SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 40
1
บรรยายโดย อ.พงศ์
สฎา เฉลิมกลิ่น
มงคล ๓๘ ประการ
2
มงคล คือเหตุแห่งความสุข ความ
ก้าวหน้าในการดำาเนินชีวิต ซึ่ง
พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงไว้ให้
พุทธศาสนิกชนได้พึงปฏิบัตินำามาจาก
บทมงคลสูตรที่พระพุทธเจ้าตรัสตอบ
ปัญหาเทวดาที่ถามว่า คุณธรรมอันใดที่
มงคล ๓๘ ประการ
“ ”มงคลชีวิต มี ๓๘ ประการ
3
๑. การไม่คบคนพาล
ลักษณะของคนพาลมี ๓ ประการคือ
๑. คิดชั่ว คือการมีจิตคิดอยากได้ในทางทุจริต
มีความพยาบาท และมิจฉาทิฐิ คือเห็นผิดเป็นชอบ
๒. พูดชั่ว คือคำาพูดที่ประกอบไปด้วยวจีทุจริตเช่น
พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำาหยาบ และพูดเพ้อเจ้อ
๓. ทำาชั่ว คือทำาอะไรที่ประกอบด้วยกายทุจริตเช่น
การฆ่าสัตว์ ลักขโมย ฉ้อโกง ประพฤติผิดในกาม
4
๒. การคบบัณฑิต
บัณฑิต หมายถึงผู้ทรงความรู้ มี
ปัญญา มีจิตใจที่
งาม และมีการดำาเนินชีวิตที่ถูกต้อง รู้ดีรู้
ชั่ว มีลักษณะดังนี้คือ
๑. เป็นคนคิดดี คือการไม่คิดละโมบ ไม่พยาบาท
ปองร้ายใคร ความ กตัญญูรู้คุณ
๒. เป็นคนพูดดี คือวจีสุจริต พูดจริง ไม่พูดหยาบ
ถากถาง นินทาว่าร้าย
๓. เป็นคนทำาดี คือทำาอาชีพสุจริต มีเมตตา ทำา
ทานเป็นปกตินิสัย อยู่ใน ศีลธรรม
6
๔. การอยู่ในถิ่นอันสมควร
ถิ่นอันสมควรควรประกอบด้วยสิ่งแวดล้อม ๔
อย่างได้แก่
๑.อาวาสเป็นที่สบาย หมายถึงอยู่แล้วสบาย สะอาด
อากาศดี ไม่มีอบายมุข
๒.อาหารเป็นที่สบาย หมายถึงอาหารการกินอุดม
สมบูรณ์
๓.บุคคลเป็นที่สบาย หมายถึงที่ที่มีคนดี จิตใจโอบ
7
๕. เคยทำาบุญมาก่อน
การทำาบุญ นั้นมีหลายวิธี แต่พอสรุปได้
สั้นๆดังนี้คือ
๑. การทำาทาน
๒. การรักษาศีล
๓. การเจริญภาวนา
8
๖. การตั้งตนชอบ
การตั้งตนชอบ หมายถึงการดำาเนินชีวิต
อย่างมีเป้าหมาย ด้วยความถูกต้องและสุจริต อยู่
ในสัมมาอาชีพ มีแผนการที่จะไปให้ถึงจุดหมาย
นั้นด้วยความไม่ประมาท มีการเตรียมพร้อม
และมีความอดทนไม่ละทิ้งกลางคัน
9
๗. ความเป็นพหูสูต
คือเป็นผู้ที่ฟังมาก เล่าเรียนมาก เป็นผู้รอบรู้ โดยมี
ลักษณะดังนี้คือ
๑.รู้ลึก คือการรู้ในสิ่งนั้นๆ เรื่องนั้นๆอย่างหมดจดทุกแง่
ทุกมุม
อย่างมีเหตุมีผล รู้ถึงสาเหตุจนเรียกว่าความชำานาญ
๒.รู้รอบ คือการรู้จักช่างสังเกตในสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น
เหตุการณ์แวดล้อมเป็นต้น
๓.รู้กว้าง คือการรู้ในสิ่งใกล้เคียงกับเรื่องนั้นๆ ที่
10
