SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่ 1
• เรียกกันว่า “วิกฤตการณ์แทนเจียร์”
• มีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางการเมือง
ระหว่างฝรั่งเศสกับเยอรมนีในโมร็อกโก
• จักรพรรดิวิลเลียมที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน
ทรงประกาศว่า เยอรมนีจะปกป้องอานาจ
อธิปไตยของโมร็อกโก คาประกาศของ
พระองค์นาไปสู่วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่ 1
• วิกฤตการณ์สิ้นสุดลง หลังการลงนามร่วมกัน
ในความตกลงบัญญัติแห่งอัลเคซีราส
จักรพรรดิวิลเลียมที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน
วิกฤตการณ์ทางการเมือง
วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่ 2
• เรียกกันว่า “วิกฤตการณ์อากาดีร์”
• เกิดจากการเคลื่อนไหวล้มล้างอานาจสุลต่าน
ฝรั่งเศสส่งกองกาลังเข้าไปควบคุม
สถานการณ์ แต่เยอรมนีต่อต้านการ
แทรกแซงของฝรั่งเศส และส่งเรือรบเข้าไป
ยังเมืองอากาดีร์
• อังกฤษซึ่งเป็นพันธมิตรของฝรั่งเศสเตรียม
กาลังทางทะเล เพราะเข้าใจว่าเยอรมนีอาจใช้
อากาดีร์เป็นฐานทัพเรือโจมตีอังกฤษ
• เยอรมนียังไม่พร้อมจะทาสงคราม จึงขอ
เจรจากับฝรั่งเศส โดยยอมรับรองให้
โมร็อกโกเป็นรัฐใต้อารักขาของฝรั่งเศส
เหตุการณ์จึงยุติลง
ภาพการ์ตูน “กาปั้นเหล็กของจักรพรรดิแห่งเยอรมนี
ทุบเมืองท่าอาการดีร์” แสดงถึงการต่อต้านฝรั่งเศส
ของเยอรมนี ในวิกฤตการณ์อากาดีร์ครั้งที่ 2
วิกฤตการณ์บอสเนีย
• เป็นผลสืบเนื่องมาจากออสเตรีย-ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
• รัสเซียและเซอร์เบียต่อต้านการยึดครองดังกล่าวโดยเซอร์เบียเรียกร้องให้ออสเตรีย-ฮังการี
คืนบอสเนียแก่เซอร์เบีย
• เยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย-ฮังการี และพร้อมใช้กาลังทหารตัดสินหากเซอร์เบียยังคงยืนยัน
ให้คืนดินแดน
• รัสเซียสนับสนุนเซอร์เบียแต่ไม่พร้อมจะก่อสงครามจึงเจรจาลับกับเยอรมนี
• รัสเซียยอมรับการผนวกบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และออสเตรีย-ฮังการี ต้องยอมให้รัสเซีย
ใช้น่านน้าในช่องแคบบอสฟอรัส ดาร์ดะเนลล์
• ข้อตกลงดังกล่าวทาให้วิกฤตการณ์บอสเนียยุติลง โดยปราศจากสงคราม
วิกฤตการณ์สงครามบอลข่าน
• สงครามบอลข่านครั้งที่ 1 เกิดจากการที่
สันนิบาตบอลข่าน มุ่งยึดครองแคว้นมาซิโดเนีย
แคว้นคอโซโว และเกาะครีตจากตุรกี
• ตุรกีเป็นฝ่ายแพ้และต้องสูญเสียดินแดน
ในคาบสมุทรบอลข่านเกือบทั้งหมดให้แก่
สันนิบาตบอลข่าน
• สงครามบอลข่านครั้งที่2 เกิดจากการที่บัลแกเรีย
ไม่พอใจที่เซอร์เบียและกรีซได้ครอบครอง
ดินแดนในมาซิโดเนียมากกว่าตนจึงประกาศ
สงคราม
• บัลแกเรียเป็นฝ่ายแพ้ทาให้สูญเสียอิทธิพลใน
คาบสมุทรบอลข่าน
• เซอร์เบียกลายเป็นมหาอานาจสาคัญของภูมิภาค
แผนที่แสดงที่ตั้งประเทศในคาบสมุทรบอลข่าน
ค.ศ. 1914
สงครามโลกครั้งที่ 1
• เกิดจากการลอบปลงพระชนม์อาร์ชดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดินานด์มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี
