SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 65
Baixar para ler offline
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศไต้หวันเรื่อง
การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหาร
จัดการน้้า (Council of Agriculture)
เสนอต่อ
เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โดย
คณะเจ้าหน้าที่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร
การวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุ่นที่ 1 กลุ่มที่ 1
6 มกราคม 2558 1
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 1
1.นางสาวประภาศรี พงษ์วัฒนา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สบป.
2.นายก่อเกียรติ สมประสงค์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สทว.
3.นางสาวจิตรลดา พิศาลสุพงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สพข.
4.นางสาววรวรรณ พลิคามิน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สพส.
5.นางสาวศรี ศรีงาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สนส.
6.นายวิศณุ ติวะตันสกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สศม.
7.นางพวงแก้ว พรพิพัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สปผ.
8.นางพรรณทิพา รัตนะ ร.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สพต.
9.นายเชิญ ไกรนรา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการ สพก.
10.นางสาวจินดารัตน์ ไทพาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการ สบป.
2
ประเด็นการน้าเสนอ
1. วิธีการจัดท้ารายงาน
2. ภาพรวมการพัฒนาประเทศไต้หวัน
3. หน่วยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและทรัพยากรน้้าของไต้หวัน และกลไกการบริหาร
จัดการเกษตร โดยคณะกรรมการเกษตรหรือสภาการเกษตรไต้หวันหรือ (Council of
Agriculture: COA) และบริหารจัดการน้้าโดยองค์การจัดการทรัพยากรน้้า
4. นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน (คณะกรรมการเกษตรไต้หวัน)
5. การวิเคราะห์เปรียบเทียบประเด็นการพัฒนาการเกษตรที่ส้าคัญระหว่างประเทศไต้หวัน
และประเทศไทย- 4 มิติ
6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติที่ดีส้าหรับการพัฒนาการเกษตร
ของไทย -5 ด้าน 3
1.วิธีการจัดท้ารายงาน
• จัดท้ารายงานกึ่งการวิจัย
• ข้อมูลหลักได้จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) กับ
คณะผู้บริหารของคณะกรรมการเกษตรหรือสภาการเกษตรของประเทศ
ไต้หวันรวมทั้งได้รับเอกสารความก้าวหน้าการพัฒนาการเกษตรและ
นโยบายการพัฒนาการเกษตร
• ค้นคว้าข้อมูลทุติยภูมิเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นๆ
• ท้าการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis) และการวิเคราะห์
เปรียบเทียบ (Comparative Analysis) ของความคล้ายคลึงและ
ความแตกต่างของนโยบายและประเด็นส้าคัญของการพัฒนาการ
เกษตรระหว่างประเทศไต้หวันและประเทศไทยใน 4 มิติ
• สรุปและจัดท้าข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
4
1.ภาพรวมของประเทศไต้หวัน
1.1 ภาพรวมทางกายภาพและโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไต้หวัน
• ประเทศไต้หวันเป็นเกาะทอดยาวจากเหนือสู่ใต้ โดยมีแนวเขาอยู่
ส่วนกลางของเกาะ มีพื้นที่ทั้งประเทศ 36,000 ตร.กม.
• อยู่ห่างจากมลฑลกวางโจว ของจีนแผ่นดินใหญ่ 266.26 กม.
• ประเทศไทยมีขนาดใหญ่กว่า 14.25 เท่า
• ประชากรทั้งประเทศ 23 ล้านคน
• อัตราการขยายตัวของประชากรต่้าประมาณร้อยละ 0.29 % ต่อปี
• มีพื้นที่ราบที่มีความสูงต่้ากว่า 100 เมตร ร้อยละ 29
• ไต้หวันเป็นประเทศที่มีความส้าคัญต่อระบบเศรษฐกิจโลกเป็นอย่างยิ่ง
เนื่องจากเป็นผู้น้าอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์
รายใหญ่ของโลก
5
แผนที่ประเทศไต้หวัน
6
• ปี 2555 ไต้หวันมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 21 ของโลก
(ไทยอันดับ 22)
• ระหว่างปี พ.ศ. 2505-2557 มีอัตราการขยายตัวของ GDP เฉลี่ย 7.12
% ต่อปี
• ท้าให้ไต้หวันมีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจที่โดดเด่น (Taiwan
Miracle)
• ไต้หวันเป็น 1 ใน 4 เสือแห่งเอเชีย (ไต้หวัน ฮ่องกง เกาหลีใต้
และสิงคโปร์)
• เป็นประเทศผู้ส่งออกอันดับที่ 17 ของโลก (ไทยอันดับ 23)
• ขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศระหว่างปี 2556-2557
อันดับ 12 (ไทยอันดับ 37)
• ไต้หวันจัดอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว
7
1.2 ความส้าคัญและความก้าวหน้าด้านการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต้หวัน
• การพัฒนาการเกษตรของไต้หวันถือได้ว่าไม่ได้เป็นเพียงธุรกิจแต่ยังเป็น
วิถีชีวิตของประชาชน
• ตลอด 30 ปีที่ผ่านมาระบบเศรษฐกิจของไต้หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรม
เพียงร้อยละ 3 ของ GDP ซึ่งลดลงอย่างรวดเร็วจากร้อยละ 35 เมื่อ
60 ปีที่ผ่านมา
• ภาคเกษตรยังมีความส้าคัญเนื่องจากปัจจุบันมีประชากรที่ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมประมาณ 1 ล้านคน จ้านวน 810,000 ครัวเรือน
หรือคิดเป็นร้อยละ 4.34 ของประชากรทั้งประเทศ
• ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยมีพื้นที่ถือครองที่ดินเฉลี่ย 1.06 เฮกตาร์
หรือประมาณ 6 ไร่ 1 งานต่อครัวเรือน โดยมีจ้านวนสมาชิกเฉลี่ย 5
คน/ครัวเรือน
8
• มีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสนับสนุนการผลิตทางการเกษตรอย่าง
กว้างขวาง
• ในปี 2555 ภาคเกษตรกรรมสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจประมาณ
473,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งเป็นรายได้จากการปลูกพืชประมาณร้อยละ
46.64 ปศุสัตว์ร้อยละ 31.00 ประมงร้อยละ 22.22 และผลิตภัณฑ์จาก
ปุาไม้ร้อยละ 0.08
• โดยมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.90 ของ GDP
(ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 29.70 และภาคบริการร้อยละ 68.40)
• หากรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร
และการพักผ่อนหย่อนใจในฟาร์ม สัดส่วนภาคเกษตรจึงเพิ่มขึ้นถึงร้อย
ละ 11ของ GDP ส่งผลให้ภาคเกษตรของประเทศไต้หวันมีบทบาท
ส้าคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร การพัฒนาชนบทและการอนุรักษ์
ระบบนิเวศ
9
1.3 ผลิตผลเกษตรที่ส้าคัญและการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ
• ผลผลิตที่ส้าคัญได้แก่ ข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญที่สุด และอ้อย
ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์หลัก เช่น หมูและไก่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าและการ
ท้าประมงทะเลลึก เช่น ปลาไหลและปลาหมึก เป็นต้น
• ไต้หวันเป็น"อาณาจักรผลไม้" เนื่องจากมีผลไม้หลากหลายชนิดที่
แตกต่างกันตลอดทั้งปี โดยในช่วงฤดูร้อนมีผลไม้ที่สามารถเก็บเกี่ยวได้
กว่า 20 ชนิด
• ยังมีผลผลิตชา ดอกไม้ และปลาสวยงาม ด้วย
• ตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา กระทรวงเกษตรของไต้หวันได้พยายามขยาย
ตลาดสินค้าเกษตรไปยังตลาดเปูาหมายทั่วโลก ในปี 2555 มูลค่าการ
ส่งออกสินค้าเกษตรขยายตัวร้อยละ 9 เมื่อเทียบกับปี 2554 คิดเป็น
มูลค่าประมาณ 152,700 ล้านบาท สินค้าส่งออกหลักคือ ดอกไม้
ผลิตภัณฑ์สัตว์น้้าและถั่วแระ เป็นต้น โดยมีตลาดส่งออกหลักคือ ญี่ปุุน
10
• จีน (แผ่นดินใหญ่) ฮ่องกงและสหรัฐอเมริกา เป็นต้น
• นอกจากนี้ไต้หวันยังมีการน้าเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์จากไทย ได้แก่
ธัญพืชและผลิตภัณฑ์แปรรูป เช่น ข้าวเหนียวและพาสต้า งา และ
หน่อไม้ฝรั่ง และสินค้าเกษตรทั่วไป เช่น ผลิตภัณฑ์มันส้าปะหลัง เป็น
ต้น
• ส้าหรับประเทศไทยมีการน้าเข้าสินค้าปลาทูน่าสดแช่เย็นแช่แข็งจาก
ไต้หวัน
11
2.หน่วยงานหลักและกลไกในการพัฒนาการเกษตรและจัดการทรัพยากรน้้า
ของประเทศไต้หวัน
2.1 คณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน หรือสภาการเกษตรไต้หวัน:
(Council of Agriculture: COA)
• เดิมหน่วยงานด้านการเกษตรกระจายอยู่หลายกระทรวง จึงมีการปรับปรุงโครงสร้างของ
คณะกรรรมการการเกษตรไต้หวันหลายครั้ง ตามแผนปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐ
• เป็นหน่วยงานภายใต้การก้ากับดูแลของนายกรัฐมนตรีไต้หวัน เทียบเท่ากับกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ของประเทศไทย
• ล่าสุดได้ปรับโครงสร้างการบริหารเมื่อปี พ.ศ. 2542 ให้เป็นแบบรวมศูนย์
• มีเลขาธิการสูงสุดก้ากับดูแล 11 หน่วยงาน
• คณะกรรรมการการเกษตรไต้หวันก้ากับดูแล 23 หน่วยงาน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
• วางแผนและพัฒนาด้านการเกษตร ปุาไม้ ประมง ปศุสัตว์ และความมั่นคงทางอาหาร
ของประเทศ
• อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ดิน น้้า ปุาไม้ สัตว์และพันธุ์พืช เป็น
ต้น
• ส่งเสริมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของเขตชนบท
12
โครงสร้างการบริหารของคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน
13
2.2 การบริหารจัดการทรัพยากรน้้าของประเทศไต้หวัน
• ไต้หวันมีปริมาณน้้าฝนมากกว่าค่าเฉลี่ยโลก 2.6 เท่า แต่จากที่มีประชากรถึง
23 ล้านคนและมีการใช้น้้าเฉลี่ยมากกว่า 2,700 ลูกบาศก์เมตร/คน/ปี
มากกว่าค่าเฉลี่ยโลกถึง 2 เท่า (1,385 ลูกบาศก์เมตรต่อคนต่อปี)
• มีข้อจ้ากัดด้านภูมิประเทศและภูมิอากาศรวมทั้งการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้้า
ท้าให้ไต้หวันมีแนวโน้มจะขาดแคลนน้้าในอนาคต จ้าเป็นต้องบริหารจัดการ
น้้าอย่างจริงจัง และมีความตื่นตัวในการรณรงค์การบริหารจัดการน้้าและ
การใช้น้้าในทุกภาคส่วน
• ภาครัฐได้จัดตั้ง องค์การทรัพยากรน้้า (Water Resources Agency :
WRA) เทียบเท่ากรม สังกัดกระทรวงการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ.2545
• โดยการยุบรวมหน่วยงานที่เกี่ยวกับการจัดจัดการน้้าบางหน่วยงาน เช่น
ส้านักทรัพยากรน้้า หน่วยงานอนุรักษ์ทรัพยากรน้้าและคณะกรรมการเฉพาะ
ด้านน้้าของกรุงไทเป
• วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการบริหารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านน้้าให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้นรวมทั้งยกระดับการจัดการธุรกิจที่เกี่ยวกับน้้า
14
บทบาทหลักขององค์การทรัพยากรน้้า
• การให้บริการการใช้น้้าแก่สาธารณะ โดยการจัดหาน้้าประปา น้้า
ส้าหรับภาคอุตสาหกรรม น้้าส้าหรับภาคเกษตรกรรมและน้้าส้าหรับ
ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม
• การควบคุมปริมาณน้้า เพื่อปกปูองชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
จากภัยน้้าท่วมและการสร้างความปลอดภัยในการด้าเนินชีวิตประจ้าวัน
ให้การศึกษาและการปลูกจิตส้านึกการใช้น้้าอย่างคุ้มค่าของเด็กและ
เยาวชน ในอนาคตจะสนับสนุนให้มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้้า
อีกด้วย
15
โครงสร้างการบริหารขององค์การจัดการทรัพยากรน้้า
• ส้านักงานส่วนกลาง ประกอบด้วย 11 ส้านัก 3 ฝุาย 1 ศูนย์ และ 1 ทีม
ได้แก่ ส้านักวางแผน ส้านักอุทกวิทยา ส้านักจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้้า
ส้านักแม่น้้าและชายฝั่งทะเล ส้านักอนุรักษ์ทรัพยากรน้้า ส้านักก่อสร้าง
ส้านักบริหารน้้า ส้านักจัดการที่ดิน ส้านักเลขาธิการ ส้านักงานงบประมาณ
ส้านักบริการสาธารณะและจริยธรรม ฝุายการเจ้าหน้าที่ การจัดการข้อมูล
ข่าวสาร การบัญชีและสถิติ ศูนย์บรรเทาภัยจากน้้า และทีมส้ารวจแม่น้้า
• สานักงานประจาภูมิภาค ประกอบด้วยส้านักงานทรัพยากรน้้า 3 ภาค คือ
ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้
• ส้านักงานจัดการแม่น้้าที่ 1-10
• ส้านักงานจัดการน้้าไทเป และ
• สถาบันวางแผนทรัพยากรน้้า
16
3.นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน
ก้าหนดโดยคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน
3.1 แผนพัฒนาการเกษตรระยะปานกลาง 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559)
การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเกษตรในอนาคต 4 ประเด็นส้าคัญ
1) การพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการ
รวมกลุ่มของภูมิภาคและการค้าสินค้าเกษตรได้รับผลโดยตรงจากการเปิด
เสรีการค้า
• เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกปี 2545
• ข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศจีน (แผ่นดินใหญ่)
เมื่อปี 2553
2) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อความมั่นคง
ด้านอาหาร ผลผลิตและราคาสินค้าเกษตร
17
18
3) เทคโนโลยีใหม่ทางการเกษตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่องก้าวหน้าอย่าง
รวดเร็ว เช่น เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรม
เกษตรในอนาคตจะเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมและบริการที่หลากหลายมาก
ยิ่งขึ้น
4) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคอาหารและความปลอดภัยด้าน
อาหารทวีความส้าคัญมากขึ้นในอนาคต เนื่องจากประชากรเพิ่มมากขึ้น
และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไต้หวันและประเทศอื่นๆ
3.2 นโยบายการพัฒนาการเกษตรในช่วง 4 ปีข้างหน้า
(พ.ศ. 2556-2559) มี 5 นโยบายหลัก
นโยบายที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ภาคเกษตรที่
สอดคล้องกับความเป็นสากลของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
• บูรณาการภาคเกษตรกับระบบให้บริการบนคลาวด์ (Cloud Service
System หรือทางอินเตอร์เนต
• สร้างความเข้มแข็งของระบบเตือนภัยและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อสร้าง
เสถียรภาพของผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด
• สร้างความร่วมมือในหลากหลายสาขา เร่งสร้างห่วงโซ่มูลค่าของ
อุตสาหกรรมการเกษตร โดยอาศัยผู้ประกอบการและกลุ่มเกษตรกรเป็น
กลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มและ
ได้มาตรฐาน
19
20
• ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าด้านการเกษตร และ
น้าผลการวิจัยไปใช้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให้ภาคการเกษตร
เติบโตอย่างต่อเนื่อง
• ส่งเสริมการใช้พลังงานสีเขียวและพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มี
ประสิทธิภาพสูงและมีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน
• สร้างความเข้มแข็งด้านช่องทางการจัดจ้าหน่ายผลผลิตทางการเกษตร
สู่ตลาดโลก
• ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล
• ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศและข้อตกลงทางการ
ค้าระหว่างประเทศด้านการเกษตร
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรของไต้หวัน
21
นโยบายที่ 2 การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ส่งเสริมความสามารถของ
บุคลากรการเกษตร และพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่ม
• ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิการท้างานของเกษตรกร มีระบบเกษียณ
อายุของเกษตรกร ยกเลิกระบบอุดหนุนการเกษตร กระตุ้นให้มีการส่ง
ต่อสิทธิ์ในที่ดินของเกษตรกรที่เกษียณ และจัดให้มีแผนงานพัฒนา
คุณภาพชีวิตเกษตรกรหลังเกษียณ
• ส่งเสริมนโยบายการเช่าที่เกษตรกรรมจากเจ้าของรายเล็กสู่ผู้เช่าราย
ใหญ่ ด้วยการกระตุ้นให้เกษตรกรมืออาชีพรุ่นใหม่หรือกลุ่มเกษตรกร
เช่าที่ดินจากเกษตรกรที่ไม่สามารถ/ไม่ต้องการท้าการเกษตรเพื่อ
เพาะปลูกพืชที่สามารถทดแทนการน้าเข้าและมีลู่ทางการตลาด
เพื่อขยายพื้นที่เกษตรกรรมและสร้างความมีชีวิตชีวาให้กับท้องถิ่น
22
• ส่งเสริมให้มีวิทยาลัยชาวนา โดยเชื่อมโยงการวิจัย การศึกษา ทรัพยากร
การตลาด เพื่อให้ความรู้อย่างกว้างขวางและฝึกอบรมแก่เกษตรกร รวมทั้งมี
โครงการอบรมขั้นสูงให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจท้าการเกษตร
• จัดตั้งศูนย์ให้ค้าปรึกษาเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ให้ค้าปรึกษาด้านการบริหารจัดการ และสร้างสิ่งจูงใจให้แก่เกษตรกรรุ่น
ใหม่
• มีโครงการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมและคนในชุมชน เพื่อ
การปรับปรุงการผลิต สิ่งแวดล้อม และรูปแบบการด้าเนินชีวิต หรือ
อุตสาหกรรมชนบท
• จัดสรรพื้นที่การเกษตร โดยจัดให้มีสิ่งอ้านวยความสะดวกในพื้นที่เกษตร
มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให้สามารถบรรลุเปูาหมายทั้งการเพิ่มขีด
ความสามารถทางการแข่งขันเชิงอุตสาหกรรมและการรักษาสิ่งแวดล้อมไป
พร้อมกัน
23
นโยบายที่ 3 สร้างหลักประกันด้านความมั่นคงและปลอดภัยในอาหารและผลผลิต
