SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 13
การศึกษาเรื่อง สังคมไทยจะเป็นอย่างไร เมื่อ พรบ. นิรโทษกรรม มีผลบังคับใช้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการ 
ดาเนินงาน ดังนี้เพื่อการศึกษาความหมาย ของ พรบ. นิรโทษกรรม และศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดขึน้ต่อ 
ประเทศไทย เมื่อมีการร่าง พรบ. นิรโทษกรรมขึน้มาใช้จริง เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน 
ประเทศไทยและประชาชนสามารถนาแนวทางแก้ไขปัญหาไปใช้ในสถานการณ์ความขัดแย้งได้จริง โดย 
ในการศึกษาเรื่องราวมีวิธีการดาเนินงานโดยเริ่มจาก การศึกษาค้นคว้าข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 
ได้แก่อินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์และจากสื่อโทรทัศน์เพื่อติดตามข่าวสารและทราบถึงข้อมูลในด้าน ผลดี 
– ผลเสียของการร่างพรบ.นิรโทษกรรม และนามาวิเคราะห์ความเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลเพื่อหา 
ข้อสรุปของรายงาน ว่าใครได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ ในอดีตประเทศไทยเคยออกกฎหมายนิรโทษ 
กรรมมาแล้วถึง 23 ครัง้นับตัง้แต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมอื่วันที่ 
24 มิ.ย.2475 เช่น พระราชกาหนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินพ.ศ.2475 
ประกาศโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อให้การกระทาทัง้หลายของคณะราษฎรในการ 
เปลี่ยนแปลงการปกครองไม่ให้เป็นการละเมิดบทกฎหมาย แต่ปัจจุบันเป็นการนิรโทษกรรมที่เป็น 
ประโยชน์ต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเห็นได้ชัด เช่น การนิรโทษกรรมคนที่กระทาความผิดร้ายแรง ไม่ว่าจะ 
เป็นต่อสังคมหรือต่อประเทศชาติให้หลุดพ้นจากความผิดนัน้ซงึ่เป็นการกระทา ที่ไม่เป็นธรรม จึงหา 
ข้อสรุปได้ว่า การร่าง พรบ.นิรโทษกรรมนีเ้ป็นผลทาให้เกิดความเสียหาย ภาพลักษณ์และระบบ 
เศรษฐกิจของประเทศไทย
ในทุกประเทศไม่ว่าจะเป็น รัฐไหน เมืองไหน ล้วนมีกฎหมายเป็นข้อบังคับ 
ใช้ภายในประเทศซึ่งก็จะมีข้อกฎหมายแตกต่างกันไป แต่ที่เหมือนกันคือ 
ทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎหมายด้วยกันทัง้สิน้ เพื่อความสงบเรียบร้อยของ 
สังคม บ้านเมือง และลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมาย ซงึ่ทัง้นีก้็รวมถึง 
ประเทศไทย
การตัง้กฎหมายนิรโทษกรรม ซงึ่ภายในประเทศไทยมีคนอยู่มากกว่า 6 พนัล้าน 
คน ซึ่งต่างคนก็ต่างความคิด จึงเกิดการขัดแย้งกันของฝ่ายที่เห็นด้ายและไม่เห็น 
ด้วย จึงได้เกิดการคัดค้านกฎหมาย พ.ร.บ. นิรโทษกรรมขึน้ ซงึ่จากการศึกษา 
กฎหมายนิรโทษกรรม คือ ในทางกฎหมายจะแบ่งความหมายของ นิรโทษกรรม 
( Amnesty ) ไว้ 2 แบบ คือ 
นิรโทษกรรม ( ตามกฎหมายแพ่ง ) หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดความ 
เสียหายแก่ผู้อื่น ซงึ่กฎหมายบัญญัติว่า ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 
นิรโทษกรรม ( ตามกฎหมายอาญา ) หมายถึง การลบล้างการกระทำ 
ความผิดอาญาที่บุคคลได้กระทำมาแล้ว
ในอดีต ประเทศไทยเคยออกกฎหมายนิรโทษกรรมมาแล้วถึง 23 
ครั้ง นับต้งัแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบ 
ประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยใน 23 ครัง้นี้ 
ออกเป็นพระราชบัญญัติ 19 ฉบับ และพระราชกำหนด 4 ฉบับ ซงึ่มีทัง้ 
การนิรโทษกรรมในความผิดทางก่อกบฏ ก่อรัฐประหาร การชุมนุมทาง 
การเมือง ดังนี้ 
1. พระราชกา หนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครอง 
แผ่นดิน พ.ศ. 2475 ประกาศโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า 
เจ้าอยู่หัว 
2. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในการจัดการให้คณะรัฐมนตรี 
ลาออก เพื่อให้มีการเปิดสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 
2476 ออกโดย พระยาพหลพลพยุหเสนา
3. พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำความผิดฐานกบฏและจลาจล พ.ศ. 