๘. การรอบรู้ในศิลปะ
ศิลปะ คือสิ่งที่แสดงออกถึงความงดงาม และมี
ความสุนทรีย์
ถ้าท่านอยากเป็นคนมีศิลปะ ควรต้องฝึกให้มี
คุณสมบัติเหล่านี้ไว้ในตัวคือ
๑.มีศรัทธาในความงดงามของสิ่งต่างๆ
๒.หมั่นสังเกตและพิจารณา
11
๙. มีวินัยที่ดี
วินัย ก็คือข้อกำาหนด ข้อบังคับ กฎเกณฑ์
เพื่อควบคุมให้มีความเป็นระเบียบนั่นเอง มี
ทั้งวินัยของสงฆ์และของคนทั่วไป สำาหรับ
ของสงฆ์นั้นมีทั้งหมด ๗ อย่างหรือเรียกว่า
อนาคาริยวินัย ส่วนของบุคคลทั่วไปก็มี ๑๐
อย่าง คือการละเว้นจากอกุศลกรรม ๑๐
ประการ ได้แก่
๑.ไม่ฆ่าชีวิตคน หรือสัตว์ ๖. ไม่พูดส่อ
เสียด นินทาว่าร้า ๒.ไม่
ลักทรัพย์ ๗. ไม่พูดไร้สาระ เพ้อ
12
๑๐. กล่าววาจาอันเป็น
สุภาษิต
คำาว่าวาจาอันเป็นสุภาษิตในที่นี้มิได้หมายถึงเพียงว่า
ต้องเป็นคำาร้อยกรอง ร้อยแก้ว เป็นคำาคมบาดใจมีความ
หมายลึกซึ้งเท่านั้น แต่รวมถึงคำาพูดที่ดี มีประโยชน์ต่อผู้
ฟัง ซึ่งสรุปว่าประกอบด้วยลักษณะดังนี้
๑. ต้องเป็นคำาจริง คือข้อมูลที่ถูกต้อง มีหลักฐานอ้างอิง
ได้
๒. ต้องเป็นคำาสุภาพ คือพูดด้วยภาษาที่สุภาพ
๓. พูดแล้วมีประโยชน์ คือมีประโยชน์ต่อผู้ฟังในทางดี
เครื่องบินไม่สามารถติดแก๊สได้
13
๑๑. การบำารุงบิดามารดา
ท่านว่าพ่อแม่นั้นเปรียบได้เป็นทั้ง ครูของลูก
เทวดาของลูก พรหมของลูก และอรหันต์ของลูก
กล่าวคือ พ่อแม่ได้คอยอบรมสั่งสอนลูก คอย
ปกป้อง คุ้มครอง เลี้ยงดู ให้การศึกษาเล่าเรียน ส่ง
เสียเท่าที่มีความสามารถจะให้ได้ ไม่ถือโกรธเมื่อ
ลูกประมาท
ดังนั้นพ่อและแม่จึงเปรียบเป็น อาหุไนยบุคคล
คือเป็นเหมือนพระที่ควรแก่การเคารพนับถือและ
14
๑๒. การสงเคราะห์บุตร
การสงเคราะห์บุตร พ่อ แม่ มีหน้าที่ที่ต้องให้กับลูก
ของเราคือ
๑. ให้ได้คู่ครองที่ดี (ใช้ประสบการณ์ของเราให้คำา
ปรึกษาแก่ลูก)
๒. มอบทรัพย์ให้ในโอกาสอันควร (การทำาพินัยกรรม ก็
ถือว่าเป็นสิ่งถูกต้อง)
๓. ให้การศึกษาหาความรู้
๔. ห้ามไม่ให้ทำาความชั่ว
๕. ปลูกฝัง สนับสนุนให้ทำาความดี
15
๑๓. การสงเคราะห์ภรรยา
การสงเคราะห์ภรรยา มีดังนี้
๑.ยกย่องนับถือว่าเป็นภรรยา คือการแนะนำาเปิดเผยว่าเป็น
ภรรยา
๒.ไม่ดูหมิ่น คือไม่ดูถูกภรรยาเมื่อทำาไม่ถูก หรือเรื่องชาติ
ตระกูล การศึกษาว่าตำ่า
๓.ไม่ประพฤตินอกใจภรรยา หรือเที่ยวหาความสำาราญ
กับหญิงบริการ
16
๑๔. ทำางานไม่ให้คั่งค้าง
สาเหตุที่ทำาให้งานคั่งค้างนั้น สรุปได้ดังนี้
๑.ทำางานไม่ถูกกาล
๒.ทำางานไม่ถูกวิธี
๓.ไม่ยอมทำางาน
หลักการทำางานให้เสร็จลุล่วงมีดังนี้