ทางการเกษตร
• ส่งเสริมการบริโภคอาหารภายในประเทศ และสร้างกลไกด้านความปลอดภัยด้าน
อาหาร
• ถ่ายทอดลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมการเกษตรไต้หวัน เพื่อแสดงถึงความ
เป็นมาของสินค้าและตราสินค้าท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จัก
• ส่งเสริมการผลิต การบริโภคผลผลิตทางการเกษตร และเพิ่มช่องทางการตลาดให้
มีความหลากหลาย
• ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับการด้าเนินธุรกิจรูปแบบใหม่ เพื่อ
สร้างระบบเกษตรกรรมสีเขียวที่ใช้คาร์บอนต่้า
• ส่งเสริมระบบการผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัย
• ส่งเสริมการตรวจและปูองกันโรคในสัตว์และพืช
• ส่งเสริมการตรวจสอบการใช้ยาฆ่าแมลงให้มีความปลอดภัยโดยมีมาตรฐาน
เดียวกับประเทศอื่นๆ และระดับโลก 24
นโยบายที่ 4 การรักษาระบบนิเวศในพื้นที่เกษตรกรรมให้ยั่งยืน
• ปรับระบบการท้าเกษตรกรรมและส่งเสริมการผลิตอาหารให้มี
ความหลากหลาย
• ส่งเสริมให้มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ
• ส่งเสริมการวางแผนการใช้และรักษาคุณภาพน้้าทางการเกษตร
• อนุรักษ์แหล่งประมงของประเทศอย่างยั่งยืน
• อนุรักษ์ปุาไม้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
25
และ นโยบายที่ 5 ส่งเสริมให้องค์กรด้านการเกษตรดูแลเกษตรกรให้มี
ความผาสุก
• ส่งเสริมการวางแผนรายได้และระบบประกันให้แก่เกษตรกร
• ส่งเสริมให้องค์กรต่างๆ สามารถให้บริการเกษตรกรได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
• ปรับปรุงระบบการเงินทางการเกษตร
26
4.การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบประเด็นการพัฒนาการเกษตร
ที่ส้าคัญระหว่างประเทศไต้หวันและประเทศไทย 4 มิติ
4.1 มิติโครงสร้างการผลิตการเกษตรและการบริหารจัดการ
1) โครงสร้างการผลิตการเกษตรของไต้หวัน
• เกษตรกรไต้หวันถือครองที่ดินเฉลี่ย 6 ไร่/ครัวเรือน เกษตรกรไทยถือครอง
ที่ดิน 25 ไร่/ครัวเรือน
• เกษตรกรไต้หวันจ้าเป็นต้องจัดการฟาร์มอย่างมีประสิทธิภาพด้วยคนที่มี
คุณภาพ
• พื้นที่ทางเดินน้้าจะขุดคลองระบายน้้าช่วงน้้าท่วมจะระบายได้เร็ว
• คันนาเป็นปูนพร้อมเป็นคลองส่งน้้าขนาดเล็กท้าให้มีการชลประทานถึงหัวคัน
นา สามารถท้านาได้ทั้งปี
• ภูมิประเทศเป็นเกาะและมีความหลากหลายทางชีวภาพ
• เกษตรกรไต้หวันท้างานหนักและมีทัศนคติทีดี กระตือรือร้นเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
• รัฐบาลท้างานช่วยเหลือเกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ
27
• โครงสร้างการผลิตคล้ายคลึงกับไทย แต่ไทยจะพึ่งพาสาขาพืชใน
สัดส่วนที่สูงกว่าไต้หวัน
• ไต้หวันยังน้าเข้าผักจากต่างประเทศ แต่มีความเข้มงวดในการตรวจ
กักกันพืชและตรวจสารตกค้าง ท้าให้พืชของไทยหลายชนิดยังไม่
สามารถส่งไปไต้หวัน เช่น มะเขือ ถัวฝักยาว พริก และผักชี เป็นต้น
28
29
ระบบชลประทานในฟาร์มเกษตรของไต้หวัน
30
การเพาะปลูกพืชและปศุสัตว์เศรษฐกิจของไต้หวัน
2) แนวโน้มการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน เน้นการด้าเนินงานร่วมกัน
ระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยการ
(1) ส่งเสริมเกษตรกรให้เพาะปลูกพืชหลัก 5-7 ชนิด ที่เหลือให้การตลาด
เป็นตัวก้าหนดว่าเกษตรกรควรจะผลิตพืชอะไร
(2) ส่งเสริมการลงทุนความร่วมมือจากต่างประเทศ
(3) ส่งเสริมการท้าการเกษตรแบบยั่งยืนด้วยการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ลดการใช้สารเคมี
และส่งเสริมการปลูกปุา
31
3) การบริหารจัดการการเกษตรของไต้หวัน
(1) ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นโยบายที่เกี่ยวข้อง
(1.1) นโยบายปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ไต้หวันประสบความส้าเร็จใน
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจนกลายเป็นต้นแบบที่ส้าคัญของหลายประเทศ
ในโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยใช้ 3 นโยบายหลักคือ
• การลดค่าเช่า เพื่อเป็นการผ่อนคลายภาวะการต่อต้านจากเจ้าของที่ดินโดย
การก้าหนดอัตราค่าเช่าขั้นสูงไม่เกินร้อยละ 37.50 ของรายได้จากผลผลิต
พืชหลักต่อปี ที่ถูกประเมินโดยรัฐบาลรวมทั้งปกปูองสิทธิผู้เช่าโดยระยะเวลา
ให้เช่าไม่น้อยกว่า 6 ปี และจะต้องมีเซ็นสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร มีการ
จัดตั้งคณะกรรมการดูแลค่าเช่าที่ดิน
• การขายที่ดินเพื่อการเกษตรของรัฐ เพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินเป็นของตนเอง
และให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมากขึ้นโดยมีการจัดล้าดับสิทธิของผู้ซื้อ เช่น
ให้ผู้เช่าเดิมมีสิทธิ์ในการซื้อก่อน ราคาของที่ดินจะค้านวณจากผลผลิตทาง
การเกษตรโดยก้าหนดราคาที่ 2.5 เท่าของปริมาณผลผลิต
32
• การจัดที่ดินให้เกษตรกร โดยรัฐเวนคืนที่ดินจากเจ้าของที่ดินที่มีที่ดิน
เกินกว่า 2.907 เฮกตาร์ (ประมาณ 18 ไร่) ด้วยค่าชดเชย 2.5 เท่าของ
ปริมาณผลผลิตพืชหลักต่อปี ซึ่งจะจ่ายในรูปแบบของพันธบัตรรัฐบาล
ร้อยละ 70 และหุ้นในโรงงานอุตสาหกรรมร้อยละ 30 และรัฐน้าที่ดินที่
ได้มาจากการเวนคืนขายให้กับเกษตรกร
(2) นโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ไต้หวันพึ่งพาตนเอง
ด้านอาหารได้เพียงร้อยละ 32 สาเหตุที่ภาคเกษตรอ่อนแอเนื่องจาก
• เกษตรกรมีพื้นที่เกษตรกรรมขนาดเล็ก
• เกษตรกรเป็นผู้สูงอายุ
• การเปลี่ยนแปลงของจ้านวนเกษตรกร
• รัฐบาลไต้หวันได้ผลักดันนโยบายเจ้าของที่ดินขนาดเล็กและผู้เช่าที่ดิน
รายใหญ่อย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2552
33
• รัฐจ่ายเงินค่าตอบแทนให้กับเจ้าของที่ดินขนาดเล็กเพื่อกระตุ้นให้เจ้าของ
ที่ดินเหล่านั้นยอมปล่อยที่ดินของพวกเขาให้ผู้เช่าที่ดินรายใหญ่ (เกษตรกร
มืออาชีพหรือกลุ่มคนรุ่นใหม่) เช่าท้าการเกษตร
• ผู้เช่าที่ดินรายใหญ่ ท้าสัญญาเช่าระยะยาวในอัตราค่าเช่าที่ต่้าท้าให้
สามารถเพิ่มขนาดพื้นที่การเกษตรเพื่อท้าการผลิตแบบ Economy of
Scale
• รัฐบาลให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนกู้ยืมและการสนับสนุนด้านวิชาการ
อื่นๆแก่ผู้เช่าที่ดิน
• เป็นช่องทางบริหารจัดการที่ดินในสภาวะที่มีที่ดินขนาดเล็กให้ผลผลิตไม่
คุ้มค่าต่อการลงทุนและสภาวะที่มีที่ดินทางการเกษตรที่ถือครองโดย
เกษตรกรผู้สูงอายุ ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและ
ไม่มีลูกหลานสืบทอดกิจกรรมทางการเกษตร คล้ายคลึงกับสถานการณ์ที่
ก้าลังเกิดขึ้นในสังคมเกษตรกรรมไทยในปัจจุบัน 34
(2) น้้าเพื่อการเกษตร รัฐบาลให้การสนับสนุนจัดการแหล่งน้้าเพื่อเกษตรกรรม
สร้างเขื่อนกักเก็บน้้าเพื่อเกษตรกรรมกระจายอยู่ทั่วประเทศ และมีการการ
คมนาคมที่มีความสะดวกในการขนส่งผลผลิตของเกษตรกร
(3) การวิจัยและพัฒนาและการใช้เทคโนโลยีการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการ
ผลิตทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง เช่น ใช้เครื่องจักรกลการเกษตรใน
กระบวนการผลิตการเกษตร ท้าให้ไต้หวันมีความก้าวหน้าทางการเกษตรมาก
ที่สุดประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย
• มีสถาบันวิจัยการเกษตรเป็นตัวขับเคลื่อนการเกษตร 10 แห่ง ทั่วประเทศ
• ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาภาคเกษตร เพื่อพัฒนาการผลิต
ที่มีภูมิต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ
• ตั้งศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อบูรณาการงานวิจัยสนับสนุนการผลิตทาง
การเกษตร
• รัฐบาลพัฒนาระบบ Cloud ภาคเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสามารถดึงข้อมูล
การผลิตและการจ้าหน่ายจากระบบ และระบบ Cloud ด้านการเกษตรและ
อาหารปลอดภัยและอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อยกระดับความสามารถในการ
แข่งขันและสร้างนวัตกรรมทางการเกษตร 35
(4) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร รัฐบาลสร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน
เกษตรกรเพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น โดยพัฒนา
สถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง จัดอบรมการประกอบธุรกิจให้กับกลุ่ม
เกษตรกร ให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่้าเพื่อเป็นทุนในการจัดซื้อที่ดิน โรงเรือน
และเครื่องจักรกลการเกษตรต่างๆ ท้าให้สามารถด้าเนินธุรกิจอย่างมือ
อาชีพ
• เกษตรกรไต้หวันรวมตัวกันจัดตั้งเป็นสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็ง สามารถ
สร้างอ้านาจต่อรองในการขายผลผลิตและต่อรองในการซื้อปุ๋ยเคมีและ
สารปราบศัตรูพืช
• รัฐบาลสามารถสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกรด้วยการก้าหนดปฏิทิน
ว่าในแต่ละปีเกษตรกรควรปลูกอะไร จึงจะไม่ประสบกับปัญหาราคา
ผลผลิตตกต่้า
36
• การเกษตรของไต้หวันส่วนใหญ่เป็นของคนรวยเพราะมีที่ดิน มีการ
ลงทุนสูง ได้ผลผลิตดี คุณภาพดีและราคาดี
• มีสมาคมเกษตรกรที่รัฐบาลให้การสนับสนุนกว่า 302 แห่ง สมาคม
ประมง 40 แห่ง และสมาคมที่เกี่ยวกับการชลประทาน 17 แห่ง โดยให้
การสนับสนุนแก่เกษตรกรทั้งด้านการผลิตและจ้าหน่าย รวมถึงบริการ
ทางการเงิน เช่น เงินกู้ และเงินประกัน เป็นต้น และเป็นช่องทางการ
ติดต่อระหว่างรัฐบาลและเกษตรกร
• มีบริการด้านสังคมสงเคราะห์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อสร้างความมั่นคง
ให้กับเกษตรกร เช่น การให้เงินช่วยเหลือเกษตรกรสูงอายุ ให้
ทุนการศึกษาแก่ลูกหลานเกษตรกรและชาวประมง ให้ความช่วยเหลือ
อย่างเร่งด่วนแก่เกษตรกรในกรณีเกิดภัยพิบัติ และให้ความช่วยเหลือ
เพื่อให้เกษตรกรสามารถกับมาท้าการผลิตได้ใหม่โดยเร็วที่สุด
37
• รัฐบาลจัดท้าโครงการส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่ท้าการเกษตรโดยส่งเสริม
รายได้แก่เกษตรกรเพื่อจูงใจให้คนรุ่นใหม่กลับมาท้างานในชนบทโดยให้
เงินกู้และเงินอุดหนุน รวมทั้งให้องค์ความรู้ผ่านโรงเรียนเกษตรกร
• ชาวชนบทก็มีความกระตือรือร้นในการฟื้นฟูชุมชน และได้มีการ
ด้าเนินการแบบ Bottom-up จากระดับท้องถิ่นเพื่อสร้างอนาคตแก่
ชุมชน
38
4) โครงสร้างการผลิตการเกษตรของประเทศไทย
• มีพื้นที่เกษตรกรรม 114.60 ล้านไร่ ขนาดฟาร์มเฉลี่ย 19.40 ไร่ต่อ
ครัวเรือน มีจ้านวนเกษตรกรจ้านวน 5.91 ล้านครัวเรือน เฉลี่ย 4-5 คน
ต่อครัวเรือน หรือ ร้อยละ 25.90 ของครัวเรือนทั้งประเทศ หรือ
ประมาณ 24.10 ล้านคน
• ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยเช่นเดียวกันไต้หวัน และประเทศไทย
เป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีการผลิตและส่งออกผลิตผลการเกษตรใน
อันดับต้นๆของโลกหลายชนิด เช่น ข้าว มันส้าปะหลัง ยางพารา
สับปะรด ผลไม้ ไก่เนื้อ เป็นต้น
• มูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคเกษตร 1,426,657 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 8.29 ที่เหลือเป็นภาคนอกเกษตร ร้อยละ 91.71
• ผลผลิตสาขาพืช ปศุสัตว์และปุาไม้คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 85.46 และ
ประมง ร้อยละ 14.53 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร
39
การบริหารจัดการการเกษตรของไทย
• การใช้ปัจจัยการผลิตเกินความเหมาะสม เกิดความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติ งบประมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุนทางการเกษตรของ
ประเทศสูงแต่ผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับน้อย ผลผลิตมีมากราคาตกต่้า
ทุกปีเนื่องจากขาดการวางแผนระยะยาวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
• การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีค่อนข้างน้อยและล่าช้า
• งานวิจัยส่วนมากใช้เพียงการบรรยายและอ้างอิงเท่านั้น ขณะเดียวกัน
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมีมากมาย งบประมาณสนับสนุนการ
วิจัยจึงถูกจัดสรรให้หน่วยงานต่างๆในสัดส่วนที่ค่อนข้างต่้าและกระจาย
• ไม่มีระบบตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานทางการเกษตรที่จัดท้าขึ้น แต่เป็นไปใน
ลักษณะต่างคนต่างท้าของแต่ละหน่วยงาน บางหน่วยงานก็มิได้มีการ
ตรวจสอบข้อมูล จึงไม่ทราบผลสะท้อนกลับ
40
4.2 มิติการยกระดับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ภาคการเกษตร
• ไต้หวันให้ความส้าคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีและการสร้างมูลค่าเพิ่ม
เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการเกษตร
• ปี 2556 จาก 60 ประเทศ ผลิตภาพภาคเกษตรประเทศไต้หวันอยู่
ล้าดับที่ 30 มีมูลค่าผลิตภาพภาคเกษตร 28,847 US$ ขณะที่ประเทศ
ไทยอยู่ล้าดับที่ 57 มีมูลค่าผลิตภาพภาคเกษตร 3,651 เหรียญสหรัฐ
• ไต้หวันมีผลิตภาพภาคเกษตรสูงกว่าไทยประมาณ 8 เท่า
• ขณะที่อัตราการจ้างงานภาคเกษตรของไต้หวันมีเพียงร้อยละ 5 แต่ของ
ไทยมีสูงถึงร้อยละ 38.70 แสดงให้เห็นว่าแม้ไทยจะมีอัตราการจ้างงาน
ภาคเกษตรมากกว่า แต่กลับสร้างผลิตภาพเพิ่มได้น้อยกว่ามาก
41
1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการภาคเกษตร
ไต้หวัน
• สร้างระบบบริการข้อมูลส้าหรับภาคการเกษตรบนระบบ cloud
เพื่อให้บริการข้อมูลทางการเกษตร การตลาด การติดตามฉลาก
เตือนภัยธรรมชาติและการพัฒนาระบบแจ้งเตือน และระบบการ
ควบคุมก้ากับการผลิตสินค้าเกษตรและการจ้าหน่ายโดยการก้าหนด
เปูาหมายการผลิตรายปี และการวางแผนการตลาดทั้ง
ภายในประเทศและต่างประเทศ
• ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมในการท้าเกษตรกรรมโดยสังเกตการณ์ผลผลิต
และสภาพอากาศ
• ใช้เทคโนโลยีสีเขียวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้
ประหยัดพลังงาน ทรัพยากรดินและน้้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
42
ไทย
• มีเพียงระบบสารสนเทศเตือนภัยด้านการเกษตร เพื่อแจ้งให้เกษตรกร
เตรียมพร้อมรับมือ
• พื้นที่เกษตรกรรมมีแนวโน้มลดลงจาการการขยายตัวของเมือง การใช้
ที่ดินและจัดการที่ดินไม่เหมาะสม โดยเฉพาะข้าวจากพื้นที่ปลูก 65
ล้านไร่ ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสม 27 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 42 จึงส่งผล
ต่อประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร
• ก้าหนดนโยบายเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) โดยให้ความส้าคัญกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศเช่นกัน ซึ่งจะมีการจัดท้าแผนที่กลางของประเทศ
ที่เป็นข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของประเทศ เพื่อน้าไปบริหารจัดการ
สินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ
43
2) การส่งเสริมการวิจัยเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์การเกษตรขั้นสูง
ไต้หวัน
• สร้างความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับสถาบันอุดมศึกษาใน
การแก้ปัญหาทางวิชาการที่ส้าคัญในปัจจุบัน เพื่อให้การพัฒนาในระดับ
อุตสาหกรรมรวดเร็วยิ่งขึ้น
• สนับสนุนการเร่งระดมทุนให้กับการลงทุนใหม่ในภาคการเกษตรเพื่อให้
ภาคการเกษตรเติบโตอย่างต่อเนื่อง
• ส่งเสริมให้มีวิทยาลัยชาวนา โดยเชื่อมโยงการวิจัย การศึกษา
ทรัพยากรและการตลาด เพื่อฝึกอบรมให้แก่เกษตรกรและคนรุ่นใหม่ที่
สนใจท้าการเกษตร
44
45
ไทย:
• ยังไม่ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริมการวิจัยด้านเทคโนโลยีเกษตร
ก้าวหน้า การวิจัยที่เป็นองค์รวมและใช้ประโยชน์ได้เชิงพาณิชย์ รวมทั้ง
การเชื่อมโยงงานวิจัยอย่างเป็นเครือข่ายระหว่างผู้ใช้ประโยชน์และ
ผู้วิจัยยังมีน้อย
• แต่มีการส่งเสริมสถาบันการศึกษาในพื้นที่ร่วมท้าการศึกษาวิจัยกับ
ภาคเอกชนเพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรและผู้ประกอบการน้าองค์ความรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบนฐาน
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
• ยังไม่มีโครงการส่งเสริมคนรุ่นใหม่ที่สนใจให้เข้าสู่ภาคการเกษตร
• พัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ที่
เหมาะสมทางการเกษตร โดยผ่านศูนย์เรียนรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลิตผ่านเครือข่ายเกษตรกรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในแต่ละ
พื้นที่ และจากเกษตรกรที่ประสบความส้าเร็จหรือปราชญ์ชาวบ้าน
46
3) ส่งเสริมการกระจายสินค้าเกษตรในตลาดโลก
ไต้หวัน:
• ส่งเสริมการส่งออกสินค้าตามความต้องการของตลาด และพัฒนาไปสู่
การผลิตในระดับชั้นน้าของโลก (world class manufacturing) จาก
การสร้างเขตอุตสาหกรรมการส่งออก และการวางระบบบริหารจัดการ
มาตรการความปลอดภัยส้าหรับสินค้าส่งออก
• มุ่งเน้นการท้าการตลาดระหว่างประเทศโดยการสร้างแบรนด์ การเจาะ