และพระชายาขณะเสด็จประพาสกรุงซาราเยโว
• ออสเตรีย-ฮังการีเรียกร้องให้เซอร์เบียส่งบุคคลที่ก่อการมาลงโทษ และให้ออสเตรียมีสิทธิเข้าไต่สวน
• เซอร์เบียขอความช่วยเหลือจากรัสเซีย เพราะไม่สามารถทาตามข้อเรียกร้องได้ทั้งหมด
ทาให้ออสเตรีย-ฮังการีประกาศสงครามกับเซอร์เบีย ซึ่งทาให้เยอรมนีต้องประกาศสงครามกับรัสเซีย
และฝรั่งเศส
• อังกฤษซึ่งเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสและรัสเซียจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี
• สงครามขยายตัวเป็นสงครามระหว่างประเทศในภาคพื้นทวีปยุโรปขึ้น และกลายเป็นมหา
สงคราม ที่นาประเทศต่างๆ กว่า 30 ประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง สงครามในยุโรปจึงกลายเป็น
สงครามโลกในที่สุด
• สงครามโลกนาไปสู่การปฏิวัติรัสเซีย
• เป็นสงครามเบ็ดเสร็จเพราะมีการทาลายล้างกันในทุกด้านทุกรูปแบบนาไปสู่การเริ่มต้นสมัย
แห่งความรุนแรงที่มีผลต่อโลกและประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
• สงครามโลกครั้งที่ 1 นาไปสู่การจัดตั้ง “สันนิบาต
ชาติ” เพื่อแก้ไขข้อพิพาทและความขัดแย้ง เพื่อ
ป้องกันไม่ให้เกิดสงครามและธารงรักษา
สันติภาพ
• ทาให้เกิดประเทศใหม่ในยุโรปตะวันออกหลาย
ประเทศ เช่น เชโกสโลวะกีย โปแลนด์ ฮังการี
การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย
ถือเป็นการสิ้นสุดสงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 2
• เกิดจากการบุกโปแลนด์ของเยอรมนี ทาให้อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามกับเยอรมนี
• ในช่วงระหว่าง ค.ศ. 1939 - 1940 เยอรมนียึดครองยุโรปได้เกือบหมด ยกเว้นอังกฤษ
• เยอรมนีบุกสหภาพโซเวียต ทาให้อังกฤษสนับสนุนสหภาพโซเวียต นาไปสู่ความร่วมมือของ
ประเทศประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ตลอดช่วงสงคราม
• เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ทาให้สหรัฐอเมริกาเข้าสู่สงคราม ส่งผลให้สงครามขยายตัวจาก
ยุโรปไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกและตะวันออกไกล
• พันธมิตรผนึกกาลังกันเพื่อเอาชนะเยอรมนี นาไปสู่การยกพลขึ้นบกในวันดี-เดย์
• เยอรมนีเริ่มพ่ายแพ้และต่อมาก็ยอมยุติสงคราม สงครามในยุโรปจึงสิ้นสุดลง
• สาหรับเอเชีย สงครามยังดาเนินต่อไป และสิ้นสุดลงหลังจากสหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณู
ที่เมืองฮิโระชิมะและนะงะซะกิ
• การใช้ระเบิดปรมาณูของสหรัฐอเมริกาทาให้ยุโรปและโลกหวาดผวาไปตลอดศตวรรษที่ 20
• การใช้อาวุธนิวเคลียร์นาไปสู่การเกิดยุคปรมาณูขึ้น
การทิ้งระเบิดปรมาณูของสหรัฐอเมริกาที่เมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ
ประธานาธิบดีเฮนรี เอสทรูแมนของสหรัฐอเมริกา
ลงนามในแผนการมาร์แชล ในการช่วยฟื้นฟูบูรณะ
ประเทศในยุโรปตะวันตก
สงครามเย็น
• เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการหลังการประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกา
• ทาให้ยุโรปถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ยุโรปตะวันตก และยุโรปตะวันออก
• การเมืองโลกอยู่ในภาวะตึงเครียด และถูกแบ่งเป็นระบบสองขั้วอานาจ
• สงครามเย็นเกิดขึ้นในยุโรปก่อน และต่อมาขยายขอบเขตไปทั่วโลก
• การขยายอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต มีส่วนนาไปสู่วิกฤตการณ์ทาง
การเมืองหลายครั้ง เช่น การปิดกั้นเบอร์ลินสงครามเกาหลี การสร้างกาแพงเบอร์ลิน
วิกฤตการณ์ขีปนาวุธที่คิวบาเป็นต้น
กาแพงเบอร์ลิน สัญลักษณ์ความขัดแย้งในสงครามเย็น
• กลางทศวรรษ 1970 เกิดการผ่อนคลายความตึงเครียด นาไปสู่การประชุมเพื่อความมั่นคง
และร่วมมือกันในยุโรป
• การบุกอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1979 ทาให้สงครามเย็นก่อตัวขึ้นอีกครั้ง
กองกาลังของสหภาพโซเวียตในอัฟกานิสถาน
การสิ้นสุดของสงครามเย็น
• มีฮาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นดารงตาแหน่งผู้นาประเทศของสหภาพโซเวียต ได้ปรับนโยบาย
ต่างประเทศใหม่ ทาให้เกิดบรรยากาศการผ่อนคลายความตึงเครียดทางการเมืองโลก
• นโยบายของกอร์บาชอฟนาไปสู่การเจรจาสุดยอดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต
หลายครั้งระหว่าง ค.ศ. 1985-1989
• การเคลื่อนไหวประชาธิปไตยในยุโรปตะวันออกทาให้ระบอบคอมมิวนิสต์พังทลายใน ค.ศ.
1989 กาแพงเบอร์ลินสัญลักษณ์ของสงครามเย็นถูกทุบทิ้ง ต่อมา ค.ศ. 1991 สหภาพโซเวียต
ล่มสลาย สงครามเย็นจึงสิ้นสุดอย่างเป็นทางการ
ประธานาธิบดีจอร์จ บุช และประธานาธิบดี กอร์บาชอฟ
ร่วมรับประทานอาหารระหว่างการประชุมที่มอลตา
• การจัดตั้งเครือรัฐเอกราช มีส่วนสาคัญทาให้สหภาพโซเวียตล่มสลายในค.ศ. 1991
• หลังสงครามเย็นสหรัฐอเมริกากลายเป็นประเทศอภิมหาอานาจเดียวแต่ไม่สามารถผูกขาด
อานาจไว้เพียงลาพัง จาเป็นต้องพึ่งพาประเทศมหาอานาจอื่นๆ
การลงนามก่อตั้งเครือรัฐเอกราชของอดีต
สาธารณรัฐโซเวียตต่างๆ 11 รัฐ
• ผลจากเหตุการณ์ 9/11 ทาให้ทุกประเทศตระหนักถึงปัญหาก่อการร้ายข้ามชาติ
• สหรัฐอเมริกาประกาศแข็งกร้าวที่จะทาสงครามต่อต้านการก่อการร้าย โดยเฉพาะ
ขบวนการอัลเคดา
• โดยกล่าวอ้างว่าประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน ผู้นาอิรักให้การช่วยเหลือและครอบครอง
อาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูงไว้
• สหรัฐอเมริกาจึงจาเป็นต้องใช้กาลังทหารกับอิรัก เพื่อทาลายระบอบการปกครองของ
ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน
สงครามอิรัก
การตรวจสอบอาวุธชีวภาพในประเทศอิรักของ
ตัวแทนองค์การสหประชาชาติ
ทหารอเมริกันในสงครามอิรัก
• นโยบายแข็งกร้าวของสหรัฐอเมริกาได้สร้างบรรยากาศความขัดแย้งและตึงเครียด
ระหว่างประเทศ
• สหรัฐอเมริกาตัดสินใจโจมตีอิรักโดยไม่รอฉันทานุมัติจากคณะมนตรีความมั่นคง
แห่งสหประชาชาติ และการคัดค้านของนานาประเทศ
• สงครามอิรัก นามาซึ่งความขัดแย้งระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น และสิ้นสุดลงภายใน
ระยะเวลาอันสั้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 