๑.ฉันทะ คือมีความพอใจในงานที่ทำา
๒.วิริยะ คือมีความตั้งใจ พากเพียรในงานที่ทำา
๓.จิตตะ คือมีความเอาใจใส่ในงานที่ทำา
๔.วิมังสา คือมีการคิดพิจารณาทบทวนงานนั้นๆ
17
๑๕. การให้ทาน
การให้ทาน คือการให้ที่ไม่หวังผลตอบแทนโดย
หมายให้ผู้ได้รับได้พ้นจากทุกข์ แบ่งออกเป็น ๓ อย่าง
ได้แก่
๑.อามิสทาน คือการให้วัตถุ สิ่งของ หรือเงินเป็นทาน
๒.ธรรมทาน คือการสอนให้ธรรมะเป็นความรู้เป็นทาน
๓.อภัยทาน คือการให้อภัยในสิ่งที่คนอื่นทำาไม่ดีกับเรา
ไม่จองเวร หรือพยาบาท
18
๑๖. การประพฤติธรรม
การประพฤติธรรม ก็คือการปฏิบัติให้เป็นไป แบ่งออกเป็น
กายสุจริต คือ ๑.การไม่ฆ่าสัตว์ ๒.การไม่ลักทรัพย์ ๓.การ
ไม่ประพฤติผิดในกาม
วจีสุจริต คือ ๑.การไม่พูดเท็จ ๒.การไม่พูดคำาหยาบ
๓.การไม่พูดจาส่อเสียด
๔.การไม่พูดเพ้อเจ้อเหลวไหล
มโนสุจริต คือ ๑.การไม่โลภอยากได้ของผู้อื่น ๒.การไม่คิด
พยาบาทปองร้ายผู้อื่น
๓.การเห็นชอบ คือมีความเชื่อความเข้าใจ
19
๑๗. การสงเคราะห์ญาติ
การสงเคราะห์ญาติ ทำาได้ทั้งทางธรรมและทาง
โลก ได้แก่
ในทางธรรม ก็ช่วยแนะนำาให้ทำาบุญกุศล ให้รักษาศีล และทำาสมาธิ
ภาวนา
ในทางโลก นั้นได้แก่
๑. ให้ทาน คือการสงเคราะห์เป็นทรัพย์สินเงินทอง เพื่อให้เขาพ้น
จากทุกข์ตามแต่กำาลัง
๒. ใช้ปิยวาจา คือการพูดด้วยถ้อยคำาที่อ่อนโยน สุภาพ
๓. มีอัตถจริยา คือการประพฤติตนให้เป็นประโยชน์
ช่วยญาติ
ทำางานศพ
20
๑๘. ทำางานที่ไม่มีโทษ
งานที่ไม่มีโทษ ประกอบด้วยลักษณะดังต่อไป
นี้
๑.ไม่ผิดกฎหมาย คือทำาให้ถูกต้องตามกฎหมายของ
บ้านเมือง
๒.ไม่ผิดประเพณี คือแบบแผนที่ปฏิบัติกันมาแต่เดิม
ควรดำาเนินตาม
๓.ไม่ผิดศีล คือข้อห้ามที่บัญญัติไว้ในศีล ๕
๔.ไม่ผิดธรรม คือหลักธรรมทั้งหลายอาทิเช่น การพนัน
21
๑๙. ละเว้นจากบาป
บาป คือสิ่งที่ไม่ดี เสีย ความชั่วที่ติดตัว ซึ่งไม่ควรทำา ท่านว่า
สิ่งที่
ทำาแล้วถือว่าเป็นบาปได้แก่ อกุศลกรรมบถ ๑๐ คือ
๑.ฆ่าสัตว์ ๒. ประพฤติผิดในกาม
๓.ลักทรัพย์ ๔.คิดพยาบาทปองร้ายคนอื่น
๕.พูดส่อเสียด ๖.พูดคำาหยาบ
๗.พูดเพ้อเจ้อ ๘.โลภอยากได้ของเขา
๙.พูดเท็จ ๑๐.เห็นผิดเป็นชอบ
22
๒๐. สำารวมจากการดื่ม
นำ้าเมาว่าด้วยเรื่องของนำ้าเมานั้น อาจทำามาจากแป้ง ข้าว
สุก การปรุงโดย
ผสมเชื้อ หรืออะไรก็แล้วแต่ที่ดื่มแล้วทำาให้มึนเมา
เช่นเบียร์ ไวน์ ไม่ใช่แค่เหล้าเท่านั้น
ล้วนมีโทษอันได้แก่
๑.ทำาให้เสียทรัพย์
๒.ทำาให้เกิดการทะเลาะวิวาท
๓.ทำาให้เกิดโรค
23