ตลาดเฉพาะกลุ่ม และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีจากการส่งเสริมความร่วมมือ
ระหว่างประเทศคู่ค้าส้าคัญ
47
ไทย:
• เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดโอกาสทางด้านการตลาด และมีช่องทาง
จ้าหน่ายผลผลิตค่อนข้างแคบ โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยเนื่องจากไม่
มีตลาดรองรับที่แน่นอน
• นโยบายด้านการพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตรยังเป็นการสนับสนุน
การใช้ตลาดกลางสินค้าเกษตร การจัดระบบตลาดสินค้าเกษตรในระดับ
พื้นที่ และการสนับสนุนตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า
• ระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตรมีต้นทุนสูงและไม่มีประสิทธิภาพ จึงเป็น
อุปสรรคในการขยายช่องทางการจ้าหน่ายและพัฒนามาตรฐานสินค้า
• การพัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์เกษตรยังมีจ้ากัด
กระบวนการในการแปรรูปและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ยังมีปัญหาด้าน
มาตรฐาน ท้าให้สินค้าขาดความหลากหลายและขยายตลาดได้ยาก
48
4) การสร้างมูลค่าเพิ่มให้ภาคเกษตร
ไต้หวัน:
• ส่งเสริมกิจกรรมการเกษตรแบบสันทนาการ (Agriculture leisure)
ในระดับนานาชาติเพื่อสนับสนุนการเติบโตของท่องเที่ยวเชิงเกษตร
• พัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีอัตลักษณ์ในแต่
ละท้องถิ่น เช่น กิจกรรมการตกปลากับชาวประมง กิจกรรมเกษตรเชิง
นิเวศน์ รวมทั้งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เช่น การเยี่ยมชมการฟื้นฟูปุา
และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ กิจกรรมปีนเขา
• ให้ความส้าคัญกับการรับรองคุณภาพมาตรฐานการให้บริการอย่าง
จริงจัง
49
ไทย:
• ให้ความส้าคัญกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรโดยการแปรรูป
ผลิตภัณฑ์ มีการสร้างตราสินค้า โดยเฉพาะการพัฒนาภูมิปัญญา
ท้องถิ่นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น สินค้า
โอทอป ที่มีการพัฒนาต่อยอดจากสินค้าเกษตรไปสู่การผลิตสินค้าแปร
รูป สินค้าหัตถกรรม เป็นต้น
• การส่งเสริมหรือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีการด้าเนินการอยู่บ้างแต่ยัง
ไม่แพร่หลาย
50
4.3 มิติความมั่นคงและความปลอดภัยของสินค้าเกษตร
1) ความมั่นคงด้านอาหาร (Food Security)
• ไต้หวัน มีพื้นที่ท้าการเกษตรจ้ากัดและผลผลิตที่ผลิตได้ยังไม่เพียงพอต่อ
ความต้องการบริโภคในประเทศ จึงยังคงต้องพึ่งพาการน้าเข้าอาหารจาก
ต่างประเทศโดยเฉพาะธัญพืชในปริมาณสูง
• จึงใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเกษตรและพัฒนาเกษตรยั่งยืน ท้าให้ไต้หวัน
ไม่มีปัญหาด้านความมั่นคงทางอาหาร
• มีนโยบายการสร้างหลักประกันด้านความมั่นคงทางอาหารชัดเจน ได้แก่
การส่งเสริมการผลิตอาหารที่หลากหลายและกระตุ้นให้อุตสาหกรรมอาหาร
และอาหารแปรรูปใช้วัตถุดิบภายในประเทศ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคในแต่ละ
ท้องถิ่นบริโภคสินค้าที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น และการสร้างระบบการจัดการ
ความมั่นคงอาหารโดยการก่อสร้างคลังสินค้าที่มีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อ
รักษาคุณภาพสินค้าของรัฐบาลโดยเฉพาะข้าว
• สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านความมั่นคงอาหารกับกลุ่มประเทศ APEC
และการปรับนโยบายการส่งเสริมการผลิตพืชอาหาร การใช้ที่ดินว่างเปล่าใน
การเพาะปลูก เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับคนในประเทศ เป็นต้น51
ไทย: เป็นประเทศเกษตรกรรมที่สามารถผลิตอาหารเลี้ยงคนได้ทั้ง
ภายในประเทศและผลผลิตเกินครึ่งสามารถส่งออกไปเลี้ยงผู้คนในต่างประเทศ
ถือเป็นประเทศที่มีความมั่นคงด้านอาหาร
• ปัจจุบันการผลิตทางการเกษตรของไทยยังมีปัญหาในด้านการบริหารจัดการ
โดยเฉพาะด้านราคาและการสร้างมูลค่าเพิ่ม
• ผลผลิตทางการเกษตรหลายชนิดมีจ้านวนมากแต่มีปัญหาราคาตกต่้า
เกษตรกรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเกษตรกรรายย่อยมีรายได้ไม่เพียงพอ เกิดปัญหา
ความไม่มั่นคงด้านอาชีพ มีการเคลื่อนย้ายแรงงานไปสู่แรงงานนอกภาค
เกษตร
• มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทางการเกษตรมากขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่เพาะปลูกพืช
อาหารเช่น ข้าวมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างลดลงอย่างต่อเนื่อง
• มียุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร (พ.ศ. 2556-2559) เพื่อให้
ประชาชนในประเทศมีอาหารบริโภคอย่างเพียงพอและสามารถพึ่งพา
ตนเองได้
52
2) ความปลอดภัยด้านสินค้าเกษตร (Food Safety)
ไต้หวัน: มีการก้าหนดเปูาหมายลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยทางการเกษตร และ
ยกระดับมาตรฐานของสินค้า โดยใช้เกณฑ์การรับรองความปลอดภัยของสินค้า
เกษตรที่เป็นสากลต่างๆ และมีการส้ารวจตรวจสอบอย่างสม่้าเสมอ
• ส่งเสริมการเกษตรคาร์บอนต่้าและมลพิษต่้า มีการควบคุมการใช้สารเคมี
และยาเพื่อเฝูาระวังอนามัยพืชและสัตว์
ไทย:
• ยังประสบกับปัญหาในด้าน ความไม่ปลอดภัยของอาหาร ที่ผลิตทั้งในเรื่อง
การปนเปื้อนของจุลินทรีย์ก่อโรค การตกค้างของสารเคมี สารปฏิชีวนะ และ
สารพิษ ซึ่งเป็นอันตรายส้าคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
ในประเทศและกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ
• ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ได้แก่ การให้ความรู้ในการ
ก้าจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (IPM) การลดการใช้สารเคมี และการใช้สาร
ก้าจัดศัตรูพืชอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป็นต้น
53
3) สินค้าเกษตรอินทรีย์
ด้านทัศนคติ มุมมองและค่านิยม
• ไทย มีมุมมองเชิงอนุรักษ์นิยม และแสวงหาการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นใน
ด้านคุณภาพชีวิต ระบบเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
• ไต้หวัน มีทัศนคติและมุมมองที่แตกต่างไปเป็นระบบเศรษฐกิจการค้า
และระบบสุขภาพ
ด้านระบบการผลิต
• ไทย แบ่งระบบการผลิตเป็น 2 แนวทาง คือ การผลิตที่เป็นวิถีชีวิตตาม
แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการผลิตในระบบเศรษฐกิจ
การค้า
• ไต้หวัน เป็นระบบการผลิตขนาดเล็กแบบครัวเรือน ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก
เนื่องจากยังขาดแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยน
54
ด้านระบบการตลาด
• ไทย มีระบบการตลาดที่หลากหลายช่องทาง ทั้งตลาดในประเทศและตลาด
ส่งออกต่างประเทศ
• ไต้หวัน เป็นระบบการตลาดที่มีช่องทางการกระจายสินค้าหลักผ่านทางร้าน
ขายปลีกจ้าเพาะทาง และคนไต้หวันมีความนิยมบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์
ที่น้าเข้าจากต่างประเทศ
ด้านระบบมาตรฐาน
• ไต้หวัน มีหลายองค์กรรับรองมาตรฐานท้าให้ผู้บริโภคสับสน
• ไทย มีองค์กรรับรองมาตรฐานชัดเจนได้มาตรฐานสากล
ด้านนโยบายภาครัฐ
• ไทย มียุทธศาสตร์สนับสนุนการผลิตเกษตรอินทรีย์
• ไต้หวัน มีนโยบายเพิ่มพื้นที่การผลิต แต่ก็ยังมีปัญหาด้านแรงงานเกษตรที่
ต้องแก้ไข ยังไม่ชัดเจนเรื่องยุทธศาสตร์ 55
4) มิติเกษตรกร
(1) วิธีคิดของเกษตรกรที่ต่างกัน
• ไต้หวันเน้นคุณภาพผลผลิต ขณะที่ไทยเน้นปริมาณไม่เน้นคุณภาพเท่าที่ควร
และบุกรุกพื้นทีปุาเพิ่มขึ้น
• ไต้หวันมองการท้าการเกษตรแบบธุรกิจและสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน
ส่วนไทยมองเกษตรเพื่อความอยู่รอด การให้ความช่วยเหลือแบบสังคม
สงเคราะห์ ท้าให้เกษตรกรไม่เข้มแข็ง
(2) เกษตรกรมีหลักประกันที่แตกต่างกัน
• เกษตรกรไต้หวันได้รับการส่งเสริมการวางแผนรายได้และระบบประกัน มี
การวางแผนเพื่อส่งเสริมรายได้และบริหารจัดการความเสี่ยงของเกษตรกร
โดยคณะกรรมการเกษตรจะก้าหนดผลผลิตทางการเกษตรหรือวางแผน
สนับสนุนทางการเกษตรเพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดภัยธรรมชาติให้แก่
เกษตรกร
• ขณะที่เกษตรกรไทย มีรายได้ต่้าและฐานะยากจน มีปัญหา เช่น เกษตรกร
จ้านวนมากไม่มีที่ดินท้ากินเป็นของตนเอง ขาดแคลนน้้าทั้งในแหล่งน้้า
ธรรมชาติหรือจากเขื่อนชลประทาน 56
• ปัญหาหนี้สินและการขาดแคลนทุนด้าเนินการ การกู้ยืมสินชื่อนอก
ระบบ เป็นต้น
(3) เกษตรกรได้รับการส่งเสริมประสิทธิภาพการท้าการเกษตร
• ไต้หวัน ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิการท้างานของเกษตรกรโดย
ส่งเสริมนโยบายการเช่าที่เกษตรกรรมจากเจ้าของรายเล็กสู่ผู้เช่าราย
ใหญ่ และการส่งเสริมเกษตรกรรุ่นใหม่เผื่อผลิตทดแทนการน้าเข้า
• ขณะที่ไทยส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาบริหารจัดการการเกษตรแบบ
ทันสมัยน้าเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มคุณภาพสินค้าเกษตร พัฒนาศักยภาพ
ของเกษตรกรและผู้น้าชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยนและพัฒนาการประกอบ
อาชีพให้พึ่งพาตนเองได้
57
(4) เกษตรกรได้รับการสนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
ที่ได้มาตรฐาน
• ไต้หวัน สนับสนุนให้เกษตรเป็นกลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิต
สินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มและได้มาตรฐานเพื่อน้าไปสู่การการสร้าง
เสถียรภาพของห่วงโซ่อุปทานให้มากขึ้น และสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกร
เป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรที่มีความเชี่ยวชาญ
ของภูมิภาค
• ไทย ธ.ก.ส.สนับสนุนการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทั้งด้านการผลิตและการตลาด
ของสินค้าเกษตรหลัก 9 ชนิด ประกอบด้วย ข้าว ข้าวโพด ยางพารา มัน
ส้าปะหลัง อ้อย ปาล์มน้้ามัน ล้าไย กาแฟ และโคเนื้อ โดยสนับสนุนสินเชื่อ
ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Value Chain Financing) เพื่อให้องค์กรของ
เกษตรกร เช่น สหกรณ์ หรือ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.
สามารถด้าเนินธุรกิจได้อย่างครบวงจร รวมทั้งจัดท้า E-marketing เพื่อ
เสริมสร้างให้สหกรณ์การเกษตรเข้มแข็งและท้าหน้าที่เป็นตลาดให้
เกษตรกร
58
(5) การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรภาคเกษตรและพัฒนาการผลิตสินค้า
มูลค่าสูง
• ไต้หวัน ปรับโครงสร้างภาคเกษตรกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกร
เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของเกษตรกร โดยจัดตั้งระบบการเกษียณอายุ
และจัดท้าแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตส้าหรับเกษตรกรที่เกษียณ เพื่อให้ที่ดิน
การเกษตรตกสู่เกษตรกรรุ่นต่อไป สนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่สามารถ
เช่าที่ดินท้ากินได้จากเกษตรกรที่ไม่สามารถหรือไม่ต้องการท้าเกษตรกรรมต่อ
จัดตั้งวิทยาลัยเกษตรกรและศูนย์ให้ค้าปรึกษาโดยการสนับสนุนของ
ภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษา
• ไทย การส่งเสริมให้มีการจัดท้าเกษตรแผนใหม่ ส่งผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของเกษตรกร กระทบต่อฐานการเกษตรแบบยังชีพ
วิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น เกษตรกรไทยยังไม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ
เท่าที่ควร 59
6.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติที่ดีของ
ไต้หวันส้าหรับการพัฒนาการเกษตรของไทย -5 ด้าน
6.1 การปรับโครงสร้างการเกษตร
• ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรที่ใช้การตลาดเป็นตัวน้าการผลิต และ
การก้าหนดเขตเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ (Zoning)
โดยเฉพาะการผลิตพืชเศรษฐกิจ ประมง และปศุสัตว์ที่ส้าคัญของประเทศ
เพื่อสร้างเสถียรภาพด้านราคาสินค้าเกษตรและลดปัญหาสินค้าเกษตรล้น
ตลาดอย่างยั่งยืนและควรมุ่งปรับปรุงการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นตาม
หลักวิชาการ
• ปฏิรูปที่ดินเพื่อให้เกษตรกรยากจนสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรมอย่างเท่าเทียมกัน ตลอดทั้งจัดระบบการเช่าที่ดินเพื่อการท้านา
และการประกอบอาชีพเกษตรกรรมอื่นๆ ให้มีความเป็นธรรม เพื่อให้เป็น
แหล่งสร้างงานและสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรของประเทศอย่างยั่งยืน
60
• บริหารจัดการน้้าเพื่อให้มีการจัดสรรน้้าอย่างสมดุล โดยบูรณาการ
หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้้า ทั้งน้้าส้าหรับการบริโภค
อุปโภค น้้าเพื่ออุตสาหกรรม น้้าเพื่อเกษตรกรรม และน้้าเพื่อดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม ตลอดทั้งก้าหนดมาตรการส่งเสริมการใช้น้้าอย่างคุ้มค่าในทุก
ภาคส่วนของสังคมไทย พัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการเกษตรให้กระจายทั่ว
ประเทศ รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีทางการชลประทานเพื่อการเกษตรที่ช่วย
ประหยัดน้้าอย่างมีประสิทธิภาพส้าหรับฟาร์มทุกขนาด
6.2 การพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนา
• ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยและพัฒนา โดยสร้างความเชื่อมโยง
ระหว่างสถาบันการวิจัยและสถาบันการศึกษากับผู้ประกอบการและเกษตรกร
เพื่อน้าผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติ ท้าให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มและ
เพิ่มผลิตภาพให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง
61
• ขยายความร่วมมือทางวิชาการเกษตรระหว่างประเทศไทยกับประเทศไต้หวัน โดย
การแลกเปลี่ยนงานวิจัยและนักวิจัย การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร
การประยุกต์ใช้งานวิจัยทางการเกษตรในเชิงพาณิชย์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช
และพันธุ์สัตว์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะโลกร้อน
6.3 การพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร
• พัฒนาข้อมูลการเกษตรและระบบเตือนภัยล่วงหน้า โดยพัฒนาเทคโนโลยีด้าน
ดาวเทียมมาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบและเตือนภัยด้านภัยธรรมชาติล่วงหน้า
เพื่อให้สามารถวางแผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดความเสียหายที่จะ
เกิดขึ้น
• ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการผลิตทางการเกษตรส้าหรับฟาร์มทุกขนาด และลด
การใช้สารเคมีทางการเกษตรในกระบวนการผลิต เพื่อยกระดับสู่การเกษตร
ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตลอดห่วงโซ่การผลิตหรือห่วงโซ่คุณค่า โดยมี
เปูาหมายคือ การให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตอาหารปลอดภัยของภูมิภาค
เอเชียและของโลก รวมทั้งการพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรให้เข้มแข็ง เพื่อ
สร้างอ้านาจในการต่อรองทางการตลาด
• 62
6.4 การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเกษตร
• เสริมสร้างการแปรรูปและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร ที่มี
ความหลากหลายและผลักดันให้มีการสร้างตราสินค้า (Brand) ของผลิตภัณฑ์ที่
เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication: GI) เพื่อสร้างการ
ยอมรับจากผู้บริโภคอย่างกว้างขวาง ตลอดทั้งการแสวงหาตลาดส่งออก
ต่างประเทศที่หลากหลายมากขึ้น
• ส่งเสริมให้ภาคเกษตรเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยการเชื่อมโยงการ
พัฒนาไปสู่ภาคการผลิตและบริการที่เกี่ยวข้อง เช่น การพัฒนาอุตสาหกรรม
ชนบท การสนับสนุนให้ชุมชนเป็นฐานการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การ
เป็นแหล่งสันทนาการและพักผ่อน เป็นต้น
• ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งขยายช่องทางทางการตลาดส้าหรับ
สินค้าเกษตรอินทรีย์ ทั้งภายในประเทศและตลาดต่างประเทศให้หลากหลายและ
เข้าถึงได้ง่ายมากขึ้น
63
6.5 การพัฒนาศักยภาพเกษตรกร
• ยกระดับฝีมือแรงงานภาคการเกษตรในพื้นที่ให้มีความความช้านาญ ควบคู่
กับการผลิต การแปรรูป การคมนาคมขนส่ง การเก็บรักษา การส่งออก และการ
จ้าหน่าย
• จัดท้ามาตรการสนับสนุนการสานต่ออาชีพเกษตรกรรมให้แก่เยาวชนรุ่นใหม่
ได้แก่ การให้ความรู้ทางวิชาการเกษตร การจัดหาที่ดินเพื่อการเกษตร
เทคโนโลยีทางการเกษตร และเงินทุนในการประกอบกิจการเกษตร เป็นต้น
เพื่อน้าไปสู่การเป็นเกษตรกรสมัยใหม่และทันสมัย (Smart Farmers) และ
ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางการเกษตรโดยเน้นการปฏิบัติจริง ตลอดทั้งการ
ส่งเสริมให้ภาคเกษตรเป็นแหล่งสร้างงานให้แก่เกษตรกรและเยาวชนรุ่นใหม่
เพื่อไม่ให้ประชาชนต้องละทิ้งถิ่นฐานเพื่อไปหางานท้าในเมืองใหญ่
64
จบ
ขอบคุณครับ
ข้อเสนอแนะ
65