Mais procurados (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 

Mais de Kittayaporn Changpan

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนKittayaporn Changpan
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์Kittayaporn Changpan
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copyKittayaporn Changpan
 
365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลก365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลกKittayaporn Changpan
 
อัตลักษณ์คนไทย
อัตลักษณ์คนไทยอัตลักษณ์คนไทย
อัตลักษณ์คนไทยKittayaporn Changpan
 
ความหลากหลายของประชากรโลก
ความหลากหลายของประชากรโลกความหลากหลายของประชากรโลก
ความหลากหลายของประชากรโลกKittayaporn Changpan
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้Kittayaporn Changpan
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอKittayaporn Changpan
 
มิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษามิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษาKittayaporn Changpan
 

Mais de Kittayaporn Changpan (18)

ประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีนประวัติศาสตร์จีน
ประวัติศาสตร์จีน
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
1.12 สังคมไทย copy
1.12 สังคมไทย   copy1.12 สังคมไทย   copy
1.12 สังคมไทย copy
 
1.12 สังคมไทย
1.12 สังคมไทย1.12 สังคมไทย
1.12 สังคมไทย
 
365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลก365 วันฉันรักโลก
365 วันฉันรักโลก
 
สิทธฺ 1
สิทธฺ 1สิทธฺ 1
สิทธฺ 1
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
อัตลักษณ์คนไทย
อัตลักษณ์คนไทยอัตลักษณ์คนไทย
อัตลักษณ์คนไทย
 
ความหลากหลายของประชากรโลก
ความหลากหลายของประชากรโลกความหลากหลายของประชากรโลก
ความหลากหลายของประชากรโลก
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอ
 
พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1
 
มิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษามิติของโลกศึกษา
มิติของโลกศึกษา
 
พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1พลเมืองโลก1
พลเมืองโลก1
 
พลเมืองโลก
พลเมืองโลกพลเมืองโลก
พลเมืองโลก
 
world's citizens
world's citizensworld's citizens
world's citizens
 

สงครามโลก

  • 1.
  • 2. วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่ 1 • เรียกกันว่า “วิกฤตการณ์แทนเจียร์” • มีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ระหว่างฝรั่งเศสกับเยอรมนีในโมร็อกโก • จักรพรรดิวิลเลียมที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน ทรงประกาศว่า เยอรมนีจะปกป้องอานาจ อธิปไตยของโมร็อกโก คาประกาศของ พระองค์นาไปสู่วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่ 1 • วิกฤตการณ์สิ้นสุดลง หลังการลงนามร่วมกัน ในความตกลงบัญญัติแห่งอัลเคซีราส จักรพรรดิวิลเลียมที่ 2 แห่งจักรวรรดิเยอรมัน วิกฤตการณ์ทางการเมือง
  • 3. วิกฤตการณ์โมร็อกโกครั้งที่ 2 • เรียกกันว่า “วิกฤตการณ์อากาดีร์” • เกิดจากการเคลื่อนไหวล้มล้างอานาจสุลต่าน ฝรั่งเศสส่งกองกาลังเข้าไปควบคุม สถานการณ์ แต่เยอรมนีต่อต้านการ แทรกแซงของฝรั่งเศส และส่งเรือรบเข้าไป ยังเมืองอากาดีร์ • อังกฤษซึ่งเป็นพันธมิตรของฝรั่งเศสเตรียม กาลังทางทะเล เพราะเข้าใจว่าเยอรมนีอาจใช้ อากาดีร์เป็นฐานทัพเรือโจมตีอังกฤษ • เยอรมนียังไม่พร้อมจะทาสงคราม จึงขอ เจรจากับฝรั่งเศส โดยยอมรับรองให้ โมร็อกโกเป็นรัฐใต้อารักขาของฝรั่งเศส เหตุการณ์จึงยุติลง ภาพการ์ตูน “กาปั้นเหล็กของจักรพรรดิแห่งเยอรมนี ทุบเมืองท่าอาการดีร์” แสดงถึงการต่อต้านฝรั่งเศส ของเยอรมนี ในวิกฤตการณ์อากาดีร์ครั้งที่ 2
  • 4. วิกฤตการณ์บอสเนีย • เป็นผลสืบเนื่องมาจากออสเตรีย-ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา • รัสเซียและเซอร์เบียต่อต้านการยึดครองดังกล่าวโดยเซอร์เบียเรียกร้องให้ออสเตรีย-ฮังการี คืนบอสเนียแก่เซอร์เบีย • เยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย-ฮังการี และพร้อมใช้กาลังทหารตัดสินหากเซอร์เบียยังคงยืนยัน ให้คืนดินแดน • รัสเซียสนับสนุนเซอร์เบียแต่ไม่พร้อมจะก่อสงครามจึงเจรจาลับกับเยอรมนี • รัสเซียยอมรับการผนวกบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา และออสเตรีย-ฮังการี ต้องยอมให้รัสเซีย ใช้น่านน้าในช่องแคบบอสฟอรัส ดาร์ดะเนลล์ • ข้อตกลงดังกล่าวทาให้วิกฤตการณ์บอสเนียยุติลง โดยปราศจากสงคราม
  • 5. วิกฤตการณ์สงครามบอลข่าน • สงครามบอลข่านครั้งที่ 1 เกิดจากการที่ สันนิบาตบอลข่าน มุ่งยึดครองแคว้นมาซิโดเนีย แคว้นคอโซโว และเกาะครีตจากตุรกี • ตุรกีเป็นฝ่ายแพ้และต้องสูญเสียดินแดน ในคาบสมุทรบอลข่านเกือบทั้งหมดให้แก่ สันนิบาตบอลข่าน • สงครามบอลข่านครั้งที่2 เกิดจากการที่บัลแกเรีย ไม่พอใจที่เซอร์เบียและกรีซได้ครอบครอง ดินแดนในมาซิโดเนียมากกว่าตนจึงประกาศ สงคราม • บัลแกเรียเป็นฝ่ายแพ้ทาให้สูญเสียอิทธิพลใน คาบสมุทรบอลข่าน • เซอร์เบียกลายเป็นมหาอานาจสาคัญของภูมิภาค แผนที่แสดงที่ตั้งประเทศในคาบสมุทรบอลข่าน ค.ศ. 1914
