SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพระดับอาเภอ
และระบบบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนา DHS
เขตสุขภาพที่ ๑๐
คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน
DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับเขต
ประธาน สธน./ผอ.เขต
ตัวแทน SP ทุกสาขา /ตัวแทนกลุ่มวัย
ทุกจังหวัด/ตัวแทน DHS/FCT
คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน
DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับจังหวัด
ประธาน ว หรือ ส
-ตัวแทน SP ทุกสาขา
-ตัวแทนกลุ่มวัย ระดับจังหวัด
-ตัวแทน DHS/FCT ระดับจังหวัด
คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน
DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับอาเภอ
ประธาน ผอ.รพ หรือ สสอ.
-ตัวแทน SP ทุกสาขาระดับอาเภอ
-ตัวแทนกลุ่มวัยระดับอาเภอ/หน.กลุ่มการ
พยาบาล
-ตัวแทน DHS /FCTระดับอาเภอ
คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน
DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับตาบล
ประธาน ผอ.รพ.สต หรือ ภาคี
เครือข่าย
-ตัวแทน FCT ระดับตาบล
-ตัวแทนภาคีเครือข่าย
-ตัวแทน FCT ระดับชุมชน
Care Manager
Care giver
Care giver
Care giver Care giver
Care giver
รพ.สต.ละ ๑ คน
NP
พัฒนา Care Giver (ดูแลผู้สูงอายุติดเตียง ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
ผู้ป่ วย Palliative หลักสูตร ๗๐ ชั่วโมง รพ.สต.ละ ๑๐ คน
ทีมหมอครอบครัวระดับ
ชุมชน
ทีมหมอครอบครัวระดับ
อาเภอ
ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล
การ Tracer ระบบ DHS เขตสุขภาพที่ ๑๐
๑. ประเด็น ODOP ร่วมระดับเขต DM/HT ครบวงจรเชื่อมโยง
FCT/SP
๒. พัฒนาในประเด็นตามบริบทของพื้นที่
๓. ประเด็นการดูแลของ FCT ใน ๓ กลุ่ม
-ผู้สูงอายุติดเตียง
-ผู้พิการที่ต้องช่วยเหลือเร่งด่วน
-ผู้ป่ วยประคับประคอง)
แนวทางการพัฒนา DHS
๒. ระดับอาเภอ
-โครงสร้าง/บทบาทคณะทางาน DHS และกาหนด PM จาก
สสอ. และ รพช.
-มี single Plan ทั้ง ๑๖ ประเด็น/มี PM ทุกประเด็น
-มีระบบข้อมูล (๕ กลุ่มวัย /SP/FCT)
-มีระบบ M&E ใช้แนวทาง DHS-PCA ตามเกณฑ์ UCCARE
-จัดบริการ Essential Care ตาม ODOP ๓ เรื่อง
แนวทางการพัฒนา DHS
๓. ระดับตาบล
-โครงสร้าง/บทบาทการทางานแบบบูรณาการระหว่าง FCT/
กองทุนสุขภาพตาบล/งบ PP/ภาคีเครือข่าย
-มี Single Plan ที่เชื่อมกับ ODOP (DM/HT)
-มีระบบข้อมูล (๕ กลุ่มวัย /SP/FCT)
-มีระบบ M&E โดยใช้ DHS-PCA ตาม UCCARE
-OTOP ๑ เรื่อง (ตามบริบทของพื้นที่)
แนวทางการพัฒนาทีมหมอครอบครัว
เขตสุขภาพที่ ๑๐
นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT
ผู้สูงอายุติดเตียง
หมายถึง ผู้สูงอายุที่ป่ วย/ไม่ป่ วย และช่วยเหลือตนเอง
ไม่ได้ ต้องนอนอยู่บนเตียงเป็ นบางครั้งหรือตลอดเวลา (ตาม
เกณฑ์การประเมินความสารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ADL
(Activity of Daily Living)มีผลรวมคะแนน อยู่ในช่วง ๐-๔
คะแนน)
นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT
การจาแนกผู้สูงอายุตามเกณฑ์ ADL
กลุ่มที่ ๑ กลุ่มติดสังคม ผลรวมตั้งแต่ ๑๒ คะแนน
กลุ่มที่ ๒ กลุ่มติดบ้าน ผลรวมอยู่ในช่วง ๕–๑๑ คะแนน
กลุ่มที่ ๓ กลุ่มติดเตียง ผลรวมอยู่ในช่วง ๐ -๔ คะแนน
นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT
ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล
หมายถึง ผู้ที่มีความบกพร่องประเภทใดประเภทหนึ่งหรือ
มากกว่า ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ในการดารงชีวิตประจาวันจนทา
ให้ต้องมีผู้ดูแลกิจวัตรประจาวันบางส่วนหรือทั้งหมด (ตามเกณฑ์
การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ADL
(Activity of Daily Living) มีผลรวมคะแนนอยู่ในช่วง ๐-๔
คะแนน)
นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT
การจาแนกผู้พิการตามเกณฑ์ ADL
กลุ่มที่ ๑ ช่วยเหลือตนเองได้ ผลรวมตั้งแต่ ๑๒ คะแนน
กลุ่มที่ ๒ ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง ผลรวมอยู่ในช่วง ๕–๑๑
คะแนน
กลุ่มที่ ๓ ต้องได้รับการช่วยเหลือ ผลรวมอยู่ในช่วง ๐-๔ คะแนน
นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT
ผู้ป่ วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
หมายถึง ผู้ป่ วยที่อยู่ในระยะคุกคามชีวิต ซึ่งป่ วยด้วยโรคที่ไม่อาจ
รักษาให้หายได้ ผู้ป่ วยที่มีชีวิตอยู่ได้อีกไม่นาน หรือผู้ป่ วยที่อยู่ในระยะ
สุดท้ายของชีวิต โดยใช้เกณฑ์ Palliative Performance Scale (PPS) แบ่ง
