผู้ป่วย (diagnostic investigation) 
เมื่อเด็กสงสัยว่าจะเป็น acute leukemia จะได้รับการตรวจวินิจฉัยดังนี้ 
1. Bone marrow aspiration และย้อมสีด้วย Wright stain ในกรณีที่ทำ bone marrow aspiration ไม่สำเร็จ ให้ทำ bone 
marrow biopsy 
2. Cytochemistry: (MPO, PAS, Sudan black, acid phosphatase) การวินิจฉัย acute lymphoblastic leukemia จำเป็นต้อง 
ได้รับการตรวจยืนยันด้วย cytochemistry เพื่อไม่ให้วินิจฉัยผิดพลาด เนื่องจาก acute myeloid leukemia บางชนิดอาจมี
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
6 
3. ลักษณะเซลล์ในกล้องจุลทรรศน์เหมือน ALL ได้ การย้อม PAS positive ช่วยยืนยันว่าเป็น ALL, ส่วน MPO & sudan 
black positive แสดงว่าเป็น AML 
4. Optional immunophenotypic analysis (flow cytometry) แม้ว่า immunophenotype เป็นมาตรฐานในการวินิจฉัยและ 
จำแนกชนิดของ ALL ในหลายสถาบันและทั่วโลกในปัจจุบัน แต่เนื่องจากการตรวจนี้ไม่สามารถทำได้ทุกแห่งใน 
ประเทศ มีค่าใช้จ่ายสูง และต้องอาศัยประสบการณ์ในการแปลผล จึงยังไม่นับว่าเป็นมาตรฐานการตรวจวินิจฉัยของ 
มะเร็งเด็กในประเทศไทย หากมีโอกาสควรทำการวิคราะห์ผู้ป่วยรายใหม่ 
การจำแนกชนิดของ ALL (Classification): 
Low risk ALL 
Æ อายุระหว่าง 1-10 ปี และเม็ดเลือดขาวแรกวินิจฉัย (WBC) <50,000 /ul 
Æ ไม่มีลักษณะที่บ่งว่าเป็น high-risk ALL 
High-risk ALL 
Æ อายุ >10 ปี 
Æ WBC >50,000 /ul และ/หรือ 
Æ มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งต่อไปนี้ 
Æ มีลักษณะที่น่าสงสัยว่าเป็น T-cell disease คือ Blast cell acid phosphatase positive ร่วมกับ 
mediastinal mass, ตับโตคลำได้มากกว่า 6 cm, และหรือ spleen ขนาดต่ำกว่าสะดือ 
Æ CNS disease* at diagnosis 
Æ Testicular involvement** at diagnosis 
Æ Exclusion สำหรับ high-risk ALL: 
Æ อายุ <1 ปี 
Æ ALL morphology L3 
การจำแนก ALL เป็น low & high-risk เป็นแนวทางที่ใช้กันทั่วโลก เนื่องจาก ALL เป็นโรคที่มีความหลากหลายอยู่ 
ในตัว โรคที่รักษาหายง่าย (low-risk for relapse) ควรได้รับการรักษาที่น้อยกว่า โรคที่รักษาหายยาก (high-risk for relapse) 
ที่ประชุมได้พิจารณาว่านอกจาก NCI criteria คือ อายุ และ เม็ดเลือดขาวแรกวินิจฉัย (WBC) แล้วควรจะใช้การวินิจฉัยอื่นใด 
สรุปว่าควรจำแนก T-cell disease ไว้เป็น high-risk ALL โดยใช้ลักษณะทางคลินิก ร่วมกับ cytochemistry (acid phosphatase 
positive) หากสถาบันใดจะทำการวิเคราะห์ด้วย immunophenotyping ด้วยก็สามารถใช้ข้อมูลนั้นวินิจฉัย T-cell disease ได้ 
ด้วย 
เด็กที่เป็น ALL และมี CNS involvement จำเป็นต้องได้รับการรักษาเพิ่มเติมจาก high-risk ALL ทั่วไป จึงมีหมวด 
การรักษา CNS disease ต่างหากเพิ่มเติม เช่นเดียวกันกับ testicular involvement
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
7 
แม้ว่า infant leukemia และ mature B-cell ALL จะเป็น high-risk ALL แต่การรักษาที่ได้ผลจะไม่เหมือนกับ high-risk 
ALL ทั่วไป ดังนั้น national protocol for high-risk ALL ที่สร้างขึ้นนี้จะไม่รวมถึงการรักษา ALL ในสถานการณ์เหล่านี้ 
(exclusion criteria) 
การรักษา Low-risk ALL 
มะเร็ง ALL low risk เป็นโรคที่มีโอกาสหายขาดสูง หากได้รับการรักษาที่ intensive เพียงพอ หาก relapse แล้วจะรักษายาก 
อัตราการหายขาดของ low-risk ALL ในหลายสถาบันของประเทศไทย สูงถึง 80-90% ที่ประชุมเห็นว่า protocol ที่จะทำ 
ร่วมกันนี้ต้องการให้เป็น protocol ที่จะมีผลการรักษาที่ดี สามารถปฏิบัติได้ คุ้มกับค่าใช้จ่ายที่ลงทุน ประกอบด้วย 5 phases 
คือ 1) Induction of remission, 2) consolidation/CNS prophylaxis, 3) interim maintenance, 4) re-intensification, และ 5) 
maintenance phases 
Induction of remission: 
4-drug induction: 
Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV weekly x 4 wks (days 1, 8, 15, 22) 
Æ Doxorubicin x 25 mg /M2 IV x 2 doses (days 1, 8) 
Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 6 doses (days 8, 10, 12, 15, 17, 19) 
Æ Prednisolone 40 mg/M2 x 28 days (days 1-28) 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (days 1, 15) 
Æ ตรวจไขกระดูก ประเมิน remission ในครบ 4 สัปดาห์ 
Supportive care: 
ให้ platelet transfusion เพื่อให้เกร็ดเลือดสูงกว่า 20,000 IU 
ตรวจ bone marrow aspiration ในวันที่ 28 เพื่อประเมินว่าได้ remission 
การวิเคราะห์ protocol ที่ใช้รักษาในประเทศไทยพบว่า ในช่วง induction of remission การใช้ยา 3 ชนิด คือ 
vincristine, L-asparaginase, prednisolone เหมือนกันหมด ข้อมูลจากทั่วโลกบ่งว่าสามารถทำให้หายขาดได้ 95% เช่นเเดียว 
กับ 4-drug induction อย่างไรก็ดี มีหลักฐานว่าการให้ยาจำนวนมากที่สุดในช่วงแรกจะทำให้อัตราการหายขาด (long-term 
remission) ที่ดีกว่า ศิริราชใช้ Doxorubicin x 6 doses ทุกราย และไม่ได้ให้ยาในช่วง reinduction ก็ได้ผลดี แต่ประสบการณ่ 
ของรามาธิบดี และจุฬาลงกรณ์พบว่าแม้ให้ doxorubicin x 4 doses ก็พบว่ามีความเสี่ยงอันเกิดจาก neutropenia และอยู่ 
โรงพยาบาลนาน แต่การลด doxorubicin เหลือเพียง 2 doses สามารถลดความเสี่ยงได้และน่าจะปฏิบัติได้ทั่วไป ที่ประชุมจึง 
เห็นว่า ควรใช้ 4-drug induction โดยให้ doxorubicin x 2 doses
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
8 
ที่ประชุมได้พิจารณาว่า L-asparaiginase เป็นยาที่สำคัญในการรักษา ALL การให้ยานี้มีการใช้นี้ฉีด intramuscular 
หรือ subcutaneous สัปดาห์ละ 3 ครั้งโดยให้ 6000 IU/M2 x 9 ครั้ง หรือ 10000 IU x 6 ครั้ง ได้ dose-intensity ใกล้เคียงกัน 
แต่การให้ 10000 IU x 6 ครั้ง ทำได้ง่ายกว่าและอาจประหยัดกว่าเนื่องจากยานี้มีขนาดบรรจุขวดละ 10000 U เมื่อใช้ขนาด 
น้อยจะมียาเหลือต้องทิ้งเพราะเก็บไว้ใช้ต่อไม่ได้ จะเริ่มในวันที่ 8 ของการรักษา เนื่องจากอาจทำให้อาการแพ้ลดลง 
ด้วยการให้ยา L-asparaginase มีภาวะแทรกซ้อนได้หลายประการ เช่น hyperglycemia, pancreatitis, pancreatic 
cyst, cerebral thrombosis แต่เนื่องจากยานี้เป็นยาสำคัญ จึงขอเสนอให้ปรับลด dose ลงเป็น 6,000 – 10,000 IU/dose x 6 
doses ตามวิจารณญานของแพทย์ผู้รักษา 
ที่ประชุมได้พิจารณาการประเมิน bone marrow ในวันที่ 14 ว่ามี ‘early response’ อย่างไร แต่ได้สรุปว่าเนื่องจาก 
การให้ยาสูตรนี้มี intensity สูงพอ จึงไม่จำเป็นต้องประเมิน early response. 
Consolidation & CNS prophylaxis 
• High-dose methotrexate 1.5 g/M2 in 24 hours x 4 doses q 2 weeks + leucovorin 6 doses ตั้งแต่ 6 ชั่วโมงหลังหยุดยา 
พร้อมกับ intrathecal methotrexate. 
ALL มีความเสี่ยงที่จะเกิด CNS relapse ได้มาก การให้ CNS prophylaxis จะลดอัตราการเกิด CNS relapse ได้มาก 
ในอดีตในการการฉายรังสีที่สมอง (Cranial radiation therapy, CRT) เคยเป็นมาตรฐาน แม้ลดลงเป็น 1800 cGY แล้ว แต่ก็มี 
ปัญหา secondary brain tumor แม้ว่าบางสถาบันได้งด radiation และให้ intrathecal methotrexate (ITM) เพียงอย่างเดียวใน 
low-risk ALL แต่ข้อมูลทั่วโลกบ่งชี้ว่าการให้ยา ITM ไม่เพียงพอที่จะป้องกัน CNS relapse การให้ intrathecal therapy เพียง 
เท่านั้น โดยไม่ฉายรังสีด้วย มี delayed CNS relapse 2-5 ปี หลังหยุดยา 
การใช้ High-dose methotrexate (IDM) สามารถทดแทน CRT ได้และยังเป็นการให้ consolidation ได้ดี 
ยาดังนั้น การให้ HDM ที่สูงเกิน 2 g/M2 จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังระดับของ MTX เพื่อประเมินว่าควรให้ leucovorin rescue 
ในปริมาณเท่าใดและนานเท่าใด การเฝ้าระวังระดับ MTX เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะทำได้เพียงที่รามาธิบดี ประสบการณ์ 
ของศิริราชซึ่งให้ dose escalation โดยเริ่ม MTX 1 g/ M2 และเพิ่มเป็น 1.5 และ 2 g M2 รวม 4 ครั้งสามารถใช้ได้อย่าง 
ปลอดภัย ที่ประชุมจึงมีมติว่า ให้ใช้ HDM 1.5 g M2 ทุก 2 สัปดาห์ x 4 ครั้งเพื่อเป็น consolidation และ CNS prophylaxis 
โดยให้ intrathecal methotrexate ร่วมไปด้วยทุก 2 สัปดาห์ คาดว่าการใช้ HDM แทน radiation จะลดปัญหาในการบริหาร 
จัดการส่งผู้ป่วย low-risk ALL เพื่อทำ CNS radiation ได้อีกโสดหนึ่ง 
ที่ประชุมได้พิจารณาว่าควรใช้ triple intrathecal therapy (TIT) หรือ ITM เพียงอย่างเดียว เนื่องจาก TIT ทำให้เพิ่ม 
ค่าใช้จ่าย และอาจเพิ่ม CNS toxicity จึงมีมติให้ใช้เพียง ITM ในการรักษามาตรฐาน เว้นแต่ในรายที่เป็น CNS disease หรือ 
CNS relapse (ดู high-risk protocol)
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
9 
Delayed-intensification 
Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 3 weeks (day 1, 8, 15) 
Æ Doxorubicin x 25 mg/M2 IV x 1 doses (day 1) 
Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 4 doses (days 8, 11, 15, 18) 
Æ Dexamethasone 10 mg/M2 x 21 days (days 1-22) then taper 
Æ Cyclophosphamide 1 g/M2 (day 22) followed by AraC 75 mg/M2 x 8 days (day23-26, 29-32) 
Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2 x14 days (days 22-36) 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (during Cyclo-AraC) 
การให้ยาซ้ำ delayed intenstification/ reinduction จะทำให้มีอัตราการหายขาดของ ALL เพิ่มขึ้นทั้ง low & high-risk 
ดังนั้น หลังจากที่ให้ยา interim maintenance x 3 เดือน (ดู maintenance) แล้วตามด้วยยาในช่วง delayed 
intenstification/ reinduction การให้ยาในช่วงนี้แตกต่างจากในช่วง induction เพียงเล็กน้อยคือ ให้ vincristine x 3 ครั้ง, 
doxorubicin เพียง 1 ครั้ง, ใช้ dexamethasone แทน prednisolone ตามด้วย cyclophosphamide, AraC และ 6MP 
Maintenance 
Æ Methotrexate 20 mg/M2 once weekly PO 
Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2/day PO 
Æ with pulse vincristine-prednisolone ทุก 4 สัปดาห์ 
Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 1 dose 
Prednisolone 40 mg/M2 x 5 days 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) ทุก 12 สัปดาห์ 
ให้ยาในช่วง maintenance เป็นเวลารวม 2 ½ ปีในเด็กหญิง และ 3 ปีในเด็กชาย 
การให้ยาในช่วง maintenance จะให้ methotrexate-6MP เป็นพื้นฐาน และมี pulse vincristine-prednisolone ทุก 
เดือน และให้ ITM ทุก 3 เดือน ที่ประชุมได้พิจารณาการฉีด ITM ทุกเดือนจนครบใน 1 ปีแล้วไม่ต้องฉีดอีก แต่ส่วนใหญ่ 
เห็นว่าเด็กมักรับไม่ได้ จึงให้ยาฉีดเข้าหลังทุก 3 เดือนจนครบ 3 ปี 
เนื่องจากมีหลักฐานมากพอที่จะแนะนำว่า เด็กหญิงไม่จำเป็นต้องให้ maintenance phase ยาวนานเท่าเด็กชาย 
สำหรับ low-risk ALL ดังนั้นจึงให้ยาในช่วง maintenance เป็นเวลารวม 2 ½ ปีหลังจากได้ remission ในเด็กหญิง และ 3 ปี 
ในเด็กชาย
10 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
การตรวจไขกระดูก 
การตรวจไขกระดูกจำเป็นต้องทำแรกวินิจฉัย เมื่อให้ induction of remission ครบ และก่อนหยุดยา แม้ว่าการตรวจ 
ไขกระดูกระหว่างการรักษาอาจทำให้สามารถตรวจพบ relapse ได้เร็วขึ้น และอาจเป็นช่องทางให้เปลี่ยนการรักษาเช่นเพิ่ม 
intensification เป็นต้น แต่ข้อมูลจากการศึกษา minimal residual disease ในผู้ป่วย low-risk ALL พบว่า ผู้ป่วยเหล่านี้ตรวจ 
ไม่เคยตรวจพบ MRD แม้เมื่อจบการรักษา และมีหลักฐานที่แสดงว่า แม้ CBC จะตรวจพบ relapse ได้ช้ากว่าแต่ prognosis 
ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นเนื่องจากการรักษาตาม national protocol นี้แล้วคาดว่าโอกาสหายขาดสูง จึงสรุปว่าไม่จำเป็นต้อง 
ตรวจ bone marrow aspiration เป็นประจำแต่ให้ทำ BMA เมื่อมี unexplained cytopenia ระหว่างการรักษา หรือเมื่อสงสัยว่า 
อาจมี relapse เท่านั้น 
การตรวจเมื่อหยุดยาแล้ว (Follow-up studies) 
ผู้ป่วยที่หยุดยาแล้วควรได้รับการตรวจ CBC อย่างน้อยดังนี้ 
• ปีที่ 1 ทุก 2 เดือน 
• ปีที่ 2 ทุก 3 เดือน 
• ปีที่ 3 ทุก 6 เดือน 
• หลังปีที่ 3 ทุก 12 เดือน 
ที่ประชุมเห็นด้วยว่าไม่จำเป็นต้องเจาะไขกระดูกเป็นประจำ เว้นแต่เมื่อสงสัยว่าจะ relapse ด้วยเหตุผลเช่นเดียวกับข้างต้น 
การรักษา High-risk ALL 
การรักษา high-risk ALL ในปัจจุบันในแต่ละสถาบัน ก็ได้ผลดีพอสมควร โดยมีอัตราการหายขาดระหว่าง 50-78% 
เมื่อวิเคราะห์ protocol ที่ใช้ในสถาบันต่าง ๆ พบว่ามีความคล้ายคลึงกัน คือให้ยา 4-drug induction, consolidation, cranial 
radiation, และ delayed intensification/ re-induction, ตามด้วย maintenance แต่รายละเอียดของ delayed intensification/re-induction 
ต่าง ๆ กัน ที่ประชุมจึงสรุปได้ดังนี้ 
Induction of remission 
4-drug induction: 
Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV weekly x 5 wks (days 1, 8, 15, 22, 29) 
Æ Doxorubicin x 25 mg/M2 IV x 4 doses (days 1, 8, 15, 22) 
Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 6 doses (days 8, 10, 12, 15, 17, 19) 
Æ Prednisolone 40 mg/M2 x 28 days (days 1-28) 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (days 1, 15) 
Æ ตรวจไขกระดูก ประเมิน remission ใน day 35
11 
การให้ induction of remission ด้วย 4-drug นี้จะทำให้ delayed recovery of neutrophil จนถึงประมาณ 6 สัปดาห์จึง งด 
ยาอื่นยกเว้นให้ vincristine จนถึงเวลาประเมิน remission ในสัปดาห์ที่ 6 
Consolidation & CNS prophylaxis 
Æ Cyclophosphamide 1 g/M2 (day 1) followed by AraC 75 mg/M2 x 8 days (day2-5, 8-11) 
Æ 6-mercaptopurine 50 mg/ M2 x14 days (days 1-15) 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (during Cyclo-AraC) 
Æ เมื่อ ANC>1,000 /ul, platelet count > 100,000/ul ให้เริ่ม high-dose methotrexate 1.5 g/M2 in 24 hours x 4 doses q 2 
weeks (day 28, 42, 56, 70) + leucovorin 6 doses ตั้งแต่ 6 ชั่วโมงหลังหยุดยา พร้อมกับ intrathecal methotrexate 
Æ Cranial radiation 1800 cGy in 10-12 fractions 
เมื่อ ANC>1,000 /ul, platelet count > 100,000/ul ให้เริ่มยาในช่วง Consolidation ด้วย cyclophosphamide, AraC 
และ 6MP จาก low-risk ALL ซึ่งมี high-dose MTX 4 ครั้งอยู่แล้ว และจะเพิ่ม CNS radiation 1800 cGy หลังได้รับ HDM 
ครบแล้ว เนื่องจากความเสี่ยงที่จะเกิด CNS relapse จะสูงกว่า low-risk ALL มาก แม้ว่าการให้ high-dose MTX ในขนาดสูง 
มากเช่น 5 g/M2 อาจทดแทนได้แต่ก็ไม่เหมาะที่จะใช้ใน national protocol เพราะส่วนใหญ่ไม่สามารถตรวจระดับ MTX ได้ 
Delayed-intensification x 2 หลัง interim maintenance 3 เดือน 
Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 3 weeks (day 1, 8, 15) 
Æ Doxorubicin x 25 mg/M2 IV x 1 doses (day 1) 
Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 4 doses (days 8, 11, 15, 18) 
Æ Dexamethasone 10 mg/M2 x 21 days (days 1-22) then taper 
Æ Cyclophosphamide 1 g/M2 (day 22) followed by AraC 75 mg/M2 x 8 days (day23-26, 29-32) 
Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2 x14 days (days 22-36) 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (during Cyclo-AraC) 
การรักษา high-risk ALL จะมี intensification/ re-induction อีก 2 ครั้ง หลังจาก ให้ interim maintenance เป็นเวลา 3 
เดือนจากยาชุดก่อน ดังนั้นจำนวน cyclophosphamide, AraC และ 6MP ตลอดการรักษาจะเป็น 3 เท่าของ low-risk ALL และ 
จำนวน total doxorubicin จะเป็น 6 ครั้ง คือ 2 เท่าของ low-risk ALL protocol ที่ประชุมได้รับทราบแนวทางการรักษาของศิ 
ริราช protocol 6A ซึ่งปรับปรุงมาจาก Tokyo protocol ใช้มาเป็นเวลาหลายสิบปี และมี long-term survival ดีมากถึง 78% 
ประกอบด้วย ยา 3 ชนิดสลับกัน เดือนละครั้ง รวม 8 เดือน ตามด้วย maintenance ซึ่งให้ methotrexate 300 mg/M2 IV ทุก 2 
สัปดาห์ แต่เห็นว่าการให้ยาเช่นนี้ไม่สะดวกพอที่จะใช้เป็นมาตรฐาน จึงเลือกใช้ intensification/ re-induction 2 ครั้งใน 
national protocol for high-risk ALL 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
12 
Maintenance 
Æ Methotrexate 20 mg/M2 once weekly PO 
Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2/day PO 
Æ with pulse vincristine-prednisolone ทุก 4 สัปดาห์ 
Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 1 dose 
Æ Prednisolone 40 mg/M2 x 5 days 
Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) ทุก 12 สัปดาห์ ให้ยาในช่วง maintenance เป็นเวลารวม 3 ปีในเด็กหญิงและ 
ชาย 
การให้ยาในช่วงนี้เหมือนกันทั้ง low- และ high-risk ALL แต่จะให้เป็นเวลานานเท่ากันทั้งชายและหญิง ที่ประชุม 
ได้พิจารณา rotating chemotherapy เช่น การใช้ cyclo-AraC สสับเดือนละครั้ง แต่เห็นว่าจะทำให้ protocol ซับซ้อนเกินไป 
และไม่สะดวกสำหรับผู้ป่วย อีกทั้งยังไม่มีหลักฐานว่า ผลการรักษาจะดีกว่าแบบอื่นอย่างชัดเจน จึงมิได้ใช้หลักการนี้ใน 
national protocol. 
การรักษา CNS disease 
ผู้ป่วยที่ตรวจพบว่ามี blast ในน้ำไขสันหลัง CSF จะให้การรักษาเพิ่มเติมดังนี้ 
Æ Triple Intrathecal therapy (dose ตามอายุ) x ทุก 1 สัปดาห์ ในช่วง induction จนกระทั่งตรวจไม่พบเซลล์ 2 สัปดาห์ 
ติดกัน โดยให้ TIT รวมอย่างน้อย 4 ครั้ง อย่างมาก 8 ครั้ง 
Æ ในช่วง consolidation ให้ High-dose methotrexate 1.5 g/M2 x 4 doses q 2 weeks + leucovorin 6 doses ตั้งแต่ 6 ชั่วโมง 
หลังหยุดยา พร้อมกับ intrathecal methotrexate เท่านั้น ตามด้วย 
Æ Cranial radiation 1800 cGy in 10-12 fractions 
ที่ประชุมได้พิจารณา dose ของ cranial radiation ว่า ควรเป็น 1800-2400 cGy และว่าควรรวม spinal radiation 1,200 
cGy ด้วยหรือไม่ สรุปว่าการให้ triple intrathecal therapy ตามด้วย HDM น่าจะคุมโรคได้ดีจึงควรฉายแสงเพิ่มเพียงที่สมอง 
ไม่ร่วมไขสันหลังในปริมาณ 1800 cGy หลังจากนั้นดูแลเหมือน high-risk ALL ทั่วไป 
การรักษา testicular involvement 
ผู้ป่วยที่มี testicular enlargement at diagnosis (ขนาดใหญ่กว่า 2 SD ของ orchidometry) ให้ local testicular 
radiation 1800 cGyระหว่าง induction therapy 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
13 
ความคาดหวังของการนำไปใช้ national protocol for ALL 
National protocol ที่ได้ร่วมกันสร้างขึ้นนี้ เป็นที่พอใจของผู้ร่วมประชุมทุกฝ่าย เชื่อว่าจะทำให้ผลการรักษาดี ใช้ได้ 
ไม่ยุ่งยาก เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยและโรงพยาบาลในประเทศไทย สามารถให้ในระบบผู้ป่วยนอกได้เป็นส่วนใหญ่ 
จำเป็นต้องให้ในโรงพยาบาลไม่มากนัก โรงพยาบาลทุกแห่งที่ร่วมกันสร้าง low-risk protocol ตั้งใจจะนำไปใช้เป็น 
มาตรฐาน และเก็บข้อมูลร่วมกันผ่านระบบ registry และสำหรับ high-risk ALL protocol นั้น อย่างน้อย 5 สถาบันจะ 
นำไปใช้ได้ทันที แต่บางแห่งจะยังคงใช้ high-risk ALL protocol ของตน (institutional protocol) เพราะเชื่อว่าอาจได้ผล 
ดีกว่า แต่จะพิจารณาทำ randomized controlled trial ร่วมกันเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงนี้ในอนาคต เชื่อว่าการใช้ national 
protocol นี้จะทำให้ long-term event-free survival ของ low-risk ALL ในประเทศไทยน่าจะสูงกว่า 80% และ high-risk ALL 
น่าจะสูงกว่า 60% 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
14 
Thai National protocol for treatment of childhood acute non-lymphocytic leukemia (ANLL) 
Acute non-lymphocytic leukemia เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อยในเด็ก สถิติที่ศึกษาโดยกลุ่ม Thai pediatric oncology group 
พบประมาณปีละ 120 ราย จำเป็นต้องแยกออกจาก acute lymphoblastic leukemia เพื่อสามารถให้การรักษาที่เหมาะสม 
สำหรับแต่ละโรค 
การจำแนกชนิดของ ANLL (Classification): 