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)Kobwit Piriyawat
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการWiroj Suknongbueng
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาCheve Jirattiwat
 
การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ
การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ
การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ Panuwat Noonkong
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองTaraya Srivilas
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาPhuritchanart Thongmee
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)ประพันธ์ เวารัมย์
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟTan Suwanna
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้kopkaewkoki2014
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ประพันธ์ เวารัมย์
 
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1pageใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก FURD_RSU
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
 
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...tarat_mod
 

Mais procurados (20)

การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ
 
โครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยาโครงงานชีววิทยา
โครงงานชีววิทยา
 
การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ
การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ
การเขียนบันทึกเสนอ และการเกษียนหนังสือ
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษาหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุดที่ 1 จำ...
 
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
แนวข้อสอบภาค ก. เผยแพร่โดยประพันธ์ เวารัมย์ (ฉบับเต็ม)
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
ข้อตกลงเบื้องต้น เอฟ
 
6. ใบความรู้
6. ใบความรู้6. ใบความรู้
6. ใบความรู้
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
 
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1pageใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
 
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
การพัฒนาเมืองของไทยในอนาคต: อุปสรรค นโยบาย กลไก และทางออก
 
เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3เนื้อหาบท3
เนื้อหาบท3
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
 
OPEC muge102
OPEC muge102OPEC muge102
OPEC muge102
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา และการตรวจประเมินเพื่อรับร...
 

Destaque

ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนKlangpanya
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...Dr.Choen Krainara
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาSaiiew
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการNapin Yeamprayunsawasd
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมาFURD_RSU
 

Destaque (8)

ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียนประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
ประสบการณ์ปฏิรูปเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
แนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ภาคกลางในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจแ...
 
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนาบทที่ 4   การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
บทที่ 4 การบริหารงานในประเทศที่กำลังพัฒนา
 
Extension system of usa
Extension system of usaExtension system of usa
Extension system of usa
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมานโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
นโยบายพัฒนาเมืองในประเทศไทยในศตวรรษที่ผ่านมา
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 

Mais de Dr.Choen Krainara

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsDr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Dr.Choen Krainara
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsDr.Choen Krainara
 

Mais de Dr.Choen Krainara (20)

Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk SupervisionCertificate of Completion in Cyber Risk Supervision
Certificate of Completion in Cyber Risk Supervision
 
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective LeaderCertificate of Completion in Becoming an Effective Leader
Certificate of Completion in Becoming an Effective Leader
 
Certificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project ManagementCertificate of Completion in Project Management
Certificate of Completion in Project Management
 
Certificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management LeadershipCertificate of Completion in Project Management Leadership
Certificate of Completion in Project Management Leadership
 
Certificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk ManagementCertificate of Completion in Risk Management
Certificate of Completion in Risk Management
 
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict SettingsCertificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
Certificate of Completion in Child Protection in Conflict Settings
 
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
Certificate of Completion in Humanitarian Operations Programme (HOP) Fundamen...
 