ระดับทั้งหมด 11 ระดับไล่ตั้งแต่ 100% ลงไปถึง 0% เพื่อแยกผู้ป่ วย
ออกเป็ น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่
-ผู้ป่ วยที่มีอาการคงที่ (>70%)
-ผู้ป่ วยระยะสุดท้าย (0-30%)
-ผู้ป่ วยที่อยู่ระหว่าง 2 กลุ่มดังกล่าว (40-70%)
กลุ่มเป้ าหมายในการดูแลคือ กลุ่มที่มี PPS < 70 และผู้ป่ วยระยะสุดท้าย PPS <
30
ขอบข่ายของกลุ่มที่ต้องประเมิน PPS
• ผู้ป่ วยมะเร็งที่ไม่สามารถรักษาได้ หรือเป็ นระยะแพร่กระจาย
• ผู้ป่ วยโรคเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รับการรักษาเพื่อประคับประคอง
เช่น
– ผู้ป่ วยไตวาย
– โรคปอดเรื้อรัง
– โรคหัวใจที่จากัดกิจกรรมในชีวิตประจาวัน
– ถุงลมโป่ งพองระยะสุดท้าย
– โรคทางระบบประสาทระยะสุดท้าย
• โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง/เอดส์
• โรคสมองเสื่อม
ระดับที่ ๑ ช่วยเหลือตนเองได้ PPS>70 เยี่ยมโดย อสม.
ระดับที่ ๒ พึ่งพาผู้อื่นบ้าง PPS 40-70 เยี่ยมโดยทีม FCT อาเภอ/
ชุมชน
ระดับที่ ๓ ระยะสุดท้าย PPS<30 เยี่ยมโดยทีม FCT อาเภอ/ชุมชน
(FCT ชุมชน ประกอบด้วย อสม./ภาคีเครือข่าย)
รูปแบบการเยี่ยมดูแลผู้ป่ วยประคับประคอง
๑. ทีมหมอครอบครัวระดับอาเภอ
แนวทางการพัฒนา
๑. DHS มีการออกแบบระบบบริการร่วมกัน (รพ./สสอ./รพ.สต)
- สื่อสาร FCT สู่ครอบครัวและชุมชน
- จัดทาแผนปฏิบัติงานของ FCT ระดับอาเภอเพื่อสนับสนุน
ระดับตาบล/ชุมชน ที่ครอบคลุม SP/กลุ่มวัย
- จัดระบบการปรึกษา /ส่งต่อ ของ FCT ทุกระดับ
- จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ สนับสนุนการส่งมอบบริการ
- มีและใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน เช่น INHOMESS/
PPS/ADL
แนวทางการพัฒนา
๒. รายงานผลการดาเนินงานของ FCT
๓. เสริมคุณค่าการทางานของ FCT ด้วย เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
Case/ระดับอาเภอ และให้รางวัลเชิดชูเกียรติ
๔. พัฒนาและค้นหา Best Practice (อาเภอ/ตาบลตัวอย่าง)
สามารถบอกได้ว่าประชาชนได้รับการดูแล หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ขึ้น
๑. ทีมหมอครอบครัวระดับอาเภอ (ต่อ)
๒. ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล
แนวทางการพัฒนา
๑. มีผังโครงสร้าง FCT ระดับตาบล และมีการสื่อสารสู่ครอบครัว
และชุมชน
๒. FCT มีการจัดทาข้อมูลรายบุคคล รายครัวเรือน และราย
ชุมชน
๓. มีข้อมูลสุขภาพของผู้ป่ วยและครอบครัว ใน ๓ กลุ่ม
๔. มีการใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงานของ FCT เช่น เครื่องมือ
INHOMESS /IFFE/ ในการดูแลสุขภาพกลุ่มเป้ าหมาย ๓
แนวทางการพัฒนา
๕. มีตารางปฏิบัติงาน FCT ในการดูแล ๓ กลุ่ม
๖. มีการคัดกรองดูแลประชาชนกลุ่มเป้ าหมายตาม SP ที่ชัดเจน
๗. มีแผนการพัฒนาศักยภาพ อสม./Care Giver
๘. มีการจัดระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่ วย
๙. มีการจัดให้มีการให้คาปรึกษา ผู้ป่ วยและผู้ดูแล
๒. ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล (ต่อ)
แนวทางการพัฒนา
๑๐. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (แผน/
กระบวนการ)
๑๑. กลุ่มผู้ป่ วยเรื้อรัง และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลสุขภาพจาก
ภาคีเครือข่าย โดยการประสานของ FCT
๑๒. จัดให้คาปรึกษาแก่ภาคีเครือข่าย และผู้ดูแลสม่าเสมอ
๒. ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล (ต่อ)
๓. ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน
แนวทางการพัฒนา
๑. อสม./ภาคีเครือข่าย
- มีและใช้เครื่องมือในการดาเนินงานชุมชนตาม ๕ กลุ่มวัย
แยกเป็ นกลุ่มป่ วย กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปกติ
- มีความรู้ในการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย และ ๓ กลุ่มเป้ าหมาย
- มีกิจกรรมการคัดกรองสุขภาพตามกลุ่มวัย ร่วมกับ FCT
- มีการสื่อสารความรู้และกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้ทุกกลุ่มวัย
๓. ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน (ต่อ)
แนวทางการพัฒนา
๒. การเยี่ยมบ้านคุณภาพ
๒.๑ อสม./Care Giver (มี จนท. เป็ นหัวหน้าทีม)
- มีข้อมูลภาวะสุขภาพ ๓ กลุ่ม และผู้ดูแลในชุมชนที่
รับผิดชอบ
- มีการประเมินปัญหาของกลุ่มเป้ าหมายรายบุคคล
- มีแผนการให้การดูแลเฉพาะด้าน ที่บ้านแก่ญาติ ผู้ดูแล
- มีกระบวนการดูแลผู้ป่ วยที่บ้านร่วมกับภาคีเครือข่าย
ครอบคลุมทุกมิติ (กาย จิต สังคม สิ่งแวดล้อม)
๓. ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน (ต่อ)