2488 ออกโดย นายควง อภัยวงศ์ เพื่อยกโทษให้กระทำความผิดฐานกบฏและ 
จลาจล 
4. พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำความผิดฐาน 
กบฏและจลาจล พ.ศ. 2488 ออกโดย นายควง อภัยวงศ์ 
5. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการต่อต้านการดำเนินการสงคราม 
ของญี่ปุ่น พ.ศ 2489 
6. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำรัฐประหาร พ.ศ. 2490 
7. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ที่ได้นำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 
พ.ศ. 2475 กลับมาใช้ พ.ศ. 2494
8. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499 
9. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดอำนาจการบริหารราชการ 
แผ่นดินเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 
10. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการปฏิวัติเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 
พ.ศ. 2501 พ.ศ. 2502 
11. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ (ฉบับที่ 2) 
พ.ศ. 2502 ออกโดย จอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ 
12. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการปฏิวัติ เมื่อวันที่ 17 
พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2515 ออกโดย จอมพลถนอม กิตติขจร
13. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ซึ่ง 
กระทำความผิดเกี่ยวเนื่องกับการเดินขบวนเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2516 พ.ศ. 
2616 ออกโดย นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 
14. พระราชบัญญัติยกเลิกคำสงั่ของหัวหน้าคณะปฏิวัติที่ 36/2515 ลงวันที่ 22 
มิถุนายน พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2517 ออกโดย นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 
15. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ 
เมื่อวันที่6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2519 ออกโดย นายธานินทร์กรัยวิเชียร 
16. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการอันเป็นความผิดต่อความ 
มนั่คงของรัฐภายในราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 25 และวันที่ 26 มีนาคม 
พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520 ออกโดย พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 
17. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดอำนาจการปกครอง 
แผ่นดิน เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520 ออกโดย พลเอก เกรียง 
ศักดิ์ ชมะนันทน์
18. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซงึ่กระทำความผิดเนื่องในการชุมนุมใน 
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่างวันที่ 4 ถึงวันที่ 6 ตุลาคม 2519 พ.ศ. 2521 
ออกโดย พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 
19. พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้ก่อความไม่สงบเพื่อยึดอำนาจการ 
ปกครองแผ่นดิน ระหว่างวันที่ 31 มีนาคม ถึงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2524 พ.ศ. 
2524 ออกโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 
20. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ก่อความไม่สงบเพื่อยึดอำนาจการ 
ปกครองแผ่นดิน ระหว่างวันที่ 8 และวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2531 
ออกโดย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ 
21. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการอันเป็นความผิดต่อความมนั่คง 
ของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญาและความผิดตาม 
กฎหมายว่าด้วยการป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2532 ออกโดย 
พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
22. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดและควบคุมอำนาจการ 
ปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 ออกโดย นาย 
อานันท์ ปันยารชุน 
23. พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำความผิดเนื่องในการชุมนุมกัน 
ระหว่างวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ถึงวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พ.ศ. 