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
Certificate of Completion in Humanitarian Information Management, Communicati...
 
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in EmergenciesCertificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
Certificate of Completion in Finance and Budgets in Emergencies
 
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
Certificate of Completion in Introduction to Human Resource Management in Hum...
 
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and SecurityCertificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
Certificate of Completion in IRC Personal Safety and Security
 
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
Certificate of Completion in Wellness and Resilience for Frontline Workers an...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Finanancial ...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Green Public...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change on Mitigation S...
 
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
Certificate of Completion in Macroeconomics of Climate Change: Science, Econo...
 
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian ActionCertificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
Certificate of Completion in Environment in Humanitarian Action
 
Certificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in PartnershipsCertificate of Completion in Working in Partnerships
Certificate of Completion in Working in Partnerships
 
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
Certificate of Completion in Basic Principles of Disability Inclusion in Huma...
 
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding EssentialsCertificate of Completion in Safeguarding Essentials
Certificate of Completion in Safeguarding Essentials
 

การพัฒนาการเกษตรและการบริหารจัดการน้ำของประเทศไต้หวัน

  • 1. รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศไต้หวันเรื่อง การพัฒนาด้านการเกษตรและการบริหาร จัดการน้้า (Council of Agriculture) เสนอต่อ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดย คณะเจ้าหน้าที่ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร การวางแผนยุทธศาสตร์ชาติ รุ่นที่ 1 กลุ่มที่ 1 6 มกราคม 2558 1
  • 2. รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 1 1.นางสาวประภาศรี พงษ์วัฒนา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สบป. 2.นายก่อเกียรติ สมประสงค์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สทว. 3.นางสาวจิตรลดา พิศาลสุพงศ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สพข. 4.นางสาววรวรรณ พลิคามิน นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สพส. 5.นางสาวศรี ศรีงาม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สนส. 6.นายวิศณุ ติวะตันสกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สศม. 7.นางพวงแก้ว พรพิพัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สปผ. 8.นางพรรณทิพา รัตนะ ร.นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการพิเศษ สพต. 9.นายเชิญ ไกรนรา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการ สพก. 10.นางสาวจินดารัตน์ ไทพาณิชย์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการ สบป. 2
  • 3. ประเด็นการน้าเสนอ 1. วิธีการจัดท้ารายงาน 2. ภาพรวมการพัฒนาประเทศไต้หวัน 3. หน่วยงานหลักในการพัฒนาการเกษตรและทรัพยากรน้้าของไต้หวัน และกลไกการบริหาร จัดการเกษตร โดยคณะกรรมการเกษตรหรือสภาการเกษตรไต้หวันหรือ (Council of Agriculture: COA) และบริหารจัดการน้้าโดยองค์การจัดการทรัพยากรน้้า 4. นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน (คณะกรรมการเกษตรไต้หวัน) 5. การวิเคราะห์เปรียบเทียบประเด็นการพัฒนาการเกษตรที่ส้าคัญระหว่างประเทศไต้หวัน และประเทศไทย- 4 มิติ 6. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติที่ดีส้าหรับการพัฒนาการเกษตร ของไทย -5 ด้าน 3
  • 4. 1.วิธีการจัดท้ารายงาน • จัดท้ารายงานกึ่งการวิจัย • ข้อมูลหลักได้จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) กับ คณะผู้บริหารของคณะกรรมการเกษตรหรือสภาการเกษตรของประเทศ ไต้หวันรวมทั้งได้รับเอกสารความก้าวหน้าการพัฒนาการเกษตรและ นโยบายการพัฒนาการเกษตร • ค้นคว้าข้อมูลทุติยภูมิเพิ่มเติมจากแหล่งอื่นๆ • ท้าการวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis) และการวิเคราะห์ เปรียบเทียบ (Comparative Analysis) ของความคล้ายคลึงและ ความแตกต่างของนโยบายและประเด็นส้าคัญของการพัฒนาการ เกษตรระหว่างประเทศไต้หวันและประเทศไทยใน 4 มิติ • สรุปและจัดท้าข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 4
  • 5. 1.ภาพรวมของประเทศไต้หวัน 1.1 ภาพรวมทางกายภาพและโครงสร้างเศรษฐกิจของประเทศไต้หวัน • ประเทศไต้หวันเป็นเกาะทอดยาวจากเหนือสู่ใต้ โดยมีแนวเขาอยู่ ส่วนกลางของเกาะ มีพื้นที่ทั้งประเทศ 36,000 ตร.กม. • อยู่ห่างจากมลฑลกวางโจว ของจีนแผ่นดินใหญ่ 266.26 กม. • ประเทศไทยมีขนาดใหญ่กว่า 14.25 เท่า • ประชากรทั้งประเทศ 23 ล้านคน • อัตราการขยายตัวของประชากรต่้าประมาณร้อยละ 0.29 % ต่อปี • มีพื้นที่ราบที่มีความสูงต่้ากว่า 100 เมตร ร้อยละ 29 • ไต้หวันเป็นประเทศที่มีความส้าคัญต่อระบบเศรษฐกิจโลกเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นผู้น้าอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอิเล็กทรอนิกส์ รายใหญ่ของโลก 5
  • 7. • ปี 2555 ไต้หวันมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 21 ของโลก (ไทยอันดับ 22) • ระหว่างปี พ.ศ. 2505-2557 มีอัตราการขยายตัวของ GDP เฉลี่ย 7.12 % ต่อปี • ท้าให้ไต้หวันมีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจที่โดดเด่น (Taiwan Miracle) • ไต้หวันเป็น 1 ใน 4 เสือแห่งเอเชีย (ไต้หวัน ฮ่องกง เกาหลีใต้ และสิงคโปร์) • เป็นประเทศผู้ส่งออกอันดับที่ 17 ของโลก (ไทยอันดับ 23) • ขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศระหว่างปี 2556-2557 อันดับ 12 (ไทยอันดับ 37) • ไต้หวันจัดอยู่ในกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว 7
  • 8. 1.2 ความส้าคัญและความก้าวหน้าด้านการพัฒนาการเกษตรของประเทศไต้หวัน • การพัฒนาการเกษตรของไต้หวันถือได้ว่าไม่ได้เป็นเพียงธุรกิจแต่ยังเป็น วิถีชีวิตของประชาชน • ตลอด 30 ปีที่ผ่านมาระบบเศรษฐกิจของไต้หวันพึ่งพาภาคเกษตรกรรม เพียงร้อยละ 3 ของ GDP ซึ่งลดลงอย่างรวดเร็วจากร้อยละ 35 เมื่อ 60 ปีที่ผ่านมา • ภาคเกษตรยังมีความส้าคัญเนื่องจากปัจจุบันมีประชากรที่ประกอบ อาชีพเกษตรกรรมประมาณ 1 ล้านคน จ้านวน 810,000 ครัวเรือน หรือคิดเป็นร้อยละ 4.34 ของประชากรทั้งประเทศ • ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยมีพื้นที่ถือครองที่ดินเฉลี่ย 1.06 เฮกตาร์ หรือประมาณ 6 ไร่ 1 งานต่อครัวเรือน โดยมีจ้านวนสมาชิกเฉลี่ย 5 คน/ครัวเรือน 8
  • 9. • มีการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อสนับสนุนการผลิตทางการเกษตรอย่าง กว้างขวาง • ในปี 2555 ภาคเกษตรกรรมสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจประมาณ 473,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งเป็นรายได้จากการปลูกพืชประมาณร้อยละ 46.64 ปศุสัตว์ร้อยละ 31.00 ประมงร้อยละ 22.22 และผลิตภัณฑ์จาก ปุาไม้ร้อยละ 0.08 • โดยมูลค่าผลผลิตทางการเกษตรคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.90 ของ GDP (ภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 29.70 และภาคบริการร้อยละ 68.40) • หากรวมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่น อุตสาหกรรมการเกษตร และการพักผ่อนหย่อนใจในฟาร์ม สัดส่วนภาคเกษตรจึงเพิ่มขึ้นถึงร้อย ละ 11ของ GDP ส่งผลให้ภาคเกษตรของประเทศไต้หวันมีบทบาท ส้าคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร การพัฒนาชนบทและการอนุรักษ์ ระบบนิเวศ 9
  • 10. 1.3 ผลิตผลเกษตรที่ส้าคัญและการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศ • ผลผลิตที่ส้าคัญได้แก่ ข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญที่สุด และอ้อย ผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์หลัก เช่น หมูและไก่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าและการ ท้าประมงทะเลลึก เช่น ปลาไหลและปลาหมึก เป็นต้น • ไต้หวันเป็น"อาณาจักรผลไม้" เนื่องจากมีผลไม้หลากหลายชนิดที่ แตกต่างกันตลอดทั้งปี โดยในช่วงฤดูร้อนมีผลไม้ที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ กว่า 20 ชนิด • ยังมีผลผลิตชา ดอกไม้ และปลาสวยงาม ด้วย • ตั้งแต่ปี 2550 เป็นต้นมา กระทรวงเกษตรของไต้หวันได้พยายามขยาย ตลาดสินค้าเกษตรไปยังตลาดเปูาหมายทั่วโลก ในปี 2555 มูลค่าการ ส่งออกสินค้าเกษตรขยายตัวร้อยละ 9 เมื่อเทียบกับปี 2554 คิดเป็น มูลค่าประมาณ 152,700 ล้านบาท สินค้าส่งออกหลักคือ ดอกไม้ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้้าและถั่วแระ เป็นต้น โดยมีตลาดส่งออกหลักคือ ญี่ปุุน 10
  • 11. • จีน (แผ่นดินใหญ่) ฮ่องกงและสหรัฐอเมริกา เป็นต้น • นอกจากนี้ไต้หวันยังมีการน้าเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์จากไทย ได้แก่ ธัญพืชและผลิตภัณฑ์แปรรูป เช่น ข้าวเหนียวและพาสต้า งา และ หน่อไม้ฝรั่ง และสินค้าเกษตรทั่วไป เช่น ผลิตภัณฑ์มันส้าปะหลัง เป็น ต้น • ส้าหรับประเทศไทยมีการน้าเข้าสินค้าปลาทูน่าสดแช่เย็นแช่แข็งจาก ไต้หวัน 11
  • 12. 2.หน่วยงานหลักและกลไกในการพัฒนาการเกษตรและจัดการทรัพยากรน้้า ของประเทศไต้หวัน 2.1 คณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน หรือสภาการเกษตรไต้หวัน: (Council of Agriculture: COA) • เดิมหน่วยงานด้านการเกษตรกระจายอยู่หลายกระทรวง จึงมีการปรับปรุงโครงสร้างของ คณะกรรรมการการเกษตรไต้หวันหลายครั้ง ตามแผนปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐ • เป็นหน่วยงานภายใต้การก้ากับดูแลของนายกรัฐมนตรีไต้หวัน เทียบเท่ากับกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ของประเทศไทย • ล่าสุดได้ปรับโครงสร้างการบริหารเมื่อปี พ.ศ. 2542 ให้เป็นแบบรวมศูนย์ • มีเลขาธิการสูงสุดก้ากับดูแล 11 หน่วยงาน • คณะกรรรมการการเกษตรไต้หวันก้ากับดูแล 23 หน่วยงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ • วางแผนและพัฒนาด้านการเกษตร ปุาไม้ ประมง ปศุสัตว์ และความมั่นคงทางอาหาร ของประเทศ • อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ดิน น้้า ปุาไม้ สัตว์และพันธุ์พืช เป็น ต้น • ส่งเสริมการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของเขตชนบท 12
  • 14. 2.2 การบริหารจัดการทรัพยากรน้้าของประเทศไต้หวัน • ไต้หวันมีปริมาณน้้าฝนมากกว่าค่าเฉลี่ยโลก 2.6 เท่า แต่จากที่มีประชากรถึง 23 ล้านคนและมีการใช้น้้าเฉลี่ยมากกว่า 2,700 ลูกบาศก์เมตร/คน/ปี มากกว่าค่าเฉลี่ยโลกถึง 2 เท่า (1,385 ลูกบาศก์เมตรต่อคนต่อปี) • มีข้อจ้ากัดด้านภูมิประเทศและภูมิอากาศรวมทั้งการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้้า ท้าให้ไต้หวันมีแนวโน้มจะขาดแคลนน้้าในอนาคต จ้าเป็นต้องบริหารจัดการ น้้าอย่างจริงจัง และมีความตื่นตัวในการรณรงค์การบริหารจัดการน้้าและ การใช้น้้าในทุกภาคส่วน • ภาครัฐได้จัดตั้ง องค์การทรัพยากรน้้า (Water Resources Agency : WRA) เทียบเท่ากรม สังกัดกระทรวงการพัฒนาเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ.2545 • โดยการยุบรวมหน่วยงานที่เกี่ยวกับการจัดจัดการน้้าบางหน่วยงาน เช่น ส้านักทรัพยากรน้้า หน่วยงานอนุรักษ์ทรัพยากรน้้าและคณะกรรมการเฉพาะ ด้านน้้าของกรุงไทเป • วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการบริหารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านน้้าให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้นรวมทั้งยกระดับการจัดการธุรกิจที่เกี่ยวกับน้้า 14
  • 15. บทบาทหลักขององค์การทรัพยากรน้้า • การให้บริการการใช้น้้าแก่สาธารณะ โดยการจัดหาน้้าประปา น้้า ส้าหรับภาคอุตสาหกรรม น้้าส้าหรับภาคเกษตรกรรมและน้้าส้าหรับ ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม • การควบคุมปริมาณน้้า เพื่อปกปูองชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน จากภัยน้้าท่วมและการสร้างความปลอดภัยในการด้าเนินชีวิตประจ้าวัน ให้การศึกษาและการปลูกจิตส้านึกการใช้น้้าอย่างคุ้มค่าของเด็กและ เยาวชน ในอนาคตจะสนับสนุนให้มีการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรน้้า อีกด้วย 15