แนวทางการพัฒนา
๒. การเยี่ยมบ้านคุณภาพ
๒.๒ ผู้ป่ วย/ผู้ดูแล
- มีข้อมูล FCT และช่องทางการสื่อสาร
- มีสมุดบันทึกการเยี่ยมบ้าน /สมุดประจาตัวผู้ป่ วย
(ข้อมูลด้านการรักษา ยา และข้อแนะนาในการปฏิบัติตัว)
- มีข้อมูลวันนัด
การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
เขตสุขภาพที่ ๑๐
สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS
๑.มะเร็ง - การคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งตับ
- พัฒนารูปแบบ palliative care
๒.หัวใจ - การคัดกรอง Congenital heart disease/STEMI
๓.Stroke - Primary prevention /Stroke awareness
(อ่อนแรงแขนขา มึนชาตามัว หน้ามืดปวดหัว ลิ้นรัวเดินเซ)
๔.จิตเวช - การคัดกรองและเฝ้ าระวังจิตเวชทุกกลุ่มอายุ
- เน้นคัดกรอง dementiaในผู้สูงอายุ
การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS
๕.ทารกแรก
เกิด
- ส่งต่อทารกแรกเกิดภาวะวิกฤต
- ติดตามผู้ป่ วยทารกกลุ่มเสี่ยงหลังจาหน่าย
๖.สูติกรรม - การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ
- ANC คุณภาพ โดยวิชาชีพ(High Risk Preg)
- MCH board ระดับเขต จังหวัด อาเภอ
๗.ไต - การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง CKD ในผู้ป่ วย DM/HT ที่ รพ.
สต.
- CKD clinic คุณภาพระดับ F ๒ ขึ้นไป
การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS
๘. ห้าสาขา
หลัก
- ลดการ Refer out ด้วย Appendicitis
- ลดการ Refer out ด้วย Complicated pneumonia
- มีคู่มือ Trauma HI Guideline
- การรณรงค์อุบัติเหตุ โดยใช้สื่อเดียวกัน
๙.ทันตกรรม - เฝ้ าระวังทันตสุขภาพในกลุ่มอายุ ๑ ปี ครึ่ง – ๓ ปี
๑๐.ตา - คัดกรองต้อกระจกในกลุ่มสูงอายุ
- คัดกรองจอประสาทตาเสื่อมในกลุ่มเบาหวาน
การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS
NCD/ศูนย์
วิชาการ
- อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง
- กาหนดพื้นที่เสี่ยงตามสภาพปัญหา
- DISTRICT MENTAL HEALTH SYSTEM : DMHS
การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
การดาเนินงานป้ องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดศรีสะเกษ
ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ
-Service Plan
Stroke, Stemi,
PAD, PDR,
CKD Clinic
-Clinic NCD
คุณภาพ -ลด
ภาวะแทรกซ้อน
-คัดกรอง ปชช>35
ปี -จาแนกกลุ่ม
-ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(Clinic DPAC)
อาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญ
อาเภอควบคุม
โรคเข้มแข็ง
การเชื่อมโยงการดาเนิน NCD : Fundus
camera
ปฐม
ภูมิ
ทุติย
ภูมิ
ตติย
ภูมิ
NCD
Board
DHS
ทีมหมอครอบครัว
Laser
ผ่าตัด
อ่านผลเบื้องต้น ส่งต่อ
PDR :Refer
เฝ้ าระวังตาบอดจาก DM
ตรวจจอประสาทตา
Service Plan
วางแผนการใช้
เครื่อง
Fundus
Camera
4 เครื่อง
22 อาเภอ
-นโยบายการดาเนินงาน
-งบประมาณ
แก้ไข: DM
Uncontrol ป้ องกัน
วิชาการ
เครื่อง Fundus
Camera
เป้ า:ลดตาบอด
จาก DM
การดาเนินงานป้ องกันอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดศรีสะเกษ
คณะกรรมการป้ องกันอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดศรีสะเกษ
(ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็ นประธาน)
ส่วนสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ
ชุมชน - วินัยการขับขี่
ปฐมภูมิ - เฝ้ าระวังอุบัติเหตุ
ทุติยภูมิ - ER คุณภาพ , การสอบสวนอุบัติเหตุ
Dead Case Conference , เฝ้ าระวัง
พฤติกรรมเสี่ยง : สุรา หมวก เข็มขัด,อบรม
พนักงานขับรถ
ตติยภูมิ - service plan: Trauma
เครือข่าย จังหวัดศรีสะเกษ
ตารวจ- การบังคับใช้กฎหมาย
กรมทางหลวง,แขวงการทาง : ความ
ปลอดภัยทางถนน, วิศวกรรมจราจร
ขนส่ง : มาตรการรถโดยสารประจาทาง
ปภ. : บริหารจัดการ ,กาหนดจุดตรวจ
ช่วงเทศกาล
ประชาสัมพันธ์จังหวัด : ความรู้ แจ้ง
เตือน
ส่วนที่พัฒนาร่วมกัน : อาสาสมัครกู้ชีพ ,การวิเคราะห์จุดเสี่ยง
DHS อาเภอควบคุมโรค
เข้มแข็ง
นโยบาย
“วาระคนศรีสะเกษ กาจัดพยาธิ
ใบไม้ตับและมะเร็งตับ/ท่อ
น้าดี”
การดาเนินงานป้ องกันมะเร็งตับ/ท่อน้าดี จังหวัดศรีสะเกษ
1.การป้ องกันการเกิดโรค
(OV, CA liver) 2.การค้นหาและเฝ้ าระวัง
กลุ่มเสี่ยง =ญาติสายตรง,
OV ,Hep-B ,ตับแข็ง
3.การตรวจวินิจฉัย
อัลตราซาวด์กลุ่มเสี่ยง 4.การดูแลผู้ป่ วยระยะ
สุดท้าย
5.การขยายเครือข่ายการ
ดาเนินงานสู่ อบต.
แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย โดย FCT