2535 ออกโดย พลเอกสุจินดา คราประยูร
ผลของความขัดแย้ง พ.ร.บ. นิรโทษกรรมมีการประเมินในเบือ้งต้นว่า 
หากสถานการณ์ความขัดแย้ง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมยืดเยือ้ บานปลายจะ 
ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจปีหน้า 1-1.5% และน่าจะทำให้ดัชนีตลาด 
หลักทรัพย์ปรับตัวลงจากระดับก่อนเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งไม่ตํ่ากว่า 
10% สิ่งที่น่าห่วงใยมากกว่า คือ ผลที่มีต่อประเทศในระยะยาวทัง้ในเรื่อง 
ความมนั่คงของระบอบประชาธิปไตย เศรษฐกิจและโอกาสทางการลงทุน 
เหตุการณ์ความขัดแย้งรุนแรงต่างๆ ได้เคยเกิดขึน้ในหลายประเทศทวั่โลก 
รวมทัง้ประเทศไทย 
ผู้มีส่วนได้เสียตา่งๆ ในสังคมเพื่อปรับความสัมพันธ์ให้ดีขึน้
1.ต้องแก้ปัญหาโดยยึดหลักการประชาธิปไตยและนึกถึงผลประโยชน์ระยะ 
ยาวของประเทศและประชาชน 
2. ต้องแสวงหาข้อเท็จจริงเมื่อถึงเวลาอันเหมาะสม 
3. เปิดให้มีการเจรจาระหว่างคู่ขัดแย้งที่มีอำนาจตัดสินใจโดยอาจอาศัยฝ่าย 
ที่สามเข้ามาไกล่เกลี่ย (Mediation) 
4. การพูดคุยสานเสวนา (Dialogue) ทัง้ภายในและระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ 
เสียตา่งๆ ในสังคมเพื่อปรับความสัมพันธ์ให้ดีขึน้
5. การสร้างกระบวนการคืนความเป็นธรรมและชดเชยความเสียหาย (กรณี 
สอบสวนข้อเท็จจริงแล้วไม่พบความผิดใดๆ) 
6. การผ่านกฎหมายนิรโทษกรรมคดีการเมืองทัง้หมด ส่วนคดีอาญาและคดี 
ทุจริตคอร์รัปชันต้องเข้าสู่กระบวนพิจารณาในศาลยุติธรรมตามปรกติ

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a งานนำเสนอ1 is

สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองkoorimkhong
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Medical Student, GCM
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
พฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬ พฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬ On-in Goh
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูปTorTor Peerachai
 

Semelhante a งานนำเสนอ1 is (14)

สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Media law/1
Media law/1Media law/1
Media law/1
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
34830816 การสังหารหมู่ที่กรุงเทพฯ
 
Blogger's rights as "citizen media"
Blogger's rights as "citizen media"Blogger's rights as "citizen media"
Blogger's rights as "citizen media"
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)Public health and the constitution (1)
Public health and the constitution (1)
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 
พฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬ พฤษภาทมิฬ
พฤษภาทมิฬ
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูป
 
Laws 100
Laws 100Laws 100
Laws 100
 

งานนำเสนอ1 is

  • 1.
  • 2. การศึกษาเรื่อง สังคมไทยจะเป็นอย่างไร เมื่อ พรบ. นิรโทษกรรม มีผลบังคับใช้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการ ดาเนินงาน ดังนี้เพื่อการศึกษาความหมาย ของ พรบ. นิรโทษกรรม และศึกษาถึงผลกระทบที่เกิดขึน้ต่อ ประเทศไทย เมื่อมีการร่าง พรบ. นิรโทษกรรมขึน้มาใช้จริง เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน ประเทศไทยและประชาชนสามารถนาแนวทางแก้ไขปัญหาไปใช้ในสถานการณ์ความขัดแย้งได้จริง โดย ในการศึกษาเรื่องราวมีวิธีการดาเนินงานโดยเริ่มจาก การศึกษาค้นคว้าข้อมูล จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่อินเตอร์เน็ต หนังสือพิมพ์และจากสื่อโทรทัศน์เพื่อติดตามข่าวสารและทราบถึงข้อมูลในด้าน ผลดี – ผลเสียของการร่างพรบ.นิรโทษกรรม และนามาวิเคราะห์ความเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลเพื่อหา ข้อสรุปของรายงาน ว่าใครได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์ ในอดีตประเทศไทยเคยออกกฎหมายนิรโทษ กรรมมาแล้วถึง 23 ครัง้นับตัง้แต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมอื่วันที่ 24 มิ.