การจำแนกชนิดของ ANLL อาจใช้เกณฑ์ของ World Health organization 2000 อาศัยการตรวจโครโมโซมของเซลล์มะเร็ง 
เป็นหลัก ร่วมกับการย้อม histochemistry ของเซลล์ แต่เนื่องจากการตรวจนี้ทำไม่ได้ทุกแห่ง และมิได้มีผลต่อการตัดสินใจ 
ให้การรักษาจึงมิได้กำหนดเป็นมาตรฐานสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน ผลการรักษาของ ANLL โดยทั่วไป ยังไม่ดีนัก 
ยกเว้นชนิด Acute promyelocytic leukemia with t (15;17) ซึ่งรักษาได้ดีด้วย retinoic acid 
การรักษา ANLL 
ที่ Protocol ที่ใช้ รพ.ศิริราช และ สงขลานครินทร์ ใช้ BFM protocols (BFM 83) ได้ ซึ่งประกอบด้วย induction, 
consolidation และ maintenance x 2 ปี ผลการรักษา overall survival ประมาณ 40-50% ทั้งสองแห่ง 
Protocol ที่ รพ.จุฬาลงกรณ์ ขอนแก่น ให้ induction ด้วย Doxo/Idarubin + AraC, consolidation ด้วย High-dose Ara-C หรือ 
Mitoxanthrone + Etoposide โดยไม่มี maintenance ได้ผลการรักษา overall survival เพียง 20-30% ดังนั้น จึงเห็นว่า TPOG 
จะ adopt BFM83 เป็นมาตรฐานในการรักษา 
โอกาส remission ใน protocol นี้เพียง 60-70% เท่านั้น หากยังไม่ได้ remission ให้ยาในช่วง consolidation ต่อไปอาจได้ 
remission เพิ่มขึ้น ในกรณีที่ควรปลูกถ่ายไขกระดูก ก็ควรไปปลูกถ่ายไขกระดูก 
CNS radiation ให้ในกรณีที่มี CNS involvement แต่แรกเท่านั้น หากไม่ได้ปลูกถ่ายไขกระดูกให้ maintenance จนครบ 
20 เดือน 
ด้วยผลการรักษาใน 6 เดือนแรกของ TPOG-AML-01-05 ทั่วประเทศ 50 รายมีผู้ป่วยเสียชีวิตระหว่างการให้ยาในช่วงแรก 15 ราย 
(30%) แพทย์หลายสถาบันเห็นว่าการรักษานี้มี toxicity สูง จำเป็นต้องอยู่โรงพยาบาลนาน 2-3 เดือน อาจเนื่องมาจากการในการให้ 
supportive care ในและนอกโรงพยาบาล ความจำกัดของเตียง จึงเสนอให้ปรับลดขนาดยาในช่วง induction โดยให้แพทย์ผู้รักษา 
เลือกให้ Ara-C ขนาดเดิม (50 mg/M2/dose IV q12 hr= 100 mg/ M2/day) หรือลดขนาด AraC ระหว่างวันที่ 3-7 ลงครึ่งหนึ่ง(50 
mg/M2/dose IV q24 hr= 50 mg/ M2/day) ก็ได้ (ซึ่งข้อมูลจาก มอ. ได้ใช้ protocol ที่ลดขนาดยานี้แล้วยังมีโอกาสหาย 5-year 
event free survival 38%) ตามวิจารณญานของแพทย์ผู้รักษา โดยที่ปริมาณของยา doxorubicin, etoposide คงเดิม ทั้งนี้ควรให้การ 
ดูแล supportive care 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
15 
Indication for Bone marrow transplantation 
ถ้ามี match-sibling donor และ ไม่ใช่ t(8;21) แนะนำให้ปลูกถ่ายไขกระดูกหลัง consolidation 
ในกรณีที่สงสัยว่าเป็น acute promyelocytic leukemia ควรได้รับการตรวจโครโมโซมเป็นพิเศษ เพื่อทราบว่ามี t (15;17) 
หรือตรวจหา PML-RARA transcript หากตรวจพบว่ามีความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซมเหล่านี้ อาจให้การรักษาด้วย 
protocol ที่มียา All-trans retinoic acid (ATRA) รายละเอียดดูภาคผนวกThaiPOG__APL.doc แต่เนื่องจากยา ATRA เป็นยา 
นอกบัญชียาหลักแห่งชาติ สถานบริการบางแห่งอาจมิได้นำเข้า ก็ให้รักษาเช่นเดียวกับ ANLL ชนิดอื่น ๆ แต่หาก 
โรงพยาบาลมียา ATRA ก็พึงรักษาด้วย protocol ที่มียา ATRA 
Thai National protocol for treatment of childhood lymphoma 
ดู ThaiPOG CPG lymphoma.pdf 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
16 
ภาคผนวก 
National Protocol for Acute Lymphoblastic Leukemia 
Protocol name Protocol TPOG- ALL-01-05 
Protocol for Low Risk ALL 
Open Date 7 May 2005 
Patients eligibility 
‰ Acute lymphoblastic leukemia 
‰ Initial WBC < 50,000/mm3 
‰ Age between 1 - 10 yr. 
Exclusion criteria 
‰ T -cell characteristics; acid phosphatase positive with mediastinal mass, 
huge hepatomegaly > 6 cm and/or splenomegaly below the umbilicus 
‰ CNS disease at diagnosis 
‰ Testicular involvement at diagnosis 
‰ Mature B-cell ALL (morphology L3) 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Phase I INDUCTION (4 weeks) Date started / / 
week 1 2 3 4 5 6 
day 1 8 15 22 29 36 
Date given 
Alkalinization + prophylactic medication + sterile bowel 
Prednisolone ___ _________________ 
Vincristine __ ____ mg IV À À À À 
Doxorubicin ___ ___ mg IV Δ Δ 
L-asp ___ _______ U IM (M-W-F) I I I I I I 
MTX________mg IT* T T 
BM aspiration Æ Δ remission Δ not remission „ 
Drug Dosage Day 
Prednisolone 40 mg/m2 /day 1-28 then taper off in 2 wks. 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15, 22 
Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1, 8 
L-asparaginase 6,000-10,000 unit /m2 IM M-W-F 8, 10, 12, 15, 17, 19 
MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 15 
Prophylactic drugs & Sterile Bowel 
ƒ Sodamint 1 tab PO BID (<5yr) or TID (>5yr) First 2 weeks 
ƒ Allopurinol (100 mg) 10 mg/kg/day divided BID-QID First 2 weeks 
ƒ Clotrimazole troche (10 mg) 
or nystatin suspension 
1 tab PO TID (>5yr) or 
nystatin 2 ml PO QID (<5yr) 1-28 
1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 
8 10 12 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
17 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-01-05 
Phase II CONSOLIDATION & CNS PROPHYLAXIS (7 weeks) Date started / / 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 
day 1 8 15 22 29 36 43 50 
Date given 
6-MP(50 mg) ___ tab q hs 
Methotrexate mg IV drip 24 hr À À À À 
Hydration & alkalinization¶ 
Leucovorin tab IV or po q 6 hr X 6 doses 
„ 
Δ 
„ 
Δ 
„ 
Δ 
MTX mg* T T T T 
¶ See high dose MTX guideline 
Drug Dosage Day 
Methotrexate 1.5 gm /m2 IV drip in 24 hr 
(see Appendix) 
1, 15, 29, 43 
Leucovorin (start at 12 hr after stop MTX) 15 mg/m2 IV or PO q 6 hr x 6 doses 2, 16, 30, 44 
MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 15, 29, 43 
6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 1-56 
„ 
Δ 
1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 
8 10 12 
Phase III INTERIM - MAINTENANCE PHASE (3 months) 
Date started week1 / / , week 5 / / , week 9 / / . 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 
Vincristine _____ mg IV À À À 
Pred (5 mg) ____________ P P P 
MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 
6-MP(50 mg) ___ tab q hs 
Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 
Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO 
Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
18 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-01-05 
Phase IV DELAYED - INTENSIFICATION (7 weeks) Date started / / _ 
week 1 2 3 4 5 6 7 
day 1 8 15 22 29 36 43 
Date given 
Dexamethasone ___________ 
Day 1-21 
Vincristine ______ mg IV À À À 
Doxorubicin ______ mg IV Δ 
L-asp ______ U IM 
I I I I 
Ara-C _______mg IV I I I I I I I I 
CTX _______mg IV ‹ 
6-MP _________________ 
MTX _______ mg IT* T T 
Day 29-42 
Drug Dosage Day 
Dexamethasone 10 mg/m2 /day PO 1-21 then taper off 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15 
Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1 
L-asparaginase 6,000-10,000 unit /m2 IM 8, 11, 15, 18 
Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr. 29 
Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 29-32, 36-39 
6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO x 14 days 29-42 
MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29 
1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 
8 10 12 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
19 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-01-05 
Phase V MAINTENANCE Total 2.5 yrs. after remission in girls 
Total 3 yrs. after remission in boys 
Date remission / / _ Date started maintenance / / 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 
MTX _______ mg IT* T 
Vincristine ____ mg IV À À À 
Pred (5 mg) ____________ P P P 
MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 
6-MP(50 mg) ___ tab q hs 
Record date given wk 1 _____________ wk 2 _____________ wk 3 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 13 _____________ wk 17_____________ wk 21 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 25 _____________ wk 29_____________ wk 33 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 37 _____________ wk 41_____________ wk 45 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 49 _____________ wk 53_____________ wk 57 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 61 _____________ wk 65_____________ wk 69 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 73 _____________ wk 77_____________ wk 81 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 85 _____________ wk 89_____________ wk 93 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 97 _____________ wk 101____________ wk 105 __________ 
Ht _____ Wt ______ wk 109 ____________ wk 113____________ wk 117 __________ 
Ht _____ Wt ______ wk 121 ____________ wk 125____________ wk 129 __________ 
END OF THERAPY Date / / _ 
Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 
Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO 
Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 
1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 
8 10 12 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
20 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-01-05 
POST TREATMENT GUIDELINES 
Guidelines for follow up patients post treatment 
1. 1st year : 
ƒ PE, CBC q 2 months. 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
2. 2nd year : 
ƒ PE, CBC q 3 months. 
3. 3rd year : 
ƒ PE, CBC q 6 months 
4. After 3rd year : 
ƒ PE, CBC q 12 months 
Bone marrow aspiration 
1. Before discontinue chemotherapy 
2. Unexplained cytopenia 
3. Sign & symptom of relapse 
Guideline for bactrim prophylaxis 
1. Started when consolidation 
2. Bactrim is given 5 mg of TMP /kg/day divided bid 2-3 times per week (M-W-F, F-Sa-Su, or Sa-Su) 
3. Stop bactrim prophylaxis 1 week before and during CNS prophylaxis with high-dose methotrexate
21 
National Protocol for Acute Lymphoblastic Leukemia 
Protocol name Protocol TPOG- ALL-02-05 
Protocol for High Risk ALL and T-cell NHL or LBL stage III/IV 
Open Date 7 May 2005 
Patients eligibility 
1. Acute lymphoblastic leukemia with any of the following characteristics 
‰ Initial WBC > 50,000/mm3 
‰ Age > 10 yr or < 1 yr 
‰ T -cell characteristics; acid phosphatase +ve with mediastinal mass, 
huge hepatomegaly >6 cm and/or splenomegaly below the umbilicus 
‰ CNS disease at diagnosis** 
‰ Testicular involvement at diagnosis*** 
2. Non-Hodgkin lymphoma: T-cell or lymphoblastic type, stage III / IV 
Exclusion criteria 
‰ Mature B-cell ALL 
(see SNC protocol) 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Phase I INDUCTION (6 weeks) Date started / / 
week 1 2 3 4 5 6 
day 1 8 15 22 29 36 
Date given 
Alkalinization + prophylactic medication + sterile bowel 
Prednisolone ___ _________________ 
Vincristine __ ____ mg IV À À À À 
Doxorubicin ___ ___ mg IV Δ Δ Δ Δ 
L-asp ___ _______ U IM (M-W-F) I I I I I I 
MTX________mg IT* T T** T T** 
BM aspiration Æ Δ remission Δ not remission „ 
**CNS disease (positive blast cells in CSF) - add age adjusted dose Triple-T IT weekly until blast cells negative 2 consecutive weeks (at 
least 4 doses / maximum 8 doses) 
***Testicular involvement - add testicular radiation total dose 1800 cGy. 
Drug Dosage Day 
Prednisolone 40 mg/m2 /day 1-28 then taper off in 2 wks. 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15, 22 
Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1, 8, 15, 22 
L-asparaginase 6,000-10,000 unit /m2 IM M-W-F 8, 10, 12, 15, 17, 19 
MTX IT* Age-adjusted dose intrathecally 1, 15 
Intrathecal medications 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
*adjust dose according to age MTX 8 10 12 
**Triple intrathecal for CNS disease ARA-C 20 25 30 
Hydrocortisone 8 10 15 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
22 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-02-05 
Phase II CONSOLIDATION (12 weeks) Date started ____/_____/______ 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 
day 1 8 15 22 29 36 43 50 57 64 71 78 
Date given 
6-MP _____ tab daily 
CTX ________mg IV ‹ 
Day 1-14 Day 29-85 
Ara-C _________mg IV IIII IIII 
MTX ______ mg IV drip 24 hr# À# À# À# À# 
Hydration & alkalinization¶ 
Leucovorin____mg q 6hr x 6 
„ 
Δ 
„ 
Δ 
„ 
Δ 
„ 
Δ 
MTX _______ mg* T T T T T 
#Start MTX IV drip when ANC > 1000 /μL & Plt > 100,000 /μL 
¶ See high dose MTX guideline 
Drug Dosage Day 
6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO 1-14, 29-85 
Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr. 1 
Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 2-5, 8-11 
Methotrexate (MTX) 1.5 gm /m2 IV drip in 24 hr 29, 43, 57, 71 
Leucovorin (start at 12 hr after stop MTX) 15 mg/m2 IV or PO q 6 hr x 6 doses 30, 44, 58, 72 
MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29, 43, 57, 71 
1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 
8 10 12 
Phase III CNS PROPHYLAXIS# (3 weeks) Date started / / 
Cranial radiation (1800 cGy in 10-12 fraction) 
Date / / to / / 
#Infant leukemia – Postpone CNS prophylaxis until age > 3 year 
**Initial CNS involvement - add age adjusted dose Triple-T IT weekly x 2 doses 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
23 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-02-05 
Phase IV 1st INTERIM - MAINTENANCE PHASE (12 weeks) 
Date started week 1 ____/____/___ week 5 ____/____/___ week 9 ____/____/___ 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 
Vincristine _____ mg IV À À À 
Pred (5 mg) ____________ P P P 
MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 
6-MP(50 mg) ___ tab q hs 
Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 
Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO 
Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 
Phase V 1st DELAYED - INTENSIFICATION PHASE (12 weeks) Date started____/____/___ 
week 1 2 3 4 5 6 
day 1 8 15 22 29 36 
Date given 
Dexamethasone _________ tab PO 
Day 1-21 
Vincristine ______ mg IV À À À 
Doxorubicin ______ mg IV Δ 
L-asp ______ U IM (M- Th) 
I I I I 
Ara-C _______mg IV I I I I I I I I 
CTX _______mg IV ‹ 
6-MP ______ tab PO 
Day 29-42 
MTX _______ mg IT* T# T# 
Drug Dosage Day 
Dexamethasone (0.5 mg tab) 10 mg/m2 /day PO divided tid 1-21 then taper off 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15 
Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1 
L-asparaginase (L-asp) 6,000-10,000 unit /m2 IM M- Th 8, 11, 15, 18 
Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr 29 
Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 29-32, 36-39 
6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO hs x 14 days 29-42 
MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29 
# Age-adjusted dose triple drug intrathecal in CNS disease until total 10 doses 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
24 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-02-05 
Phase VI 2nd INTERIM - MAINTENANCE PHASE (12 weeks) 
Date started week 1 ____/____/___ week 5 ____/____/___ week 9 ____/____/___ 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 
Vincristine _____ mg IV À À À 
Pred (5 mg) ____________ P P P 
MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 
6-MP(50 mg) ___ tab q hs 
Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 
Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO 
Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 
Phase VII 2nd DELAYED - INTENSIFICATION PHASE (12 weeks) Date started____/____/___ 
week 1 2 3 4 5 6 
day 1 8 15 22 29 36 
Date given 
Dexamethasone _________ tab PO 
Day 1-21 
Vincristine ______ mg IV À À À 
Doxorubicin ______ mg IV Δ 
L-asp ______ U IM (M- Th) 
I I I I 
Ara-C _______mg IV I I I I I I I I 
CTX _______mg IV ‹ 
6-MP ______ tab PO 
Day 29-42 
MTX _______ mg IT* T# T# 
Drug Dosage Day 
Dexamethasone (0.5 mg tab) 10 mg/m2 /day PO divided tid 1-21 then taper off 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15 
Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1 
L-asparaginase (L-asp) 6,000-10,000 unit /m2 IM M- Th 8, 11, 15, 18 
Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr 29 
Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 29-32, 36-39 
6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO hs x 14 days 29-42 
MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29 
# Age-adjusted dose triple drug intrathecal in CNS disease until total 10 doses 
Patient’s name Age Sex 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
25 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-02-05 
Phase VIII MAINTENANCE Total 3 yrs after remission 
Date remission / / Date started maintenance / / . 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 
MTX _______ mg IT* T 
Vincristine ____ mg IV À À À 
Pred (5 mg) ____________ P P P 
MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 
6-MP(50 mg) ___ tab q hs 
Record date given wk 1 _____________ wk 5 _____________ wk 9 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 13 _____________ wk 17_____________ wk 21 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 25 _____________ wk 29_____________ wk 33 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 37 _____________ wk 41_____________ wk 45 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 49 _____________ wk 53_____________ wk 57 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 61 _____________ wk 65_____________ wk 69 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 73 _____________ wk 77_____________ wk 81 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 85 _____________ wk 89_____________ wk 93 ___________ 
