SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗
แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๖ พ.ศ.๒๕๔๖
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 ผู้สนองพระบรมราชการ คือ นายบัญญัติ บรรทัดฐาน รองนายกรัฐมนตรี
 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗
 บังคับใช้วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ (เก้าสิบวันหลังจากประกาศในราชกิจานุเบกษา)
 “หน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายถึง เทศบาล สุขาภิบาล ราชส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ยกเว้น อบจ.
 รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รักษาการตาม พรบ. ฉบับนี้
หมวดที่ ๑ สภาตาบล
 สภาตาบลมีฐานะเป็น นิติบุคคล
ส่วนที่ ๑ สมาชิกสภาตาบล
 ประกอบด้วย
o สมาชิกโดยตาแหน่ง ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และแพทย์ประจาตาบล
o สมาชิกโดยการเลือกตั้งหมู่บ้านละ ๑ คน
 ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ตาม กม.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น
 ผู้มีสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง จะต้อง (มาตรา ๙)
o มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับถึงวันรับสมัคร
o ไม่เป็นผู้ทุจริต และไม่เคยถูกให้พ้นจากตาแหน่งเพราะมีส่วนได้ส่วนเสียจากการทาสัญญาไม่ต่ากว่า ๕ ปี
o มีคุณสมบัติตาม กม.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น
 ให้นายอาเภอจัดการเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดใน ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย
 สมาชิกสภาที่มาจากการเลือกตั้งมี วาระ คราวละ สี่ปี
 สมาชิกสภาตาบล อาจพ้นจากตาแหน่ง ด้วย
o ตาย
o ยืนหนังสือลาออกต่อนายอาเภอ(ให้พ้นนับแต่วันลาออก)
o การยุบสภาตาบล
o เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงทางอ้อมในสัญญากับ สภาตาบล
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
o มติของสภาตาบล สองในสามของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
o นายอาเภอสั่งให้พ้นจากตาแหน่ง เพราะ
 ขาดคุณสมบัติตาม มาตรา ๙
 ไม่ได้อยู่ในหมู่บ้านติดต่อกันเป็นเวลา หกเดือน
 ขาดประชุมสภา สามครั้ง
o ผู้ว่าสั่งให้พ้น เมื่อสอบสวนว่าบกพร่องในทางความประพฤติ
 เมื่อตาแหน่งว่างลงเพราะครบวาระให้มีการเลือกตั้ง ภายใน สี่สิบห้าวัน นับแต่วันที่ครบวาระ
 หากว่างลงเพราะเหตุอื่น ให้มีการเลือกตั้งแทนตาแหน่งที่ว่างภายใน หกสิบวัน นับแต่วันที่ตาแหน่งนั้นว่างลง เว้นแต่
วาระการดารงตาแหน่งเหลือไม่ถึง หนึ่ง ร้อยแปดสิบวัน ให้สภาประกอบด้วยสมาชิกเท่าที่มี
 เมื่อมีการแยกพื้นที่หมู่บ้าน ให้นายอาเภอจัดให้มีการเลือกตั้ง สมาชิกสภา ในหมู่บ้านใหม่นั้น ภายใน สี่สิบห้าวัน เว้น
แต่เหลือวาระการดารงตาแหน่ง ไม่ถึงหนึ่ง ร้อยแปดสิบวัน
 สภาตาบลมี กานัน เป็นประธานสภา และมี รองประธาน ซึ่งนายอาเภอแต่งตั้งตาม มติของสภา
 รองประธานสภาพ้นตาแหน่งเมื่อ
o ลาออก โดยยื่นต่อนายอาเภอ (พ้นตาแหน่งนับแต่วนที่ลาออก)
o พ้นตาม ม.๑๒
 ประธานเป็นผู้เรียกประชุมสภา และดาเนินการประชุม ให้เป็น ไปตามข้อบังการประชุมที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด
 หากประธานหรือรองประธานไม่อยู่ให้สมาชิกเลือกหนึ่งคนขึ้นเป็นประธานในการประชุมครั้งนั้น
 ให้มีการประชุมสภาตาบลอย่างน้อยเดือนล่ะ ๑ ครั้ง และต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงครบองค์ประชุม
 ในการออกเสียงหากมีคะแนนเท่ากัน ให้ประธานออกเสียงได้เพื่อชี้ขาด
 ให้สภาตาบลมีเลขานุการ หนึ่งคน ซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตาบลนั้นๆ โดยนายอาเภอเป็นผู้แต่งตั้ง
และถอดถอนเลขาตาม มติของสภา เลขานุการสภา ทาหน้าที่
o รับผิดชอบงานธุรการ
o จัดการประชุม และ
o งานอื่นๆ ตามที่สภาตาบลมอบหมาย
 ให้สมาชิกสภาตาบลและเลขานุการสภา เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ ๒ อานาจหน้าที่ของสภาตาบล
 มีอานาจหน้าที่
o พัฒนาตาบลตามแผนงานโครงการและงบประมาณ
o เสนอแนะส่วนราชการในการบริหารราชการพัฒนาตาบล
o หน้าที่อื่นๆตามที่ กม. กาหนด
 สภาตาบลอาจ ดาเนินกิจการภายในตาบล ดังนี้
o จัดให้มีน้า อุปโภค บริโภค และ การเกษตร
o ให้มีการบารุงทางน้าทางบก
o ให้มีการรักษาทางน้า ความสะอาดถนน กาจัดขยะมูลฝอย
o ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
o ส่งเสริมการประกอบอาชีพ
o ส่งเสริม การพัฒนา เด็ก สตรี เยาวชน คนพิการ คนชรา
 กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล ต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญากับสภาตาบล หากฝ่าฝืน ให้ผู้ว่าสั่ง
ให้ออกจากตาแหน่ง
 ให้กานัน ผู้ใหญ่บ้านดาเนินการให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาตาบล
 การจัดทาโครงการ หรือกิจกรรมใดของหน่วยงานราชอื่น ให้ คานึงถึงแผนพัฒนาตาบลด้วย
 การปฏิบัติหน้าที่ของสภาตาบลให้ ประธานสภาเป็นผู้รับผิดชอบ และดาเนินการ
 การทานิติกรรมของสภา ต้องประกอบด้วย (เป็นไปตาม ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย)
o ประธานสภา
o เลขขานุการสภา และ
o สมาชิกสภา ๑ คน
 การทานิติกรรมจะเป็นไปตาม ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย
 การทากิจกรรมนอกเขต จะต้อง
o ได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด
o ได้รับความยินยอมจาก ท้องถิ่นอื่น หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
o กิจการนั้นจาเป็นต้องทา
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ ๓ รายได้และรายจ่ายของสภาตาบล
 สภาตาบลมีรายได้ ซึ่ง อบจ. จัดสรรให้ตามหลักเกณฑ์ที่ กระทรวงมหาดไทยกาหนด ดังนี้
o ภาษีบารุงท้องที่ โรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้ าย อากรฆ่าสัตว์
o ค่าธรรมเนียมค่าใบอนุญาต ค่าปรับ
o ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเล่นการพนัน
o ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะ
o ภาษีสุรา และสรรพสามิต
o ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน
 ทุกปีงบประมาณให้รัฐบาลจัดสรรเงินให้สภาเป็น เงินอุดหนุน
 สภาอาจมีรายได้ จาก
o ทรัพย์สินของสภา
o สาธารณูปโภคของสภา
o ทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให้
o เงินอุดหนุน หรือรายได้อื่นที่หน่วยงานอื่นจัดให้