๒๑. ไม่ประมาทในธรรมทั้ง
หลายธรรม ในที่นี้ก็คือหลักปฏิบัติที่ทำาแล้วมีผลในทางดี และเป็นจริงที่พระสัมมาสัม
พุทธเจ้าได้ทรงโปรดแนะทางไว้ ในที่ประมาทในธรรมนั้นมีลักษณะที่สรุปได้ดังนี้
คือ
๑.ไม่ทำาเหตุดี แต่จะเอาผลดี
๒.ทำาตัวเลว แต่จะเอาผลดี
๓.ทำาย่อหย่อน แต่จะเอาผลมาก
24
๒๒. มีความเคารพ
๑.พระพุทธเจ้า
๒.พระธรรม
๓.พระสงฆ์
๔.การศึกษา
๕.ความไม่ประมาท คือการดำาเนินตามหลักธรรมคำาสอน
พระพุทธศาสนาอื่นๆ
ด้วยความเคารพ
25
๒๓. มีความถ่อมตน
๑. ต้องคบกัลยาณมิตร คือเพื่อนที่ดีมีศีลมีธรรม
๒. ต้องรู้จักคิดไตร่ตรอง คือการรู้จักคิดหาเหตุผลอยู่
ตลอดเวลา
๓. ต้องมีความสามัคคี คือการมีความสามัคคีในหมู่คณะ
และรับฟังและเคารพ
ความคิดเห็นของผู้อื่น อย่างมีเหตุผล
26
๒๔. มีความสันโดษ
คำาว่าสันโดษไม่ได้หมายถึงการอยู่ลำาพังคนเดียว แต่หมายถึงการพอใจในสิ่งที่
ตนมีอยู่ ในของของตัว ซึ่งท่านได้ให้นิยามที่เป็นลักษณะของความสันโดษเป็น
ดังนี้ คือ
๑.ยถาลาภสันโดษ หมายถึงความยินดีตามมีตามเกิด คือมีแค่ไหนก็พอใจเท่านั้น
๒.ยถาพลสันโดษ หมายถึงความยินดีตามกำาลัง เรามีกำาลังแค่ไหนก็พอใจเท่านั้น
๓.ยถาสารูปสันโดษ หมายถึงความยินดีตามควร ซึ่งโยงใยไปถึงความพอเหมาะ
พอควร
27
๒๕. มีความกตัญญู
ความกตัญญูคือการรู้คุณ และตอบแทนท่านผู้นั้น การรำาลึกถึงพระคุณ ผู้ที่เคย
ให้ความอุปการะแก่เราด้วยความเคารพยิ่ง มีดังนี้
๑.กตัญญูต่อบุคคล บุคคลที่ควรกตัญญูก็คือใครก็ตามที่มีบุญคุณและตอบแทนพระ
คุณ เช่น บิดา มารดา อาจารย์
๒.กตัญญูต่อสัตว์ ได้แก่สัตว์ที่ช่วยทำางานให้เรา เราก็ควรเลี้ยงดูให้ดีเช่นช้าง ม้า วัว
ควาย หรือสุนัขที่ช่วยเฝ้าบ้าน
๓.กตัญญูต่อสิ่งของ ได้แก่หนังสือที่ให้ความรู้แก่เรา อุปกรณ์ทำา
มาหากินต่างๆ เรา ไม่ควรทิ้งคว้าง
28
๒๖. การฟังธรรมตามกาล
การฟังธรรมนั้น ควรทำาเมื่อมีโอกาส เช่น ตามวันสำาคัญต่างๆ เราสามารถนำามา
ใช้เพื่อปรับปรุงชีวิตให้ดีขึ้น ท่านว่าเวลาที่ควรไปฟังธรรมนั้นมีดังนี้คือ
๑. วันธรรมสวนะ ก็คือวันพระ หรือวันที่สำาคัญทางศาสนา
๒. เมื่อมีผู้มาแสดงธรรม ก็อย่างเช่น การฟังธรรมตามวิทยุ
ตามสถานที่ต่างๆ หรือ การอ่านจากสื่อต่างๆ
๓. เมื่อมีโอกาสอันสมควร เมื่อมีเวลาว่าง
หรือในงานบวช งานกฐิน งานวัดเป็นต้น
29
๒๗. มีความอดทน
ความอดทนนั้นสามารถจำาแนกออกได้เป็นดังต่อไปนี้
คือ
๑.ความอดทนต่อความลำาบาก คือความลำาบากที่ต้อง
ประสพตามธรรมชาติ
๒.ความอดทนต่อทุกขเวทนา คือทุกข์ที่เกิดจากสังขาร