  • 16. โครงสร้างการบริหารขององค์การจัดการทรัพยากรน้้า • ส้านักงานส่วนกลาง ประกอบด้วย 11 ส้านัก 3 ฝุาย 1 ศูนย์ และ 1 ทีม ได้แก่ ส้านักวางแผน ส้านักอุทกวิทยา ส้านักจัดการและพัฒนาทรัพยากรน้้า ส้านักแม่น้้าและชายฝั่งทะเล ส้านักอนุรักษ์ทรัพยากรน้้า ส้านักก่อสร้าง ส้านักบริหารน้้า ส้านักจัดการที่ดิน ส้านักเลขาธิการ ส้านักงานงบประมาณ ส้านักบริการสาธารณะและจริยธรรม ฝุายการเจ้าหน้าที่ การจัดการข้อมูล ข่าวสาร การบัญชีและสถิติ ศูนย์บรรเทาภัยจากน้้า และทีมส้ารวจแม่น้้า • สานักงานประจาภูมิภาค ประกอบด้วยส้านักงานทรัพยากรน้้า 3 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ • ส้านักงานจัดการแม่น้้าที่ 1-10 • ส้านักงานจัดการน้้าไทเป และ • สถาบันวางแผนทรัพยากรน้้า 16
  • 17. 3.นโยบายการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน ก้าหนดโดยคณะกรรมการการเกษตรไต้หวัน 3.1 แผนพัฒนาการเกษตรระยะปานกลาง 4 ปี (พ.ศ. 2556-2559) การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเกษตรในอนาคต 4 ประเด็นส้าคัญ 1) การพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการ รวมกลุ่มของภูมิภาคและการค้าสินค้าเกษตรได้รับผลโดยตรงจากการเปิด เสรีการค้า • เป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกปี 2545 • ข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศจีน (แผ่นดินใหญ่) เมื่อปี 2553 2) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อความมั่นคง ด้านอาหาร ผลผลิตและราคาสินค้าเกษตร 17
  • 18. 18 3) เทคโนโลยีใหม่ทางการเกษตรและเทคโนโลยีที่เกี่ยวเนื่องก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว เช่น เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ อุตสาหกรรม เกษตรในอนาคตจะเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมและบริการที่หลากหลายมาก ยิ่งขึ้น 4) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคอาหารและความปลอดภัยด้าน อาหารทวีความส้าคัญมากขึ้นในอนาคต เนื่องจากประชากรเพิ่มมากขึ้น และการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไต้หวันและประเทศอื่นๆ
  • 19. 3.2 นโยบายการพัฒนาการเกษตรในช่วง 4 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2556-2559) มี 5 นโยบายหลัก นโยบายที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ภาคเกษตรที่ สอดคล้องกับความเป็นสากลของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร • บูรณาการภาคเกษตรกับระบบให้บริการบนคลาวด์ (Cloud Service System หรือทางอินเตอร์เนต • สร้างความเข้มแข็งของระบบเตือนภัยและกฎระเบียบต่างๆ เพื่อสร้าง เสถียรภาพของผลผลิตทางการเกษตรและการตลาด • สร้างความร่วมมือในหลากหลายสาขา เร่งสร้างห่วงโซ่มูลค่าของ อุตสาหกรรมการเกษตร โดยอาศัยผู้ประกอบการและกลุ่มเกษตรกรเป็น กลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มและ ได้มาตรฐาน 19
  • 20. 20 • ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าด้านการเกษตร และ น้าผลการวิจัยไปใช้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรม เพื่อให้ภาคการเกษตร เติบโตอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริมการใช้พลังงานสีเขียวและพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่มี ประสิทธิภาพสูงและมีนวัตกรรมประหยัดพลังงาน • สร้างความเข้มแข็งด้านช่องทางการจัดจ้าหน่ายผลผลิตทางการเกษตร สู่ตลาดโลก • ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรระดับสากล • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับองค์กรระหว่างประเทศและข้อตกลงทางการ ค้าระหว่างประเทศด้านการเกษตร
  • 22. นโยบายที่ 2 การปรับโครงสร้างทางการเกษตร ส่งเสริมความสามารถของ บุคลากรการเกษตร และพัฒนาสินค้าให้มีมูลค่าเพิ่ม • ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิการท้างานของเกษตรกร มีระบบเกษียณ อายุของเกษตรกร ยกเลิกระบบอุดหนุนการเกษตร กระตุ้นให้มีการส่ง ต่อสิทธิ์ในที่ดินของเกษตรกรที่เกษียณ และจัดให้มีแผนงานพัฒนา คุณภาพชีวิตเกษตรกรหลังเกษียณ • ส่งเสริมนโยบายการเช่าที่เกษตรกรรมจากเจ้าของรายเล็กสู่ผู้เช่าราย ใหญ่ ด้วยการกระตุ้นให้เกษตรกรมืออาชีพรุ่นใหม่หรือกลุ่มเกษตรกร เช่าที่ดินจากเกษตรกรที่ไม่สามารถ/ไม่ต้องการท้าการเกษตรเพื่อ เพาะปลูกพืชที่สามารถทดแทนการน้าเข้าและมีลู่ทางการตลาด เพื่อขยายพื้นที่เกษตรกรรมและสร้างความมีชีวิตชีวาให้กับท้องถิ่น 22
  • 23. • ส่งเสริมให้มีวิทยาลัยชาวนา โดยเชื่อมโยงการวิจัย การศึกษา ทรัพยากร การตลาด เพื่อให้ความรู้อย่างกว้างขวางและฝึกอบรมแก่เกษตรกร รวมทั้งมี โครงการอบรมขั้นสูงให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจท้าการเกษตร • จัดตั้งศูนย์ให้ค้าปรึกษาเกษตรกรรุ่นใหม่ โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้ค้าปรึกษาด้านการบริหารจัดการ และสร้างสิ่งจูงใจให้แก่เกษตรกรรุ่น ใหม่ • มีโครงการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมและคนในชุมชน เพื่อ การปรับปรุงการผลิต สิ่งแวดล้อม และรูปแบบการด้าเนินชีวิต หรือ อุตสาหกรรมชนบท • จัดสรรพื้นที่การเกษตร โดยจัดให้มีสิ่งอ้านวยความสะดวกในพื้นที่เกษตร มีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให้สามารถบรรลุเปูาหมายทั้งการเพิ่มขีด ความสามารถทางการแข่งขันเชิงอุตสาหกรรมและการรักษาสิ่งแวดล้อมไป พร้อมกัน 23
  • 24. นโยบายที่ 3 สร้างหลักประกันด้านความมั่นคงและปลอดภัยในอาหารและผลผลิต ทางการเกษตร • ส่งเสริมการบริโภคอาหารภายในประเทศ และสร้างกลไกด้านความปลอดภัยด้าน อาหาร • ถ่ายทอดลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมการเกษตรไต้หวัน เพื่อแสดงถึงความ เป็นมาของสินค้าและตราสินค้าท้องถิ่นให้เป็นที่รู้จัก • ส่งเสริมการผลิต การบริโภคผลผลิตทางการเกษตร และเพิ่มช่องทางการตลาดให้ มีความหลากหลาย • ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับการด้าเนินธุรกิจรูปแบบใหม่ เพื่อ สร้างระบบเกษตรกรรมสีเขียวที่ใช้คาร์บอนต่้า • ส่งเสริมระบบการผลิตทางการเกษตรที่ปลอดภัย • ส่งเสริมการตรวจและปูองกันโรคในสัตว์และพืช • ส่งเสริมการตรวจสอบการใช้ยาฆ่าแมลงให้มีความปลอดภัยโดยมีมาตรฐาน เดียวกับประเทศอื่นๆ และระดับโลก 24
  • 25. นโยบายที่ 4 การรักษาระบบนิเวศในพื้นที่เกษตรกรรมให้ยั่งยืน • ปรับระบบการท้าเกษตรกรรมและส่งเสริมการผลิตอาหารให้มี ความหลากหลาย • ส่งเสริมให้มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ • ส่งเสริมการวางแผนการใช้และรักษาคุณภาพน้้าทางการเกษตร • อนุรักษ์แหล่งประมงของประเทศอย่างยั่งยืน • อนุรักษ์ปุาไม้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 25
  • 26. และ นโยบายที่ 5 ส่งเสริมให้องค์กรด้านการเกษตรดูแลเกษตรกรให้มี ความผาสุก • ส่งเสริมการวางแผนรายได้และระบบประกันให้แก่เกษตรกร • ส่งเสริมให้องค์กรต่างๆ สามารถให้บริการเกษตรกรได้อย่างมี ประสิทธิภาพ • ปรับปรุงระบบการเงินทางการเกษตร 26
  • 27. 4.การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบประเด็นการพัฒนาการเกษตร ที่ส้าคัญระหว่างประเทศไต้หวันและประเทศไทย 4 มิติ 4.1 มิติโครงสร้างการผลิตการเกษตรและการบริหารจัดการ 1) โครงสร้างการผลิตการเกษตรของไต้หวัน • เกษตรกรไต้หวันถือครองที่ดินเฉลี่ย 6 ไร่/ครัวเรือน เกษตรกรไทยถือครอง ที่ดิน 25 ไร่/ครัวเรือน • เกษตรกรไต้หวันจ้าเป็นต้องจัดการฟาร์มอย่างมีประสิทธิภาพด้วยคนที่มี คุณภาพ • พื้นที่ทางเดินน้้าจะขุดคลองระบายน้้าช่วงน้้าท่วมจะระบายได้เร็ว • คันนาเป็นปูนพร้อมเป็นคลองส่งน้้าขนาดเล็กท้าให้มีการชลประทานถึงหัวคัน นา สามารถท้านาได้ทั้งปี • ภูมิประเทศเป็นเกาะและมีความหลากหลายทางชีวภาพ • เกษตรกรไต้หวันท้างานหนักและมีทัศนคติทีดี กระตือรือร้นเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ • รัฐบาลท้างานช่วยเหลือเกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ 27
  • 28. • โครงสร้างการผลิตคล้ายคลึงกับไทย แต่ไทยจะพึ่งพาสาขาพืชใน สัดส่วนที่สูงกว่าไต้หวัน • ไต้หวันยังน้าเข้าผักจากต่างประเทศ แต่มีความเข้มงวดในการตรวจ กักกันพืชและตรวจสารตกค้าง ท้าให้พืชของไทยหลายชนิดยังไม่ สามารถส่งไปไต้หวัน เช่น มะเขือ ถัวฝักยาว พริก และผักชี เป็นต้น 28
  • 31. 2) แนวโน้มการพัฒนาการเกษตรของไต้หวัน เน้นการด้าเนินงานร่วมกัน ระหว่างภาครัฐและเอกชนโดยการ (1) ส่งเสริมเกษตรกรให้เพาะปลูกพืชหลัก 5-7 ชนิด ที่เหลือให้การตลาด เป็นตัวก้าหนดว่าเกษตรกรควรจะผลิตพืชอะไร (2) ส่งเสริมการลงทุนความร่วมมือจากต่างประเทศ (3) ส่งเสริมการท้าการเกษตรแบบยั่งยืนด้วยการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ลดการใช้สารเคมี และส่งเสริมการปลูกปุา 31
  • 32. 3) การบริหารจัดการการเกษตรของไต้หวัน (1) ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นโยบายที่เกี่ยวข้อง (1.1) นโยบายปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ไต้หวันประสบความส้าเร็จใน การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมจนกลายเป็นต้นแบบที่ส้าคัญของหลายประเทศ ในโลกรวมทั้งประเทศไทย โดยใช้ 3 นโยบายหลักคือ • การลดค่าเช่า เพื่อเป็นการผ่อนคลายภาวะการต่อต้านจากเจ้าของที่ดินโดย การก้าหนดอัตราค่าเช่าขั้นสูงไม่เกินร้อยละ 37.50 ของรายได้จากผลผลิต พืชหลักต่อปี ที่ถูกประเมินโดยรัฐบาลรวมทั้งปกปูองสิทธิผู้เช่าโดยระยะเวลา ให้เช่าไม่น้อยกว่า 6 ปี และจะต้องมีเซ็นสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร มีการ จัดตั้งคณะกรรมการดูแลค่าเช่าที่ดิน • การขายที่ดินเพื่อการเกษตรของรัฐ เพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินเป็นของตนเอง และให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมากขึ้นโดยมีการจัดล้าดับสิทธิของผู้ซื้อ เช่น ให้ผู้เช่าเดิมมีสิทธิ์ในการซื้อก่อน ราคาของที่ดินจะค้านวณจากผลผลิตทาง การเกษตรโดยก้าหนดราคาที่ 2.5 เท่าของปริมาณผลผลิต 32
  • 33. • การจัดที่ดินให้เกษตรกร โดยรัฐเวนคืนที่ดินจากเจ้าของที่ดินที่มีที่ดิน เกินกว่า 2.907 เฮกตาร์ (ประมาณ 18 ไร่) ด้วยค่าชดเชย 2.5 เท่าของ ปริมาณผลผลิตพืชหลักต่อปี ซึ่งจะจ่ายในรูปแบบของพันธบัตรรัฐบาล ร้อยละ 70 และหุ้นในโรงงานอุตสาหกรรมร้อยละ 30 และรัฐน้าที่ดินที่ ได้มาจากการเวนคืนขายให้กับเกษตรกร (2) นโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ไต้หวันพึ่งพาตนเอง ด้านอาหารได้เพียงร้อยละ 32 สาเหตุที่ภาคเกษตรอ่อนแอเนื่องจาก • เกษตรกรมีพื้นที่เกษตรกรรมขนาดเล็ก • เกษตรกรเป็นผู้สูงอายุ • การเปลี่ยนแปลงของจ้านวนเกษตรกร • รัฐบาลไต้หวันได้ผลักดันนโยบายเจ้าของที่ดินขนาดเล็กและผู้เช่าที่ดิน รายใหญ่อย่างเต็มรูปแบบตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ.2552 33
  • 34. • รัฐจ่ายเงินค่าตอบแทนให้กับเจ้าของที่ดินขนาดเล็กเพื่อกระตุ้นให้เจ้าของ ที่ดินเหล่านั้นยอมปล่อยที่ดินของพวกเขาให้ผู้เช่าที่ดินรายใหญ่ (เกษตรกร มืออาชีพหรือกลุ่มคนรุ่นใหม่) เช่าท้าการเกษตร • ผู้เช่าที่ดินรายใหญ่ ท้าสัญญาเช่าระยะยาวในอัตราค่าเช่าที่ต่้าท้าให้ สามารถเพิ่มขนาดพื้นที่การเกษตรเพื่อท้าการผลิตแบบ Economy of Scale • รัฐบาลให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนกู้ยืมและการสนับสนุนด้านวิชาการ อื่นๆแก่ผู้เช่าที่ดิน • เป็นช่องทางบริหารจัดการที่ดินในสภาวะที่มีที่ดินขนาดเล็กให้ผลผลิตไม่ คุ้มค่าต่อการลงทุนและสภาวะที่มีที่ดินทางการเกษตรที่ถือครองโดย เกษตรกรผู้สูงอายุ ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและ ไม่มีลูกหลานสืบทอดกิจกรรมทางการเกษตร คล้ายคลึงกับสถานการณ์ที่ ก้าลังเกิดขึ้นในสังคมเกษตรกรรมไทยในปัจจุบัน 34
  • 35. (2) น้้าเพื่อการเกษตร รัฐบาลให้การสนับสนุนจัดการแหล่งน้้าเพื่อเกษตรกรรม สร้างเขื่อนกักเก็บน้้าเพื่อเกษตรกรรมกระจายอยู่ทั่วประเทศ และมีการการ คมนาคมที่มีความสะดวกในการขนส่งผลผลิตของเกษตรกร (3) การวิจัยและพัฒนาและการใช้เทคโนโลยีการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการ ผลิตทางการเกษตรอย่างกว้างขวาง เช่น ใช้เครื่องจักรกลการเกษตรใน กระบวนการผลิตการเกษตร ท้าให้ไต้หวันมีความก้าวหน้าทางการเกษตรมาก ที่สุดประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชีย • มีสถาบันวิจัยการเกษตรเป็นตัวขับเคลื่อนการเกษตร 10 แห่ง ทั่วประเทศ • ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการพัฒนาภาคเกษตร เพื่อพัฒนาการผลิต ที่มีภูมิต้านทานต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ • ตั้งศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อบูรณาการงานวิจัยสนับสนุนการผลิตทาง การเกษตร • รัฐบาลพัฒนาระบบ Cloud ภาคเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสามารถดึงข้อมูล การผลิตและการจ้าหน่ายจากระบบ และระบบ Cloud ด้านการเกษตรและ อาหารปลอดภัยและอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อยกระดับความสามารถในการ แข่งขันและสร้างนวัตกรรมทางการเกษตร 35