ย.2475 เช่น พระราชกาหนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินพ.ศ.2475 ประกาศโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อให้การกระทาทัง้หลายของคณะราษฎรในการ เปลี่ยนแปลงการปกครองไม่ให้เป็นการละเมิดบทกฎหมาย แต่ปัจจุบันเป็นการนิรโทษกรรมที่เป็น ประโยชน์ต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเห็นได้ชัด เช่น การนิรโทษกรรมคนที่กระทาความผิดร้ายแรง ไม่ว่าจะ เป็นต่อสังคมหรือต่อประเทศชาติให้หลุดพ้นจากความผิดนัน้ซงึ่เป็นการกระทา ที่ไม่เป็นธรรม จึงหา ข้อสรุปได้ว่า การร่าง พรบ.นิรโทษกรรมนีเ้ป็นผลทาให้เกิดความเสียหาย ภาพลักษณ์และระบบ เศรษฐกิจของประเทศไทย
  • 3. ในทุกประเทศไม่ว่าจะเป็น รัฐไหน เมืองไหน ล้วนมีกฎหมายเป็นข้อบังคับ ใช้ภายในประเทศซึ่งก็จะมีข้อกฎหมายแตกต่างกันไป แต่ที่เหมือนกันคือ ทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎหมายด้วยกันทัง้สิน้ เพื่อความสงบเรียบร้อยของ สังคม บ้านเมือง และลงโทษผู้กระทาผิดกฎหมาย ซงึ่ทัง้นีก้็รวมถึง ประเทศไทย
  • 4. การตัง้กฎหมายนิรโทษกรรม ซงึ่ภายในประเทศไทยมีคนอยู่มากกว่า 6 พนัล้าน คน ซึ่งต่างคนก็ต่างความคิด จึงเกิดการขัดแย้งกันของฝ่ายที่เห็นด้ายและไม่เห็น ด้วย จึงได้เกิดการคัดค้านกฎหมาย พ.ร.บ. นิรโทษกรรมขึน้ ซงึ่จากการศึกษา กฎหมายนิรโทษกรรม คือ ในทางกฎหมายจะแบ่งความหมายของ นิรโทษกรรม ( Amnesty ) ไว้ 2 แบบ คือ นิรโทษกรรม ( ตามกฎหมายแพ่ง ) หมายถึง การกระทำที่ก่อให้เกิดความ เสียหายแก่ผู้อื่น ซงึ่กฎหมายบัญญัติว่า ไม่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน นิรโทษกรรม ( ตามกฎหมายอาญา ) หมายถึง การลบล้างการกระทำ ความผิดอาญาที่บุคคลได้กระทำมาแล้ว
  • 5. ในอดีต ประเทศไทยเคยออกกฎหมายนิรโทษกรรมมาแล้วถึง 23 ครั้ง นับต้งัแต่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบ ประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยใน 23 ครัง้นี้ ออกเป็นพระราชบัญญัติ 19 ฉบับ และพระราชกำหนด 4 ฉบับ ซงึ่มีทัง้ การนิรโทษกรรมในความผิดทางก่อกบฏ ก่อรัฐประหาร การชุมนุมทาง การเมือง ดังนี้ 1. พระราชกา หนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครอง แผ่นดิน พ.ศ. 2475 ประกาศโดยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว 2. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในการจัดการให้คณะรัฐมนตรี ลาออก เพื่อให้มีการเปิดสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2476 ออกโดย พระยาพหลพลพยุหเสนา
  • 6. 3. พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำความผิดฐานกบฏและจลาจล พ.ศ. 2488 ออกโดย นายควง อภัยวงศ์ เพื่อยกโทษให้กระทำความผิดฐานกบฏและ จลาจล 4. พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำความผิดฐาน กบฏและจลาจล พ.ศ. 2488 ออกโดย นายควง อภัยวงศ์ 5. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการต่อต้านการดำเนินการสงคราม ของญี่ปุ่น พ.ศ 2489 6. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำรัฐประหาร พ.ศ. 2490 7. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ที่ได้นำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475 กลับมาใช้ พ.ศ. 2494
  • 7. 8. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499 9. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดอำนาจการบริหารราชการ แผ่นดินเมื่อวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 10. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการปฏิวัติเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 พ.ศ. 2502 11. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502 ออกโดย จอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์ 12. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการปฏิวัติ เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2515 ออกโดย จอมพลถนอม กิตติขจร