More Related Content

What's hot

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมโรงพยาบาลสารภี
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...Dr.Suradet Chawadet
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอAuamporn Junthong
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนDr.Suradet Chawadet
 
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10Dr.Suradet Chawadet
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม Dr.Suradet Chawadet
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Chuchai Sornchumni
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA AppreciationDr.Suradet Chawadet
 

What's hot (20)

นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
ทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัวทีมหมอครอบครัว
ทีมหมอครอบครัว
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอแบบประเมินการขับเคลื่อนงาน  Ncd ระดับอำเภอ
แบบประเมินการขับเคลื่อนงาน Ncd ระดับอำเภอ
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืนการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ เพื่อระบบสุขภาพชุมชนที่ยั่งยืน
 
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
ทีมหมอครอบครัว เขตสุขภาพที่ 10
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม DHS เสนางคนิคม
DHS เสนางคนิคม
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผูู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประครอง โดยทัมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
Dhs@ ministry of ph ain dhs 261158
 
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciationการเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
การเยี่ยมเสริมพลัง DHS-PCA Appreciation
 

Viewers also liked

DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาAuamporn Junthong
 
DHML นพ ทวีเกียรติ
DHML  นพ ทวีเกียรติDHML  นพ ทวีเกียรติ
DHML นพ ทวีเกียรติDr.Suradet Chawadet
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวDr.Suradet Chawadet
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทากันย์ สมรักษ์
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุJit Khasana
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDODr.Suradet Chawadet
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุThanai Punyakalamba
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...Dr.Suradet Chawadet
 
2. dhs 6 05-2014 siriluk
2. dhs  6 05-2014 siriluk2. dhs  6 05-2014 siriluk
2. dhs 6 05-2014 sirilukmohjiu
 
Palliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียง
Palliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียงPalliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียง
Palliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียงKhanawut Nitikul
 

Viewers also liked (14)

DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
DHML นพ ทวีเกียรติ
DHML  นพ ทวีเกียรติDHML  นพ ทวีเกียรติ
DHML นพ ทวีเกียรติ
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
 
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทาการดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยประคับประคอง โดยทีมหมอครอบครัวเลิงนกทา
 
การสูงอายุ
การสูงอายุการสูงอายุ
การสูงอายุ
 
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDOความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
ความเสี่ยงด้านสุขภาพตามกลุ่มวัย WECANDO
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
สรุป Care management
สรุป Care managementสรุป Care management
สรุป Care management
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
 