o รายได้อื่นที่ มี กม.กาหนดให้เป็นของ สภาตาบล
 รายได้ของสภาตาบล ไม่ต้องเสียภาษีโดยตราเป็นพระราชกฎฎีกา และไม่ต้อนาส่งคลังรายได้แผ่นดิน
 สภาตาบลมีรายจ่าย ดังนี้
o เงินเดือน /ค่าจ้าง /ค่าตอบแทนอื่นๆ /ค่าใช้สอย /ค่าวัสดุ /ค่าครุภัณฑ์ /ค่าที่ดิน /ค่าสาธารณูปโภค
o เงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น
 ค่าตอบแทนของประธาน รองประธาน สมาชิกสภา และเลขา ให้เป็นไปตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
 งบประมาณรายจ่ายประจาปีและรายจ่ายเพิ่มเติม ให้จัดทาเป็น ข้อบังคับ ตามระเบียบและวิธีการที่
กระทรวงมหาดไทยกาหนด เมื่อร่างเสร็จให้ นายอาเภออนุมัติ ถ้าออกไม่ทันให้ใช่ข้อบังคับของปีก่อนไปพลางก่อน
 ให้กระทรวงมหาดไทยออกระเบียบ ว่าด้วยการคลัง งบประมาณ การรักษาและหาประโยชน์จากทรัพย์สิน การจัดหา
พัสดุและการจ้างเหมา
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ ๔ การกากับดูแล
 นายอาเภอมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลสภาตาบลให้เป็นไปตาม กม. และข้อบังคับราชการ
 หากสภาตาบลปฏิบัติไม่ชอบด้วย กม. หรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ให้ นายอาเภอยับยั้งการ
ดาเนินการนั้นและรายงานผู้ว่า ภายใน สิบห้าวัน นับแต่วันยับยั้ง
 และผู้ว่าต้องวินิจฉัยภายใน สามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับรายาน หากไม่นายอาเภอไม่รายงานหรือผู้ว่าไม่วินิจฉัยตาม
เวลาดังกล่าวให้การยับยั้งของอานาจอาเภอเป็นอันสิ้นสุดลง
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
หมวดที่ ๒ องค์การบริหารส่วนตาบล
 สภาตาบลที่มีรายได้ โดยไม่รวมเงินอุดหนุน เฉลี่ย ไม่ตากว่า ปีล่ะ หนึ่งแสนห้าหมื่นบาท อาจจัดตั้งเป็นองค์การ
บริหารส่วนตาบลได้ โดยทาเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทย และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จะต้องระบุชื่อและ
เขต ของ อบต.นั้นด้วย
 สภาตาบล หรือ อบต.อาจรวมกับอบต.หรือหน่วยบริหารราชการท้องถิ่นอื่นในเขตอาเภอเดียวกันได้ ตาม เจตนารมณ์
ของ ประชาชน
 ให้กระทรวงมหาดไทยยุบสภาตาบลทั้งหมดและ อบต.ที่มี ประชากรไม่ถึงสองพันคนให้รวมเข้ากับ อบต.หรือหน่วย
บริหารราชการท้องถิ่นอื่น ภายใน ก้าวสิบวัน เว้นแต่ อบต.ที่มีไม่ถึง สองพันคน แต่มีสภาพเป็นเกาะ
 อบต.มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
 ประกอบด้วยสภา อบต. และนายก อบต.
ส่วนที่ ๑ สภาองค์การบริหารส่วนตาบล
 สภา อบต.ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง หมู่บ้านล่ะสองคน เว้นแต่มี หนึ่งหมู่บ้านให้มี หกคน หรือมี
สองหมูบ้านให้มี สามคน
 อายุของสภามีกาหนดคราวล่ะ สี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
 สภา อบต. มีอานาจหน้าที่ ดังนี้
o ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต.
o พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติอบต. /งบประมาณรายจ่ายประจาปี /งบประมาณเพิ่มเติม
o ควบคุมการปฏิบัติงานของ นายก อบต.
 ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้ง เหมือนของ สภาตาบล
 การพ้นสภาพเหมือนกับสภาตาบล แต่เพิ่ม (มาตรา ๔๙)
o ยื่นหนังสือลาออกต่อนายอาเภอ
o มติสภาตาบล ให้สมาชิกสภา หนึ่งในสามเข้าชื่อให้สภา พิจารณา และลงมติ สามในสี่ และมสิทธิอุธรณ์ต่อ
นายอาเภอภายในสิบห้าวัน และนายอาเภอพิจารณาภายในสามสิบวัน
o ราษฎรในเขต อบต.ที่มีสิทธิ์เลือกตั้งและมาลงเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า สามในสี่ลงชื่อถอดถอน
 ให้มีประธานสภา และรองประธานสภา โดยนายอาเภอแต่งตั้งตาม มติของ สภา มีวาระตามอายุสภาและจะพ้นเมื่อ
o ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอาเภอ
o สิ้นสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิก อบต.
o ผู้ว่าสั่งให้พ้นตาม มาตรา ๙๒ (เมื่อพ้นแล้วจะกลับมาดารงตาแหน่งอีกไม่ได้ )
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 หากตาแหน่งประธานหรือรอประธานว่างลงด้วยเหตุอื่น นอกจากครบวาระ ให้มีการเลือกขึ้นใหม่ภายใน สี่สิบห้าวัน
 ประธานสภา มีหน้าที่ ดาเนินการประชุมและดาเนินกิจการอื่นให้เป็นไปตามข้อบังคับของกระทรวงมหาดไทย
 หากมีการปิดประชุมก่อนวาระประชุมจะหมด สมาชิกสภา ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งมีสิทธิเข้าชื่อขอประชุมต่อ
 ในปีหนึ่งให้มีสมัยระชุมสภา สองสมัย แต่ไม่เกินสี่สมัย หนึ่งสมัยมีกาหนด สิบห้าวัน ถ้าจะขยายให้ขอ นายอาเภอ
 นายอาเภอต้องกาหนดให้มีการประชุมสภาครั้งแรกภายใน สิบห้าวัน และเลือกประธานกับรองประธาน หากไม่
สามารถจัดประชุมได้ หรือ ไม่สามารถเลือกประธานและรองได้ ให้ นายอาเภอรายงานผู้ว่าสั่ง ยุบสภา
 นายก อบต. หรือ ประธานสภา หรือสมาชิกสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง สามารถขอเปิดประชุม วิสามัญได้
 การประชุมสภาต้องมีสมาชิกสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง จึงจะถือเป็นองค์ประชุม
 ให้เลือกปลัดหรือสมาชิกสภาตาบลคนหนึ่ง เป็นเลขาสภา ทาหน้าที่
o รับผิดชอบงานธุรการ
o จัดการประชุม
o งานอื่นๆตามที่ประธานสภามอบหมาย
ส่วนที่ ๒ นายก อบต.
 ต้องมากจากการเลือกตั้งโดยตรงของ ประชาชน มี
o อายุไม่ต่ากว่า สามสิบปี
o จบ ม.ปลาย หรือเทียบเท่า
o ไม่มีพฤติกรรมทุจริต หรือถูกสั่งให้พ้นตาแหน่งไม่น้อยกว่าห้าปี
 มีวาระ สี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง
 มีรองนายกได้ไม่เกิน สองคน ซึ่งต้องไม่เป็นสมาชิกสภา และมีเลขได้หนึ่งคนซึ่งต้องไม่เป็นสมาชิกสภาและข้าราชการ
 ก่อนการเข้ารับตาแหน่งให้นายกแถลงนโยบายในสภา ภายใน สามสิบวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง และ
จะต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก่สมาชิกที่มาประชุม
 หากไม่สามารถแถลงได้ให้ นายอาเภอ แจงนายกทานโยบายส่งให้สมาชิกสภาโดยทาเป็น คาสั่งทางปกครอง
 สมาชิกสภาไม่น้อยกว่า หนึ่งในสาม มีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปราย นายก โดยไม่มีการลงมติ โดยยื่นต่อประธานสภา
และประธานต้องกาหนดวันอภิปราย ไม่เร็วไปกว่า ห้าวันและไม่ช้าไปกว่า สิบห้าวัน (ทาได้ครั้งเดียวในสมัยประชุม
สามัญสมัยหนึ่ง)
 นายก อบต. มีอานาจหน้าที่ดังนี้
o กาหนดนโยบายและรับผิดชอบการบริหาร
o สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
o แต่งตั้ง ถอดถอน รองและเลขา นายก
o วางระเบียบ
o รักษาการให้เป็นไปตาม ข้อบัญญัติ อบต.
o อื่นๆตาม กม.
