SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
–เครือข่ายพลเมืองเน็ต
“เปิดเน็ต เปิดใจ”
ข้อมูลองค์กร
• องค์กรไม่แสวงกำไร ดำเนินงานเพื่อ
คุ้มครองสิทธิพลเมืองที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
• ก่อตั้งในชื่อ “เครือข่ายพลเมือง
เน็ต” (Thai Netizen Network) เมื่อ
ธ.ค. 2008 ในสภาพแวดล้อมที่รัฐเริ่ม
เข้มงวดกับการควบคุมอินเทอร์เน็ต เป็น
ช่วงแรกของการใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์
• จดทะเบียน “มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและ
วัฒนธรรมพลเมือง” (Foundation for
Internet and Civic Culture) เมื่อ 28
พ.ค. 2014 -- ทะเบียนเลขที่ กท 2445
วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ
• ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้าน
เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม
• ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
การสร้างความรู้ การมีส่วนร่วมของ
พลเมือง
• ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ
ของประชาชน
ทุนดำเนินงาน
• Media Legal Defence Initiative (ธ.ค.
2008 - พ.ค. 2009)
• มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ (2009-2012)
• Privacy International (2013-2014)
• สมาคมเครือข่ายสื่อมวลชนในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ (ต.ค. 2013 - ก.ย. 2015)
• Open Society Foundation (2014)
• Global Fund for Human Rights (2015)
• และทุนโครงการระยะสั้น (1-6 เดือน) อีก
จำนวนหนึ่ง
คณะทำงานปัจจุบัน
• สฤณี อาชวานันทกุล ประธานคณะทำงาน
• ลลิตา รังสรรค์วิวัฒน์ ผู้ประสานงานเครือข่าย
• พินดา พิสิฐบุตร เจ้าหน้าที่สิทธิดิจิทัล
• อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล งานวิจัยและสื่อพลเมือง
กิจกรรม
• ติดตามสถานการณ์สิทธิดิจิทัล
• เข้าร่วมในกระบวนการด้านนโยบายทั้ง
ระดับประเทศและระหว่างประเทศ
• จัดสัมมนา อบรม และพบปะอย่างไม่
เป็นทางการกับชุมชนผู้ใช้เน็ต และจัด
ประชุมกึ่งวิชาการประจำปี
• ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีกับกลุ่ม
ประชาสังคมและนักกฎหมายสิทธิ
• เผยแพร่ข่าวสารบนเว็บไซต์และสิ่ง
พิมพ์ จัดทำและแปลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างกิจกรรม
ติดตามและเสนอนโยบาย
• ติดตามและจัดทำข้อเสนอสู่
สาธารณะ และร่วมเป็นคณะทำงาน
ตามความเหมาะสม
• การแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระ
ทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
โดยเฉพาะประเด็นความรับผิดของตัวกลาง
(intermediary liability) การควบคุมเนื้อหา และ
การใช้เป็นกฎหมายหมิ่นประมาท
• ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• ชุดกฎหมายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ-
สังคมและความมั่นคงไซเบอร์
โรงเรียนพ(ล)บค่ำ
• Night School เป็นโครงการความร่วม
มือกับห้องสมุดศิลปะ

The Reading Room Bangkok
• บรรยาย+กิจกรรมระหว่างผู้เข้าร่วม
• แลกเปลี่ยนมุมมองถึงความเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย โดย
เฉพาะประเด็นการแสดงออก ทรัพย์สิน
ทางปัญญา สื่อใหม่ ขบวนการทางสังคม
และมีเดียอาร์ต
• ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเทศกาลศิลปะ
Kunstvlaai: Festival of
Independents ที่อัมสเตอร์ดัม (2011)
พฤหัด
• ThursDIY เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยน
ทักษะออนไลน์ โดยเน้นไปที่ทักษะ
การสร้างข้อมูลพื้นฐานในรูปแบบโอ
เพนซอร์ส และการรักษาข้อมูลส่วน
บุคคล
• ตัวอย่างเนื้อหา: การทำข้อมูลแผนที่
ด้วย OpenStreetMap, การเขียนวิกิ
พีเดีย, การแปลคำบรรยายวิดีโอ
ออนไลน์ด้วย Amara, การใช้งาน
อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย
• ขยายการอบรมวิกิพีเดียและ
OpenStreetMap ไปยัง
มหาวิทยาลัย (ศิลปากร, ธรรมศาสตร์)
คู่มือสื่อพลเมือง
• คู่มือสื่อพลเมือง ความรู้และข้อ
แนะนำเบื้องต้นเพื่อให้พลเมืองทำ
สื่อเองได้ อย่างมีคุณภาพและ
ความรับผิดชอบ
• เนื้อหา: ภาษาและเครื่องมือของสื่อ
พลเมือง, เทคนิคการเผยแพร่,
จริยธรรมของสื่อพลเมือง, ข้อ
แนะนำด้านกฎหมาย, กรณีศึกษา
จากต่างประเทศ