2. dhs 6 05-2014 siriluk
2. dhs  6 05-2014 siriluk2. dhs  6 05-2014 siriluk
2. dhs 6 05-2014 siriluk
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
Palliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียง
Palliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียงPalliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียง
Palliative care, ระบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายควนเนียง
 

Similar to แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย โดย FCT

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยMickey Toon Luffy
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Chanavi Kremla
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
นำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxนำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxNattikornKummano
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Slide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสชSlide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสชคิดดี ทำดี
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นUtai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาตินวพร คำแสนวงษ์
 

Similar to แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย โดย FCT (20)

สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทยสถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
สถานการณ์ด้านสุขภาพจิตของประเทศไทย
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
การบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkdการบริหารจัดการCkd
การบริหารจัดการCkd
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Region health plan_by region11
Region health plan_by region11Region health plan_by region11
Region health plan_by region11
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
นำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptxนำเสนองานนักจิต.pptx
นำเสนองานนักจิต.pptx
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
Slide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสชSlide โรคเรื้อรัง สปสช
Slide โรคเรื้อรัง สปสช
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสติปัญญาบกพร่อง ออทิสติก สมาธิสั้น และภาวะบกพร่องทางการเร...
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
Htn
HtnHtn
Htn
 

More from กันย์ สมรักษ์ (11)

Home care by Family care team
Home care by Family care teamHome care by Family care team
Home care by Family care team
 
Ltc ln2
Ltc ln2Ltc ln2
Ltc ln2
 
LN Family Care Team
LN Family Care TeamLN Family Care Team
LN Family Care Team
 
LN Family Care Team
LN Family Care TeamLN Family Care Team
LN Family Care Team
 
Single plan
Single planSingle plan
Single plan
 
Kh pca 2015
Kh pca 2015Kh pca 2015
Kh pca 2015
 
นิเทศผสมผสาน 2014 final
นิเทศผสมผสาน 2014 finalนิเทศผสมผสาน 2014 final
นิเทศผสมผสาน 2014 final
 
นิเทศผสมผสาน 2014 final
นิเทศผสมผสาน 2014 finalนิเทศผสมผสาน 2014 final
นิเทศผสมผสาน 2014 final
 
Osdop swat
Osdop  swatOsdop  swat
Osdop swat
 
L dhs contest khoa yai i
L dhs contest khoa yai iL dhs contest khoa yai i
L dhs contest khoa yai i
 
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
นำเสนอ Ltc nakok เขต 1
 

แนวทางการขับเคลื่อน DHS ที่เชื่อมโยงกับ Service plan และการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย โดย FCT