 นายก อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตาบลและลูกจ้าง อบต.
 ถ้านายกไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายกหรือ ปลัด อบต. ทาหน้าที่แทน ถ้ามอบให้ปลัดให้ทาเป็นคาสั่งและ
ประกาศให้ประชาชนทราบ
 นายกพ้นจากตาแหน่งเมื่อ
o ตาย / ออกตามวาระ /ยื่นหนังสือลาออกต่อ นายอาเภอ
o ขาดคุณสมบัติตาม มาตรา ๕๘/๑(อายุ สามสิบ/จบ ม.ปลาย/ไม่ทุจริต)
o ฝ่าฝืนตามาตรา ๖๔/๒ (ดารงตาแหน่งอื่นของทางราชการเว้นแต่ กม.กาหนด/ รับเงินหรือผลประโยชน์จาก
หน่วยงานอื่นทั้งรัฐและเอกชน/ มีส่วนเสียในสัญญาที่ อบต.นั้นเป็นคู่สัญญา)
o ผู้ว่าสั่งให้พ้นตาม มาตรา ๘๗/๑(ไม่ส่งร่าง ให้สภาพิจารณาภายในเจ็ดวัน) และมาตรา ๙๒(ฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติ
หน้าที่ตามหน้าที่)
o จาคุกโดยคาพิพากษาสิ้นสุด
o ราษฎรในเขต อบต.ที่มีสิทธิ์เลือกตั้งและมาลงเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า สามในสี่ลงชื่อถอดถอน
+คาวินิจฉัยของ นายอาเภอถือเป็นที่สิ้นสุด/ให้ปลัดทาหน้าที่นายกหากยังไม่มีการประกาศผลเลือกตั้ง
+รองนายก/เลขา พ้นจากตาแหน่ง เหมือนของ นายก ต่างเพียง ยื่นหนังสือลาออกต่อนายก และเพิ่มนายก
สั่งให้พ้นจากตาแหน่ง
 นายก/รอง/เลขา จะต้อง
o ไม่ดารงตาแหน่งทางราชการ รัฐวิสาหกิจ เว้นแต่ กม.กาหนด
o ไม่รับเงินหรือผลประโยชน์จากราชการ รัฐวิสาหกิจ นอกเหนือจาก ทาเป็นปกติ
o ไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงทางอ้อม กับสัญญา ที่ อบต.นั้นทา
 นายก/รอง/ปลัด/พนักงานส่วนตาบล มีอานาจเปรียบเทียบคดีปรับ ตามระเบียบและวิธีที่ ก.มหาดไทยกาหนด
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ ๓ อานาจหน้าที่ของ อบต.
 พัฒนาตาบลทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
 อบต. มีหน้าที่
ต้องทา อาจะทา
- บารุงทางน้า ทางบก
- รักษาความสะอาดถนน สารธารณะ กาจัดสิ่ง
ปฏิกูล
- ป้ องกันโรคติดต่อ
- ป้ องกันบรรเทาสาธารธภัย
- ส่งเสริม ศาสนา การศึกษาและวัฒนธรรม
- คุมครองดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
- บารุงศิลปะจารีต ประเพณี
- หน้าที่อื่น ตามที่ ราชการมอบหมาย
- ให้มีน้า กิน น้าใช้ และการเกษตร
- ให้มีการบารุงการฟ้ า
- ให้มีและบารุงทางระบายน้า
- ให้มีและบารุงสถานที่ประชุม กีฬา ที่พักผ่อน
- ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และสหกรณ์
- ส่งเสริมอุตสาหกรรมครอบครัว
- ส่งเสริมการประกอบอาชีพ
- ดูแลทรัพย์สินสาธารณะ
- หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต.
- มีตลาดท่าเทียบท่าข้าม
- การท่องเที่ยว
- การผังเมือง
 ข้อบัญญัติ อบต.กาหนดโทษปรับไม่เกิน หนึ่งพันบาท
 ร่างข้อบัญญัติ อบต. เสนอได้ โดย
o คณะผู้บริหาร / สมาชิกสภา อบต. / ปชช. ตาม กม.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
o ถ้านายอาเภอไม่เห็นชอบ ให้ส่งคืนสภา ภายในสิบห้าวัน ถ้าไม่ส่งคืนภายสิบห้าวันให้ถือว่าเห็นชอบ
o เมื่อส่งคืนสภาให้พิจารณาร่าง ถ้ามีมติยืนยัน ไม่น้อยกว่าสองในสาม ให้ส่งให้นายก ลงนามประกาศใช้ /
หากไม่ยืนยัน ภายในสามสิบวันหรือ ยืนยันน้อยกว่าสองในสามให้ ร่างนั้นตกไป
 การทากิจรรมนอกเขต จะต้อง
o ได้รับความยินยอมจากท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง
o เป็นกิจการที่จาเป็นต้องทา
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ ๔ รายได้และรายจ่ายของ อบต.
 ภาษีบารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้ าย อากรฆ่าสัตว์ให้ถือเป็นรายได้ของ อบต.
 ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ ที่จังหวัดจัดเก็บแล้วจัดสรรให้ อบต.
 อบต. สามารถออกข้อบัญญัติเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมเพิ่มได้ ไม่เกินร้อยละ สิบ ดังนี้
o ภาษีธุรกิจเฉพาะ
o ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา
o ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเล่นการพนัน
 ค่าธรรมเนียมว่าด้วย น้าบาดาล/อากรประธานบัตร/อาชญาบัตร/ธรรมเนียมป่าไม้/ค่าจดทะเบียนนิติกรรม ที่จัดเก็บใน
เขต อบต.ให้ถือเป็นรายได้ของ อบต.
 ค่าภาคหลวงแร่ตาม กม. ให้จัดสรรให้ อบต.
 เงินที่เก็บตาม กม.ว่าด้วย อุทยาน ให้แบ่งให้ อบต.
 อบต. มีอานาจออกข้อบัญญัติเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้ ดังนี้
o กรณี ประมวลรัษฎากร เรียกเก็บ ร้อยล่ะ ศูนย์ ให้ อบต.เก็บอัตราร้อยล่ะ ศูนย์
o กรณี ประมวลรัษฎากร เรียกเก็บ อัตราอื่น ให้ อบต. เก็บ หนึ่งในก้าว ของประมวลรัษฎากร
 อบต. สามารถให้หน่วยงานอื่นเก็บภาษี/ค่าธรรมเนียม แล้ว แบ่งให้ อบต. ก็ได้
 อบต. อาจมีรายได้ จาก
o ทรัพย์สิน
o สาธารณูปโภค
o กิจการพาณิชย์
o ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาต ค่าเปรียบเทียบปรับ
o ทรัพย์อุทิศ
o รายได้ตามรัฐบาลหรือหน่วยงานอื่นจัดสรร
o เงินอุดหนุนจากรัฐบาล
o อื่นๆตาม กม.กาหนด
 อบต. อาจกู้เงินได้ เมื่อ สภา อบต. อนุญาต
 รายได้ของ อบต. ไม่ต้องเสียภาษี โดยตราเป็น พระราชกฏษฎีกาตามประมวลรัษฎากร
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
 อบต. อาจมีรายจ่าย ดังนี้
o เงินเดือน
o ค่าจ้าง
o เงินค่าตอบแทนอื่นๆ
o ค่าใช้สอย
o ค่าวัสดุ
o ค่าครุภัณฑ์
o ค่าที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
o ค่าสาธารณูปโภค
o เงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น
o อื่นๆ ตามข้อผูกพัน หรือตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย
 งบประมาณรายจ่ายประจาปี / เพิ่มเติม เสนอได้เฉพาะ นายก อบต.