Ht _____ Wt ______ wk 97 _____________ wk 101____________ wk 105 __________ 
END OF THERAPY Date / / _ 
Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage 
Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 
Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO 
Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 
1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 
8 10 12 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
26 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG- ALL-02-05 
POST TREATMENT GUIDELINES 
Guidelines for follow up patients post treatment 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
1. 1st year : 
• PE, CBC q 2 months. 
2. 2nd year : 
• PE, CBC q 3 months. 
3. 3rd year : 
• PE, CBC q 6 months 
4. After 3rd year : 
• PE, CBC q12 months 
Bone marrow aspiration 
1. Before stop chemotherapy 
2. Unexplained cytopenia 
3. Sign & symptom of relapse 
Guideline for bactrim prophylaxis 
1. Start when consolidation 
2. Bactrim is given 5 mg of TMP /kg/day divided bid 2-3 times per week (M-W-F, F-Sa-Su, or Sa-Su) 
3. Stop bactrim prophylaxis 1-week before and during CNS prophylaxis with high-dose methotrexate 
Reimmunization 
-post off treatment 1 yr.
27 
National Protocol for Acute Non-Lymphoblastic Leukemia 
Protocol name Protocol TPOG-AML-01-05 
Modified from Protocol AML-BFM-83: Med Pediatr Onc 1993; 21:8-13 
Open Date 15 October 2005 
Patients eligibility 
Exclusion criteria 
‰ Acute non-lymphoblastic leukemia 
‰ Relapsed ANLL 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Phase I INDUCTION (6 weeks) Date started / / 
day 1 2 3 4 5 6 7 8 
Date given 
Alkalinization + prophylactic medication + sterile bowel 
Cytosine Arabinoside _____ mg IV infusion in 24 hr 
Cytosine Arabinoside _____ mg IV q 12-24 hr ¿ ¿ ¿ ¿ ¿ ¿ 
Adriamycin ___ ___ mg IV Δ Δ Δ 
Etoposide _______ mg IV drip in I hr ‹ ‹ ‹ 
MTX____ _ mg* IT T# 
BM aspiration when >day 15 and ANC > 1,000 /uL ____/____/____ 
Results : … in remission (blast < 5%) Æ Phase II consolidation 
… Not in remission (blast > 5%) Æ If patient can tolerate chemotherapy, repeat Phase I (date _____ / ____ / _____) 
If patient cannot tolerate chemotherapy Æ Phase II consolidation 
#CNS disease – MTX IT at week 1; then followed by Ara-C IT weekly until CSF -ve 
Drug Dosage Day 
Cytosine Arabinoside 100 mg/m2 /day IV infusion in 24 hr 1, 2 
Cytosine Arabinoside 50 mg/m2/dose IV q 12-24 hr x 6 days (6-12doses) 3, 4, 5, 6, 7, 8 
Adriamycin 25 mg/m2 IV push 3, 4, 5 
Etoposide 150 mg / m2 IV drip in 1 hr 6, 7, 8 
Methotrexate IT age adjusted dose intrathecal 1 
Prophylactic drugs & Sterile Bowel 
ƒ Sodamint 1 tab PO BID (<5yr) or TID (>5yr) First 2 weeks 
ƒ Allopurinol (100 mg) 10 mg/kg/day divided BID-QID First 2 weeks 
ƒ Clotrimazole troche (10 mg) 
or nystatin suspension 
1 tab PO TID (>5yr) or 
nystatin 2 ml PO QID (<5yr) 1-28 
drug <1 yr 1-2 yr 2-3 yr >3 yr 
* age adjusted dose intrathecal chemotherapy Methotrexate 6 8 10 12 
Ara-C 15 20 30 50 
Patient’s name Age Sex 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
28 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG-AML-01-05 
Phase II CONSOLIDATION (8 weeks) Date started / / 
week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 
day 1 8 15 22 29 36 43 50 57 
Date given 
Prednisolone ______________________ 
6-TG __________________________ 
Day 1-28 
Day 1-56 
Vincristine ______ mg IV push À À À À 
Adriamycin ______ mg IV push ¿ ¿ ¿ ¿ 
Ara-C ___ mg in piggy back 100 ml IV drip I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I 
CTX ____ mg IV drip in 30 min „ „ 
Ara-C ______ mg IT* T T T T 
Note ถ้าเมื่อใด febrile neutropenia ให้หยุดยาเคมีบำบัดของสัปดาห์นั้นไว้ก่อนจนกว่า ANC> 1,000-1,500 /uL 
จึงให้ยาของสัปดาห์นั้นต่อไป 
Drug Dosage Day 
Prednisolone (5mg) 40 mg /m2 /day PO divided tid-qid 1-28 then taper off 
6-thioguanine (6-TG 40 mg) 60 mg /m2 PO daily 1-56 
Vincristine 1.5 mg /m2 IV weekly 1, 8, 15, 22 
Adriamycin 30 mg /m2 IV weekly 1, 8, 15, 22 
Cytosine Arabinoside (Ara-C) 75 mg/ m2 IV drip in 30 min, 4 days/wk x 8 wk week 1-8 
Cyclophosphamide (CTX) 500 mg/m2 IV drip in 30 min with hydration 29, 57 
Ara C intrathecal Age-adjusted dose* 35, 42, 49, 56 
Co-trimoxazole 5 mg/kg/day divided BID Fri-Sat-Sun 
Phase III CNS PROPHYLAXIS ** 4 weeks Date started / / 
**Only for Patients with initial CNS involvement and age > 2 years only 
Week 1 2 3 4 
Date 
6-TG ___________________ (60 mg/m2 day PO) 
Cranial Irradiation _______ cGy x 10 fractions 
MTX ___________ mg IT x 4 times T T T T 
Date given 
CSF examination: Gross appearance 
Day 1-14 
Pandy / Nonne / / / / 
Benedict test 
Cells (RBC / WBC) / / / / 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
29 
Protocol TPOG-AML-01-05 
Phase IV MAINTENANCE PHASE (Total duration 2 years) Date Started ____/____/___ 
Give the following courses q 4 weeks 
Drug Dosage Day 
Course A (For month 1, 3, 5, 7) 
Cytosine Arabinoside 40 mg/m2 /day IV x 4 days _____________________ Day 1-4 
Adriamycin 25 mg/m2 IV push _____________________ Day 1 
6-Thioguanine 60 mg/m2 /day PO _____________________ Daily 
Co-trimoxazole 5 mg/m2 /day divided BID _____________________ Fri-Sat-Sun 
Course B (For month 2, 4, 6, and 8 – 24 ) 
Cytosine Arabinoside 40 mg/m2 /day IV x 4 days _____________________ Day 1-4 
6-Thioguanine 60 mg/m2 /day PO _____________________ Daily 
Co-trimoxazole 5 mg/m2 /day divided BID _____________________ Fri-Sat-Sun 
LP + Ara-C IT Age adjusted dose _____________________ q 2 months 
BM aspiration * (Optional) q 4 months 
BUN, creatinine, LFT q 4 months 
Schedule: 
Month 1 2 3 4 5 6 7 8 
Date 
Chemotherapy course: A B A B A B A B 
BMA*, blood chem. „ „ 
LP+ Ara C____ mg IT ‹ ‹ ‹ ‹ 
Month 9 10 11 12 13 14 15 16 
Date 
Chemotherapy B B B B B B B B 
BMA*, blood chem. „ „ 
LP+ Ara C____ mg IT ‹ ‹ ‹ ‹ 
Month 17 18 19 20 21 22 23 24 
Date 
Chemotherapy B B B B B B B B 
BMA*, blood chem. „ „ 
LP+ Ara C____ mg IT ‹ ‹ ‹ ‹ 
END OF THERAPY Date / / _ 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
30 
Patient’s name Age Sex 
Hospital HN BW Ht BSA 
Protocol TPOG-AML-01-05 
POST TREATMENT GUIDELINES 
Guidelines for follow up patients post treatment 
• 1st year : PE, CBC q 2 months. 
• 2nd year : PE, CBC q 3 months. 
• 3rd year : PE, CBC q 6 months 
• After 3rd year : PE, CBC q 12 months 
Bone marrow aspiration 
1. Before discontinue chemotherapy 
2. Unexplained cytopenia 
3. Sign & symptom of relapse 
Guideline for bactrim prophylaxis 
1. Start when consolidation 
2. Bactrim is given 5 mg of TMP /kg/day divided bid 2-3 times per week (M-W-F, F-Sa-Su, or Sa-Su) 
3. Stop bactrim prophylaxis 1 week before and during CNS prophylaxis with high-dose methotrexate 
Reimmunization 
-post off treatment 1 yr. 
Evaluation for long term side effects yearly 
1. Growth chart 
2. Learning problems 
3. Endocrine evaluation and consultant when enter adolescent 
4. Secondary malignancy 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
31 
Appendix 
Guideline for Administration of High dose Methotrexate > 1000 mg/m2 
Modified Toxicity Criteria for Cancer Chemotherapy 
Chemotherapy Modification Guideline for Hepatic Dysfunction 
Chemotherapy Modification Guideline for Renal Dysfunction 
Anthracyclin Record Sheet 
Guideline For Drug Preparation 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
32 
Guideline for Administration of High dose Methotrexate > 1000 mg/m2 
1. ตรวจ CBC : ให้ยาได้ต่อเมื่อ WBC > 3000/μL, ANC > 1000/μL, Plt > 100,000/μL 
2. ตรวจร่างกายไม่พบ mucositis หรือ oral ulcers 
3. ตรวจ BUN, creatinine คำนวณ creatinine clearance, ปรับ dose ยาตาม creatinine clearance (Page 4) 
4. หยุดยาต่อไปนี้ เนื่องจากจะเพิ่ม MTX toxicity 
cotrimoxazole, salicylate, pyrimethamine, NSAIDs, penicillin, live virus vaccine, probenecid 
5. Hydration and alkalinization 
- ก่อนให้ยา high dose ต้องให้ hydration ด้วย 5%D in N/2 + NaHCO3 20-40 mEq/L + KCL 
10mEq/L IV rate 125ml/m2/hr (2x maintenance rate) อย่างน้อย 2 ชม. เพื่อเพิ่ม urine output ให้ > 
3 ml/kg/hr 
- ก่อนเริ่มการ infusion ของยาควรตรวจให้ urine Sp. gr < 1.010 urine pH > 6.5 ก่อน 
- ควรให้ fluid rate นี้ตลอดการให้ methotrexate และหลังจากยาหมด ควรให้ผู้ป่วยได้น้ำโดยการ 
รับประทานรวมกับ IV fluid ไม่น้อยกว่า 125 ml/M2/hr (3000 ml/M2/day) อีกอย่างน้อย 24-48 ชม. 
เพื่อให้มี urine output > 2 ml/kg/hr 
6. Methotrexate administration (Total dose 1.5 gm/M2/24 hour) 
ผสม Methotrexate 150 mg/M2 (10% of total dose) in 5%D N/2 100ml IV in 1 hour 
ตามด้วย Methotrexate 1350 mg/M2 (90% of total dose) in 5%D N/2 500 ml IV drip in 23 hr 
(หมายเหตุ – ลด rate IV ขณะ drip ยา โดยให้เป็น rate IV + chemo = 125 ml/M2/hr) 
7. หากผู้ป่วยมี inadequate urine output > 3 hr หรือมี fluid overload สามารถให้ยาดังนี้ 
- Mannitol 200 mg/kg in NSS 25 ml IV over 15-60 min 
- Furosemide 0.5-1 mg/kg IV push 
8. Leucovorin rescue ให้เริ่ม leucovorin dose แรกหลังจากเริ่ม MTX 36 ชั่วโมงพอดี (หลัง MTX หมด 12 
ชั่วโมง)โดยการกินหรือฉีดในขนาด 15 mg/M2q 6 hr x 6 doses หากคำนวณได้ยา < 15 mg ให้ยา 1 เม็ด (15 
mg) โดยไม่ต้องแบ่งเม็ดยา หากคำนวณได้ยา > 15 mg ให้ยา 2 เม็ด 
• หากเกิด mucositis หลังการให้ยา methotrexateครั้งที่แล้ว ให้เพิ่ม leucovorin rescue จากเดิมอีก 
3 doses q 6 hr โดยไม่ลด dose ของ methotrexate 
9. หลีกเลี่ยงการให้ยาที่มี nephrotoxicity อื่นๆในระยะเดียวกับที่ให้ยา methotrexate 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
33 
Modified Toxicity Criteria for Cancer Chemotherapy 
Site measure Toxicity grade WNL 0 Mild 1 Moderate 2 Severe 3 Unacceptable 4 
WBC x 103/μL >4.0 3.0-3.9 2.0-2.9 1.0-1.9 <1.0 
ANC x 103/μL >2.0 1.5-1.9 1.0-1.4 0.5-0.9 <0.5 
hemorrhage none minimal Moderate Vital organs Life threatening 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
Blood 
thrombosis none Lab change peripheral Large vv. stroke 
Infection fever <38oC 38-40 oC >40 oC, <72hr > 72 hr > 7 days Infection none mild moderate severe Life threatening 
BUN <20 20-39 40-59 60-79 >80, uremia 
Creatinine WNL <1.5 x N 1.5-2 x N 2-5 x N >5 x N 
Cr. clearance WNL <1.5 x N 1.5-2 x N 2-5 x N >5 x N 
Electrolytes WNL Mild, no S&S mild S&S Severe S&S Life threatening 
Proteinuria neg 1+ 2+ - 3+ 4+ Nephrotic syn 
Renal-bladder 
Hematuria neg micro gross with clot massive 
SGOT WNL <2.5 x N 2.6 - 5 x N 5.1 – 20 x N >20.0 x N 
SGPT WNL <2.5 x N 2.6 - 5 x N 5.1 – 20 x N >20.0 x N 
Alk phos WNL <2.5 x N 2.6 - 5 x N 5.1 – 20 x N >20.0 x N 
Total bili WNL <1.5 x N 1.5 - 3 x N >3.0 x N 
Liver 
clinical precoma Hepatic coma 
Amylase WNL <1.5 x N 1.5-2 x N 2-5 x N >5 x N 
Pancreas Glucose (mg/dl) WNL 116-160 161-250 251-500 >500 U/S pancreas normal Sonolucency 
(SL) 
Localized SL, 
↑size 
Generalized 
SL 
Pseudo-cyst, 
hemorrhagic 
Nausea & vomit none mild ↓ intake Can’t eat Require TPN 
Stomatitis none erythema, mild 
soreness 
Painful/edema 
can eat 
Cannot eat or 
drink 
Require TPN 
Diarrhea none 2-3 /day 4-6 /day 7-10 /day > 10, bloody 
Constipation none Mild ileus moderate severe > 96 hr 
GI 
Abdominal pain none mild moderate severe Need sedation 
Peripheral none ↓ DTR mild 
paresthesia, 
constipation 
severe pares-thesia 
& 
constipation 
Severe 
weakness 
Paralysis, resp 
Nervous dysfunction 
system 
CNS none Headache, 
lethargy 
Somnolence, 
tremor, depress 
confused, cord 
dysfunction 
Seizure, coma, 
SIADH 
Clinical normal tachypnea dyspnea O2 required Assist ventilator 
pulmonary pAO2 > 90 80-89 65-79 50-64 <49 
Vital capacity WNL 10-20%↓ 21-35%↓ 36-50%↓ >51%↓ 
EKG Normal ST-T change 
sinus tachy 
Atrial arrhyth, 
unifocal PVC 
Multifocal 
PVC’s 
cardiac Echo %FS Normal >30 24-30 20-24 <20 
clinical normal Transient HT Persistent HT CHF mild Severe CHF, 
cardiac temponard 
Allergy none Rash, fever urticaria bronchospasm anaphylaxis 
Objective No change 20-40db 
loss<4kHz 
>40 db loss 
>4kHz 
>40 db loss 2 
kHz 
>40 db loss <2 
Hearing kHz Subjective No change Loss on 
audiometry 
Tinnitus, soft 
speech 
correctable c 
hearing aid 
deafness 
Vision Normal Subtotal loss blindness
34 
Chemotherapy Modification Guideline for Hepatic Dysfunction 
Criteria for Liver Toxicity 
Grade 0 Grade 1 Grade 2 Grade 3 Grade 4 
SGOT WNL < 2.5 x N 2.6 – 5 x N 5.1 – 20 x N > 20.0 x N 
SGPT WNL < 2.5 x N 2.6 – 5 x N 5.1 – 20 x N > 20.0 x N 
Alk phos WNL < 2.5 x N 2.6 – 5 x N 5.1 – 20 x N > 20.0 x N 
Total bili WNL < 1.5 x N 1.5 – 3 x N > 3.0 x N 
Clinical precoma hepatic coma 
Modification of Drug with Liver Toxicity 
Drug Grade 1 Grade 2 Grade 3 Grade 4 
L-Asparaginase 100% 100% stop stop 
6-MP, 6-TG 100% Restart 50% stop stop 
Methotrexate 100% Restart 50% stop stop 
BCNU, CCNU Restart 50% stop stop 
Modification of Drug with liver-dependent metabolism 
Bili (mg/dL) / SGOT (U/mL) < 1.5 / < 60 1.5 – 3.0 / 60 - 180 3.1 – 5.0 / > 180 > 5.0 
Vincristine, Vinblastine 100% 50% stop stop 
VP-16 100% 50% stop stop 
Adriamycin, Idarubicin 100% 50% 25% stop 
Actinomycin D 100% 50% 25% stop 
Methotrexate 100% 50% 25% stop 
Cyclophopshamide 100% 100% 25% stop 
CCNU, BCNU 100% 100% 100% stop 
5-FU 100% 100% 100% stop 
Cytosine arabinoside 100% 100% 100% stop 
DTIC, procarbazine 100% 100% 100% stop 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
35 
Chemotherapy Modification Guideline for Renal Dysfunction 
Determination of creatinine clearance (CrCl) 
Cockcroft-Gault formula 
Male Creatinine clearance (ml/min) = weight (kg) x (140 - age) 
72 x serum creatinine (mg/dl) 
Female Creatinine clearance (ml/min) = weight (kg) x (140 - age) x 0.85 
72 x serum creatinine (mg/dl) 
CrCl (ml/min) 
Drug 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 
Asparaginase 100 100 100 100 0 0 0 0 0 0 
Bleomycin 100 100 100 100 75 75 75 0 0 0 
Carboplatin 100 100 100 100 
Calculate AUC * 
Carmustine 100 100 100 100 0 0 0 0 0 0 
Cisplatin 100 100 100 100 50 50 50 0 0 0 
Cyclophosphamide 100 100 100 100 100 75 75 75 75 50 
Etoposide 100 100 100 100 100 75 75 75 75 50 
Hydroxyurea 100 100 100 100 100 100 100 100 100 20 
Ifosfamide 100 100 100 100 100 75 75 75 75 50 
Methotrexate 100 100 100 100 50 50 50 0 0 0 
Mitomycin C 100 100 100 100 75 75 75 75 75 50 
Procarbazine 100 100 100 100 100 100 100 0 0 0 
topotecan 100 100 100 100 50 50 50 50 50 0 
ยาที่ไม่ต้องปรับ dose : Busulfan, Doxorubicin, 5-FU, idarubicin, Melphalan, 6-TG, 
Vinblastin, Vincristine 
ยาที่ไม่มี recommendation แต่ควรระวังเมื่อมี renal impairment : Cytarabine, Dactinomycin, Ifosfamide, 
6-MP, fludarabine 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
36 
Anthracyclin Record Sheet 
Patient’s Name__________________________________Age_______Sex________ 
Diagnosis 
Protocol 
BW___________________Ht_________________BSA________________________ 
Anthracyclin used 
Dose 
Cumulative dose 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 
Date 
mg Mg/m2 mg Mg/m2 
EKG/Echo
Guideline For Drug Preparation 39 
Classification Generic name Trade names Size Final preparation Stability Special consideration 
Antibiotics Doxorubicin HCL Adriblastina® 
Adriamycin 
(ADR) 
10mg 
50mg 
0.9%NSS 0.5mg/ml IV push 
0.9%NSS 100ml IV drip 
48hr at 4οC 
24hr at room 
temperature 
Avoid sun exposure 
Strong vesicant 
Cardiotoxic 
Echo when accumulative 
dose >300mg/m2 
Plant alkaloids Vincristine SO4 
(VCR) 
1mg 0.9%NSS to 1mg/10ml 
7days at 4οC 
Neurotoxic,Vesicant 
Max dose 2 mg/day 
Topoisomerase 
inhibitors 
Etoposide (VP-16) Vepesid® 
Lastet 
50mg 
100mg 
5%D/W ~ 0.6mg/ml IVdrip in 1hr 
(ไม่ควรเกิน 1 mg/ml) 
48 hr(0.4mg/ml) 
8 hr (0.6 mg/ml) 
2 hr (1 mg/ml) 
Hypersensitivity 
Record V/S q 15 mins. 
Antimetabolites Methotrexate(MTX) Methotrexate 
Abitrexate 
50mg/5ml 
50mg/2ml 
<150 mg 
+ 0.9%NSS 100 ml IV drip 
>150 mg 
+ 5%D NSS/2 500 ml IV drip 
0.9%NSS to 2ml IT 
48hr 
Vigorously hydrate 
for high dose 
*See High dose MTX 
protocol 
Cytosine arabinoside 
(ARA-C) 
Cytosar® 
Cytarine 
100mg 
500mg 
0.9%NSS to 10ml IV push 
0.9%NSS 100ml IV drip in 1-3 hr 
5%D NSS/2 500ml Continuous 
drip 24hr. 
0.9%NSS to 8ml IT 
48hr at 4οC 
Alkylating 
agents 
Cyclophosphamide 
(CTX) 
Endoxan® 
Alkyloxan 
200mg 
500mg 
1000mg 
0.9%NSS 10mg/ml IV drip 
0.9%NSS 10mg/ml IV push 
48hr at 4οC 
6hr.at RT 
Hemorrhagic cystitis 
Vigorous hydration + 
Mesna for high dose 
protocol (>1g/m2) 
Ifosfamide Holoxan® 500mg 
1000mg 
0.9%NSS 10mg/ml IV drip 
24hr. at 4οC 
Same as CTX 
Miscellaneous Hydrocortisone 100mg 0.9%NSS to 5ml IT 
Cacium Folinate Leucovorin 
calcium 
30mg 
50mg 
0.9%NSS to 10mg/ml IV push Start first dose at 6 hr after 
stop MTX 
Mesna Uromitexan® 400mg 5% D/W to 20ml IV drip in 15min 24hr at RT 
L-asparaginase Leunase 10,000 U 
5,000 U 
Dilute with NSS to 2 ml IM 8 hr at 4οC 
กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฎิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาว
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำNakhon Pathom Rajabhat University
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 