  • 3. คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับเขต ประธาน สธน./ผอ.เขต ตัวแทน SP ทุกสาขา /ตัวแทนกลุ่มวัย ทุกจังหวัด/ตัวแทน DHS/FCT คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับจังหวัด ประธาน ว หรือ ส -ตัวแทน SP ทุกสาขา -ตัวแทนกลุ่มวัย ระดับจังหวัด -ตัวแทน DHS/FCT ระดับจังหวัด คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับอาเภอ ประธาน ผอ.รพ หรือ สสอ. -ตัวแทน SP ทุกสาขาระดับอาเภอ -ตัวแทนกลุ่มวัยระดับอาเภอ/หน.กลุ่มการ พยาบาล -ตัวแทน DHS /FCTระดับอาเภอ คณะทางานบูรณาการขับเคลื่อน DHS/SP/กลุ่มวัย ระดับตาบล ประธาน ผอ.รพ.สต หรือ ภาคี เครือข่าย -ตัวแทน FCT ระดับตาบล -ตัวแทนภาคีเครือข่าย -ตัวแทน FCT ระดับชุมชน
  • 4. Care Manager Care giver Care giver Care giver Care giver Care giver รพ.สต.ละ ๑ คน NP พัฒนา Care Giver (ดูแลผู้สูงอายุติดเตียง ผู้พิการช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ผู้ป่ วย Palliative หลักสูตร ๗๐ ชั่วโมง รพ.สต.ละ ๑๐ คน ทีมหมอครอบครัวระดับ ชุมชน ทีมหมอครอบครัวระดับ อาเภอ ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล
  • 5. การ Tracer ระบบ DHS เขตสุขภาพที่ ๑๐ ๑. ประเด็น ODOP ร่วมระดับเขต DM/HT ครบวงจรเชื่อมโยง FCT/SP ๒. พัฒนาในประเด็นตามบริบทของพื้นที่ ๓. ประเด็นการดูแลของ FCT ใน ๓ กลุ่ม -ผู้สูงอายุติดเตียง -ผู้พิการที่ต้องช่วยเหลือเร่งด่วน -ผู้ป่ วยประคับประคอง)
  • 6. แนวทางการพัฒนา DHS ๒. ระดับอาเภอ -โครงสร้าง/บทบาทคณะทางาน DHS และกาหนด PM จาก สสอ. และ รพช. -มี single Plan ทั้ง ๑๖ ประเด็น/มี PM ทุกประเด็น -มีระบบข้อมูล (๕ กลุ่มวัย /SP/FCT) -มีระบบ M&E ใช้แนวทาง DHS-PCA ตามเกณฑ์ UCCARE -จัดบริการ Essential Care ตาม ODOP ๓ เรื่อง
  • 7. แนวทางการพัฒนา DHS ๓. ระดับตาบล -โครงสร้าง/บทบาทการทางานแบบบูรณาการระหว่าง FCT/ กองทุนสุขภาพตาบล/งบ PP/ภาคีเครือข่าย -มี Single Plan ที่เชื่อมกับ ODOP (DM/HT) -มีระบบข้อมูล (๕ กลุ่มวัย /SP/FCT) -มีระบบ M&E โดยใช้ DHS-PCA ตาม UCCARE -OTOP ๑ เรื่อง (ตามบริบทของพื้นที่)
  • 9. นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT ผู้สูงอายุติดเตียง หมายถึง ผู้สูงอายุที่ป่ วย/ไม่ป่ วย และช่วยเหลือตนเอง ไม่ได้ ต้องนอนอยู่บนเตียงเป็ นบางครั้งหรือตลอดเวลา (ตาม เกณฑ์การประเมินความสารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ADL (Activity of Daily Living)มีผลรวมคะแนน อยู่ในช่วง ๐-๔ คะแนน)
  • 10. นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT การจาแนกผู้สูงอายุตามเกณฑ์ ADL กลุ่มที่ ๑ กลุ่มติดสังคม ผลรวมตั้งแต่ ๑๒ คะแนน กลุ่มที่ ๒ กลุ่มติดบ้าน ผลรวมอยู่ในช่วง ๕–๑๑ คะแนน กลุ่มที่ ๓ กลุ่มติดเตียง ผลรวมอยู่ในช่วง ๐ -๔ คะแนน
  • 11. นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT ผู้พิการที่ต้องได้รับการดูแล หมายถึง ผู้ที่มีความบกพร่องประเภทใดประเภทหนึ่งหรือ มากกว่า ที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ในการดารงชีวิตประจาวันจนทา ให้ต้องมีผู้ดูแลกิจวัตรประจาวันบางส่วนหรือทั้งหมด (ตามเกณฑ์ การประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ADL (Activity of Daily Living) มีผลรวมคะแนนอยู่ในช่วง ๐-๔ คะแนน)
  • 12. นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT การจาแนกผู้พิการตามเกณฑ์ ADL กลุ่มที่ ๑ ช่วยเหลือตนเองได้ ผลรวมตั้งแต่ ๑๒ คะแนน กลุ่มที่ ๒ ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง ผลรวมอยู่ในช่วง ๕–๑๑ คะแนน กลุ่มที่ ๓ ต้องได้รับการช่วยเหลือ ผลรวมอยู่ในช่วง ๐-๔ คะแนน
  • 13. นิยามกลุ่มเป้ าหมายในการดูแลของ FCT ผู้ป่ วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หมายถึง ผู้ป่ วยที่อยู่ในระยะคุกคามชีวิต ซึ่งป่ วยด้วยโรคที่ไม่อาจ รักษาให้หายได้ ผู้ป่ วยที่มีชีวิตอยู่ได้อีกไม่นาน หรือผู้ป่ วยที่อยู่ในระยะ สุดท้ายของชีวิต โดยใช้เกณฑ์ Palliative Performance Scale (PPS) แบ่ง ระดับทั้งหมด 11 ระดับไล่ตั้งแต่ 100% ลงไปถึง 0% เพื่อแยกผู้ป่ วย ออกเป็ น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่ -ผู้ป่ วยที่มีอาการคงที่ (>70%) -ผู้ป่ วยระยะสุดท้าย (0-30%) -ผู้ป่ วยที่อยู่ระหว่าง 2 กลุ่มดังกล่าว (40-70%) กลุ่มเป้ าหมายในการดูแลคือ กลุ่มที่มี PPS < 70 และผู้ป่ วยระยะสุดท้าย PPS < 30