o สภาจะต้องพิจารณา ภายใน หกสิบวัน หากเกินนี้ให้ถือว่า ผ่านมติสภา
 กรณีสภาไม่รับหลักการ ให้นายอาเภอตั้ง กรรมการ ๗ คน ภายใน ๗ วัน ประอบด้วย
 สมาชิกสภา ที่สภาเสนอ จานวน ๓ คน
 บุคคลอื่น ที่ นายกเสนอ จานวน ๓ คน (เป็นหรือไม่เป็นสมาชิกสภา ก็ได้)
 ให้กรรมการเลือกประธาน ๑ คน (ต้องไม่เป็นนายก/รอง/เลขา/สมาชิกสภา)
 ให้ กรรมการ พิจารณา ให้เสร็จ ภายใน สิบห้าวัน นับแต่วันที่แต่งตั้งประธานกรรมการ
 เมื่อกรรมการพิจารณาเสร็จให้ นายอาเภอส่งคืนให้นายก ส่งให้สภา พิจารณาภายในเจ็ดวัน ถ้าไม่
ส่ง ให้นายอาเภอเสนอผู้ว่า สั่งให้นายกออกจากตาแหน่ง
 สภา อบต.จะต้องพิจารณา ภายในสามสิบวัน หากเกินหรือไม่ผ่านมติ ให้ถือว่า ข้อบัญญัตินั้นตก
ไป และให้นายอาเภอเสนอผู้ว่า สั่งยุบสภา อบต.
o เมื่อ ผ่านมติของสภาแล้ว ส่งให้นายอาเภออนุมัติ ภายในสิบห้าวัน หากเกินสิบห้าวัน ให้ถือว่าอนุมัติ
o กรณี อาเภอไม่อนุมัติ ต้องส่งคืนสภาพร้อมแจ้งเหตุผล
o ให้สภาต้องพิจารณาและลงมติ หากมีมติยืนยัน ให้ นายอาเภอ ส่งร่างนั้นให้แก่ ผู้ว่า พิจารณาภายใน สิบห้า
วัน หากเกินนี้ให้ถือว่าเห็นชอบ ถ้าผู้ว่าไม่เห็นชอบ ให้ถือว่าร่างนั้นตกไป
 ระเบียบว่าด้วยการคลัง งบประมาณ การโอนทรัพย์ ค่าจ้าง ค่าตอบแทนต่างๆ ให้เป็นไปตาม ระเบียบ
กระทรวงมหาดไทย
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ ห้า การกากับดูแล
 ให้ นายอาเภอมี อานาจ ในการกากับดูแล อบต.
 นายอาเภอสามารถยับยั้งการกระทา ของ อบต. แล้วรายรายงานผู้ว่า ภายในสิบห้าวัน
 คาสั่งข้องผู้ว่าที่เกี่ยวกับนานก อบตง ไม่มีผลผูกพันถืง อบต.
 เพื่อคุมครองประโยชน์ ปชช. นายอาเภอมีอานาจเสนอผู้ว่า ยุบสภา อบต.ได้
 เมื่อมีการยุบสภาตาม พรบ. นี้จะต้องเลือกตั้งใหม่ภายใน สี่สิบห้าวัน
 นายอาเภอมีอานาจสอบสวน นายก/รองนายก/ประธานสภา/รองประธานสภา และเสนอให้ผู้ว่า สั่งให้พ้นจาก
ตาแหน่ง
 คาสั่งผู้ว่าถือเป็นที่สิ้นสุด
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางเปรียบเทียบ สภาตาบลและ อบต.
ประเด็น สภาตาบล อบต.
โครงสร้าง - สมาชิกโดยตาแหน่ง
(กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์)
- สมาชิกเลือกตั้ง
(บ้านล่ะ ๑ คน)
- สภา อบต.
- นายก อบต.
ฐานะ - นิติบุคล - นิติบุคล และ
- บริหารราชการส่วนท้องถิ่น
สภา
- ประธานสภา
- สมาชิก
- เลขา
- การประชุม
- กานัน
- โดยตาแหน่งและเลือกตั้ง (บ้าน๑คน)
- ข้าราชการใน ตาบล
- เดือนล่ะ ๑ ครั้ง
- เลือกจากสมาชิกสภา
- เลือกตั้ง (บ้านล่ะ ๒ คน)
- ปลัดหรือ สมาชิกสภา
- ๒-๔ สมัย สมัยล่ะ ๑๕ วัน
อานาจและหน้าที่  พัฒนาตาบลตามแผนงานโครงการ
และงบประมาณ
 เสนอแนะส่วนราชการในการบริหาร
ราชการพัฒนาตาบล
 หน้าที่อื่นๆตามที่ กม. กาหนด
หน้าที่อาจทา
- น้าอุปโภค บริโภค การเกษตร
- บารุงทางน้าทางบก
- รักษาทางน้า ความสะอาดกาจัดขยะ
มูลฝอย
- ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
- ส่งเสริมการประกอบอาชีพ
- ส่งเสริม การพัฒนา เด็ก สตรี เยาวชน
คนพิการ คนชรา
 พัฒนาตาบลทั้ง ด้าน
เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม
หน้าที่ต้องทา
- บารุงทางน้า ทางบก
- ความสะอาด กาจัดสิ่งปฏิกูล
- ป้ องกันโรคติดต่อ
- ป้ องกันบรรเทาสาธารธภัย
- ส่งเสริม ศาสนา การศึกษา
และวัฒนธรรม
- ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
- บารุงศิลปะจารีต ประเพณี
- หน้าที่อื่น ตามที่ ราชการ
มอบหมาย
สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ประเด็น สภาตาบล อบต.
ร่างข้อบังคับ/บัญญัติ - ทาเป็น ข้อบังคับ
- นายอาเภออนุมัติ
- ภายใน ๑๕ วัน
- ทาเป็นข้อบัญญัติ
- นายอาเภอเสนอผู้ว่าอนุมัติ
- ภายใน ๑๕ วัน
รายได้ - ภาษี อบจ.จัดสรรให้
- เงินอุดหนุนจากรัฐ
- อื่นๆ
- เก็บภาษีเอง เว้น ภาษีรถ
- ค่าธรรมเนียมน้าบาดาล อากร
ประธานบัตร อาชญาบัตร
- ค่าภาคหลวงแร่
- อุทยาน
- เก็บภาษีเพิ่มได้ ไม่เกินร้อยล่ะ
สิบ (ธุรกิจเฉพาะ/สุรา/พนัน)
- เก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม(ร้อยล่ะ ๐
/หนึ่งในเก้า)
- อื่นๆ
การกากับดูแล นายอาเภอ นายอาเภอ
“ผิดถูกอย่างไรขออภัยด้วยครับ..
ก้าวต่อไป.. สู้ต่อไป” 
ท.ทะนง
http://sodev10.blogspot.com/

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมsasithorn pachareon
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 

Mais procurados (20)

แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ. พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ถามตอบ ชุดที่ 2
 
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่...
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 8 พ...
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึ...