  • 36. (4) เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร รัฐบาลสร้างความเข้มแข็งให้สถาบัน เกษตรกรเพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น โดยพัฒนา สถาบันเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง จัดอบรมการประกอบธุรกิจให้กับกลุ่ม เกษตรกร ให้สินเชื่อดอกเบี้ยต่้าเพื่อเป็นทุนในการจัดซื้อที่ดิน โรงเรือน และเครื่องจักรกลการเกษตรต่างๆ ท้าให้สามารถด้าเนินธุรกิจอย่างมือ อาชีพ • เกษตรกรไต้หวันรวมตัวกันจัดตั้งเป็นสหกรณ์ที่มีความเข้มแข็ง สามารถ สร้างอ้านาจต่อรองในการขายผลผลิตและต่อรองในการซื้อปุ๋ยเคมีและ สารปราบศัตรูพืช • รัฐบาลสามารถสร้างความเชื่อมั่นให้แก่เกษตรกรด้วยการก้าหนดปฏิทิน ว่าในแต่ละปีเกษตรกรควรปลูกอะไร จึงจะไม่ประสบกับปัญหาราคา ผลผลิตตกต่้า 36
  • 37. • การเกษตรของไต้หวันส่วนใหญ่เป็นของคนรวยเพราะมีที่ดิน มีการ ลงทุนสูง ได้ผลผลิตดี คุณภาพดีและราคาดี • มีสมาคมเกษตรกรที่รัฐบาลให้การสนับสนุนกว่า 302 แห่ง สมาคม ประมง 40 แห่ง และสมาคมที่เกี่ยวกับการชลประทาน 17 แห่ง โดยให้ การสนับสนุนแก่เกษตรกรทั้งด้านการผลิตและจ้าหน่าย รวมถึงบริการ ทางการเงิน เช่น เงินกู้ และเงินประกัน เป็นต้น และเป็นช่องทางการ ติดต่อระหว่างรัฐบาลและเกษตรกร • มีบริการด้านสังคมสงเคราะห์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อสร้างความมั่นคง ให้กับเกษตรกร เช่น การให้เงินช่วยเหลือเกษตรกรสูงอายุ ให้ ทุนการศึกษาแก่ลูกหลานเกษตรกรและชาวประมง ให้ความช่วยเหลือ อย่างเร่งด่วนแก่เกษตรกรในกรณีเกิดภัยพิบัติ และให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้เกษตรกรสามารถกับมาท้าการผลิตได้ใหม่โดยเร็วที่สุด 37
  • 38. • รัฐบาลจัดท้าโครงการส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่ท้าการเกษตรโดยส่งเสริม รายได้แก่เกษตรกรเพื่อจูงใจให้คนรุ่นใหม่กลับมาท้างานในชนบทโดยให้ เงินกู้และเงินอุดหนุน รวมทั้งให้องค์ความรู้ผ่านโรงเรียนเกษตรกร • ชาวชนบทก็มีความกระตือรือร้นในการฟื้นฟูชุมชน และได้มีการ ด้าเนินการแบบ Bottom-up จากระดับท้องถิ่นเพื่อสร้างอนาคตแก่ ชุมชน 38
  • 39. 4) โครงสร้างการผลิตการเกษตรของประเทศไทย • มีพื้นที่เกษตรกรรม 114.60 ล้านไร่ ขนาดฟาร์มเฉลี่ย 19.40 ไร่ต่อ ครัวเรือน มีจ้านวนเกษตรกรจ้านวน 5.91 ล้านครัวเรือน เฉลี่ย 4-5 คน ต่อครัวเรือน หรือ ร้อยละ 25.90 ของครัวเรือนทั้งประเทศ หรือ ประมาณ 24.10 ล้านคน • ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อยเช่นเดียวกันไต้หวัน และประเทศไทย เป็นประเทศเกษตรกรรมที่มีการผลิตและส่งออกผลิตผลการเกษตรใน อันดับต้นๆของโลกหลายชนิด เช่น ข้าว มันส้าปะหลัง ยางพารา สับปะรด ผลไม้ ไก่เนื้อ เป็นต้น • มูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคเกษตร 1,426,657 ล้านบาท หรือคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 8.29 ที่เหลือเป็นภาคนอกเกษตร ร้อยละ 91.71 • ผลผลิตสาขาพืช ปศุสัตว์และปุาไม้คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 85.46 และ ประมง ร้อยละ 14.53 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตร 39
  • 40. การบริหารจัดการการเกษตรของไทย • การใช้ปัจจัยการผลิตเกินความเหมาะสม เกิดความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ งบประมาณค่าใช้จ่ายในการลงทุนทางการเกษตรของ ประเทศสูงแต่ผลตอบแทนที่เกษตรกรได้รับน้อย ผลผลิตมีมากราคาตกต่้า ทุกปีเนื่องจากขาดการวางแผนระยะยาวเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง • การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีค่อนข้างน้อยและล่าช้า • งานวิจัยส่วนมากใช้เพียงการบรรยายและอ้างอิงเท่านั้น ขณะเดียวกัน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรมีมากมาย งบประมาณสนับสนุนการ วิจัยจึงถูกจัดสรรให้หน่วยงานต่างๆในสัดส่วนที่ค่อนข้างต่้าและกระจาย • ไม่มีระบบตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานทางการเกษตรที่จัดท้าขึ้น แต่เป็นไปใน ลักษณะต่างคนต่างท้าของแต่ละหน่วยงาน บางหน่วยงานก็มิได้มีการ ตรวจสอบข้อมูล จึงไม่ทราบผลสะท้อนกลับ 40
  • 41. 4.2 มิติการยกระดับการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ภาคการเกษตร • ไต้หวันให้ความส้าคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยีและการสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการเกษตร • ปี 2556 จาก 60 ประเทศ ผลิตภาพภาคเกษตรประเทศไต้หวันอยู่ ล้าดับที่ 30 มีมูลค่าผลิตภาพภาคเกษตร 28,847 US$ ขณะที่ประเทศ ไทยอยู่ล้าดับที่ 57 มีมูลค่าผลิตภาพภาคเกษตร 3,651 เหรียญสหรัฐ • ไต้หวันมีผลิตภาพภาคเกษตรสูงกว่าไทยประมาณ 8 เท่า • ขณะที่อัตราการจ้างงานภาคเกษตรของไต้หวันมีเพียงร้อยละ 5 แต่ของ ไทยมีสูงถึงร้อยละ 38.70 แสดงให้เห็นว่าแม้ไทยจะมีอัตราการจ้างงาน ภาคเกษตรมากกว่า แต่กลับสร้างผลิตภาพเพิ่มได้น้อยกว่ามาก 41
  • 42. 1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจัดการภาคเกษตร ไต้หวัน • สร้างระบบบริการข้อมูลส้าหรับภาคการเกษตรบนระบบ cloud เพื่อให้บริการข้อมูลทางการเกษตร การตลาด การติดตามฉลาก เตือนภัยธรรมชาติและการพัฒนาระบบแจ้งเตือน และระบบการ ควบคุมก้ากับการผลิตสินค้าเกษตรและการจ้าหน่ายโดยการก้าหนด เปูาหมายการผลิตรายปี และการวางแผนการตลาดทั้ง ภายในประเทศและต่างประเทศ • ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมในการท้าเกษตรกรรมโดยสังเกตการณ์ผลผลิต และสภาพอากาศ • ใช้เทคโนโลยีสีเขียวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้ ประหยัดพลังงาน ทรัพยากรดินและน้้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด 42
  • 43. ไทย • มีเพียงระบบสารสนเทศเตือนภัยด้านการเกษตร เพื่อแจ้งให้เกษตรกร เตรียมพร้อมรับมือ • พื้นที่เกษตรกรรมมีแนวโน้มลดลงจาการการขยายตัวของเมือง การใช้ ที่ดินและจัดการที่ดินไม่เหมาะสม โดยเฉพาะข้าวจากพื้นที่ปลูก 65 ล้านไร่ ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสม 27 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 42 จึงส่งผล ต่อประสิทธิภาพการผลิตภาคเกษตร • ก้าหนดนโยบายเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) โดยให้ความส้าคัญกับ เทคโนโลยีสารสนเทศเช่นกัน ซึ่งจะมีการจัดท้าแผนที่กลางของประเทศ ที่เป็นข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานของประเทศ เพื่อน้าไปบริหารจัดการ สินค้าเกษตรให้มีประสิทธิภาพ 43
  • 44. 2) การส่งเสริมการวิจัยเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์การเกษตรขั้นสูง ไต้หวัน • สร้างความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับสถาบันอุดมศึกษาใน การแก้ปัญหาทางวิชาการที่ส้าคัญในปัจจุบัน เพื่อให้การพัฒนาในระดับ อุตสาหกรรมรวดเร็วยิ่งขึ้น • สนับสนุนการเร่งระดมทุนให้กับการลงทุนใหม่ในภาคการเกษตรเพื่อให้ ภาคการเกษตรเติบโตอย่างต่อเนื่อง • ส่งเสริมให้มีวิทยาลัยชาวนา โดยเชื่อมโยงการวิจัย การศึกษา ทรัพยากรและการตลาด เพื่อฝึกอบรมให้แก่เกษตรกรและคนรุ่นใหม่ที่ สนใจท้าการเกษตร 44
  • 45. 45 ไทย: • ยังไม่ให้ความส้าคัญกับการส่งเสริมการวิจัยด้านเทคโนโลยีเกษตร ก้าวหน้า การวิจัยที่เป็นองค์รวมและใช้ประโยชน์ได้เชิงพาณิชย์ รวมทั้ง การเชื่อมโยงงานวิจัยอย่างเป็นเครือข่ายระหว่างผู้ใช้ประโยชน์และ ผู้วิจัยยังมีน้อย • แต่มีการส่งเสริมสถาบันการศึกษาในพื้นที่ร่วมท้าการศึกษาวิจัยกับ ภาคเอกชนเพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรและผู้ประกอบการน้าองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมบนฐาน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • ยังไม่มีโครงการส่งเสริมคนรุ่นใหม่ที่สนใจให้เข้าสู่ภาคการเกษตร
  • 46. • พัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ที่ เหมาะสมทางการเกษตร โดยผ่านศูนย์เรียนรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตผ่านเครือข่ายเกษตรกรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในแต่ละ พื้นที่ และจากเกษตรกรที่ประสบความส้าเร็จหรือปราชญ์ชาวบ้าน 46
  • 47. 3) ส่งเสริมการกระจายสินค้าเกษตรในตลาดโลก ไต้หวัน: • ส่งเสริมการส่งออกสินค้าตามความต้องการของตลาด และพัฒนาไปสู่ การผลิตในระดับชั้นน้าของโลก (world class manufacturing) จาก การสร้างเขตอุตสาหกรรมการส่งออก และการวางระบบบริหารจัดการ มาตรการความปลอดภัยส้าหรับสินค้าส่งออก • มุ่งเน้นการท้าการตลาดระหว่างประเทศโดยการสร้างแบรนด์ การเจาะ ตลาดเฉพาะกลุ่ม และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีจากการส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศคู่ค้าส้าคัญ 47
  • 48. ไทย: • เกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดโอกาสทางด้านการตลาด และมีช่องทาง จ้าหน่ายผลผลิตค่อนข้างแคบ โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยเนื่องจากไม่ มีตลาดรองรับที่แน่นอน • นโยบายด้านการพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตรยังเป็นการสนับสนุน การใช้ตลาดกลางสินค้าเกษตร การจัดระบบตลาดสินค้าเกษตรในระดับ พื้นที่ และการสนับสนุนตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า • ระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตรมีต้นทุนสูงและไม่มีประสิทธิภาพ จึงเป็น อุปสรรคในการขยายช่องทางการจ้าหน่ายและพัฒนามาตรฐานสินค้า • การพัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์เกษตรยังมีจ้ากัด กระบวนการในการแปรรูปและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ยังมีปัญหาด้าน มาตรฐาน ท้าให้สินค้าขาดความหลากหลายและขยายตลาดได้ยาก 48
  • 49. 4) การสร้างมูลค่าเพิ่มให้ภาคเกษตร ไต้หวัน: • ส่งเสริมกิจกรรมการเกษตรแบบสันทนาการ (Agriculture leisure) ในระดับนานาชาติเพื่อสนับสนุนการเติบโตของท่องเที่ยวเชิงเกษตร • พัฒนาตลาดของผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีอัตลักษณ์ในแต่ ละท้องถิ่น เช่น กิจกรรมการตกปลากับชาวประมง กิจกรรมเกษตรเชิง นิเวศน์ รวมทั้งการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เช่น การเยี่ยมชมการฟื้นฟูปุา และแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ กิจกรรมปีนเขา • ให้ความส้าคัญกับการรับรองคุณภาพมาตรฐานการให้บริการอย่าง จริงจัง 49
  • 50. ไทย: • ให้ความส้าคัญกับการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรโดยการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ มีการสร้างตราสินค้า โดยเฉพาะการพัฒนาภูมิปัญญา ท้องถิ่นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมในการแปรรูปผลิตภัณฑ์ เช่น สินค้า โอทอป ที่มีการพัฒนาต่อยอดจากสินค้าเกษตรไปสู่การผลิตสินค้าแปร รูป สินค้าหัตถกรรม เป็นต้น • การส่งเสริมหรือการท่องเที่ยวเชิงเกษตรมีการด้าเนินการอยู่บ้างแต่ยัง ไม่แพร่หลาย 50
  • 51. 4.3 มิติความมั่นคงและความปลอดภัยของสินค้าเกษตร 1) ความมั่นคงด้านอาหาร (Food Security) • ไต้หวัน มีพื้นที่ท้าการเกษตรจ้ากัดและผลผลิตที่ผลิตได้ยังไม่เพียงพอต่อ ความต้องการบริโภคในประเทศ จึงยังคงต้องพึ่งพาการน้าเข้าอาหารจาก ต่างประเทศโดยเฉพาะธัญพืชในปริมาณสูง • จึงใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเกษตรและพัฒนาเกษตรยั่งยืน ท้าให้ไต้หวัน ไม่มีปัญหาด้านความมั่นคงทางอาหาร • มีนโยบายการสร้างหลักประกันด้านความมั่นคงทางอาหารชัดเจน ได้แก่ การส่งเสริมการผลิตอาหารที่หลากหลายและกระตุ้นให้อุตสาหกรรมอาหาร และอาหารแปรรูปใช้วัตถุดิบภายในประเทศ ส่งเสริมให้ผู้บริโภคในแต่ละ ท้องถิ่นบริโภคสินค้าที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น และการสร้างระบบการจัดการ ความมั่นคงอาหารโดยการก่อสร้างคลังสินค้าที่มีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อ รักษาคุณภาพสินค้าของรัฐบาลโดยเฉพาะข้าว • สร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านความมั่นคงอาหารกับกลุ่มประเทศ APEC และการปรับนโยบายการส่งเสริมการผลิตพืชอาหาร การใช้ที่ดินว่างเปล่าใน การเพาะปลูก เพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับคนในประเทศ เป็นต้น51