  • 14. ขอบข่ายของกลุ่มที่ต้องประเมิน PPS • ผู้ป่ วยมะเร็งที่ไม่สามารถรักษาได้ หรือเป็ นระยะแพร่กระจาย • ผู้ป่ วยโรคเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รับการรักษาเพื่อประคับประคอง เช่น – ผู้ป่ วยไตวาย – โรคปอดเรื้อรัง – โรคหัวใจที่จากัดกิจกรรมในชีวิตประจาวัน – ถุงลมโป่ งพองระยะสุดท้าย – โรคทางระบบประสาทระยะสุดท้าย • โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง/เอดส์ • โรคสมองเสื่อม
  • 15. ระดับที่ ๑ ช่วยเหลือตนเองได้ PPS>70 เยี่ยมโดย อสม. ระดับที่ ๒ พึ่งพาผู้อื่นบ้าง PPS 40-70 เยี่ยมโดยทีม FCT อาเภอ/ ชุมชน ระดับที่ ๓ ระยะสุดท้าย PPS<30 เยี่ยมโดยทีม FCT อาเภอ/ชุมชน (FCT ชุมชน ประกอบด้วย อสม./ภาคีเครือข่าย) รูปแบบการเยี่ยมดูแลผู้ป่ วยประคับประคอง
  • 16. ๑. ทีมหมอครอบครัวระดับอาเภอ แนวทางการพัฒนา ๑. DHS มีการออกแบบระบบบริการร่วมกัน (รพ./สสอ./รพ.สต) - สื่อสาร FCT สู่ครอบครัวและชุมชน - จัดทาแผนปฏิบัติงานของ FCT ระดับอาเภอเพื่อสนับสนุน ระดับตาบล/ชุมชน ที่ครอบคลุม SP/กลุ่มวัย - จัดระบบการปรึกษา /ส่งต่อ ของ FCT ทุกระดับ - จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ สนับสนุนการส่งมอบบริการ - มีและใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน เช่น INHOMESS/ PPS/ADL
  • 17. แนวทางการพัฒนา ๒. รายงานผลการดาเนินงานของ FCT ๓. เสริมคุณค่าการทางานของ FCT ด้วย เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Case/ระดับอาเภอ และให้รางวัลเชิดชูเกียรติ ๔. พัฒนาและค้นหา Best Practice (อาเภอ/ตาบลตัวอย่าง) สามารถบอกได้ว่าประชาชนได้รับการดูแล หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น ๑. ทีมหมอครอบครัวระดับอาเภอ (ต่อ)
  • 18. ๒. ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล แนวทางการพัฒนา ๑. มีผังโครงสร้าง FCT ระดับตาบล และมีการสื่อสารสู่ครอบครัว และชุมชน ๒. FCT มีการจัดทาข้อมูลรายบุคคล รายครัวเรือน และราย ชุมชน ๓. มีข้อมูลสุขภาพของผู้ป่ วยและครอบครัว ใน ๓ กลุ่ม ๔. มีการใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงานของ FCT เช่น เครื่องมือ INHOMESS /IFFE/ ในการดูแลสุขภาพกลุ่มเป้ าหมาย ๓
  • 19. แนวทางการพัฒนา ๕. มีตารางปฏิบัติงาน FCT ในการดูแล ๓ กลุ่ม ๖. มีการคัดกรองดูแลประชาชนกลุ่มเป้ าหมายตาม SP ที่ชัดเจน ๗. มีแผนการพัฒนาศักยภาพ อสม./Care Giver ๘. มีการจัดระบบรับ-ส่งต่อผู้ป่ วย ๙. มีการจัดให้มีการให้คาปรึกษา ผู้ป่ วยและผู้ดูแล ๒. ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล (ต่อ)
  • 20. แนวทางการพัฒนา ๑๐. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (แผน/ กระบวนการ) ๑๑. กลุ่มผู้ป่ วยเรื้อรัง และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลสุขภาพจาก ภาคีเครือข่าย โดยการประสานของ FCT ๑๒. จัดให้คาปรึกษาแก่ภาคีเครือข่าย และผู้ดูแลสม่าเสมอ ๒. ทีมหมอครอบครัวระดับตาบล (ต่อ)
  • 21. ๓. ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน แนวทางการพัฒนา ๑. อสม./ภาคีเครือข่าย - มีและใช้เครื่องมือในการดาเนินงานชุมชนตาม ๕ กลุ่มวัย แยกเป็ นกลุ่มป่ วย กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มปกติ - มีความรู้ในการดูแลสุขภาพกลุ่มวัย และ ๓ กลุ่มเป้ าหมาย - มีกิจกรรมการคัดกรองสุขภาพตามกลุ่มวัย ร่วมกับ FCT - มีการสื่อสารความรู้และกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้ทุกกลุ่มวัย
  • 22. ๓. ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ๒. การเยี่ยมบ้านคุณภาพ ๒.๑ อสม./Care Giver (มี จนท. เป็ นหัวหน้าทีม) - มีข้อมูลภาวะสุขภาพ ๓ กลุ่ม และผู้ดูแลในชุมชนที่ รับผิดชอบ - มีการประเมินปัญหาของกลุ่มเป้ าหมายรายบุคคล - มีแผนการให้การดูแลเฉพาะด้าน ที่บ้านแก่ญาติ ผู้ดูแล - มีกระบวนการดูแลผู้ป่ วยที่บ้านร่วมกับภาคีเครือข่าย ครอบคลุมทุกมิติ (กาย จิต สังคม สิ่งแวดล้อม)
  • 23. ๓. ทีมหมอครอบครัวระดับชุมชน (ต่อ) แนวทางการพัฒนา ๒. การเยี่ยมบ้านคุณภาพ ๒.๒ ผู้ป่ วย/ผู้ดูแล - มีข้อมูล FCT และช่องทางการสื่อสาร - มีสมุดบันทึกการเยี่ยมบ้าน /สมุดประจาตัวผู้ป่ วย (ข้อมูลด้านการรักษา ยา และข้อแนะนาในการปฏิบัติตัว) - มีข้อมูลวันนัด