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
 

[สรุป] พรบ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล 2537แก้ไข 2552

  • 1. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๖ พ.ศ.๒๕๔๖ -----------------------------------------------------------------------------------------------------------------  ผู้สนองพระบรมราชการ คือ นายบัญญัติ บรรทัดฐาน รองนายกรัฐมนตรี  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗  บังคับใช้วันที่ ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ (เก้าสิบวันหลังจากประกาศในราชกิจานุเบกษา)  “หน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่น” หมายถึง เทศบาล สุขาภิบาล ราชส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ยกเว้น อบจ.  รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รักษาการตาม พรบ. ฉบับนี้ หมวดที่ ๑ สภาตาบล  สภาตาบลมีฐานะเป็น นิติบุคคล ส่วนที่ ๑ สมาชิกสภาตาบล  ประกอบด้วย o สมาชิกโดยตาแหน่ง ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และแพทย์ประจาตาบล o สมาชิกโดยการเลือกตั้งหมู่บ้านละ ๑ คน  ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง ตาม กม.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น  ผู้มีสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง จะต้อง (มาตรา ๙) o มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านติดต่อกันไม่น้อยกว่าหนึ่งปีนับถึงวันรับสมัคร o ไม่เป็นผู้ทุจริต และไม่เคยถูกให้พ้นจากตาแหน่งเพราะมีส่วนได้ส่วนเสียจากการทาสัญญาไม่ต่ากว่า ๕ ปี o มีคุณสมบัติตาม กม.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น  ให้นายอาเภอจัดการเลือกตั้งตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดใน ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย  สมาชิกสภาที่มาจากการเลือกตั้งมี วาระ คราวละ สี่ปี  สมาชิกสภาตาบล อาจพ้นจากตาแหน่ง ด้วย o ตาย o ยืนหนังสือลาออกต่อนายอาเภอ(ให้พ้นนับแต่วันลาออก) o การยุบสภาตาบล o เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงทางอ้อมในสัญญากับ สภาตาบล
  • 2. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ o มติของสภาตาบล สองในสามของสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ o นายอาเภอสั่งให้พ้นจากตาแหน่ง เพราะ  ขาดคุณสมบัติตาม มาตรา ๙  ไม่ได้อยู่ในหมู่บ้านติดต่อกันเป็นเวลา หกเดือน  ขาดประชุมสภา สามครั้ง o ผู้ว่าสั่งให้พ้น เมื่อสอบสวนว่าบกพร่องในทางความประพฤติ  เมื่อตาแหน่งว่างลงเพราะครบวาระให้มีการเลือกตั้ง ภายใน สี่สิบห้าวัน นับแต่วันที่ครบวาระ  หากว่างลงเพราะเหตุอื่น ให้มีการเลือกตั้งแทนตาแหน่งที่ว่างภายใน หกสิบวัน นับแต่วันที่ตาแหน่งนั้นว่างลง เว้นแต่ วาระการดารงตาแหน่งเหลือไม่ถึง หนึ่ง ร้อยแปดสิบวัน ให้สภาประกอบด้วยสมาชิกเท่าที่มี  เมื่อมีการแยกพื้นที่หมู่บ้าน ให้นายอาเภอจัดให้มีการเลือกตั้ง สมาชิกสภา ในหมู่บ้านใหม่นั้น ภายใน สี่สิบห้าวัน เว้น แต่เหลือวาระการดารงตาแหน่ง ไม่ถึงหนึ่ง ร้อยแปดสิบวัน  สภาตาบลมี กานัน เป็นประธานสภา และมี รองประธาน ซึ่งนายอาเภอแต่งตั้งตาม มติของสภา  รองประธานสภาพ้นตาแหน่งเมื่อ o ลาออก โดยยื่นต่อนายอาเภอ (พ้นตาแหน่งนับแต่วนที่ลาออก) o พ้นตาม ม.๑๒  ประธานเป็นผู้เรียกประชุมสภา และดาเนินการประชุม ให้เป็น ไปตามข้อบังการประชุมที่กระทรวงมหาดไทยกาหนด  หากประธานหรือรองประธานไม่อยู่ให้สมาชิกเลือกหนึ่งคนขึ้นเป็นประธานในการประชุมครั้งนั้น  ให้มีการประชุมสภาตาบลอย่างน้อยเดือนล่ะ ๑ ครั้ง และต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งจึงครบองค์ประชุม  ในการออกเสียงหากมีคะแนนเท่ากัน ให้ประธานออกเสียงได้เพื่อชี้ขาด  ให้สภาตาบลมีเลขานุการ หนึ่งคน ซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการที่ปฏิบัติงานในตาบลนั้นๆ โดยนายอาเภอเป็นผู้แต่งตั้ง และถอดถอนเลขาตาม มติของสภา เลขานุการสภา ทาหน้าที่ o รับผิดชอบงานธุรการ o จัดการประชุม และ o งานอื่นๆ ตามที่สภาตาบลมอบหมาย  ให้สมาชิกสภาตาบลและเลขานุการสภา เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
  • 3. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ส่วนที่ ๒ อานาจหน้าที่ของสภาตาบล  มีอานาจหน้าที่ o พัฒนาตาบลตามแผนงานโครงการและงบประมาณ o เสนอแนะส่วนราชการในการบริหารราชการพัฒนาตาบล o หน้าที่อื่นๆตามที่ กม. กาหนด  สภาตาบลอาจ ดาเนินกิจการภายในตาบล ดังนี้ o จัดให้มีน้า อุปโภค บริโภค และ การเกษตร o ให้มีการบารุงทางน้าทางบก o ให้มีการรักษาทางน้า ความสะอาดถนน กาจัดขยะมูลฝอย o ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ o ส่งเสริมการประกอบอาชีพ o ส่งเสริม การพัฒนา เด็ก สตรี เยาวชน คนพิการ คนชรา  กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจาตาบล ต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญากับสภาตาบล หากฝ่าฝืน ให้ผู้ว่าสั่ง ให้ออกจากตาแหน่ง  ให้กานัน ผู้ใหญ่บ้านดาเนินการให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาตาบล  การจัดทาโครงการ หรือกิจกรรมใดของหน่วยงานราชอื่น ให้ คานึงถึงแผนพัฒนาตาบลด้วย  การปฏิบัติหน้าที่ของสภาตาบลให้ ประธานสภาเป็นผู้รับผิดชอบ และดาเนินการ  การทานิติกรรมของสภา ต้องประกอบด้วย (เป็นไปตาม ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย) o ประธานสภา o เลขขานุการสภา และ o สมาชิกสภา ๑ คน  การทานิติกรรมจะเป็นไปตาม ระเบียบของกระทรวงมหาดไทย  การทากิจกรรมนอกเขต จะต้อง o ได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด o ได้รับความยินยอมจาก ท้องถิ่นอื่น หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง o กิจการนั้นจาเป็นต้องทา