Mais procurados (20)

คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
การให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 

Destaque

มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน44LIFEYES
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดJumpon Utta
 
Peripheral blood smear
Peripheral blood smearPeripheral blood smear
Peripheral blood smearHummd Mdhum
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Acute lymphoid leukemia (case presentation)
Acute lymphoid leukemia (case presentation)Acute lymphoid leukemia (case presentation)
Acute lymphoid leukemia (case presentation)Dhritiman Chakrabarti
 

Destaque (6)

มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 
Peripheral blood smear
Peripheral blood smearPeripheral blood smear
Peripheral blood smear
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Acute lymphoid leukemia (case presentation)
Acute lymphoid leukemia (case presentation)Acute lymphoid leukemia (case presentation)
Acute lymphoid leukemia (case presentation)
 

Semelhante a CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก

หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdfหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdfssuser5ac523
 
Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer Utai Sukviwatsirikul
 
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdfสถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdfChiraphongAuttamalan1
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...cmucraniofacial
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Boonyarit Cheunsuchon
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfpongpanPlubai
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfpongpanPlubai
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015Pasa Sukson
 

Semelhante a CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก (20)

หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdfหลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
หลักสูตรเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคพยาธิใบไม้ตับฯ-ระดับมัธยมตอนปลาย_organized.pdf
 
Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer Antihormonal Therapy in Breast Cancer
Antihormonal Therapy in Breast Cancer
 
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdfสถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
สถานการณ์โรคเบาหวานชนิดที่-2-และแนวทางการรักษา.pdf
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
Improvement of clinical outcome in kidney diseases via on line thai glomerula...
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรังแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
Cx ca
Cx caCx ca
Cx ca
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
แนวทางเวชปฏิบัติโรคลมชักสำหรับแพทย์ 2015
 

Mais de Thorsang Chayovan

COVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CTCOVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CTThorsang Chayovan
 
Dyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guidelineDyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guidelineThorsang Chayovan
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiThorsang Chayovan
 
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis Thorsang Chayovan
 
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreasThe role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreasThorsang Chayovan
 
Role of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsiaRole of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsiaThorsang Chayovan
 
Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis Thorsang Chayovan
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการThorsang Chayovan
 
Febrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in childrenFebrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in childrenThorsang Chayovan
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
Diseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in ThaiDiseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in ThaiThorsang Chayovan
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thorsang Chayovan
 

Mais de Thorsang Chayovan (20)

COVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CTCOVID-19 Findings on Chest CT
COVID-19 Findings on Chest CT
 
Dyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guidelineDyspepsia endoscopy guideline
Dyspepsia endoscopy guideline
 
Common respiratory problems
Common respiratory problemsCommon respiratory problems
Common respiratory problems
 
Avascular necrosis
Avascular necrosisAvascular necrosis
Avascular necrosis
 
Shoulder injury
Shoulder injuryShoulder injury
Shoulder injury
 
Pediatric pneumonia Thai
Pediatric pneumonia ThaiPediatric pneumonia Thai
Pediatric pneumonia Thai
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
 
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
Tokyo guidelines for cholangitis and cholecystitis
 
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreasThe role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
The role of ercp in diseases of the biliary tract and pancreas
 
Role of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsiaRole of endoscopy in dyspepsia
Role of endoscopy in dyspepsia
 
Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis Role of endoscopy in choledocholithiasis
Role of endoscopy in choledocholithiasis
 
Pneumonia in children
Pneumonia in childrenPneumonia in children
Pneumonia in children
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการ
 
Febrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in childrenFebrile neutropenia in children
Febrile neutropenia in children
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Diseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in ThaiDiseases of the rectum and anal canal in Thai
Diseases of the rectum and anal canal in Thai
 
Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009Thai PALS manual 2009
Thai PALS manual 2009
 
NEJM Cholecystitis
NEJM CholecystitisNEJM Cholecystitis
NEJM Cholecystitis
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
ACLS Thai
ACLS ThaiACLS Thai
ACLS Thai
 

CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก

  • 2. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 2 คณะทำงาน 1 ผศ.พญ. เมธินี ไหมแพง คณะแพทยศาสตร์หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประธาน 2 ผศ.พญ. กวิวัณณ์ วีรกุล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะทำงาน 3 รศ.พ.อ. นพ. ไตรโรจน์ ครุธเวโช วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า คณะทำงาน 4 ผศ.พญ.ภัทธา ธนรัตนากร คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะทำงาน 5 รศ.นพ.ปัญญา เสกสรรค์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะทำงาน 6 พญ.วันดี นิงสานนท์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี คณะทำงาน 7 ศ.นพ.วิชัย เหล่าสมบัติ คณะแพทยศาสตร์หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะทำงาน 8 รศ.นพ. สุรพล เวียงนนท์ คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะทำงาน 9 ผศ.นพ.สุรเดช หงส์อิง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คณะทำงาน 10 รศ.นพ.อิศรางค์ นุชประยูร คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะทำงานและเลขานุการ คณะทำงานร่วม 1 นพ.กมล เผือกเพ็ชร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 2 ผศ.พญ.กลีบสไบ สรรรพกิจ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 3 นพ.นัทธี นาคบุญนำ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล 4 รศ.นพ.รัชฎะ ลำกูล วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า 5 พญ.สมใจ กาญจนพงษ์กุล สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 6 ผศ.นพ.สามารถ ภคกษมา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
  • 3. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 3 คำนำ ชมรมโรคมะเร็งเด็ก (Thai Pediatric Oncology Group: ThaiPOG) ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของสถาบัน/ โรงพยาบาลที่ดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งเด็กทั่วประเทศจำนวน 20 สถาบัน ได้ทำการศึกษาอุบัติการณ์ของผู้ป่วยมะเร็งใน เด็กไทยทุกชนิด โดยศึกษาผู้ป่วยใหม่ที่ได้รับวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเด็กในปี 2546 ซึ่งจากผลการวิจัย พบว่า โรคมะเร็ง เด็กในประเทศไทยที่พบมากที่สุดคือ acute lymphoblastic leukemias พบได้ประมาณร้อยละ 50 ของโรคมะเร็งทั้งหมด จำนวนผู้ป่วยที่มารับการรักษาในระบบสาธารณสุขทั้ง 20 สถาบัน มีประมาณ 400-500 รายต่อปี การรักษาโรค acute lymphoblastic leukemias ต้องใช้ยาเคมีบำบัดเป็นหลัก ร่วมกับยาที่รักษาภาวะแทรกซ้อน ในบางรายต้องมีการฉายรังสี รักษาเพื่อป้องกันหรือรักษาโรคที่เกิดกับระบบประสาทกลาง รวมทั้งการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด การรักษาโรค นี้ต้องใช้ระยะเวลาการรักษายาวนานถึง 3 ปี ผลข้างเคียงของการรักษาเหล่านี้ มีมากมาย ทั้งต่อชีวิตและสุขภาพของผู้ป่วยเอง การรักษามีผลกระทบต่อระบบอวัยวะสำคัญของร่างกาย ได้แก่ ตับ ไต หัวใจ สมอง ฯลฯ มีผลระยะยาวต่อการเจริญเติบโต การเจริญพันธุ์ และยังมีผลกระทบต่อบุคคลอื่นในครอบครัวของผู้ป่วย ทั้งทางจิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ ด้วย มะเร็งต่อมน้ำเหลืองพบชนิด non-hodgkin lymphoma (NHL) มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.9 ของมะเร็งต่อม น้ำเหลืองทั้งหมด มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด NHL นี้ พบ prognostic ไม่ดีในเด็ก จาก จากการศึกษาของโครงการวิจัยผู้ป่วย มะเร็งเด็กโดยชมรมผู้ป่วยมะเร็งเด็กพบว่า อัตรารอดชีพที่ 1 ปีของ NHL เป็น 58.92 (42.97-71.80) ซึ่งต่ำกว่ามะเร็งในกลุ่ม เดียวกันมาก สำหรับการรักษาโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด NHL นี้ประกอบไปด้วยการผ่าตัด รังสีรักษาและยาเคมีบำบัด ขึ้นอยู่กับระยะของโรค โดยการรักษาโรคมะเร็งเด็กในประเทศไทย ยังมีความแตกต่างกันอยู่ในแต่ละสถาบัน เนื่องจากมีข้อจำกัดในด้าน บุคลากร งบประมาณ ยา และอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการรักษาและวินิจฉัยโรค รวมทั้งมีข้อแตกต่างในการตอบสนองต่อ การรักษาของผู้ป่วยในประเทศไทย กับผู้ป่วยในต่างประเทศบ้างพอสมควร คณะกรรมการ ฯ ได้สร้าง national protocol การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งเด็กทั้ง 2 ชนิดขึ้น การประสานงานจาก สถาบันที่รักษามะเร็งเด็ก 8 แห่ง คือ จุฬาลงกรณ์ รามาธิบดี ศิริราช พระมงกุฎเกล้า สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ โดยมีความ มุ่งหวังเพื่อใช้เป็น protocol ที่ใช้ได้จริง เนื่องจากโรคมะเร็งในเด็กควรรับการรักษาหรือควบคุมโดยกุมารแพทย์โรคเลือด CPG นี้จึงมิได้มุ่งหวังให้กุมารแพทย์ทั่วไปปฏิบัติได้ เราเชื่อว่ามะเร็ง ALL และ lymphoma มีโอกาสหายขาดสูงเป็นโรคที่ ควรลงทุนในการรักษาให้เต็มที่ ทำให้เด็กที่เป็น ALL & lymphoma มีอัตราการหายขาดที่ยอมรับได้ทัดเทียมกับนานา ประเทศ ALL การรักษาได้ outcome ดีนั้น compliance เป็นปัจจัยสำคัญ ได้ expected เราจะกำหนดมาตรฐาน คือยาที่ จำเป็นต้องมีในการรักษา และการให้ยาที่สะดวกที่สุดต่อผู้ป่วยเพื่อให้ compliance สูงที่สุด เราจะใช้คำว่า national protocol เพื่อเป็นตัวอย่างที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที หรือใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ protocol อื่นที่จะทำการเปรียบเทียบกัน CPG ที่ สร้างขึ้นนี้ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อจะนำไปใช้เป็นฐานในการจ่ายเงิน หรือปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเรื่องค่าใช้จ่าย กำกับ 14 กุมภาพันธ์ 2549
  • 4. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 4 สารบัญ หน้า National Protocol for Acute lymphoblastic leukemia (ALL) 5 การวินิจฉัยผู้ป่วย (diagnostic investigation) 5 การจำแนกชนิดของ ALL (Classification) 6 การรักษา Low risk ALL 7 High-risk ALL 10 CNS disease 12 testicular involvement 12 National Protocol for Acute non-lymphocytic leukemia (ANLL) 14 การจำแนกชนิดของ ANLL (Classification): 14 การรักษา ANLL 14 Appendix Guideline for Administration of High dose Methotrexate 34 Modified Toxicity Criteria for Cancer Chemotherapy 35 Chemotherapy Modification Guideline for Hepatic Dysfunction 36 Chemotherapy Modification Guideline for Renal Dysfunction 37 Anthracyclin Record Sheet 38 Guideline For Drug Preparation 39
  • 5. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 5 Thai National protocol for treatment of childhood acute lymphoblastic leukemia (ALL) จุดประสงค์ของ National protocol for treatment of childhood ALL National protocol for treatment of childhood ALL ที่ฉบับนี้ มีความมุ่งหวังที่จะใช้เป็นแนวทางการรักษามะเร็งใน เด็กชนิด ALL ที่ใช้ได้จริง และเนื่องจากโรคมะเร็งในเด็กควรรับการรักษาหรือควบคุมโดยกุมารแพทย์โรคเลือด CPG นี้จึง มิได้มุ่งหวังให้กุมารแพทย์ทั่วไปปฏิบัติได้ เราเชื่อว่ามะเร็ง ALL มีโอกาสหายขาดสูงเป็นโรคที่ควรลงทุนในการรักษาให้ เต็มที่ ทำให้เด็กที่เป็น ALL มีอัตราการหายขาดที่ยอมรับได้ทัดเทียมกับนานาประเทศ ALL การรักษาได้ outcome ดีนั้น compliance เป็นปัจจัยสำคัญ ได้ expected เราจะกำหนดมาตรฐาน คือยาที่จำเป็นต้องมีในการรักษา และการให้ยาที่สะดวก ที่สุดต่อผู้ป่วยเพื่อให้ compliance สูงที่สุด เราจะใช้คำว่า national protocol เพื่อเป็นตัวอย่างที่สามารถนำไปใช้ได้ทันที หรือ ใช้เป็นมาตรฐานสำหรับ protocol อื่นที่จะทำการเปรียบเทียบกัน CPG ที่สร้างขึ้นนี้ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อจะนำไปใช้เป็นฐานใน การจ่ายเงิน หรือปฏิเสธการจ่ายเงิน เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเรื่องค่าใช้จ่ายกำกับ วิธีการสร้าง national protocol ด้วยสถาบันที่รักษามะเร็งเด็ก 8 แห่ง คือ จุฬาลงกรณ์ รามาธิบดี ศิริราช พระมงกุฎเกล้า สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ ให้การดูแล รักษาผู้ป่วยรวม 2 ใน 3 ของผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะทำงานจึงได้รวบรวมตัวอย่าง protocol ที่ใช้รักษา ALL ของทุกสถาบันมาที่ผู้ประสานงานของ ThaiPOG ได้ทำการสรุปภาพรวมโดย นพ. สุรเดช หงส์อิง และ นพ. อิศรางค์ เพื่อ นำเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาร่วมกันว่า Thai national protocol ควรมีรายละเอียดอย่างใด ที่ประชุมได้อภิปรายและแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ วิธีการรักษาที่เหมาะสมที่จะใช้ร่วมกัน ข้อตกลงเบื้องต้นในการรักษามะเร็งในเด็กชนิด acute lymphoblastic leukemia 1. เด็กที่เป็น ALL จะได้รับการรักษาตามความเสี่ยงที่จะเกิดโรคกลับซ้ำ (risk-adapted approach) 2. เด็กที่เป็น ALL จะได้รับการรักษาตามสูตรการรักษาที่ได้มีการวางแผนไว้ก่อน (protocol-driven therapy) 3. เด็กที่เป็น ALL พึงได้รับการดูแลโดยกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคเลือดเด็ก หรือกุมารแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรม และมีประสบการณ์ให้การให้ยาเคมีบำบัดเป็นตามสูตรยาที่ระบุไว้ในแนวทางการรักษานี้ หรือให้ยาและการดูแลเด็ก ภายใต้คำแนะนำและการดูแลต่อเนื่องโดยกุมารแพทย์โรคเลือดคนใดคนหนึ่งเป็นประจำ การวินิจฉัยผู้ป่วย (diagnostic investigation) เมื่อเด็กสงสัยว่าจะเป็น acute leukemia จะได้รับการตรวจวินิจฉัยดังนี้ 1. Bone marrow aspiration และย้อมสีด้วย Wright stain ในกรณีที่ทำ bone marrow aspiration ไม่สำเร็จ ให้ทำ bone marrow biopsy 2. Cytochemistry: (MPO, PAS, Sudan black, acid phosphatase) การวินิจฉัย acute lymphoblastic leukemia จำเป็นต้อง ได้รับการตรวจยืนยันด้วย cytochemistry เพื่อไม่ให้วินิจฉัยผิดพลาด เนื่องจาก acute myeloid leukemia บางชนิดอาจมี
  • 6. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 6 3. ลักษณะเซลล์ในกล้องจุลทรรศน์เหมือน ALL ได้ การย้อม PAS positive ช่วยยืนยันว่าเป็น ALL, ส่วน MPO & sudan black positive แสดงว่าเป็น AML 4. Optional immunophenotypic analysis (flow cytometry) แม้ว่า immunophenotype เป็นมาตรฐานในการวินิจฉัยและ จำแนกชนิดของ ALL ในหลายสถาบันและทั่วโลกในปัจจุบัน แต่เนื่องจากการตรวจนี้ไม่สามารถทำได้ทุกแห่งใน ประเทศ มีค่าใช้จ่ายสูง และต้องอาศัยประสบการณ์ในการแปลผล จึงยังไม่นับว่าเป็นมาตรฐานการตรวจวินิจฉัยของ มะเร็งเด็กในประเทศไทย หากมีโอกาสควรทำการวิคราะห์ผู้ป่วยรายใหม่ การจำแนกชนิดของ ALL (Classification): Low risk ALL Æ อายุระหว่าง 1-10 ปี และเม็ดเลือดขาวแรกวินิจฉัย (WBC) <50,000 /ul Æ ไม่มีลักษณะที่บ่งว่าเป็น high-risk ALL High-risk ALL Æ อายุ >10 ปี Æ WBC >50,000 /ul และ/หรือ Æ มีลักษณะใดลักษณะหนึ่งต่อไปนี้ Æ มีลักษณะที่น่าสงสัยว่าเป็น T-cell disease คือ Blast cell acid phosphatase positive ร่วมกับ mediastinal mass, ตับโตคลำได้มากกว่า 6 cm, และหรือ spleen ขนาดต่ำกว่าสะดือ Æ CNS disease* at diagnosis Æ Testicular involvement** at diagnosis Æ Exclusion สำหรับ high-risk ALL: Æ อายุ <1 ปี Æ ALL morphology L3 การจำแนก ALL เป็น low & high-risk เป็นแนวทางที่ใช้กันทั่วโลก เนื่องจาก ALL เป็นโรคที่มีความหลากหลายอยู่ ในตัว โรคที่รักษาหายง่าย (low-risk for relapse) ควรได้รับการรักษาที่น้อยกว่า โรคที่รักษาหายยาก (high-risk for relapse) ที่ประชุมได้พิจารณาว่านอกจาก NCI criteria คือ อายุ และ เม็ดเลือดขาวแรกวินิจฉัย (WBC) แล้วควรจะใช้การวินิจฉัยอื่นใด สรุปว่าควรจำแนก T-cell disease ไว้เป็น high-risk ALL โดยใช้ลักษณะทางคลินิก ร่วมกับ cytochemistry (acid phosphatase positive) หากสถาบันใดจะทำการวิเคราะห์ด้วย immunophenotyping ด้วยก็สามารถใช้ข้อมูลนั้นวินิจฉัย T-cell disease ได้ ด้วย เด็กที่เป็น ALL และมี CNS involvement จำเป็นต้องได้รับการรักษาเพิ่มเติมจาก high-risk ALL ทั่วไป จึงมีหมวด การรักษา CNS disease ต่างหากเพิ่มเติม เช่นเดียวกันกับ testicular involvement
  • 7. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 7 แม้ว่า infant leukemia และ mature B-cell ALL จะเป็น high-risk ALL แต่การรักษาที่ได้ผลจะไม่เหมือนกับ high-risk ALL ทั่วไป ดังนั้น national protocol for high-risk ALL ที่สร้างขึ้นนี้จะไม่รวมถึงการรักษา ALL ในสถานการณ์เหล่านี้ (exclusion criteria) การรักษา Low-risk ALL มะเร็ง ALL low risk เป็นโรคที่มีโอกาสหายขาดสูง หากได้รับการรักษาที่ intensive เพียงพอ หาก relapse แล้วจะรักษายาก อัตราการหายขาดของ low-risk ALL ในหลายสถาบันของประเทศไทย สูงถึง 80-90% ที่ประชุมเห็นว่า protocol ที่จะทำ ร่วมกันนี้ต้องการให้เป็น protocol ที่จะมีผลการรักษาที่ดี สามารถปฏิบัติได้ คุ้มกับค่าใช้จ่ายที่ลงทุน ประกอบด้วย 5 phases คือ 1) Induction of remission, 2) consolidation/CNS prophylaxis, 3) interim maintenance, 4) re-intensification, และ 5) maintenance phases Induction of remission: 4-drug induction: Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV weekly x 4 wks (days 1, 8, 15, 22) Æ Doxorubicin x 25 mg /M2 IV x 2 doses (days 1, 8) Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 6 doses (days 8, 10, 12, 15, 17, 19) Æ Prednisolone 40 mg/M2 x 28 days (days 1-28) Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (days 1, 15) Æ ตรวจไขกระดูก ประเมิน remission ในครบ 4 สัปดาห์ Supportive care: ให้ platelet transfusion เพื่อให้เกร็ดเลือดสูงกว่า 20,000 IU ตรวจ bone marrow aspiration ในวันที่ 28 เพื่อประเมินว่าได้ remission การวิเคราะห์ protocol ที่ใช้รักษาในประเทศไทยพบว่า ในช่วง induction of remission การใช้ยา 3 ชนิด คือ vincristine, L-asparaginase, prednisolone เหมือนกันหมด ข้อมูลจากทั่วโลกบ่งว่าสามารถทำให้หายขาดได้ 95% เช่นเเดียว กับ 4-drug induction อย่างไรก็ดี มีหลักฐานว่าการให้ยาจำนวนมากที่สุดในช่วงแรกจะทำให้อัตราการหายขาด (long-term remission) ที่ดีกว่า ศิริราชใช้ Doxorubicin x 6 doses ทุกราย และไม่ได้ให้ยาในช่วง reinduction ก็ได้ผลดี แต่ประสบการณ่ ของรามาธิบดี และจุฬาลงกรณ์พบว่าแม้ให้ doxorubicin x 4 doses ก็พบว่ามีความเสี่ยงอันเกิดจาก neutropenia และอยู่ โรงพยาบาลนาน แต่การลด doxorubicin เหลือเพียง 2 doses สามารถลดความเสี่ยงได้และน่าจะปฏิบัติได้ทั่วไป ที่ประชุมจึง เห็นว่า ควรใช้ 4-drug induction โดยให้ doxorubicin x 2 doses
  • 8. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 8 ที่ประชุมได้พิจารณาว่า L-asparaiginase เป็นยาที่สำคัญในการรักษา ALL การให้ยานี้มีการใช้นี้ฉีด intramuscular หรือ subcutaneous สัปดาห์ละ 3 ครั้งโดยให้ 6000 IU/M2 x 9 ครั้ง หรือ 10000 IU x 6 ครั้ง ได้ dose-intensity ใกล้เคียงกัน แต่การให้ 10000 IU x 6 ครั้ง ทำได้ง่ายกว่าและอาจประหยัดกว่าเนื่องจากยานี้มีขนาดบรรจุขวดละ 10000 U เมื่อใช้ขนาด น้อยจะมียาเหลือต้องทิ้งเพราะเก็บไว้ใช้ต่อไม่ได้ จะเริ่มในวันที่ 8 ของการรักษา เนื่องจากอาจทำให้อาการแพ้ลดลง ด้วยการให้ยา L-asparaginase มีภาวะแทรกซ้อนได้หลายประการ เช่น hyperglycemia, pancreatitis, pancreatic cyst, cerebral thrombosis แต่เนื่องจากยานี้เป็นยาสำคัญ จึงขอเสนอให้ปรับลด dose ลงเป็น 6,000 – 10,000 IU/dose x 6 doses ตามวิจารณญานของแพทย์ผู้รักษา ที่ประชุมได้พิจารณาการประเมิน bone marrow ในวันที่ 14 ว่ามี ‘early response’ อย่างไร แต่ได้สรุปว่าเนื่องจาก การให้ยาสูตรนี้มี intensity สูงพอ จึงไม่จำเป็นต้องประเมิน early response. Consolidation & CNS prophylaxis • High-dose methotrexate 1.5 g/M2 in 24 hours x 4 doses q 2 weeks + leucovorin 6 doses ตั้งแต่ 6 ชั่วโมงหลังหยุดยา พร้อมกับ intrathecal methotrexate. ALL มีความเสี่ยงที่จะเกิด CNS relapse ได้มาก การให้ CNS prophylaxis จะลดอัตราการเกิด CNS relapse ได้มาก ในอดีตในการการฉายรังสีที่สมอง (Cranial radiation therapy, CRT) เคยเป็นมาตรฐาน แม้ลดลงเป็น 1800 cGY แล้ว แต่ก็มี ปัญหา secondary brain tumor แม้ว่าบางสถาบันได้งด radiation และให้ intrathecal methotrexate (ITM) เพียงอย่างเดียวใน low-risk ALL แต่ข้อมูลทั่วโลกบ่งชี้ว่าการให้ยา ITM ไม่เพียงพอที่จะป้องกัน CNS relapse การให้ intrathecal therapy เพียง เท่านั้น โดยไม่ฉายรังสีด้วย มี delayed CNS relapse 2-5 ปี หลังหยุดยา การใช้ High-dose methotrexate (IDM) สามารถทดแทน CRT ได้และยังเป็นการให้ consolidation ได้ดี ยาดังนั้น การให้ HDM ที่สูงเกิน 2 g/M2 จำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังระดับของ MTX เพื่อประเมินว่าควรให้ leucovorin rescue ในปริมาณเท่าใดและนานเท่าใด การเฝ้าระวังระดับ MTX เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะทำได้เพียงที่รามาธิบดี ประสบการณ์ ของศิริราชซึ่งให้ dose escalation โดยเริ่ม MTX 1 g/ M2 และเพิ่มเป็น 1.5 และ 2 g M2 รวม 4 ครั้งสามารถใช้ได้อย่าง ปลอดภัย ที่ประชุมจึงมีมติว่า ให้ใช้ HDM 1.5 g M2 ทุก 2 สัปดาห์ x 4 ครั้งเพื่อเป็น consolidation และ CNS prophylaxis โดยให้ intrathecal methotrexate ร่วมไปด้วยทุก 2 สัปดาห์ คาดว่าการใช้ HDM แทน radiation จะลดปัญหาในการบริหาร จัดการส่งผู้ป่วย low-risk ALL เพื่อทำ CNS radiation ได้อีกโสดหนึ่ง ที่ประชุมได้พิจารณาว่าควรใช้ triple intrathecal therapy (TIT) หรือ ITM เพียงอย่างเดียว เนื่องจาก TIT ทำให้เพิ่ม ค่าใช้จ่าย และอาจเพิ่ม CNS toxicity จึงมีมติให้ใช้เพียง ITM ในการรักษามาตรฐาน เว้นแต่ในรายที่เป็น CNS disease หรือ CNS relapse (ดู high-risk protocol)