  • 6. สงครามโลกครั้งที่ 1 • เกิดจากการลอบปลงพระชนม์อาร์ชดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดินานด์มกุฎราชกุมารแห่งออสเตรีย-ฮังการี และพระชายาขณะเสด็จประพาสกรุงซาราเยโว • ออสเตรีย-ฮังการีเรียกร้องให้เซอร์เบียส่งบุคคลที่ก่อการมาลงโทษ และให้ออสเตรียมีสิทธิเข้าไต่สวน • เซอร์เบียขอความช่วยเหลือจากรัสเซีย เพราะไม่สามารถทาตามข้อเรียกร้องได้ทั้งหมด ทาให้ออสเตรีย-ฮังการีประกาศสงครามกับเซอร์เบีย ซึ่งทาให้เยอรมนีต้องประกาศสงครามกับรัสเซีย และฝรั่งเศส
  • 7. • อังกฤษซึ่งเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสและรัสเซียจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี • สงครามขยายตัวเป็นสงครามระหว่างประเทศในภาคพื้นทวีปยุโรปขึ้น และกลายเป็นมหา สงคราม ที่นาประเทศต่างๆ กว่า 30 ประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง สงครามในยุโรปจึงกลายเป็น สงครามโลกในที่สุด • สงครามโลกนาไปสู่การปฏิวัติรัสเซีย • เป็นสงครามเบ็ดเสร็จเพราะมีการทาลายล้างกันในทุกด้านทุกรูปแบบนาไปสู่การเริ่มต้นสมัย แห่งความรุนแรงที่มีผลต่อโลกและประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ
  • 8. • สงครามโลกครั้งที่ 1 นาไปสู่การจัดตั้ง “สันนิบาต ชาติ” เพื่อแก้ไขข้อพิพาทและความขัดแย้ง เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดสงครามและธารงรักษา สันติภาพ • ทาให้เกิดประเทศใหม่ในยุโรปตะวันออกหลาย ประเทศ เช่น เชโกสโลวะกีย โปแลนด์ ฮังการี การลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซาย ถือเป็นการสิ้นสุดสงคราม
  • 9. สงครามโลกครั้งที่ 2 • เกิดจากการบุกโปแลนด์ของเยอรมนี ทาให้อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามกับเยอรมนี • ในช่วงระหว่าง ค.ศ. 1939 - 1940 เยอรมนียึดครองยุโรปได้เกือบหมด ยกเว้นอังกฤษ • เยอรมนีบุกสหภาพโซเวียต ทาให้อังกฤษสนับสนุนสหภาพโซเวียต นาไปสู่ความร่วมมือของ ประเทศประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์ตลอดช่วงสงคราม • เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ทาให้สหรัฐอเมริกาเข้าสู่สงคราม ส่งผลให้สงครามขยายตัวจาก ยุโรปไปยังมหาสมุทรแปซิฟิกและตะวันออกไกล
  • 10. • พันธมิตรผนึกกาลังกันเพื่อเอาชนะเยอรมนี นาไปสู่การยกพลขึ้นบกในวันดี-เดย์ • เยอรมนีเริ่มพ่ายแพ้และต่อมาก็ยอมยุติสงคราม สงครามในยุโรปจึงสิ้นสุดลง
  • 11. • สาหรับเอเชีย สงครามยังดาเนินต่อไป และสิ้นสุดลงหลังจากสหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณู ที่เมืองฮิโระชิมะและนะงะซะกิ • การใช้ระเบิดปรมาณูของสหรัฐอเมริกาทาให้ยุโรปและโลกหวาดผวาไปตลอดศตวรรษที่ 20 • การใช้อาวุธนิวเคลียร์นาไปสู่การเกิดยุคปรมาณูขึ้น การทิ้งระเบิดปรมาณูของสหรัฐอเมริกาที่เมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ
  • 12. ประธานาธิบดีเฮนรี เอสทรูแมนของสหรัฐอเมริกา ลงนามในแผนการมาร์แชล ในการช่วยฟื้นฟูบูรณะ ประเทศในยุโรปตะวันตก สงครามเย็น • เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการหลังการประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกา • ทาให้ยุโรปถูกแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ยุโรปตะวันตก และยุโรปตะวันออก • การเมืองโลกอยู่ในภาวะตึงเครียด และถูกแบ่งเป็นระบบสองขั้วอานาจ • สงครามเย็นเกิดขึ้นในยุโรปก่อน และต่อมาขยายขอบเขตไปทั่วโลก
  • 13. • การขยายอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต มีส่วนนาไปสู่วิกฤตการณ์ทาง การเมืองหลายครั้ง เช่น การปิดกั้นเบอร์ลินสงครามเกาหลี การสร้างกาแพงเบอร์ลิน วิกฤตการณ์ขีปนาวุธที่คิวบาเป็นต้น กาแพงเบอร์ลิน สัญลักษณ์ความขัดแย้งในสงครามเย็น
  • 14. • กลางทศวรรษ 1970 เกิดการผ่อนคลายความตึงเครียด นาไปสู่การประชุมเพื่อความมั่นคง และร่วมมือกันในยุโรป • การบุกอัฟกานิสถานของสหภาพโซเวียตใน ค.ศ. 1979 ทาให้สงครามเย็นก่อตัวขึ้นอีกครั้ง กองกาลังของสหภาพโซเวียตในอัฟกานิสถาน
  • 15. การสิ้นสุดของสงครามเย็น • มีฮาอิล กอร์บาชอฟ ขึ้นดารงตาแหน่งผู้นาประเทศของสหภาพโซเวียต ได้ปรับนโยบาย ต่างประเทศใหม่ ทาให้เกิดบรรยากาศการผ่อนคลายความตึงเครียดทางการเมืองโลก • นโยบายของกอร์บาชอฟนาไปสู่การเจรจาสุดยอดระหว่างสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต หลายครั้งระหว่าง ค.ศ. 1985-1989 • การเคลื่อนไหวประชาธิปไตยในยุโรปตะวันออกทาให้ระบอบคอมมิวนิสต์พังทลายใน ค.ศ. 1989 กาแพงเบอร์ลินสัญลักษณ์ของสงครามเย็นถูกทุบทิ้ง ต่อมา ค.ศ. 1991 สหภาพโซเวียต ล่มสลาย สงครามเย็นจึงสิ้นสุดอย่างเป็นทางการ ประธานาธิบดีจอร์จ บุช และประธานาธิบดี กอร์บาชอฟ ร่วมรับประทานอาหารระหว่างการประชุมที่มอลตา
  • 16. • การจัดตั้งเครือรัฐเอกราช มีส่วนสาคัญทาให้สหภาพโซเวียตล่มสลายในค.ศ. 1991 • หลังสงครามเย็นสหรัฐอเมริกากลายเป็นประเทศอภิมหาอานาจเดียวแต่ไม่สามารถผูกขาด อานาจไว้เพียงลาพัง จาเป็นต้องพึ่งพาประเทศมหาอานาจอื่นๆ การลงนามก่อตั้งเครือรัฐเอกราชของอดีต สาธารณรัฐโซเวียตต่างๆ 11 รัฐ
  • 17. • ผลจากเหตุการณ์ 9/11 ทาให้ทุกประเทศตระหนักถึงปัญหาก่อการร้ายข้ามชาติ • สหรัฐอเมริกาประกาศแข็งกร้าวที่จะทาสงครามต่อต้านการก่อการร้าย โดยเฉพาะ ขบวนการอัลเคดา • โดยกล่าวอ้างว่าประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน ผู้นาอิรักให้การช่วยเหลือและครอบครอง อาวุธที่มีอานุภาพทาลายล้างสูงไว้ • สหรัฐอเมริกาจึงจาเป็นต้องใช้กาลังทหารกับอิรัก เพื่อทาลายระบอบการปกครองของ ประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน สงครามอิรัก การตรวจสอบอาวุธชีวภาพในประเทศอิรักของ ตัวแทนองค์การสหประชาชาติ
  • 18. ทหารอเมริกันในสงครามอิรัก • นโยบายแข็งกร้าวของสหรัฐอเมริกาได้สร้างบรรยากาศความขัดแย้งและตึงเครียด ระหว่างประเทศ • สหรัฐอเมริกาตัดสินใจโจมตีอิรักโดยไม่รอฉันทานุมัติจากคณะมนตรีความมั่นคง แห่งสหประชาชาติ และการคัดค้านของนานาประเทศ • สงครามอิรัก นามาซึ่งความขัดแย้งระหว่างประเทศที่เกิดขึ้น และสิ้นสุดลงภายใน ระยะเวลาอันสั้น