  • 4. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ส่วนที่ ๓ รายได้และรายจ่ายของสภาตาบล  สภาตาบลมีรายได้ ซึ่ง อบจ. จัดสรรให้ตามหลักเกณฑ์ที่ กระทรวงมหาดไทยกาหนด ดังนี้ o ภาษีบารุงท้องที่ โรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้ าย อากรฆ่าสัตว์ o ค่าธรรมเนียมค่าใบอนุญาต ค่าปรับ o ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเล่นการพนัน o ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีธุรกิจเฉพาะ o ภาษีสุรา และสรรพสามิต o ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน  ทุกปีงบประมาณให้รัฐบาลจัดสรรเงินให้สภาเป็น เงินอุดหนุน  สภาอาจมีรายได้ จาก o ทรัพย์สินของสภา o สาธารณูปโภคของสภา o ทรัพย์ที่มีผู้อุทิศให้ o เงินอุดหนุน หรือรายได้อื่นที่หน่วยงานอื่นจัดให้ o รายได้อื่นที่ มี กม.กาหนดให้เป็นของ สภาตาบล  รายได้ของสภาตาบล ไม่ต้องเสียภาษีโดยตราเป็นพระราชกฎฎีกา และไม่ต้อนาส่งคลังรายได้แผ่นดิน  สภาตาบลมีรายจ่าย ดังนี้ o เงินเดือน /ค่าจ้าง /ค่าตอบแทนอื่นๆ /ค่าใช้สอย /ค่าวัสดุ /ค่าครุภัณฑ์ /ค่าที่ดิน /ค่าสาธารณูปโภค o เงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น  ค่าตอบแทนของประธาน รองประธาน สมาชิกสภา และเลขา ให้เป็นไปตาม ระเบียบกระทรวงมหาดไทย  งบประมาณรายจ่ายประจาปีและรายจ่ายเพิ่มเติม ให้จัดทาเป็น ข้อบังคับ ตามระเบียบและวิธีการที่ กระทรวงมหาดไทยกาหนด เมื่อร่างเสร็จให้ นายอาเภออนุมัติ ถ้าออกไม่ทันให้ใช่ข้อบังคับของปีก่อนไปพลางก่อน  ให้กระทรวงมหาดไทยออกระเบียบ ว่าด้วยการคลัง งบประมาณ การรักษาและหาประโยชน์จากทรัพย์สิน การจัดหา พัสดุและการจ้างเหมา
  • 5. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ส่วนที่ ๔ การกากับดูแล  นายอาเภอมีอานาจหน้าที่ในการกากับดูแลสภาตาบลให้เป็นไปตาม กม. และข้อบังคับราชการ  หากสภาตาบลปฏิบัติไม่ชอบด้วย กม. หรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ ให้ นายอาเภอยับยั้งการ ดาเนินการนั้นและรายงานผู้ว่า ภายใน สิบห้าวัน นับแต่วันยับยั้ง  และผู้ว่าต้องวินิจฉัยภายใน สามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับรายาน หากไม่นายอาเภอไม่รายงานหรือผู้ว่าไม่วินิจฉัยตาม เวลาดังกล่าวให้การยับยั้งของอานาจอาเภอเป็นอันสิ้นสุดลง
  • 6. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ หมวดที่ ๒ องค์การบริหารส่วนตาบล  สภาตาบลที่มีรายได้ โดยไม่รวมเงินอุดหนุน เฉลี่ย ไม่ตากว่า ปีล่ะ หนึ่งแสนห้าหมื่นบาท อาจจัดตั้งเป็นองค์การ บริหารส่วนตาบลได้ โดยทาเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทย และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา จะต้องระบุชื่อและ เขต ของ อบต.นั้นด้วย  สภาตาบล หรือ อบต.อาจรวมกับอบต.หรือหน่วยบริหารราชการท้องถิ่นอื่นในเขตอาเภอเดียวกันได้ ตาม เจตนารมณ์ ของ ประชาชน  ให้กระทรวงมหาดไทยยุบสภาตาบลทั้งหมดและ อบต.ที่มี ประชากรไม่ถึงสองพันคนให้รวมเข้ากับ อบต.หรือหน่วย บริหารราชการท้องถิ่นอื่น ภายใน ก้าวสิบวัน เว้นแต่ อบต.ที่มีไม่ถึง สองพันคน แต่มีสภาพเป็นเกาะ  อบต.มีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วยสภา อบต. และนายก อบต. ส่วนที่ ๑ สภาองค์การบริหารส่วนตาบล  สภา อบต.ประกอบด้วยสมาชิก ซึ่งมาจากการเลือกตั้ง หมู่บ้านล่ะสองคน เว้นแต่มี หนึ่งหมู่บ้านให้มี หกคน หรือมี สองหมูบ้านให้มี สามคน  อายุของสภามีกาหนดคราวล่ะ สี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง  สภา อบต. มีอานาจหน้าที่ ดังนี้ o ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา อบต. o พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติอบต. /งบประมาณรายจ่ายประจาปี /งบประมาณเพิ่มเติม o ควบคุมการปฏิบัติงานของ นายก อบต.  ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งและสมัครรับเลือกตั้ง เหมือนของ สภาตาบล  การพ้นสภาพเหมือนกับสภาตาบล แต่เพิ่ม (มาตรา ๔๙) o ยื่นหนังสือลาออกต่อนายอาเภอ o มติสภาตาบล ให้สมาชิกสภา หนึ่งในสามเข้าชื่อให้สภา พิจารณา และลงมติ สามในสี่ และมสิทธิอุธรณ์ต่อ นายอาเภอภายในสิบห้าวัน และนายอาเภอพิจารณาภายในสามสิบวัน o ราษฎรในเขต อบต.ที่มีสิทธิ์เลือกตั้งและมาลงเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า สามในสี่ลงชื่อถอดถอน  ให้มีประธานสภา และรองประธานสภา โดยนายอาเภอแต่งตั้งตาม มติของ สภา มีวาระตามอายุสภาและจะพ้นเมื่อ o ลาออก โดยยื่นหนังสือลาออกต่อนายอาเภอ o สิ้นสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิก อบต. o ผู้ว่าสั่งให้พ้นตาม มาตรา ๙๒ (เมื่อพ้นแล้วจะกลับมาดารงตาแหน่งอีกไม่ได้ )
  • 7. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------  หากตาแหน่งประธานหรือรอประธานว่างลงด้วยเหตุอื่น นอกจากครบวาระ ให้มีการเลือกขึ้นใหม่ภายใน สี่สิบห้าวัน  ประธานสภา มีหน้าที่ ดาเนินการประชุมและดาเนินกิจการอื่นให้เป็นไปตามข้อบังคับของกระทรวงมหาดไทย  หากมีการปิดประชุมก่อนวาระประชุมจะหมด สมาชิกสภา ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งมีสิทธิเข้าชื่อขอประชุมต่อ  ในปีหนึ่งให้มีสมัยระชุมสภา สองสมัย แต่ไม่เกินสี่สมัย หนึ่งสมัยมีกาหนด สิบห้าวัน ถ้าจะขยายให้ขอ นายอาเภอ  นายอาเภอต้องกาหนดให้มีการประชุมสภาครั้งแรกภายใน สิบห้าวัน และเลือกประธานกับรองประธาน หากไม่ สามารถจัดประชุมได้ หรือ ไม่สามารถเลือกประธานและรองได้ ให้ นายอาเภอรายงานผู้ว่าสั่ง ยุบสภา  นายก อบต. หรือ ประธานสภา หรือสมาชิกสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง สามารถขอเปิดประชุม วิสามัญได้  การประชุมสภาต้องมีสมาชิกสภาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง จึงจะถือเป็นองค์ประชุม  ให้เลือกปลัดหรือสมาชิกสภาตาบลคนหนึ่ง เป็นเลขาสภา ทาหน้าที่ o รับผิดชอบงานธุรการ o จัดการประชุม o งานอื่นๆตามที่ประธานสภามอบหมาย ส่วนที่ ๒ นายก อบต.  ต้องมากจากการเลือกตั้งโดยตรงของ ประชาชน มี o อายุไม่ต่ากว่า สามสิบปี o จบ ม.ปลาย หรือเทียบเท่า o ไม่มีพฤติกรรมทุจริต หรือถูกสั่งให้พ้นตาแหน่งไม่น้อยกว่าห้าปี  มีวาระ สี่ปีนับแต่วันเลือกตั้ง  มีรองนายกได้ไม่เกิน สองคน ซึ่งต้องไม่เป็นสมาชิกสภา และมีเลขได้หนึ่งคนซึ่งต้องไม่เป็นสมาชิกสภาและข้าราชการ  ก่อนการเข้ารับตาแหน่งให้นายกแถลงนโยบายในสภา ภายใน สามสิบวันนับแต่วันประกาศผลการเลือกตั้ง และ จะต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษรให้แก่สมาชิกที่มาประชุม  หากไม่สามารถแถลงได้ให้ นายอาเภอ แจงนายกทานโยบายส่งให้สมาชิกสภาโดยทาเป็น คาสั่งทางปกครอง  สมาชิกสภาไม่น้อยกว่า หนึ่งในสาม มีสิทธิเข้าชื่อขอเปิดอภิปราย นายก โดยไม่มีการลงมติ โดยยื่นต่อประธานสภา และประธานต้องกาหนดวันอภิปราย ไม่เร็วไปกว่า ห้าวันและไม่ช้าไปกว่า สิบห้าวัน (ทาได้ครั้งเดียวในสมัยประชุม สามัญสมัยหนึ่ง)  นายก อบต. มีอานาจหน้าที่ดังนี้ o กาหนดนโยบายและรับผิดชอบการบริหาร o สั่ง อนุญาต อนุมัติเกี่ยวกับราชการของ อบต.