ของเราเอง
๓.ความอดทนต่อความเจ็บใจ คือการที่คนอื่นทำาให้เรา
ต้องผิดหวัง
30
๒๘. เป็นผู้ว่าง่าย
การทำาให้เป็นคนว่าง่ายนั้นทำาได้ดังนี้
๑. ลดมานะของตัว คือการไม่ถือดี ไม่ถือตัว
๒.ละอุปาทาน คือการไม่ยึดถือในสิ่งที่เรามี เราเป็น
หรือถือมั่นในอำานาจกิเลสต่างๆ
๓.มีสัมมาทิฐิ คือมีปัญญาที่เห็นชอบ
การเห็นถูกเห็นควรตามหลักอริยสัจ ๔
31
๒๙. การได้เห็นสมณะ
คำาว่า สมณะ แปลตรงตัว ผู้สงบ (หมายถึงผู้
อยู่ในสมณะเพศ)
คุณสมบัติของสมณะต้อง ประกอบไปด้วย
๓ อย่างคือ
๑. ต้องสงบกาย คือมีความสำารวมในการกระทำาทุกอย่าง รวมถึงกิริยา
มรรยาท ตาม หลักศีลธรรม
๒. ต้องสงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของความพอดี มีความ
สุภาพ
๓. ต้องสงบใจ คือการทำาใจให้สงบปราศจากกิเลสครอบงำา
32
๓๐. การสนทนาธรรมตาม
กาล
การได้สนทนาธรรม ทำาให้ขยายขอบเขตการเรียนรู้ แลก
เปลี่ยนความรู้ และได้รู้ในสิ่งใหม่ๆ ที่เราอาจนึกไม่ถึง หรือ
เป็นการเผื่อแผ่ความรู้ที่เรามีให้แก่ผู้อื่นได้ทราบด้วย
ก่อนที่เราจะสนทนาธรรม ควรต้องพิจารณาและคำานึงถึงสิ่งต่อ
ไปนี้คือ
๑.ต้องรู้เรื่องที่จะพูดดี
๒.ต้องพูดเรื่องจริง มีประโยชน์
๓.ต้องเป็นคำาพูดที่ไพเราะ
๔.ต้องพูดด้วยความเมตตา
33
๓๑. การบำาเพ็ญตบะ
ตบะ แปลว่า ทำาให้ร้อน ไม่ว่าด้วยวิธีใด การบำาเพ็ญตบะ
หมายความถึงการทำาให้กิเลส ความรุ่มร้อนต่างๆ หมดไป หรือ
เบาบางลง ลักษณะการบำาเพ็ญตบะมีดังนี้
๑.การมีใจสำารวมในอินทรีย์ทั้ง ๖ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย
และใจ ไม่ให้กิเลส
ครอบงำาใจเวลาที่รับรู้อารมณ์ผ่านอินทรีย์ทั้ง ๖
๒.การประพฤติรักษาพรหมจรรย์ เว้นจากการร่วมประเวณี
๓.การปฏิบัติธรรม คือการรู้และเข้าใจในหลักธรรมเช่น
34
๓๒. การประพฤติพรหมจรรย์
คำาว่าพรหมจรรย์หมายความถึง การบวชซึ่งละเว้นเมถุน การ
ครองชีวิตที่ปราศจากเมถุน การประพฤติธรรมอันประเสริฐ ท่าน
ว่าลักษณะของธรรมที่ถือว่าเป็นการประพฤติพรหมจรรย์นั้น
(ไม่ใช่ว่าต้องบวชเป็นพระ) มีอยู่ดังนี้คือ
๑. มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ๒. ช่วยเหลือผู้อื่น
๓. ศึกษาปฏิบัติในศีล สมาธิ ปัญญา ๔. ให้ทาน
๕. งดเว้นจากการเสพกาม ๖. ยินดีในคู่ของตน
๗. เพียรพยายามที่จะละความชั่ว ๘. รักษาซึ่งศีล ๘
๙. ใช้ปัญญาเห็นแจ้งในอริยสัจ ๔ ๑๐. รักษาศีล ๕
35
๓๓. การเห็นอริยสัจ
อริยสัจ หมายถึงความจริงอันประเสริฐ หลัก
แห่งอริยสัจมีอยู่ ๔ ประการ