  • 9. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 9 Delayed-intensification Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 3 weeks (day 1, 8, 15) Æ Doxorubicin x 25 mg/M2 IV x 1 doses (day 1) Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 4 doses (days 8, 11, 15, 18) Æ Dexamethasone 10 mg/M2 x 21 days (days 1-22) then taper Æ Cyclophosphamide 1 g/M2 (day 22) followed by AraC 75 mg/M2 x 8 days (day23-26, 29-32) Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2 x14 days (days 22-36) Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (during Cyclo-AraC) การให้ยาซ้ำ delayed intenstification/ reinduction จะทำให้มีอัตราการหายขาดของ ALL เพิ่มขึ้นทั้ง low & high-risk ดังนั้น หลังจากที่ให้ยา interim maintenance x 3 เดือน (ดู maintenance) แล้วตามด้วยยาในช่วง delayed intenstification/ reinduction การให้ยาในช่วงนี้แตกต่างจากในช่วง induction เพียงเล็กน้อยคือ ให้ vincristine x 3 ครั้ง, doxorubicin เพียง 1 ครั้ง, ใช้ dexamethasone แทน prednisolone ตามด้วย cyclophosphamide, AraC และ 6MP Maintenance Æ Methotrexate 20 mg/M2 once weekly PO Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2/day PO Æ with pulse vincristine-prednisolone ทุก 4 สัปดาห์ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 1 dose Prednisolone 40 mg/M2 x 5 days Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) ทุก 12 สัปดาห์ ให้ยาในช่วง maintenance เป็นเวลารวม 2 ½ ปีในเด็กหญิง และ 3 ปีในเด็กชาย การให้ยาในช่วง maintenance จะให้ methotrexate-6MP เป็นพื้นฐาน และมี pulse vincristine-prednisolone ทุก เดือน และให้ ITM ทุก 3 เดือน ที่ประชุมได้พิจารณาการฉีด ITM ทุกเดือนจนครบใน 1 ปีแล้วไม่ต้องฉีดอีก แต่ส่วนใหญ่ เห็นว่าเด็กมักรับไม่ได้ จึงให้ยาฉีดเข้าหลังทุก 3 เดือนจนครบ 3 ปี เนื่องจากมีหลักฐานมากพอที่จะแนะนำว่า เด็กหญิงไม่จำเป็นต้องให้ maintenance phase ยาวนานเท่าเด็กชาย สำหรับ low-risk ALL ดังนั้นจึงให้ยาในช่วง maintenance เป็นเวลารวม 2 ½ ปีหลังจากได้ remission ในเด็กหญิง และ 3 ปี ในเด็กชาย
  • 10. 10 กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก การตรวจไขกระดูก การตรวจไขกระดูกจำเป็นต้องทำแรกวินิจฉัย เมื่อให้ induction of remission ครบ และก่อนหยุดยา แม้ว่าการตรวจ ไขกระดูกระหว่างการรักษาอาจทำให้สามารถตรวจพบ relapse ได้เร็วขึ้น และอาจเป็นช่องทางให้เปลี่ยนการรักษาเช่นเพิ่ม intensification เป็นต้น แต่ข้อมูลจากการศึกษา minimal residual disease ในผู้ป่วย low-risk ALL พบว่า ผู้ป่วยเหล่านี้ตรวจ ไม่เคยตรวจพบ MRD แม้เมื่อจบการรักษา และมีหลักฐานที่แสดงว่า แม้ CBC จะตรวจพบ relapse ได้ช้ากว่าแต่ prognosis ไม่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นเนื่องจากการรักษาตาม national protocol นี้แล้วคาดว่าโอกาสหายขาดสูง จึงสรุปว่าไม่จำเป็นต้อง ตรวจ bone marrow aspiration เป็นประจำแต่ให้ทำ BMA เมื่อมี unexplained cytopenia ระหว่างการรักษา หรือเมื่อสงสัยว่า อาจมี relapse เท่านั้น การตรวจเมื่อหยุดยาแล้ว (Follow-up studies) ผู้ป่วยที่หยุดยาแล้วควรได้รับการตรวจ CBC อย่างน้อยดังนี้ • ปีที่ 1 ทุก 2 เดือน • ปีที่ 2 ทุก 3 เดือน • ปีที่ 3 ทุก 6 เดือน • หลังปีที่ 3 ทุก 12 เดือน ที่ประชุมเห็นด้วยว่าไม่จำเป็นต้องเจาะไขกระดูกเป็นประจำ เว้นแต่เมื่อสงสัยว่าจะ relapse ด้วยเหตุผลเช่นเดียวกับข้างต้น การรักษา High-risk ALL การรักษา high-risk ALL ในปัจจุบันในแต่ละสถาบัน ก็ได้ผลดีพอสมควร โดยมีอัตราการหายขาดระหว่าง 50-78% เมื่อวิเคราะห์ protocol ที่ใช้ในสถาบันต่าง ๆ พบว่ามีความคล้ายคลึงกัน คือให้ยา 4-drug induction, consolidation, cranial radiation, และ delayed intensification/ re-induction, ตามด้วย maintenance แต่รายละเอียดของ delayed intensification/re-induction ต่าง ๆ กัน ที่ประชุมจึงสรุปได้ดังนี้ Induction of remission 4-drug induction: Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV weekly x 5 wks (days 1, 8, 15, 22, 29) Æ Doxorubicin x 25 mg/M2 IV x 4 doses (days 1, 8, 15, 22) Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 6 doses (days 8, 10, 12, 15, 17, 19) Æ Prednisolone 40 mg/M2 x 28 days (days 1-28) Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (days 1, 15) Æ ตรวจไขกระดูก ประเมิน remission ใน day 35
  • 11. 11 การให้ induction of remission ด้วย 4-drug นี้จะทำให้ delayed recovery of neutrophil จนถึงประมาณ 6 สัปดาห์จึง งด ยาอื่นยกเว้นให้ vincristine จนถึงเวลาประเมิน remission ในสัปดาห์ที่ 6 Consolidation & CNS prophylaxis Æ Cyclophosphamide 1 g/M2 (day 1) followed by AraC 75 mg/M2 x 8 days (day2-5, 8-11) Æ 6-mercaptopurine 50 mg/ M2 x14 days (days 1-15) Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (during Cyclo-AraC) Æ เมื่อ ANC>1,000 /ul, platelet count > 100,000/ul ให้เริ่ม high-dose methotrexate 1.5 g/M2 in 24 hours x 4 doses q 2 weeks (day 28, 42, 56, 70) + leucovorin 6 doses ตั้งแต่ 6 ชั่วโมงหลังหยุดยา พร้อมกับ intrathecal methotrexate Æ Cranial radiation 1800 cGy in 10-12 fractions เมื่อ ANC>1,000 /ul, platelet count > 100,000/ul ให้เริ่มยาในช่วง Consolidation ด้วย cyclophosphamide, AraC และ 6MP จาก low-risk ALL ซึ่งมี high-dose MTX 4 ครั้งอยู่แล้ว และจะเพิ่ม CNS radiation 1800 cGy หลังได้รับ HDM ครบแล้ว เนื่องจากความเสี่ยงที่จะเกิด CNS relapse จะสูงกว่า low-risk ALL มาก แม้ว่าการให้ high-dose MTX ในขนาดสูง มากเช่น 5 g/M2 อาจทดแทนได้แต่ก็ไม่เหมาะที่จะใช้ใน national protocol เพราะส่วนใหญ่ไม่สามารถตรวจระดับ MTX ได้ Delayed-intensification x 2 หลัง interim maintenance 3 เดือน Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 3 weeks (day 1, 8, 15) Æ Doxorubicin x 25 mg/M2 IV x 1 doses (day 1) Æ L-asparaginase 6,000-10,000 IU/ M2 IM x 4 doses (days 8, 11, 15, 18) Æ Dexamethasone 10 mg/M2 x 21 days (days 1-22) then taper Æ Cyclophosphamide 1 g/M2 (day 22) followed by AraC 75 mg/M2 x 8 days (day23-26, 29-32) Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2 x14 days (days 22-36) Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) x 2 doses ทุก 2 สัปดาห์ (during Cyclo-AraC) การรักษา high-risk ALL จะมี intensification/ re-induction อีก 2 ครั้ง หลังจาก ให้ interim maintenance เป็นเวลา 3 เดือนจากยาชุดก่อน ดังนั้นจำนวน cyclophosphamide, AraC และ 6MP ตลอดการรักษาจะเป็น 3 เท่าของ low-risk ALL และ จำนวน total doxorubicin จะเป็น 6 ครั้ง คือ 2 เท่าของ low-risk ALL protocol ที่ประชุมได้รับทราบแนวทางการรักษาของศิ ริราช protocol 6A ซึ่งปรับปรุงมาจาก Tokyo protocol ใช้มาเป็นเวลาหลายสิบปี และมี long-term survival ดีมากถึง 78% ประกอบด้วย ยา 3 ชนิดสลับกัน เดือนละครั้ง รวม 8 เดือน ตามด้วย maintenance ซึ่งให้ methotrexate 300 mg/M2 IV ทุก 2 สัปดาห์ แต่เห็นว่าการให้ยาเช่นนี้ไม่สะดวกพอที่จะใช้เป็นมาตรฐาน จึงเลือกใช้ intensification/ re-induction 2 ครั้งใน national protocol for high-risk ALL กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 12. 12 Maintenance Æ Methotrexate 20 mg/M2 once weekly PO Æ 6-mercaptopurine 50 mg/M2/day PO Æ with pulse vincristine-prednisolone ทุก 4 สัปดาห์ Æ Vincristine 1.5 mg/M2 IV x 1 dose Æ Prednisolone 40 mg/M2 x 5 days Æ Intrathecal methotrexate (dose ตามอายุ) ทุก 12 สัปดาห์ ให้ยาในช่วง maintenance เป็นเวลารวม 3 ปีในเด็กหญิงและ ชาย การให้ยาในช่วงนี้เหมือนกันทั้ง low- และ high-risk ALL แต่จะให้เป็นเวลานานเท่ากันทั้งชายและหญิง ที่ประชุม ได้พิจารณา rotating chemotherapy เช่น การใช้ cyclo-AraC สสับเดือนละครั้ง แต่เห็นว่าจะทำให้ protocol ซับซ้อนเกินไป และไม่สะดวกสำหรับผู้ป่วย อีกทั้งยังไม่มีหลักฐานว่า ผลการรักษาจะดีกว่าแบบอื่นอย่างชัดเจน จึงมิได้ใช้หลักการนี้ใน national protocol. การรักษา CNS disease ผู้ป่วยที่ตรวจพบว่ามี blast ในน้ำไขสันหลัง CSF จะให้การรักษาเพิ่มเติมดังนี้ Æ Triple Intrathecal therapy (dose ตามอายุ) x ทุก 1 สัปดาห์ ในช่วง induction จนกระทั่งตรวจไม่พบเซลล์ 2 สัปดาห์ ติดกัน โดยให้ TIT รวมอย่างน้อย 4 ครั้ง อย่างมาก 8 ครั้ง Æ ในช่วง consolidation ให้ High-dose methotrexate 1.5 g/M2 x 4 doses q 2 weeks + leucovorin 6 doses ตั้งแต่ 6 ชั่วโมง หลังหยุดยา พร้อมกับ intrathecal methotrexate เท่านั้น ตามด้วย Æ Cranial radiation 1800 cGy in 10-12 fractions ที่ประชุมได้พิจารณา dose ของ cranial radiation ว่า ควรเป็น 1800-2400 cGy และว่าควรรวม spinal radiation 1,200 cGy ด้วยหรือไม่ สรุปว่าการให้ triple intrathecal therapy ตามด้วย HDM น่าจะคุมโรคได้ดีจึงควรฉายแสงเพิ่มเพียงที่สมอง ไม่ร่วมไขสันหลังในปริมาณ 1800 cGy หลังจากนั้นดูแลเหมือน high-risk ALL ทั่วไป การรักษา testicular involvement ผู้ป่วยที่มี testicular enlargement at diagnosis (ขนาดใหญ่กว่า 2 SD ของ orchidometry) ให้ local testicular radiation 1800 cGyระหว่าง induction therapy กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 13. 13 ความคาดหวังของการนำไปใช้ national protocol for ALL National protocol ที่ได้ร่วมกันสร้างขึ้นนี้ เป็นที่พอใจของผู้ร่วมประชุมทุกฝ่าย เชื่อว่าจะทำให้ผลการรักษาดี ใช้ได้ ไม่ยุ่งยาก เหมาะสมกับสภาพของผู้ป่วยและโรงพยาบาลในประเทศไทย สามารถให้ในระบบผู้ป่วยนอกได้เป็นส่วนใหญ่ จำเป็นต้องให้ในโรงพยาบาลไม่มากนัก โรงพยาบาลทุกแห่งที่ร่วมกันสร้าง low-risk protocol ตั้งใจจะนำไปใช้เป็น มาตรฐาน และเก็บข้อมูลร่วมกันผ่านระบบ registry และสำหรับ high-risk ALL protocol นั้น อย่างน้อย 5 สถาบันจะ นำไปใช้ได้ทันที แต่บางแห่งจะยังคงใช้ high-risk ALL protocol ของตน (institutional protocol) เพราะเชื่อว่าอาจได้ผล ดีกว่า แต่จะพิจารณาทำ randomized controlled trial ร่วมกันเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงนี้ในอนาคต เชื่อว่าการใช้ national protocol นี้จะทำให้ long-term event-free survival ของ low-risk ALL ในประเทศไทยน่าจะสูงกว่า 80% และ high-risk ALL น่าจะสูงกว่า 60% กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 14. 14 Thai National protocol for treatment of childhood acute non-lymphocytic leukemia (ANLL) Acute non-lymphocytic leukemia เป็นโรคมะเร็งที่พบได้น้อยในเด็ก สถิติที่ศึกษาโดยกลุ่ม Thai pediatric oncology group พบประมาณปีละ 120 ราย จำเป็นต้องแยกออกจาก acute lymphoblastic leukemia เพื่อสามารถให้การรักษาที่เหมาะสม สำหรับแต่ละโรค การจำแนกชนิดของ ANLL (Classification): การจำแนกชนิดของ ANLL อาจใช้เกณฑ์ของ World Health organization 2000 อาศัยการตรวจโครโมโซมของเซลล์มะเร็ง เป็นหลัก ร่วมกับการย้อม histochemistry ของเซลล์ แต่เนื่องจากการตรวจนี้ทำไม่ได้ทุกแห่ง และมิได้มีผลต่อการตัดสินใจ ให้การรักษาจึงมิได้กำหนดเป็นมาตรฐานสำหรับประเทศไทยในปัจจุบัน ผลการรักษาของ ANLL โดยทั่วไป ยังไม่ดีนัก ยกเว้นชนิด Acute promyelocytic leukemia with t (15;17) ซึ่งรักษาได้ดีด้วย retinoic acid การรักษา ANLL ที่ Protocol ที่ใช้ รพ.ศิริราช และ สงขลานครินทร์ ใช้ BFM protocols (BFM 83) ได้ ซึ่งประกอบด้วย induction, consolidation และ maintenance x 2 ปี ผลการรักษา overall survival ประมาณ 40-50% ทั้งสองแห่ง Protocol ที่ รพ.จุฬาลงกรณ์ ขอนแก่น ให้ induction ด้วย Doxo/Idarubin + AraC, consolidation ด้วย High-dose Ara-C หรือ Mitoxanthrone + Etoposide โดยไม่มี maintenance ได้ผลการรักษา overall survival เพียง 20-30% ดังนั้น จึงเห็นว่า TPOG จะ adopt BFM83 เป็นมาตรฐานในการรักษา โอกาส remission ใน protocol นี้เพียง 60-70% เท่านั้น หากยังไม่ได้ remission ให้ยาในช่วง consolidation ต่อไปอาจได้ remission เพิ่มขึ้น ในกรณีที่ควรปลูกถ่ายไขกระดูก ก็ควรไปปลูกถ่ายไขกระดูก CNS radiation ให้ในกรณีที่มี CNS involvement แต่แรกเท่านั้น หากไม่ได้ปลูกถ่ายไขกระดูกให้ maintenance จนครบ 20 เดือน ด้วยผลการรักษาใน 6 เดือนแรกของ TPOG-AML-01-05 ทั่วประเทศ 50 รายมีผู้ป่วยเสียชีวิตระหว่างการให้ยาในช่วงแรก 15 ราย (30%) แพทย์หลายสถาบันเห็นว่าการรักษานี้มี toxicity สูง จำเป็นต้องอยู่โรงพยาบาลนาน 2-3 เดือน อาจเนื่องมาจากการในการให้ supportive care ในและนอกโรงพยาบาล ความจำกัดของเตียง จึงเสนอให้ปรับลดขนาดยาในช่วง induction โดยให้แพทย์ผู้รักษา เลือกให้ Ara-C ขนาดเดิม (50 mg/M2/dose IV q12 hr= 100 mg/ M2/day) หรือลดขนาด AraC ระหว่างวันที่ 3-7 ลงครึ่งหนึ่ง(50 mg/M2/dose IV q24 hr= 50 mg/ M2/day) ก็ได้ (ซึ่งข้อมูลจาก มอ. ได้ใช้ protocol ที่ลดขนาดยานี้แล้วยังมีโอกาสหาย 5-year event free survival 38%) ตามวิจารณญานของแพทย์ผู้รักษา โดยที่ปริมาณของยา doxorubicin, etoposide คงเดิม ทั้งนี้ควรให้การ ดูแล supportive care กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 15. 15 Indication for Bone marrow transplantation ถ้ามี match-sibling donor และ ไม่ใช่ t(8;21) แนะนำให้ปลูกถ่ายไขกระดูกหลัง consolidation ในกรณีที่สงสัยว่าเป็น acute promyelocytic leukemia ควรได้รับการตรวจโครโมโซมเป็นพิเศษ เพื่อทราบว่ามี t (15;17) หรือตรวจหา PML-RARA transcript หากตรวจพบว่ามีความผิดปกติของยีนหรือโครโมโซมเหล่านี้ อาจให้การรักษาด้วย protocol ที่มียา All-trans retinoic acid (ATRA) รายละเอียดดูภาคผนวกThaiPOG__APL.doc แต่เนื่องจากยา ATRA เป็นยา นอกบัญชียาหลักแห่งชาติ สถานบริการบางแห่งอาจมิได้นำเข้า ก็ให้รักษาเช่นเดียวกับ ANLL ชนิดอื่น ๆ แต่หาก โรงพยาบาลมียา ATRA ก็พึงรักษาด้วย protocol ที่มียา ATRA Thai National protocol for treatment of childhood lymphoma ดู ThaiPOG CPG lymphoma.pdf กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 16. 16 ภาคผนวก National Protocol for Acute Lymphoblastic Leukemia Protocol name Protocol TPOG- ALL-01-05 Protocol for Low Risk ALL Open Date 7 May 2005 Patients eligibility ‰ Acute lymphoblastic leukemia ‰ Initial WBC < 50,000/mm3 ‰ Age between 1 - 10 yr. Exclusion criteria ‰ T -cell characteristics; acid phosphatase positive with mediastinal mass, huge hepatomegaly > 6 cm and/or splenomegaly below the umbilicus ‰ CNS disease at diagnosis ‰ Testicular involvement at diagnosis ‰ Mature B-cell ALL (morphology L3) Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Phase I INDUCTION (4 weeks) Date started / / week 1 2 3 4 5 6 day 1 8 15 22 29 36 Date given Alkalinization + prophylactic medication + sterile bowel Prednisolone ___ _________________ Vincristine __ ____ mg IV À À À À Doxorubicin ___ ___ mg IV Δ Δ L-asp ___ _______ U IM (M-W-F) I I I I I I MTX________mg IT* T T BM aspiration Æ Δ remission Δ not remission „ Drug Dosage Day Prednisolone 40 mg/m2 /day 1-28 then taper off in 2 wks. Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15, 22 Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1, 8 L-asparaginase 6,000-10,000 unit /m2 IM M-W-F 8, 10, 12, 15, 17, 19 MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 15 Prophylactic drugs & Sterile Bowel ƒ Sodamint 1 tab PO BID (<5yr) or TID (>5yr) First 2 weeks ƒ Allopurinol (100 mg) 10 mg/kg/day divided BID-QID First 2 weeks ƒ Clotrimazole troche (10 mg) or nystatin suspension 1 tab PO TID (>5yr) or nystatin 2 ml PO QID (<5yr) 1-28 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs * age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 8 10 12 กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 17. 17 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-01-05 Phase II CONSOLIDATION & CNS PROPHYLAXIS (7 weeks) Date started / / week 1 2 3 4 5 6 7 8 day 1 8 15 22 29 36 43 50 Date given 6-MP(50 mg) ___ tab q hs Methotrexate mg IV drip 24 hr À À À À Hydration & alkalinization¶ Leucovorin tab IV or po q 6 hr X 6 doses „ Δ „ Δ „ Δ MTX mg* T T T T ¶ See high dose MTX guideline Drug Dosage Day Methotrexate 1.5 gm /m2 IV drip in 24 hr (see Appendix) 1, 15, 29, 43 Leucovorin (start at 12 hr after stop MTX) 15 mg/m2 IV or PO q 6 hr x 6 doses 2, 16, 30, 44 MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 15, 29, 43 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs 1-56 „ Δ 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs * age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 8 10 12 Phase III INTERIM - MAINTENANCE PHASE (3 months) Date started week1 / / , week 5 / / , week 9 / / . week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Vincristine _____ mg IV À À À Pred (5 mg) ____________ P P P MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 6-MP(50 mg) ___ tab q hs Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 18. 18 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-01-05 Phase IV DELAYED - INTENSIFICATION (7 weeks) Date started / / _ week 1 2 3 4 5 6 7 day 1 8 15 22 29 36 43 Date given Dexamethasone ___________ Day 1-21 Vincristine ______ mg IV À À À Doxorubicin ______ mg IV Δ L-asp ______ U IM I I I I Ara-C _______mg IV I I I I I I I I CTX _______mg IV ‹ 6-MP _________________ MTX _______ mg IT* T T Day 29-42 Drug Dosage Day Dexamethasone 10 mg/m2 /day PO 1-21 then taper off Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15 Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1 L-asparaginase 6,000-10,000 unit /m2 IM 8, 11, 15, 18 Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr. 29 Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 29-32, 36-39 6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO x 14 days 29-42 MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs * age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 8 10 12 กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 19. 19 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-01-05 Phase V MAINTENANCE Total 2.5 yrs. after remission in girls Total 3 yrs. after remission in boys Date remission / / _ Date started maintenance / / week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 MTX _______ mg IT* T Vincristine ____ mg IV À À À Pred (5 mg) ____________ P P P MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 6-MP(50 mg) ___ tab q hs Record date given wk 1 _____________ wk 2 _____________ wk 3 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 13 _____________ wk 17_____________ wk 21 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 25 _____________ wk 29_____________ wk 33 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 37 _____________ wk 41_____________ wk 45 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 49 _____________ wk 53_____________ wk 57 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 61 _____________ wk 65_____________ wk 69 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 73 _____________ wk 77_____________ wk 81 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 85 _____________ wk 89_____________ wk 93 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 97 _____________ wk 101____________ wk 105 __________ Ht _____ Wt ______ wk 109 ____________ wk 113____________ wk 117 __________ Ht _____ Wt ______ wk 121 ____________ wk 125____________ wk 129 __________ END OF THERAPY Date / / _ Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs * age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 8 10 12 กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 20. 20 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-01-05 POST TREATMENT GUIDELINES Guidelines for follow up patients post treatment 1. 1st year : ƒ PE, CBC q 2 months. กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 2. 2nd year : ƒ PE, CBC q 3 months. 3. 3rd year : ƒ PE, CBC q 6 months 4. After 3rd year : ƒ PE, CBC q 12 months Bone marrow aspiration 1. Before discontinue chemotherapy 2. Unexplained cytopenia 3. Sign & symptom of relapse Guideline for bactrim prophylaxis 1. Started when consolidation 2. Bactrim is given 5 mg of TMP /kg/day divided bid 2-3 times per week (M-W-F, F-Sa-Su, or Sa-Su) 3. Stop bactrim prophylaxis 1 week before and during CNS prophylaxis with high-dose methotrexate
  • 21. 21 National Protocol for Acute Lymphoblastic Leukemia Protocol name Protocol TPOG- ALL-02-05 Protocol for High Risk ALL and T-cell NHL or LBL stage III/IV Open Date 7 May 2005 Patients eligibility 1. Acute lymphoblastic leukemia with any of the following characteristics ‰ Initial WBC > 50,000/mm3 ‰ Age > 10 yr or < 1 yr ‰ T -cell characteristics; acid phosphatase +ve with mediastinal mass, huge hepatomegaly >6 cm and/or splenomegaly below the umbilicus ‰ CNS disease at diagnosis** ‰ Testicular involvement at diagnosis*** 2. Non-Hodgkin lymphoma: T-cell or lymphoblastic type, stage III / IV Exclusion criteria ‰ Mature B-cell ALL (see SNC protocol) Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Phase I INDUCTION (6 weeks) Date started / / week 1 2 3 4 5 6 day 1 8 15 22 29 36 Date given Alkalinization + prophylactic medication + sterile bowel Prednisolone ___ _________________ Vincristine __ ____ mg IV À À À À Doxorubicin ___ ___ mg IV Δ Δ Δ Δ L-asp ___ _______ U IM (M-W-F) I I I I I I MTX________mg IT* T T** T T** BM aspiration Æ Δ remission Δ not remission „ **CNS disease (positive blast cells in CSF) - add age adjusted dose Triple-T IT weekly until blast cells negative 2 consecutive weeks (at least 4 doses / maximum 8 doses) ***Testicular involvement - add testicular radiation total dose 1800 cGy. Drug Dosage Day Prednisolone 40 mg/m2 /day 1-28 then taper off in 2 wks. Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15, 22 Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1, 8, 15, 22 L-asparaginase 6,000-10,000 unit /m2 IM M-W-F 8, 10, 12, 15, 17, 19 MTX IT* Age-adjusted dose intrathecally 1, 15 Intrathecal medications 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs *adjust dose according to age MTX 8 10 12 **Triple intrathecal for CNS disease ARA-C 20 25 30 Hydrocortisone 8 10 15 กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 22. 22 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-02-05 Phase II CONSOLIDATION (12 weeks) Date started ____/_____/______ week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 day 1 8 15 22 29 36 43 50 57 64 71 78 Date given 6-MP _____ tab daily CTX ________mg IV ‹ Day 1-14 Day 29-85 Ara-C _________mg IV IIII IIII MTX ______ mg IV drip 24 hr# À# À# À# À# Hydration & alkalinization¶ Leucovorin____mg q 6hr x 6 „ Δ „ Δ „ Δ „ Δ MTX _______ mg* T T T T T #Start MTX IV drip when ANC > 1000 /μL & Plt > 100,000 /μL ¶ See high dose MTX guideline Drug Dosage Day 6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO 1-14, 29-85 Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr. 1 Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 2-5, 8-11 Methotrexate (MTX) 1.5 gm /m2 IV drip in 24 hr 29, 43, 57, 71 Leucovorin (start at 12 hr after stop MTX) 15 mg/m2 IV or PO q 6 hr x 6 doses 30, 44, 58, 72 MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29, 43, 57, 71 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs * age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 8 10 12 Phase III CNS PROPHYLAXIS# (3 weeks) Date started / / Cranial radiation (1800 cGy in 10-12 fraction) Date / / to / / #Infant leukemia – Postpone CNS prophylaxis until age > 3 year **Initial CNS involvement - add age adjusted dose Triple-T IT weekly x 2 doses กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 23. 23 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-02-05 Phase IV 1st INTERIM - MAINTENANCE PHASE (12 weeks) Date started week 1 ____/____/___ week 5 ____/____/___ week 9 ____/____/___ week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Vincristine _____ mg IV À À À Pred (5 mg) ____________ P P P MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 6-MP(50 mg) ___ tab q hs Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk Phase V 1st DELAYED - INTENSIFICATION PHASE (12 weeks) Date started____/____/___ week 1 2 3 4 5 6 day 1 8 15 22 29 36 Date given Dexamethasone _________ tab PO Day 1-21 Vincristine ______ mg IV À À À Doxorubicin ______ mg IV Δ L-asp ______ U IM (M- Th) I I I I Ara-C _______mg IV I I I I I I I I CTX _______mg IV ‹ 6-MP ______ tab PO Day 29-42 MTX _______ mg IT* T# T# Drug Dosage Day Dexamethasone (0.5 mg tab) 10 mg/m2 /day PO divided tid 1-21 then taper off Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15 Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1 L-asparaginase (L-asp) 6,000-10,000 unit /m2 IM M- Th 8, 11, 15, 18 Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr 29 Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 29-32, 36-39 6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO hs x 14 days 29-42 MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29 # Age-adjusted dose triple drug intrathecal in CNS disease until total 10 doses กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 24. 24 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-02-05 Phase VI 2nd INTERIM - MAINTENANCE PHASE (12 weeks) Date started week 1 ____/____/___ week 5 ____/____/___ week 9 ____/____/___ week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 Vincristine _____ mg IV À À À Pred (5 mg) ____________ P P P MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 6-MP(50 mg) ___ tab q hs Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk Phase VII 2nd DELAYED - INTENSIFICATION PHASE (12 weeks) Date started____/____/___ week 1 2 3 4 5 6 day 1 8 15 22 29 36 Date given Dexamethasone _________ tab PO Day 1-21 Vincristine ______ mg IV À À À Doxorubicin ______ mg IV Δ L-asp ______ U IM (M- Th) I I I I Ara-C _______mg IV I I I I I I I I CTX _______mg IV ‹ 6-MP ______ tab PO Day 29-42 MTX _______ mg IT* T# T# Drug Dosage Day Dexamethasone (0.5 mg tab) 10 mg/m2 /day PO divided tid 1-21 then taper off Vincristine 1.5 mg/m2 IV push 1, 8, 15 Doxorubicin 25 mg/m2 IV push 1 L-asparaginase (L-asp) 6,000-10,000 unit /m2 IM M- Th 8, 11, 15, 18 Cyclophosphamide (CTX) 1,000 mg/m2 IV drip in 1 hr 29 Cytosine arabinoside (Ara-C) 75 mg/m2 IV push 29-32, 36-39 6-MP (50mg) 50 mg/m2 day PO hs x 14 days 29-42 MTX IT* age adjusted dose intrathecal 1, 29 # Age-adjusted dose triple drug intrathecal in CNS disease until total 10 doses Patient’s name Age Sex กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 25. 25 Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-02-05 Phase VIII MAINTENANCE Total 3 yrs after remission Date remission / / Date started maintenance / / . week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 MTX _______ mg IT* T Vincristine ____ mg IV À À À Pred (5 mg) ____________ P P P MTX (2.5 mg) ___ tab wkly M M M M M M M M M M M M 6-MP(50 mg) ___ tab q hs Record date given wk 1 _____________ wk 5 _____________ wk 9 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 13 _____________ wk 17_____________ wk 21 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 25 _____________ wk 29_____________ wk 33 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 37 _____________ wk 41_____________ wk 45 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 49 _____________ wk 53_____________ wk 57 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 61 _____________ wk 65_____________ wk 69 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 73 _____________ wk 77_____________ wk 81 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 85 _____________ wk 89_____________ wk 93 ___________ Ht _____ Wt ______ wk 97 _____________ wk 101____________ wk 105 __________ END OF THERAPY Date / / _ Pulse Treatment q 4 weeks Maintenance Dosage Vincristine 1.5 mg/m2 IV day 1 6-MP (50mg) 50 mg /m2 / day PO q hs Prednisolone 40 mg/m2 day PO x 5 days Methotrexate (MTX) 20 mg /m2 / week PO Cotrimoxazole ( ) 5 mg/kg/day PO bid 2-3 day/wk 1-1.9 yrs 2-2.9 yrs >3 yrs * age adjusted dose intrathecal chemotherapy for Methotrexate 8 10 12 กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 26. 26 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG- ALL-02-05 POST TREATMENT GUIDELINES Guidelines for follow up patients post treatment กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก 1. 1st year : • PE, CBC q 2 months. 2. 2nd year : • PE, CBC q 3 months. 3. 3rd year : • PE, CBC q 6 months 4. After 3rd year : • PE, CBC q12 months Bone marrow aspiration 1. Before stop chemotherapy 2. Unexplained cytopenia 3. Sign & symptom of relapse Guideline for bactrim prophylaxis 1. Start when consolidation 2. Bactrim is given 5 mg of TMP /kg/day divided bid 2-3 times per week (M-W-F, F-Sa-Su, or Sa-Su) 3. Stop bactrim prophylaxis 1-week before and during CNS prophylaxis with high-dose methotrexate Reimmunization -post off treatment 1 yr.