  • 8. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ o แต่งตั้ง ถอดถอน รองและเลขา นายก o วางระเบียบ o รักษาการให้เป็นไปตาม ข้อบัญญัติ อบต. o อื่นๆตาม กม.  นายก อบต. เป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานส่วนตาบลและลูกจ้าง อบต.  ถ้านายกไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองนายกหรือ ปลัด อบต. ทาหน้าที่แทน ถ้ามอบให้ปลัดให้ทาเป็นคาสั่งและ ประกาศให้ประชาชนทราบ  นายกพ้นจากตาแหน่งเมื่อ o ตาย / ออกตามวาระ /ยื่นหนังสือลาออกต่อ นายอาเภอ o ขาดคุณสมบัติตาม มาตรา ๕๘/๑(อายุ สามสิบ/จบ ม.ปลาย/ไม่ทุจริต) o ฝ่าฝืนตามาตรา ๖๔/๒ (ดารงตาแหน่งอื่นของทางราชการเว้นแต่ กม.กาหนด/ รับเงินหรือผลประโยชน์จาก หน่วยงานอื่นทั้งรัฐและเอกชน/ มีส่วนเสียในสัญญาที่ อบต.นั้นเป็นคู่สัญญา) o ผู้ว่าสั่งให้พ้นตาม มาตรา ๘๗/๑(ไม่ส่งร่าง ให้สภาพิจารณาภายในเจ็ดวัน) และมาตรา ๙๒(ฝ่าฝืน/ไม่ปฏิบัติ หน้าที่ตามหน้าที่) o จาคุกโดยคาพิพากษาสิ้นสุด o ราษฎรในเขต อบต.ที่มีสิทธิ์เลือกตั้งและมาลงเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า สามในสี่ลงชื่อถอดถอน +คาวินิจฉัยของ นายอาเภอถือเป็นที่สิ้นสุด/ให้ปลัดทาหน้าที่นายกหากยังไม่มีการประกาศผลเลือกตั้ง +รองนายก/เลขา พ้นจากตาแหน่ง เหมือนของ นายก ต่างเพียง ยื่นหนังสือลาออกต่อนายก และเพิ่มนายก สั่งให้พ้นจากตาแหน่ง  นายก/รอง/เลขา จะต้อง o ไม่ดารงตาแหน่งทางราชการ รัฐวิสาหกิจ เว้นแต่ กม.กาหนด o ไม่รับเงินหรือผลประโยชน์จากราชการ รัฐวิสาหกิจ นอกเหนือจาก ทาเป็นปกติ o ไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งทางตรงทางอ้อม กับสัญญา ที่ อบต.นั้นทา  นายก/รอง/ปลัด/พนักงานส่วนตาบล มีอานาจเปรียบเทียบคดีปรับ ตามระเบียบและวิธีที่ ก.มหาดไทยกาหนด
  • 9. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ส่วนที่ ๓ อานาจหน้าที่ของ อบต.  พัฒนาตาบลทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม  อบต. มีหน้าที่ ต้องทา อาจะทา - บารุงทางน้า ทางบก - รักษาความสะอาดถนน สารธารณะ กาจัดสิ่ง ปฏิกูล - ป้ องกันโรคติดต่อ - ป้ องกันบรรเทาสาธารธภัย - ส่งเสริม ศาสนา การศึกษาและวัฒนธรรม - คุมครองดูแลทรัพยากรธรรมชาติ - บารุงศิลปะจารีต ประเพณี - หน้าที่อื่น ตามที่ ราชการมอบหมาย - ให้มีน้า กิน น้าใช้ และการเกษตร - ให้มีการบารุงการฟ้ า - ให้มีและบารุงทางระบายน้า - ให้มีและบารุงสถานที่ประชุม กีฬา ที่พักผ่อน - ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกร และสหกรณ์ - ส่งเสริมอุตสาหกรรมครอบครัว - ส่งเสริมการประกอบอาชีพ - ดูแลทรัพย์สินสาธารณะ - หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ อบต. - มีตลาดท่าเทียบท่าข้าม - การท่องเที่ยว - การผังเมือง  ข้อบัญญัติ อบต.กาหนดโทษปรับไม่เกิน หนึ่งพันบาท  ร่างข้อบัญญัติ อบต. เสนอได้ โดย o คณะผู้บริหาร / สมาชิกสภา อบต. / ปชช. ตาม กม.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น o ถ้านายอาเภอไม่เห็นชอบ ให้ส่งคืนสภา ภายในสิบห้าวัน ถ้าไม่ส่งคืนภายสิบห้าวันให้ถือว่าเห็นชอบ o เมื่อส่งคืนสภาให้พิจารณาร่าง ถ้ามีมติยืนยัน ไม่น้อยกว่าสองในสาม ให้ส่งให้นายก ลงนามประกาศใช้ / หากไม่ยืนยัน ภายในสามสิบวันหรือ ยืนยันน้อยกว่าสองในสามให้ ร่างนั้นตกไป  การทากิจรรมนอกเขต จะต้อง o ได้รับความยินยอมจากท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง o เป็นกิจการที่จาเป็นต้องทา
  • 10. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ส่วนที่ ๔ รายได้และรายจ่ายของ อบต.  ภาษีบารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้ าย อากรฆ่าสัตว์ให้ถือเป็นรายได้ของ อบต.  ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ ที่จังหวัดจัดเก็บแล้วจัดสรรให้ อบต.  อบต. สามารถออกข้อบัญญัติเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมเพิ่มได้ ไม่เกินร้อยละ สิบ ดังนี้ o ภาษีธุรกิจเฉพาะ o ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตขายสุรา o ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตเล่นการพนัน  ค่าธรรมเนียมว่าด้วย น้าบาดาล/อากรประธานบัตร/อาชญาบัตร/ธรรมเนียมป่าไม้/ค่าจดทะเบียนนิติกรรม ที่จัดเก็บใน เขต อบต.ให้ถือเป็นรายได้ของ อบต.  ค่าภาคหลวงแร่ตาม กม. ให้จัดสรรให้ อบต.  เงินที่เก็บตาม กม.ว่าด้วย อุทยาน ให้แบ่งให้ อบต.  อบต. มีอานาจออกข้อบัญญัติเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้ ดังนี้ o กรณี ประมวลรัษฎากร เรียกเก็บ ร้อยล่ะ ศูนย์ ให้ อบต.เก็บอัตราร้อยล่ะ ศูนย์ o กรณี ประมวลรัษฎากร เรียกเก็บ อัตราอื่น ให้ อบต. เก็บ หนึ่งในก้าว ของประมวลรัษฎากร  อบต. สามารถให้หน่วยงานอื่นเก็บภาษี/ค่าธรรมเนียม แล้ว แบ่งให้ อบต. ก็ได้  อบต. อาจมีรายได้ จาก o ทรัพย์สิน o สาธารณูปโภค o กิจการพาณิชย์ o ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาต ค่าเปรียบเทียบปรับ o ทรัพย์อุทิศ o รายได้ตามรัฐบาลหรือหน่วยงานอื่นจัดสรร o เงินอุดหนุนจากรัฐบาล o อื่นๆตาม กม.กาหนด  อบต. อาจกู้เงินได้ เมื่อ สภา อบต. อนุญาต  รายได้ของ อบต. ไม่ต้องเสียภาษี โดยตราเป็น พระราชกฏษฎีกาตามประมวลรัษฎากร