๑. ทุกข์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ
๒. สมุทัย คือ เหตุที่ทำาให้เกิดทุกข์
๓. นิโรธ คือความดับทุกข์ ความหลุดพ้น
๔. มรรค คือข้อปฏิบัติ หรือหนทางที่นำาไปสู่การดับ
ทุกข์
การเดินทางสายกลางเพื่อ ไปให้ถึงการดับทุกข์
36
๓๔. การทำาให้แจ้งซึ่งพระ
นิพพาน
นิพพาน คือ ภาวะของจิตที่ดับกิเลสได้หมดสิ้น หลุดจาก
อำานาจกรรม ซึ่งก็คือพ้น
จากทุกข์นั่นเอง ท่านว่าลักษณะของนิพพานมีอยู่ ๒ ระดับ
ดังนี้คือ
๑.การดับกิเลสขณะที่ยังมีเบญจขันธ์เหลืออยู่ หรือการเข้าถึง
นิพพานขณะที่ยังมีชีวิตอยู่
๒.การดับกิเลสที่ไม่มีเบญจขันธ์เหลืออยู่เลย คือการที่
ร่างกายเราแตกดับแล้วไปเสวยสุข
37
๓๕. มีจิตไม่หวั่นไหวใน
โลกธรรม
คำาว่าโลกธรรม มีความหมายถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้น
อยู่เป็นประจำาบนโลกนี้ ซึ่งเราไม่ควรมีจิตหวั่นไหว
ต่อสิ่งต่างๆ เหล่านี้ ท่านว่าลักษณะของโลกธรรมมี
๔ ประการคือ
๑. การได้ลาภ เมื่อมีลาภผลก็ย่อมมีความเสื่อมเป็น
ธรรมดา
๒. การได้ยศ ยศถาบรรดาศักดิ์ล้วนเป็นสิ่งสมมุติ
ขึ้นมาทั้งนั้น
๓. การได้รับการสรรเสริญ ที่ใดมีคนนิยมชมชอบ
38
๓๖. มีจิตไม่เศร้าโศก
ท่านว่ามีเหตุอยู่ ๒ ประการที่ทำาให้จิตเราต้องโศกเศร้าคือ
๑.ความโศกเศร้าที่เกิดเนื่องมาจากความรัก รวมถึงรักสิ่งของ
ทรัพย์สินเงินทองด้วย
๒.ความโศกเศร้าที่เกิดจากความใคร่
การทำาให้จิตใจไม่โศกเศร้านั้น มีข้อแนะนำาดังนี้
๑.ใช้ปัญญาพิจารณาอยู่เนืองๆ
๒.ไม่ยึดมั่นในตัวตน หรือความจีรังยั่งยืน
๓.ทุกอย่างในโลกล้วนเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ
๔.คิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างล้วนไม่เที่ยงด้วยกันทั้งนั้น
39
๓๗. มีจิตปราศจากกิเลส
กิเลส ก็คือสิ่งที่ทำาให้เกิดความเศร้าหมอง ซึ่งได้แก่ ความโลภ ความโกรธ ความ
หลง ท่านได้แบ่งประเภทของกิเลสออกเป็นดังนี้ คือ
๑. ราคะ ความอยากได้ในทางไม่ชอบ, ความเพ่งเล็งจะเอาของคนอื่นมาเป็นของ
ตัว
๒. โทสะ การคิดประทุษร้าย เนื่องด้วยมีใจพยาบาทแล้วก็มีใจคิดหมายทำาร้าย
๓. โมหะความเห็นผิดเป็นชอบ เช่นการไม่เชื่อในเรื่องบาป เรื่องบุญ (มิจฉาทิฐิ)
ความหลงผิด ไม่รู้ตามความเป็นจริง (โมหะ) เป็นต้น
40
๓๘. มีจิตเกษม
เกษม หมายถึงมีความสุข สบาย หรือสภาพที่มีจิตใจที่เป็นสุข ในที่นี้หมายถึงการละแล้ว
ซึ่งกิเลส ที่ท่านว่าไว้ว่าเป็นเครื่องผูกอยู่ ๔ ประการคือ