  • 52. ไทย: เป็นประเทศเกษตรกรรมที่สามารถผลิตอาหารเลี้ยงคนได้ทั้ง ภายในประเทศและผลผลิตเกินครึ่งสามารถส่งออกไปเลี้ยงผู้คนในต่างประเทศ ถือเป็นประเทศที่มีความมั่นคงด้านอาหาร • ปัจจุบันการผลิตทางการเกษตรของไทยยังมีปัญหาในด้านการบริหารจัดการ โดยเฉพาะด้านราคาและการสร้างมูลค่าเพิ่ม • ผลผลิตทางการเกษตรหลายชนิดมีจ้านวนมากแต่มีปัญหาราคาตกต่้า เกษตรกรส่วนใหญ่ซึ่งเป็นเกษตรกรรายย่อยมีรายได้ไม่เพียงพอ เกิดปัญหา ความไม่มั่นคงด้านอาชีพ มีการเคลื่อนย้ายแรงงานไปสู่แรงงานนอกภาค เกษตร • มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทางการเกษตรมากขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่เพาะปลูกพืช อาหารเช่น ข้าวมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงอย่างลดลงอย่างต่อเนื่อง • มียุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านอาหาร (พ.ศ. 2556-2559) เพื่อให้ ประชาชนในประเทศมีอาหารบริโภคอย่างเพียงพอและสามารถพึ่งพา ตนเองได้ 52
  • 53. 2) ความปลอดภัยด้านสินค้าเกษตร (Food Safety) ไต้หวัน: มีการก้าหนดเปูาหมายลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยทางการเกษตร และ ยกระดับมาตรฐานของสินค้า โดยใช้เกณฑ์การรับรองความปลอดภัยของสินค้า เกษตรที่เป็นสากลต่างๆ และมีการส้ารวจตรวจสอบอย่างสม่้าเสมอ • ส่งเสริมการเกษตรคาร์บอนต่้าและมลพิษต่้า มีการควบคุมการใช้สารเคมี และยาเพื่อเฝูาระวังอนามัยพืชและสัตว์ ไทย: • ยังประสบกับปัญหาในด้าน ความไม่ปลอดภัยของอาหาร ที่ผลิตทั้งในเรื่อง การปนเปื้อนของจุลินทรีย์ก่อโรค การตกค้างของสารเคมี สารปฏิชีวนะ และ สารพิษ ซึ่งเป็นอันตรายส้าคัญที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ในประเทศและกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ • ส่งเสริมให้เกษตรกรมีการผลิตอาหารที่ปลอดภัย ได้แก่ การให้ความรู้ในการ ก้าจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (IPM) การลดการใช้สารเคมี และการใช้สาร ก้าจัดศัตรูพืชอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย เป็นต้น 53
  • 54. 3) สินค้าเกษตรอินทรีย์ ด้านทัศนคติ มุมมองและค่านิยม • ไทย มีมุมมองเชิงอนุรักษ์นิยม และแสวงหาการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นใน ด้านคุณภาพชีวิต ระบบเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • ไต้หวัน มีทัศนคติและมุมมองที่แตกต่างไปเป็นระบบเศรษฐกิจการค้า และระบบสุขภาพ ด้านระบบการผลิต • ไทย แบ่งระบบการผลิตเป็น 2 แนวทาง คือ การผลิตที่เป็นวิถีชีวิตตาม แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการผลิตในระบบเศรษฐกิจ การค้า • ไต้หวัน เป็นระบบการผลิตขนาดเล็กแบบครัวเรือน ยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก เนื่องจากยังขาดแรงจูงใจให้เกิดการปรับเปลี่ยน 54
  • 55. ด้านระบบการตลาด • ไทย มีระบบการตลาดที่หลากหลายช่องทาง ทั้งตลาดในประเทศและตลาด ส่งออกต่างประเทศ • ไต้หวัน เป็นระบบการตลาดที่มีช่องทางการกระจายสินค้าหลักผ่านทางร้าน ขายปลีกจ้าเพาะทาง และคนไต้หวันมีความนิยมบริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ ที่น้าเข้าจากต่างประเทศ ด้านระบบมาตรฐาน • ไต้หวัน มีหลายองค์กรรับรองมาตรฐานท้าให้ผู้บริโภคสับสน • ไทย มีองค์กรรับรองมาตรฐานชัดเจนได้มาตรฐานสากล ด้านนโยบายภาครัฐ • ไทย มียุทธศาสตร์สนับสนุนการผลิตเกษตรอินทรีย์ • ไต้หวัน มีนโยบายเพิ่มพื้นที่การผลิต แต่ก็ยังมีปัญหาด้านแรงงานเกษตรที่ ต้องแก้ไข ยังไม่ชัดเจนเรื่องยุทธศาสตร์ 55
  • 56. 4) มิติเกษตรกร (1) วิธีคิดของเกษตรกรที่ต่างกัน • ไต้หวันเน้นคุณภาพผลผลิต ขณะที่ไทยเน้นปริมาณไม่เน้นคุณภาพเท่าที่ควร และบุกรุกพื้นทีปุาเพิ่มขึ้น • ไต้หวันมองการท้าการเกษตรแบบธุรกิจและสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐาน ส่วนไทยมองเกษตรเพื่อความอยู่รอด การให้ความช่วยเหลือแบบสังคม สงเคราะห์ ท้าให้เกษตรกรไม่เข้มแข็ง (2) เกษตรกรมีหลักประกันที่แตกต่างกัน • เกษตรกรไต้หวันได้รับการส่งเสริมการวางแผนรายได้และระบบประกัน มี การวางแผนเพื่อส่งเสริมรายได้และบริหารจัดการความเสี่ยงของเกษตรกร โดยคณะกรรมการเกษตรจะก้าหนดผลผลิตทางการเกษตรหรือวางแผน สนับสนุนทางการเกษตรเพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดภัยธรรมชาติให้แก่ เกษตรกร • ขณะที่เกษตรกรไทย มีรายได้ต่้าและฐานะยากจน มีปัญหา เช่น เกษตรกร จ้านวนมากไม่มีที่ดินท้ากินเป็นของตนเอง ขาดแคลนน้้าทั้งในแหล่งน้้า ธรรมชาติหรือจากเขื่อนชลประทาน 56
  • 57. • ปัญหาหนี้สินและการขาดแคลนทุนด้าเนินการ การกู้ยืมสินชื่อนอก ระบบ เป็นต้น (3) เกษตรกรได้รับการส่งเสริมประสิทธิภาพการท้าการเกษตร • ไต้หวัน ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิการท้างานของเกษตรกรโดย ส่งเสริมนโยบายการเช่าที่เกษตรกรรมจากเจ้าของรายเล็กสู่ผู้เช่าราย ใหญ่ และการส่งเสริมเกษตรกรรุ่นใหม่เผื่อผลิตทดแทนการน้าเข้า • ขณะที่ไทยส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาบริหารจัดการการเกษตรแบบ ทันสมัยน้าเทคโนโลยีมาใช้เพิ่มคุณภาพสินค้าเกษตร พัฒนาศักยภาพ ของเกษตรกรและผู้น้าชุมชน เพื่อปรับเปลี่ยนและพัฒนาการประกอบ อาชีพให้พึ่งพาตนเองได้ 57
  • 58. (4) เกษตรกรได้รับการสนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ที่ได้มาตรฐาน • ไต้หวัน สนับสนุนให้เกษตรเป็นกลไกกลางในการบริหารจัดการการผลิต สินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มและได้มาตรฐานเพื่อน้าไปสู่การการสร้าง เสถียรภาพของห่วงโซ่อุปทานให้มากขึ้น และสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกร เป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรที่มีความเชี่ยวชาญ ของภูมิภาค • ไทย ธ.ก.ส.สนับสนุนการเพิ่มมูลค่าผลผลิตทั้งด้านการผลิตและการตลาด ของสินค้าเกษตรหลัก 9 ชนิด ประกอบด้วย ข้าว ข้าวโพด ยางพารา มัน ส้าปะหลัง อ้อย ปาล์มน้้ามัน ล้าไย กาแฟ และโคเนื้อ โดยสนับสนุนสินเชื่อ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Value Chain Financing) เพื่อให้องค์กรของ เกษตรกร เช่น สหกรณ์ หรือ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส. สามารถด้าเนินธุรกิจได้อย่างครบวงจร รวมทั้งจัดท้า E-marketing เพื่อ เสริมสร้างให้สหกรณ์การเกษตรเข้มแข็งและท้าหน้าที่เป็นตลาดให้ เกษตรกร 58
  • 59. (5) การเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากรภาคเกษตรและพัฒนาการผลิตสินค้า มูลค่าสูง • ไต้หวัน ปรับโครงสร้างภาคเกษตรกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกร เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของเกษตรกร โดยจัดตั้งระบบการเกษียณอายุ และจัดท้าแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตส้าหรับเกษตรกรที่เกษียณ เพื่อให้ที่ดิน การเกษตรตกสู่เกษตรกรรุ่นต่อไป สนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่สามารถ เช่าที่ดินท้ากินได้จากเกษตรกรที่ไม่สามารถหรือไม่ต้องการท้าเกษตรกรรมต่อ จัดตั้งวิทยาลัยเกษตรกรและศูนย์ให้ค้าปรึกษาโดยการสนับสนุนของ ภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษา • ไทย การส่งเสริมให้มีการจัดท้าเกษตรแผนใหม่ ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของเกษตรกร กระทบต่อฐานการเกษตรแบบยังชีพ วิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น เกษตรกรไทยยังไม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ เท่าที่ควร 59
  • 60. 6.ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติที่ดีของ ไต้หวันส้าหรับการพัฒนาการเกษตรของไทย -5 ด้าน 6.1 การปรับโครงสร้างการเกษตร • ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรที่ใช้การตลาดเป็นตัวน้าการผลิต และ การก้าหนดเขตเกษตรกรรมที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ (Zoning) โดยเฉพาะการผลิตพืชเศรษฐกิจ ประมง และปศุสัตว์ที่ส้าคัญของประเทศ เพื่อสร้างเสถียรภาพด้านราคาสินค้าเกษตรและลดปัญหาสินค้าเกษตรล้น ตลาดอย่างยั่งยืนและควรมุ่งปรับปรุงการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นตาม หลักวิชาการ • ปฏิรูปที่ดินเพื่อให้เกษตรกรยากจนสามารถเข้าถึงทรัพยากรที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมอย่างเท่าเทียมกัน ตลอดทั้งจัดระบบการเช่าที่ดินเพื่อการท้านา และการประกอบอาชีพเกษตรกรรมอื่นๆ ให้มีความเป็นธรรม เพื่อให้เป็น แหล่งสร้างงานและสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรของประเทศอย่างยั่งยืน 60
  • 61. • บริหารจัดการน้้าเพื่อให้มีการจัดสรรน้้าอย่างสมดุล โดยบูรณาการ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการจัดการน้้า ทั้งน้้าส้าหรับการบริโภค อุปโภค น้้าเพื่ออุตสาหกรรม น้้าเพื่อเกษตรกรรม และน้้าเพื่อดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม ตลอดทั้งก้าหนดมาตรการส่งเสริมการใช้น้้าอย่างคุ้มค่าในทุก ภาคส่วนของสังคมไทย พัฒนาแหล่งน้้าเพื่อการเกษตรให้กระจายทั่ว ประเทศ รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีทางการชลประทานเพื่อการเกษตรที่ช่วย ประหยัดน้้าอย่างมีประสิทธิภาพส้าหรับฟาร์มทุกขนาด 6.2 การพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนา • ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายด้านการวิจัยและพัฒนา โดยสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างสถาบันการวิจัยและสถาบันการศึกษากับผู้ประกอบการและเกษตรกร เพื่อน้าผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางปฏิบัติ ท้าให้สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มและ เพิ่มผลิตภาพให้มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง 61
  • 62. • ขยายความร่วมมือทางวิชาการเกษตรระหว่างประเทศไทยกับประเทศไต้หวัน โดย การแลกเปลี่ยนงานวิจัยและนักวิจัย การแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร การประยุกต์ใช้งานวิจัยทางการเกษตรในเชิงพาณิชย์ และการปรับปรุงพันธุ์พืช และพันธุ์สัตว์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาวะโลกร้อน 6.3 การพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตร • พัฒนาข้อมูลการเกษตรและระบบเตือนภัยล่วงหน้า โดยพัฒนาเทคโนโลยีด้าน ดาวเทียมมาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบและเตือนภัยด้านภัยธรรมชาติล่วงหน้า เพื่อให้สามารถวางแผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดความเสียหายที่จะ เกิดขึ้น • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการผลิตทางการเกษตรส้าหรับฟาร์มทุกขนาด และลด การใช้สารเคมีทางการเกษตรในกระบวนการผลิต เพื่อยกระดับสู่การเกษตร ปลอดภัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตลอดห่วงโซ่การผลิตหรือห่วงโซ่คุณค่า โดยมี เปูาหมายคือ การให้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตอาหารปลอดภัยของภูมิภาค เอเชียและของโลก รวมทั้งการพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรให้เข้มแข็ง เพื่อ สร้างอ้านาจในการต่อรองทางการตลาด • 62
  • 63. 6.4 การสร้างมูลค่าเพิ่มทางการเกษตร • เสริมสร้างการแปรรูปและการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลผลิตทางการเกษตร ที่มี ความหลากหลายและผลักดันให้มีการสร้างตราสินค้า (Brand) ของผลิตภัณฑ์ที่ เป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indication: GI) เพื่อสร้างการ ยอมรับจากผู้บริโภคอย่างกว้างขวาง ตลอดทั้งการแสวงหาตลาดส่งออก ต่างประเทศที่หลากหลายมากขึ้น • ส่งเสริมให้ภาคเกษตรเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยการเชื่อมโยงการ พัฒนาไปสู่ภาคการผลิตและบริการที่เกี่ยวข้อง เช่น การพัฒนาอุตสาหกรรม ชนบท การสนับสนุนให้ชุมชนเป็นฐานการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร การ เป็นแหล่งสันทนาการและพักผ่อน เป็นต้น • ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งขยายช่องทางทางการตลาดส้าหรับ สินค้าเกษตรอินทรีย์ ทั้งภายในประเทศและตลาดต่างประเทศให้หลากหลายและ เข้าถึงได้ง่ายมากขึ้น 63
  • 64. 6.5 การพัฒนาศักยภาพเกษตรกร • ยกระดับฝีมือแรงงานภาคการเกษตรในพื้นที่ให้มีความความช้านาญ ควบคู่ กับการผลิต การแปรรูป การคมนาคมขนส่ง การเก็บรักษา การส่งออก และการ จ้าหน่าย • จัดท้ามาตรการสนับสนุนการสานต่ออาชีพเกษตรกรรมให้แก่เยาวชนรุ่นใหม่ ได้แก่ การให้ความรู้ทางวิชาการเกษตร การจัดหาที่ดินเพื่อการเกษตร เทคโนโลยีทางการเกษตร และเงินทุนในการประกอบกิจการเกษตร เป็นต้น เพื่อน้าไปสู่การเป็นเกษตรกรสมัยใหม่และทันสมัย (Smart Farmers) และ ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทางการเกษตรโดยเน้นการปฏิบัติจริง ตลอดทั้งการ ส่งเสริมให้ภาคเกษตรเป็นแหล่งสร้างงานให้แก่เกษตรกรและเยาวชนรุ่นใหม่ เพื่อไม่ให้ประชาชนต้องละทิ้งถิ่นฐานเพื่อไปหางานท้าในเมืองใหญ่ 64