  • 8. 13. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ซึ่ง กระทำความผิดเกี่ยวเนื่องกับการเดินขบวนเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2616 ออกโดย นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 14. พระราชบัญญัติยกเลิกคำสงั่ของหัวหน้าคณะปฏิวัติที่ 36/2515 ลงวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2517 ออกโดย นายสัญญา ธรรมศักดิ์ 15. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดอำนาจการปกครองประเทศ เมื่อวันที่6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2519 ออกโดย นายธานินทร์กรัยวิเชียร 16. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการอันเป็นความผิดต่อความ มนั่คงของรัฐภายในราชอาณาจักร ระหว่างวันที่ 25 และวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520 ออกโดย พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 17. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดอำนาจการปกครอง แผ่นดิน เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520 ออกโดย พลเอก เกรียง ศักดิ์ ชมะนันทน์
  • 9. 18. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซงึ่กระทำความผิดเนื่องในการชุมนุมใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่างวันที่ 4 ถึงวันที่ 6 ตุลาคม 2519 พ.ศ. 2521 ออกโดย พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ 19. พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้ก่อความไม่สงบเพื่อยึดอำนาจการ ปกครองแผ่นดิน ระหว่างวันที่ 31 มีนาคม ถึงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2524 ออกโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ 20. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ก่อความไม่สงบเพื่อยึดอำนาจการ ปกครองแผ่นดิน ระหว่างวันที่ 8 และวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2531 ออกโดย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ 21. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการอันเป็นความผิดต่อความมนั่คง ของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญาและความผิดตาม กฎหมายว่าด้วยการป้องกันการกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2532 ออกโดย พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ
  • 10. 22. พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการยึดและควบคุมอำนาจการ ปกครองแผ่นดิน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534 ออกโดย นาย อานันท์ ปันยารชุน 23. พระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำความผิดเนื่องในการชุมนุมกัน ระหว่างวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ถึงวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2535 ออกโดย พลเอกสุจินดา คราประยูร
  • 11. ผลของความขัดแย้ง พ.ร.บ. นิรโทษกรรมมีการประเมินในเบือ้งต้นว่า หากสถานการณ์ความขัดแย้ง พ.ร.บ.นิรโทษกรรมยืดเยือ้ บานปลายจะ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจปีหน้า 1-1.5% และน่าจะทำให้ดัชนีตลาด หลักทรัพย์ปรับตัวลงจากระดับก่อนเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งไม่ตํ่ากว่า 10% สิ่งที่น่าห่วงใยมากกว่า คือ ผลที่มีต่อประเทศในระยะยาวทัง้ในเรื่อง ความมนั่คงของระบอบประชาธิปไตย เศรษฐกิจและโอกาสทางการลงทุน เหตุการณ์ความขัดแย้งรุนแรงต่างๆ ได้เคยเกิดขึน้ในหลายประเทศทวั่โลก รวมทัง้ประเทศไทย ผู้มีส่วนได้เสียตา่งๆ ในสังคมเพื่อปรับความสัมพันธ์ให้ดีขึน้
  • 12. 1.ต้องแก้ปัญหาโดยยึดหลักการประชาธิปไตยและนึกถึงผลประโยชน์ระยะ ยาวของประเทศและประชาชน 2. ต้องแสวงหาข้อเท็จจริงเมื่อถึงเวลาอันเหมาะสม 3. เปิดให้มีการเจรจาระหว่างคู่ขัดแย้งที่มีอำนาจตัดสินใจโดยอาจอาศัยฝ่าย ที่สามเข้ามาไกล่เกลี่ย (Mediation) 4. การพูดคุยสานเสวนา (Dialogue) ทัง้ภายในและระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ เสียตา่งๆ ในสังคมเพื่อปรับความสัมพันธ์ให้ดีขึน้
  • 13. 5. การสร้างกระบวนการคืนความเป็นธรรมและชดเชยความเสียหาย (กรณี สอบสวนข้อเท็จจริงแล้วไม่พบความผิดใดๆ) 6. การผ่านกฎหมายนิรโทษกรรมคดีการเมืองทัง้หมด ส่วนคดีอาญาและคดี ทุจริตคอร์รัปชันต้องเข้าสู่กระบวนพิจารณาในศาลยุติธรรมตามปรกติ