  • 27. 27 National Protocol for Acute Non-Lymphoblastic Leukemia Protocol name Protocol TPOG-AML-01-05 Modified from Protocol AML-BFM-83: Med Pediatr Onc 1993; 21:8-13 Open Date 15 October 2005 Patients eligibility Exclusion criteria ‰ Acute non-lymphoblastic leukemia ‰ Relapsed ANLL Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Phase I INDUCTION (6 weeks) Date started / / day 1 2 3 4 5 6 7 8 Date given Alkalinization + prophylactic medication + sterile bowel Cytosine Arabinoside _____ mg IV infusion in 24 hr Cytosine Arabinoside _____ mg IV q 12-24 hr ¿ ¿ ¿ ¿ ¿ ¿ Adriamycin ___ ___ mg IV Δ Δ Δ Etoposide _______ mg IV drip in I hr ‹ ‹ ‹ MTX____ _ mg* IT T# BM aspiration when >day 15 and ANC > 1,000 /uL ____/____/____ Results : … in remission (blast < 5%) Æ Phase II consolidation … Not in remission (blast > 5%) Æ If patient can tolerate chemotherapy, repeat Phase I (date _____ / ____ / _____) If patient cannot tolerate chemotherapy Æ Phase II consolidation #CNS disease – MTX IT at week 1; then followed by Ara-C IT weekly until CSF -ve Drug Dosage Day Cytosine Arabinoside 100 mg/m2 /day IV infusion in 24 hr 1, 2 Cytosine Arabinoside 50 mg/m2/dose IV q 12-24 hr x 6 days (6-12doses) 3, 4, 5, 6, 7, 8 Adriamycin 25 mg/m2 IV push 3, 4, 5 Etoposide 150 mg / m2 IV drip in 1 hr 6, 7, 8 Methotrexate IT age adjusted dose intrathecal 1 Prophylactic drugs & Sterile Bowel ƒ Sodamint 1 tab PO BID (<5yr) or TID (>5yr) First 2 weeks ƒ Allopurinol (100 mg) 10 mg/kg/day divided BID-QID First 2 weeks ƒ Clotrimazole troche (10 mg) or nystatin suspension 1 tab PO TID (>5yr) or nystatin 2 ml PO QID (<5yr) 1-28 drug <1 yr 1-2 yr 2-3 yr >3 yr * age adjusted dose intrathecal chemotherapy Methotrexate 6 8 10 12 Ara-C 15 20 30 50 Patient’s name Age Sex กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 28. 28 Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG-AML-01-05 Phase II CONSOLIDATION (8 weeks) Date started / / week 1 2 3 4 5 6 7 8 9 day 1 8 15 22 29 36 43 50 57 Date given Prednisolone ______________________ 6-TG __________________________ Day 1-28 Day 1-56 Vincristine ______ mg IV push À À À À Adriamycin ______ mg IV push ¿ ¿ ¿ ¿ Ara-C ___ mg in piggy back 100 ml IV drip I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I I CTX ____ mg IV drip in 30 min „ „ Ara-C ______ mg IT* T T T T Note ถ้าเมื่อใด febrile neutropenia ให้หยุดยาเคมีบำบัดของสัปดาห์นั้นไว้ก่อนจนกว่า ANC> 1,000-1,500 /uL จึงให้ยาของสัปดาห์นั้นต่อไป Drug Dosage Day Prednisolone (5mg) 40 mg /m2 /day PO divided tid-qid 1-28 then taper off 6-thioguanine (6-TG 40 mg) 60 mg /m2 PO daily 1-56 Vincristine 1.5 mg /m2 IV weekly 1, 8, 15, 22 Adriamycin 30 mg /m2 IV weekly 1, 8, 15, 22 Cytosine Arabinoside (Ara-C) 75 mg/ m2 IV drip in 30 min, 4 days/wk x 8 wk week 1-8 Cyclophosphamide (CTX) 500 mg/m2 IV drip in 30 min with hydration 29, 57 Ara C intrathecal Age-adjusted dose* 35, 42, 49, 56 Co-trimoxazole 5 mg/kg/day divided BID Fri-Sat-Sun Phase III CNS PROPHYLAXIS ** 4 weeks Date started / / **Only for Patients with initial CNS involvement and age > 2 years only Week 1 2 3 4 Date 6-TG ___________________ (60 mg/m2 day PO) Cranial Irradiation _______ cGy x 10 fractions MTX ___________ mg IT x 4 times T T T T Date given CSF examination: Gross appearance Day 1-14 Pandy / Nonne / / / / Benedict test Cells (RBC / WBC) / / / / Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 29. 29 Protocol TPOG-AML-01-05 Phase IV MAINTENANCE PHASE (Total duration 2 years) Date Started ____/____/___ Give the following courses q 4 weeks Drug Dosage Day Course A (For month 1, 3, 5, 7) Cytosine Arabinoside 40 mg/m2 /day IV x 4 days _____________________ Day 1-4 Adriamycin 25 mg/m2 IV push _____________________ Day 1 6-Thioguanine 60 mg/m2 /day PO _____________________ Daily Co-trimoxazole 5 mg/m2 /day divided BID _____________________ Fri-Sat-Sun Course B (For month 2, 4, 6, and 8 – 24 ) Cytosine Arabinoside 40 mg/m2 /day IV x 4 days _____________________ Day 1-4 6-Thioguanine 60 mg/m2 /day PO _____________________ Daily Co-trimoxazole 5 mg/m2 /day divided BID _____________________ Fri-Sat-Sun LP + Ara-C IT Age adjusted dose _____________________ q 2 months BM aspiration * (Optional) q 4 months BUN, creatinine, LFT q 4 months Schedule: Month 1 2 3 4 5 6 7 8 Date Chemotherapy course: A B A B A B A B BMA*, blood chem. „ „ LP+ Ara C____ mg IT ‹ ‹ ‹ ‹ Month 9 10 11 12 13 14 15 16 Date Chemotherapy B B B B B B B B BMA*, blood chem. „ „ LP+ Ara C____ mg IT ‹ ‹ ‹ ‹ Month 17 18 19 20 21 22 23 24 Date Chemotherapy B B B B B B B B BMA*, blood chem. „ „ LP+ Ara C____ mg IT ‹ ‹ ‹ ‹ END OF THERAPY Date / / _ กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 30. 30 Patient’s name Age Sex Hospital HN BW Ht BSA Protocol TPOG-AML-01-05 POST TREATMENT GUIDELINES Guidelines for follow up patients post treatment • 1st year : PE, CBC q 2 months. • 2nd year : PE, CBC q 3 months. • 3rd year : PE, CBC q 6 months • After 3rd year : PE, CBC q 12 months Bone marrow aspiration 1. Before discontinue chemotherapy 2. Unexplained cytopenia 3. Sign & symptom of relapse Guideline for bactrim prophylaxis 1. Start when consolidation 2. Bactrim is given 5 mg of TMP /kg/day divided bid 2-3 times per week (M-W-F, F-Sa-Su, or Sa-Su) 3. Stop bactrim prophylaxis 1 week before and during CNS prophylaxis with high-dose methotrexate Reimmunization -post off treatment 1 yr. Evaluation for long term side effects yearly 1. Growth chart 2. Learning problems 3. Endocrine evaluation and consultant when enter adolescent 4. Secondary malignancy กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 31. 31 Appendix Guideline for Administration of High dose Methotrexate > 1000 mg/m2 Modified Toxicity Criteria for Cancer Chemotherapy Chemotherapy Modification Guideline for Hepatic Dysfunction Chemotherapy Modification Guideline for Renal Dysfunction Anthracyclin Record Sheet Guideline For Drug Preparation กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 32. 32 Guideline for Administration of High dose Methotrexate > 1000 mg/m2 1. ตรวจ CBC : ให้ยาได้ต่อเมื่อ WBC > 3000/μL, ANC > 1000/μL, Plt > 100,000/μL 2. ตรวจร่างกายไม่พบ mucositis หรือ oral ulcers 3. ตรวจ BUN, creatinine คำนวณ creatinine clearance, ปรับ dose ยาตาม creatinine clearance (Page 4) 4. หยุดยาต่อไปนี้ เนื่องจากจะเพิ่ม MTX toxicity cotrimoxazole, salicylate, pyrimethamine, NSAIDs, penicillin, live virus vaccine, probenecid 5. Hydration and alkalinization - ก่อนให้ยา high dose ต้องให้ hydration ด้วย 5%D in N/2 + NaHCO3 20-40 mEq/L + KCL 10mEq/L IV rate 125ml/m2/hr (2x maintenance rate) อย่างน้อย 2 ชม. เพื่อเพิ่ม urine output ให้ > 3 ml/kg/hr - ก่อนเริ่มการ infusion ของยาควรตรวจให้ urine Sp. gr < 1.010 urine pH > 6.5 ก่อน - ควรให้ fluid rate นี้ตลอดการให้ methotrexate และหลังจากยาหมด ควรให้ผู้ป่วยได้น้ำโดยการ รับประทานรวมกับ IV fluid ไม่น้อยกว่า 125 ml/M2/hr (3000 ml/M2/day) อีกอย่างน้อย 24-48 ชม. เพื่อให้มี urine output > 2 ml/kg/hr 6. Methotrexate administration (Total dose 1.5 gm/M2/24 hour) ผสม Methotrexate 150 mg/M2 (10% of total dose) in 5%D N/2 100ml IV in 1 hour ตามด้วย Methotrexate 1350 mg/M2 (90% of total dose) in 5%D N/2 500 ml IV drip in 23 hr (หมายเหตุ – ลด rate IV ขณะ drip ยา โดยให้เป็น rate IV + chemo = 125 ml/M2/hr) 7. หากผู้ป่วยมี inadequate urine output > 3 hr หรือมี fluid overload สามารถให้ยาดังนี้ - Mannitol 200 mg/kg in NSS 25 ml IV over 15-60 min - Furosemide 0.5-1 mg/kg IV push 8. Leucovorin rescue ให้เริ่ม leucovorin dose แรกหลังจากเริ่ม MTX 36 ชั่วโมงพอดี (หลัง MTX หมด 12 ชั่วโมง)โดยการกินหรือฉีดในขนาด 15 mg/M2q 6 hr x 6 doses หากคำนวณได้ยา < 15 mg ให้ยา 1 เม็ด (15 mg) โดยไม่ต้องแบ่งเม็ดยา หากคำนวณได้ยา > 15 mg ให้ยา 2 เม็ด • หากเกิด mucositis หลังการให้ยา methotrexateครั้งที่แล้ว ให้เพิ่ม leucovorin rescue จากเดิมอีก 3 doses q 6 hr โดยไม่ลด dose ของ methotrexate 9. หลีกเลี่ยงการให้ยาที่มี nephrotoxicity อื่นๆในระยะเดียวกับที่ให้ยา methotrexate กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 33. 33 Modified Toxicity Criteria for Cancer Chemotherapy Site measure Toxicity grade WNL 0 Mild 1 Moderate 2 Severe 3 Unacceptable 4 WBC x 103/μL >4.0 3.0-3.9 2.0-2.9 1.0-1.9 <1.0 ANC x 103/μL >2.0 1.5-1.9 1.0-1.4 0.5-0.9 <0.5 hemorrhage none minimal Moderate Vital organs Life threatening กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก Blood thrombosis none Lab change peripheral Large vv. stroke Infection fever <38oC 38-40 oC >40 oC, <72hr > 72 hr > 7 days Infection none mild moderate severe Life threatening BUN <20 20-39 40-59 60-79 >80, uremia Creatinine WNL <1.5 x N 1.5-2 x N 2-5 x N >5 x N Cr. clearance WNL <1.5 x N 1.5-2 x N 2-5 x N >5 x N Electrolytes WNL Mild, no S&S mild S&S Severe S&S Life threatening Proteinuria neg 1+ 2+ - 3+ 4+ Nephrotic syn Renal-bladder Hematuria neg micro gross with clot massive SGOT WNL <2.5 x N 2.6 - 5 x N 5.1 – 20 x N >20.0 x N SGPT WNL <2.5 x N 2.6 - 5 x N 5.1 – 20 x N >20.0 x N Alk phos WNL <2.5 x N 2.6 - 5 x N 5.1 – 20 x N >20.0 x N Total bili WNL <1.5 x N 1.5 - 3 x N >3.0 x N Liver clinical precoma Hepatic coma Amylase WNL <1.5 x N 1.5-2 x N 2-5 x N >5 x N Pancreas Glucose (mg/dl) WNL 116-160 161-250 251-500 >500 U/S pancreas normal Sonolucency (SL) Localized SL, ↑size Generalized SL Pseudo-cyst, hemorrhagic Nausea & vomit none mild ↓ intake Can’t eat Require TPN Stomatitis none erythema, mild soreness Painful/edema can eat Cannot eat or drink Require TPN Diarrhea none 2-3 /day 4-6 /day 7-10 /day > 10, bloody Constipation none Mild ileus moderate severe > 96 hr GI Abdominal pain none mild moderate severe Need sedation Peripheral none ↓ DTR mild paresthesia, constipation severe pares-thesia & constipation Severe weakness Paralysis, resp Nervous dysfunction system CNS none Headache, lethargy Somnolence, tremor, depress confused, cord dysfunction Seizure, coma, SIADH Clinical normal tachypnea dyspnea O2 required Assist ventilator pulmonary pAO2 > 90 80-89 65-79 50-64 <49 Vital capacity WNL 10-20%↓ 21-35%↓ 36-50%↓ >51%↓ EKG Normal ST-T change sinus tachy Atrial arrhyth, unifocal PVC Multifocal PVC’s cardiac Echo %FS Normal >30 24-30 20-24 <20 clinical normal Transient HT Persistent HT CHF mild Severe CHF, cardiac temponard Allergy none Rash, fever urticaria bronchospasm anaphylaxis Objective No change 20-40db loss<4kHz >40 db loss >4kHz >40 db loss 2 kHz >40 db loss <2 Hearing kHz Subjective No change Loss on audiometry Tinnitus, soft speech correctable c hearing aid deafness Vision Normal Subtotal loss blindness
  • 34. 34 Chemotherapy Modification Guideline for Hepatic Dysfunction Criteria for Liver Toxicity Grade 0 Grade 1 Grade 2 Grade 3 Grade 4 SGOT WNL < 2.5 x N 2.6 – 5 x N 5.1 – 20 x N > 20.0 x N SGPT WNL < 2.5 x N 2.6 – 5 x N 5.1 – 20 x N > 20.0 x N Alk phos WNL < 2.5 x N 2.6 – 5 x N 5.1 – 20 x N > 20.0 x N Total bili WNL < 1.5 x N 1.5 – 3 x N > 3.0 x N Clinical precoma hepatic coma Modification of Drug with Liver Toxicity Drug Grade 1 Grade 2 Grade 3 Grade 4 L-Asparaginase 100% 100% stop stop 6-MP, 6-TG 100% Restart 50% stop stop Methotrexate 100% Restart 50% stop stop BCNU, CCNU Restart 50% stop stop Modification of Drug with liver-dependent metabolism Bili (mg/dL) / SGOT (U/mL) < 1.5 / < 60 1.5 – 3.0 / 60 - 180 3.1 – 5.0 / > 180 > 5.0 Vincristine, Vinblastine 100% 50% stop stop VP-16 100% 50% stop stop Adriamycin, Idarubicin 100% 50% 25% stop Actinomycin D 100% 50% 25% stop Methotrexate 100% 50% 25% stop Cyclophopshamide 100% 100% 25% stop CCNU, BCNU 100% 100% 100% stop 5-FU 100% 100% 100% stop Cytosine arabinoside 100% 100% 100% stop DTIC, procarbazine 100% 100% 100% stop กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 35. 35 Chemotherapy Modification Guideline for Renal Dysfunction Determination of creatinine clearance (CrCl) Cockcroft-Gault formula Male Creatinine clearance (ml/min) = weight (kg) x (140 - age) 72 x serum creatinine (mg/dl) Female Creatinine clearance (ml/min) = weight (kg) x (140 - age) x 0.85 72 x serum creatinine (mg/dl) CrCl (ml/min) Drug 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 Asparaginase 100 100 100 100 0 0 0 0 0 0 Bleomycin 100 100 100 100 75 75 75 0 0 0 Carboplatin 100 100 100 100 Calculate AUC * Carmustine 100 100 100 100 0 0 0 0 0 0 Cisplatin 100 100 100 100 50 50 50 0 0 0 Cyclophosphamide 100 100 100 100 100 75 75 75 75 50 Etoposide 100 100 100 100 100 75 75 75 75 50 Hydroxyurea 100 100 100 100 100 100 100 100 100 20 Ifosfamide 100 100 100 100 100 75 75 75 75 50 Methotrexate 100 100 100 100 50 50 50 0 0 0 Mitomycin C 100 100 100 100 75 75 75 75 75 50 Procarbazine 100 100 100 100 100 100 100 0 0 0 topotecan 100 100 100 100 50 50 50 50 50 0 ยาที่ไม่ต้องปรับ dose : Busulfan, Doxorubicin, 5-FU, idarubicin, Melphalan, 6-TG, Vinblastin, Vincristine ยาที่ไม่มี recommendation แต่ควรระวังเมื่อมี renal impairment : Cytarabine, Dactinomycin, Ifosfamide, 6-MP, fludarabine กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
  • 36. 36 Anthracyclin Record Sheet Patient’s Name__________________________________Age_______Sex________ Diagnosis Protocol BW___________________Ht_________________BSA________________________ Anthracyclin used Dose Cumulative dose กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฏิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก Date mg Mg/m2 mg Mg/m2 EKG/Echo
  • 37. Guideline For Drug Preparation 39 Classification Generic name Trade names Size Final preparation Stability Special consideration Antibiotics Doxorubicin HCL Adriblastina® Adriamycin (ADR) 10mg 50mg 0.9%NSS 0.5mg/ml IV push 0.9%NSS 100ml IV drip 48hr at 4οC 24hr at room temperature Avoid sun exposure Strong vesicant Cardiotoxic Echo when accumulative dose >300mg/m2 Plant alkaloids Vincristine SO4 (VCR) 1mg 0.9%NSS to 1mg/10ml 7days at 4οC Neurotoxic,Vesicant Max dose 2 mg/day Topoisomerase inhibitors Etoposide (VP-16) Vepesid® Lastet 50mg 100mg 5%D/W ~ 0.6mg/ml IVdrip in 1hr (ไม่ควรเกิน 1 mg/ml) 48 hr(0.4mg/ml) 8 hr (0.6 mg/ml) 2 hr (1 mg/ml) Hypersensitivity Record V/S q 15 mins. Antimetabolites Methotrexate(MTX) Methotrexate Abitrexate 50mg/5ml 50mg/2ml <150 mg + 0.9%NSS 100 ml IV drip >150 mg + 5%D NSS/2 500 ml IV drip 0.9%NSS to 2ml IT 48hr Vigorously hydrate for high dose *See High dose MTX protocol Cytosine arabinoside (ARA-C) Cytosar® Cytarine 100mg 500mg 0.9%NSS to 10ml IV push 0.9%NSS 100ml IV drip in 1-3 hr 5%D NSS/2 500ml Continuous drip 24hr. 0.9%NSS to 8ml IT 48hr at 4οC Alkylating agents Cyclophosphamide (CTX) Endoxan® Alkyloxan 200mg 500mg 1000mg 0.9%NSS 10mg/ml IV drip 0.9%NSS 10mg/ml IV push 48hr at 4οC 6hr.at RT Hemorrhagic cystitis Vigorous hydration + Mesna for high dose protocol (>1g/m2) Ifosfamide Holoxan® 500mg 1000mg 0.9%NSS 10mg/ml IV drip 24hr. at 4οC Same as CTX Miscellaneous Hydrocortisone 100mg 0.9%NSS to 5ml IT Cacium Folinate Leucovorin calcium 30mg 50mg 0.9%NSS to 10mg/ml IV push Start first dose at 6 hr after stop MTX Mesna Uromitexan® 400mg 5% D/W to 20ml IV drip in 15min 24hr at RT L-asparaginase Leunase 10,000 U 5,000 U Dilute with NSS to 2 ml IM 8 hr at 4οC กุมภาพันธ์ 2549 แนวทางเวชปฎิบัติ : มะเร็งเม็ดเลือดขาว