  • 24. การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan เขตสุขภาพที่ ๑๐
  • 25. สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS ๑.มะเร็ง - การคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งตับ - พัฒนารูปแบบ palliative care ๒.หัวใจ - การคัดกรอง Congenital heart disease/STEMI ๓.Stroke - Primary prevention /Stroke awareness (อ่อนแรงแขนขา มึนชาตามัว หน้ามืดปวดหัว ลิ้นรัวเดินเซ) ๔.จิตเวช - การคัดกรองและเฝ้ าระวังจิตเวชทุกกลุ่มอายุ - เน้นคัดกรอง dementiaในผู้สูงอายุ การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
  • 26. สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS ๕.ทารกแรก เกิด - ส่งต่อทารกแรกเกิดภาวะวิกฤต - ติดตามผู้ป่ วยทารกกลุ่มเสี่ยงหลังจาหน่าย ๖.สูติกรรม - การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ - ANC คุณภาพ โดยวิชาชีพ(High Risk Preg) - MCH board ระดับเขต จังหวัด อาเภอ ๗.ไต - การคัดกรองกลุ่มเสี่ยง CKD ในผู้ป่ วย DM/HT ที่ รพ. สต. - CKD clinic คุณภาพระดับ F ๒ ขึ้นไป การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
  • 27. สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS ๘. ห้าสาขา หลัก - ลดการ Refer out ด้วย Appendicitis - ลดการ Refer out ด้วย Complicated pneumonia - มีคู่มือ Trauma HI Guideline - การรณรงค์อุบัติเหตุ โดยใช้สื่อเดียวกัน ๙.ทันตกรรม - เฝ้ าระวังทันตสุขภาพในกลุ่มอายุ ๑ ปี ครึ่ง – ๓ ปี ๑๐.ตา - คัดกรองต้อกระจกในกลุ่มสูงอายุ - คัดกรองจอประสาทตาเสื่อมในกลุ่มเบาหวาน การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
  • 28. สาขา จุดเชื่อม Service Plan : DHS NCD/ศูนย์ วิชาการ - อาเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง - กาหนดพื้นที่เสี่ยงตามสภาพปัญหา - DISTRICT MENTAL HEALTH SYSTEM : DMHS การเชื่อมโยง DHS กับ Service Plan
  • 29. การดาเนินงานป้ องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดศรีสะเกษ ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ -Service Plan Stroke, Stemi, PAD, PDR, CKD Clinic -Clinic NCD คุณภาพ -ลด ภาวะแทรกซ้อน -คัดกรอง ปชช>35 ปี -จาแนกกลุ่ม -ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Clinic DPAC) อาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญ อาเภอควบคุม โรคเข้มแข็ง
  • 30. การเชื่อมโยงการดาเนิน NCD : Fundus camera ปฐม ภูมิ ทุติย ภูมิ ตติย ภูมิ NCD Board DHS ทีมหมอครอบครัว Laser ผ่าตัด อ่านผลเบื้องต้น ส่งต่อ PDR :Refer เฝ้ าระวังตาบอดจาก DM ตรวจจอประสาทตา Service Plan วางแผนการใช้ เครื่อง Fundus Camera 4 เครื่อง 22 อาเภอ -นโยบายการดาเนินงาน -งบประมาณ แก้ไข: DM Uncontrol ป้ องกัน วิชาการ เครื่อง Fundus Camera เป้ า:ลดตาบอด จาก DM
  • 31. การดาเนินงานป้ องกันอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดศรีสะเกษ คณะกรรมการป้ องกันอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดศรีสะเกษ (ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็ นประธาน) ส่วนสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ ชุมชน - วินัยการขับขี่ ปฐมภูมิ - เฝ้ าระวังอุบัติเหตุ ทุติยภูมิ - ER คุณภาพ , การสอบสวนอุบัติเหตุ Dead Case Conference , เฝ้ าระวัง พฤติกรรมเสี่ยง : สุรา หมวก เข็มขัด,อบรม พนักงานขับรถ ตติยภูมิ - service plan: Trauma เครือข่าย จังหวัดศรีสะเกษ ตารวจ- การบังคับใช้กฎหมาย กรมทางหลวง,แขวงการทาง : ความ ปลอดภัยทางถนน, วิศวกรรมจราจร ขนส่ง : มาตรการรถโดยสารประจาทาง ปภ. : บริหารจัดการ ,กาหนดจุดตรวจ ช่วงเทศกาล ประชาสัมพันธ์จังหวัด : ความรู้ แจ้ง เตือน ส่วนที่พัฒนาร่วมกัน : อาสาสมัครกู้ชีพ ,การวิเคราะห์จุดเสี่ยง DHS อาเภอควบคุมโรค เข้มแข็ง
  • 32. นโยบาย “วาระคนศรีสะเกษ กาจัดพยาธิ ใบไม้ตับและมะเร็งตับ/ท่อ น้าดี” การดาเนินงานป้ องกันมะเร็งตับ/ท่อน้าดี จังหวัดศรีสะเกษ 1.การป้ องกันการเกิดโรค (OV, CA liver) 2.การค้นหาและเฝ้ าระวัง กลุ่มเสี่ยง =ญาติสายตรง, OV ,Hep-B ,ตับแข็ง 3.การตรวจวินิจฉัย อัลตราซาวด์กลุ่มเสี่ยง 4.การดูแลผู้ป่ วยระยะ สุดท้าย 5.การขยายเครือข่ายการ ดาเนินงานสู่ อบต.