๑. การละกามโยคะ คือการละความยินดีในวัตถุ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายเรียกว่ากามคุณซึ่งประ
กอบด้วย รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส
๒. การละภวโยคะ คือการละความยินดีในภพ โดยให้เห็นว่าสิ่งใดๆในโลกล้วนไม่เที่ยงแท้
๓. การละทิฏฐิโยคะ คือการละความยินดี โดยให้ดำาเนินตามหลักคำาสอนของพระพุทธเจ้า
๔. การละอวิชชาโยคะ คือการละความยินดี ในอวิชชาทั้งหลาย ความไม่รู้ทั้งหลาย
41
Thankyou foryourattentionThankyou foryourattention

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาSuraphat Honark
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socPrachoom Rangkasikorn
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธleemeanshun minzstar
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยาเรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยาTongsamut vorasan
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษาjyppy
 

Mais procurados (19)

พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 6+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u6_soc
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
หน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธหน้าที่ชาวพุทธ
หน้าที่ชาวพุทธ
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยาเรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
ข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา มข้อสอบโควตา ม
ข้อสอบโควตา ม
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 

Semelhante a Mongkon 38

027โอวาท๓
027โอวาท๓027โอวาท๓
027โอวาท๓niralai
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายWat Thai Washington, D.C.
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyleetcenterrbru
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 

Semelhante a Mongkon 38 (20)

มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
027โอวาท๓
027โอวาท๓027โอวาท๓
027โอวาท๓
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)1
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle11 ethics and lifestyle
11 ethics and lifestyle
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 

Mongkon 38