  • 11. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------  อบต. อาจมีรายจ่าย ดังนี้ o เงินเดือน o ค่าจ้าง o เงินค่าตอบแทนอื่นๆ o ค่าใช้สอย o ค่าวัสดุ o ค่าครุภัณฑ์ o ค่าที่ดิน สิ่งก่อสร้าง o ค่าสาธารณูปโภค o เงินอุดหนุนหน่วยงานอื่น o อื่นๆ ตามข้อผูกพัน หรือตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทย  งบประมาณรายจ่ายประจาปี / เพิ่มเติม เสนอได้เฉพาะ นายก อบต. o สภาจะต้องพิจารณา ภายใน หกสิบวัน หากเกินนี้ให้ถือว่า ผ่านมติสภา  กรณีสภาไม่รับหลักการ ให้นายอาเภอตั้ง กรรมการ ๗ คน ภายใน ๗ วัน ประอบด้วย  สมาชิกสภา ที่สภาเสนอ จานวน ๓ คน  บุคคลอื่น ที่ นายกเสนอ จานวน ๓ คน (เป็นหรือไม่เป็นสมาชิกสภา ก็ได้)  ให้กรรมการเลือกประธาน ๑ คน (ต้องไม่เป็นนายก/รอง/เลขา/สมาชิกสภา)  ให้ กรรมการ พิจารณา ให้เสร็จ ภายใน สิบห้าวัน นับแต่วันที่แต่งตั้งประธานกรรมการ  เมื่อกรรมการพิจารณาเสร็จให้ นายอาเภอส่งคืนให้นายก ส่งให้สภา พิจารณาภายในเจ็ดวัน ถ้าไม่ ส่ง ให้นายอาเภอเสนอผู้ว่า สั่งให้นายกออกจากตาแหน่ง  สภา อบต.จะต้องพิจารณา ภายในสามสิบวัน หากเกินหรือไม่ผ่านมติ ให้ถือว่า ข้อบัญญัตินั้นตก ไป และให้นายอาเภอเสนอผู้ว่า สั่งยุบสภา อบต. o เมื่อ ผ่านมติของสภาแล้ว ส่งให้นายอาเภออนุมัติ ภายในสิบห้าวัน หากเกินสิบห้าวัน ให้ถือว่าอนุมัติ o กรณี อาเภอไม่อนุมัติ ต้องส่งคืนสภาพร้อมแจ้งเหตุผล o ให้สภาต้องพิจารณาและลงมติ หากมีมติยืนยัน ให้ นายอาเภอ ส่งร่างนั้นให้แก่ ผู้ว่า พิจารณาภายใน สิบห้า วัน หากเกินนี้ให้ถือว่าเห็นชอบ ถ้าผู้ว่าไม่เห็นชอบ ให้ถือว่าร่างนั้นตกไป  ระเบียบว่าด้วยการคลัง งบประมาณ การโอนทรัพย์ ค่าจ้าง ค่าตอบแทนต่างๆ ให้เป็นไปตาม ระเบียบ กระทรวงมหาดไทย
  • 12. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ส่วนที่ ห้า การกากับดูแล  ให้ นายอาเภอมี อานาจ ในการกากับดูแล อบต.  นายอาเภอสามารถยับยั้งการกระทา ของ อบต. แล้วรายรายงานผู้ว่า ภายในสิบห้าวัน  คาสั่งข้องผู้ว่าที่เกี่ยวกับนานก อบตง ไม่มีผลผูกพันถืง อบต.  เพื่อคุมครองประโยชน์ ปชช. นายอาเภอมีอานาจเสนอผู้ว่า ยุบสภา อบต.ได้  เมื่อมีการยุบสภาตาม พรบ. นี้จะต้องเลือกตั้งใหม่ภายใน สี่สิบห้าวัน  นายอาเภอมีอานาจสอบสวน นายก/รองนายก/ประธานสภา/รองประธานสภา และเสนอให้ผู้ว่า สั่งให้พ้นจาก ตาแหน่ง  คาสั่งผู้ว่าถือเป็นที่สิ้นสุด
  • 13. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ตารางเปรียบเทียบ สภาตาบลและ อบต. ประเด็น สภาตาบล อบต. โครงสร้าง - สมาชิกโดยตาแหน่ง (กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์) - สมาชิกเลือกตั้ง (บ้านล่ะ ๑ คน) - สภา อบต. - นายก อบต. ฐานะ - นิติบุคล - นิติบุคล และ - บริหารราชการส่วนท้องถิ่น สภา - ประธานสภา - สมาชิก - เลขา - การประชุม - กานัน - โดยตาแหน่งและเลือกตั้ง (บ้าน๑คน) - ข้าราชการใน ตาบล - เดือนล่ะ ๑ ครั้ง - เลือกจากสมาชิกสภา - เลือกตั้ง (บ้านล่ะ ๒ คน) - ปลัดหรือ สมาชิกสภา - ๒-๔ สมัย สมัยล่ะ ๑๕ วัน อานาจและหน้าที่  พัฒนาตาบลตามแผนงานโครงการ และงบประมาณ  เสนอแนะส่วนราชการในการบริหาร ราชการพัฒนาตาบล  หน้าที่อื่นๆตามที่ กม. กาหนด หน้าที่อาจทา - น้าอุปโภค บริโภค การเกษตร - บารุงทางน้าทางบก - รักษาทางน้า ความสะอาดกาจัดขยะ มูลฝอย - ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ - ส่งเสริมการประกอบอาชีพ - ส่งเสริม การพัฒนา เด็ก สตรี เยาวชน คนพิการ คนชรา  พัฒนาตาบลทั้ง ด้าน เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม หน้าที่ต้องทา - บารุงทางน้า ทางบก - ความสะอาด กาจัดสิ่งปฏิกูล - ป้ องกันโรคติดต่อ - ป้ องกันบรรเทาสาธารธภัย - ส่งเสริม ศาสนา การศึกษา และวัฒนธรรม - ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ - บารุงศิลปะจารีต ประเพณี - หน้าที่อื่น ตามที่ ราชการ มอบหมาย
  • 14. สรุป พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.๒๕๓๗ และแก้ไขเพิ่มเติม โดย ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ประเด็น สภาตาบล อบต. ร่างข้อบังคับ/บัญญัติ - ทาเป็น ข้อบังคับ - นายอาเภออนุมัติ - ภายใน ๑๕ วัน - ทาเป็นข้อบัญญัติ - นายอาเภอเสนอผู้ว่าอนุมัติ - ภายใน ๑๕ วัน รายได้ - ภาษี อบจ.จัดสรรให้ - เงินอุดหนุนจากรัฐ - อื่นๆ - เก็บภาษีเอง เว้น ภาษีรถ - ค่าธรรมเนียมน้าบาดาล อากร ประธานบัตร อาชญาบัตร - ค่าภาคหลวงแร่ - อุทยาน - เก็บภาษีเพิ่มได้ ไม่เกินร้อยล่ะ สิบ (ธุรกิจเฉพาะ/สุรา/พนัน) - เก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม(ร้อยล่ะ ๐ /หนึ่งในเก้า) - อื่นๆ การกากับดูแล นายอาเภอ นายอาเภอ “ผิดถูกอย่างไรขออภัยด้วยครับ.. ก้าวต่อไป.. สู้ต่อไป”  ท.ทะนง http://sodev10.blogspot.com/