• พิมพ์ 1,000 เล่ม (2010)
“มาราธอน”
• มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง
วัฒนธรรม รวบรวมบทความ
วิชาการ งานแปล และบันทึก
เสวนาที่จัดโดยเครือข่ายพลเมือง
เน็ต
• เนื้อหาครอบคลุมประเด็นด้าน
กฎหมาย มานุษยวิทยา วัฒนธรรม
ศึกษา ศิลปะ การเมืองระหว่าง
ประเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์ สื่อใหม่
• พิมพ์ 2,000 เล่ม (2012)
คู่มือพลเมืองเน็ต
• คู่มือพลเมืองเน็ต รวบรวมคำแนะนำ
ให้ผู้ใช้เน็ตเข้าใจการทำงานของ
อินเทอร์เน็ต และรักษาสิทธิและความ
ปลอดภัยตัวเองได้
• เนื้อหา: อินเทอร์เน็ตทำงานอย่างไร,
การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย,
ความเป็นส่วนตัวกับสื่อสังคม, ความรู้
เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์
และทรัพย์สินทางปัญญา, สิทธิใน
ความเป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคควรรู้
• พิมพ์ 3 ครั้ง รวม 6,000 เล่ม (2013)
GIS Watch
• Global Information Society Watch
เป็นรายงานประจำปีที่สำรวจความ
เปลี่ยนแปลงของสังคมสารสนเทศทั่วโลก
จัดพิมพ์โดย Association for
Progressive Communications
• เปลี่ยนหัวข้อหลักทุกปี เช่น อินเทอร์เน็ต
และการคอรัปชัน เพศสถานะและไอซีที
สิทธิอินเทอร์เน็ตและกระบวนการ
ประชาธิปไตย
• แบ่งเป็นสองส่วน: วิเคราะห์เชิงประเด็นใน
ภาพรวม และรายงานวิจัยรายประเทศ
• เครือข่ายพลเมืองเน็ตเขียนรายงานส่วน
ของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2011
รายงานพลเมืองเน็ต
• รายงานพลเมืองเน็ต (Netizen
Report) รายงานประจำปี รวบรวม
สถานการณ์สิทธิเสรีภาพด้านข้อมูล
ข่าวสาร นโยบายของภาครัฐต่อ
อินเทอร์เน็ต และปรากฏการณ์น่า
สนใจทางวัฒนธรรมออนไลน์
• จัดทำเป็นภาษาไทยและแปลเป็น
ภาษาอังกฤษ ต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี
2010
งานวิจัย
• ราคาของการเซ็นเซอร์ : มุมมอง
ทางเศรษฐศาสตร์ (2012) ร่วมกับ
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• สำรวจมาตรการรักษาความ
ปลอดภัยและการคุ้มครองความ
เป็นส่วนตัวของผู้ให้บริการ
ออนไลน์ไทย (2013-2014) ร่วมกับ
Privacy International
แปลเอกสารและสื่อที่สำคัญ
• คำประกาศ: 10 สิทธิและหลักการอินเทอร์เน็ต
• หลักการมะนิลาว่าด้วยความรับผิดของสื่อ
ตัวกลาง
• หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิ
มนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร
• สิทธิความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล – รายงานของ
สำนักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
• ผลกระทบของการสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐต่อ
การใช้สิทธิมนุษยชนเพื่อเข้าถึงความเป็นส่วนตัว
และเสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก –
รายงานของผู้รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและ
เสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก แฟรงค์ ลารัว
• คลิป บทความ และหนังสือ
อบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายและ
นโยบายอินเทอร์เน็ต
• โครงการอบรมการสู้คดี
คอมพิวเตอร์ ร่วมกับสมาคมนัก
กฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA)
และโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อ
กฎหมายประชาชน (iLaw) ให้
ความรู้ด้านการใช้หลักฐานทาง
อิเล็กทรอนิกส์
• โครงการ “โรงเรียนพลเมืองเน็ต”
ให้ความรู้ด้านการอภิบาล
อินเทอร์เน็ต (Internet
governance) กับนักศึกษาปี
สุดท้ายและกลุ่มคนเริ่มทำงาน
ประชุมประจำปี
• 2012- การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ
สิทธิพลเมืองครั้งที่ 1 ร่วมกับไทยพีบีเอสและ
สมาคมสื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
• 2013 - การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ
สิทธิพลเมืองครั้งที่ 2 ร่วมกับคณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
• 2014 - สัมมนาสาธารณะว่าด้วย
เทคโนโลยีและสังคม ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• 2015 - เวทีประชาสังคมไทยว่าด้วยการ
อภิบาลอินเทอร์เน็ต ร่วมกับกลุ่มองค์กรภาคประชา
สังคมและมหาวิทยาลัย
• 2015 (23 ก.ค.) - เวทีระดับชาติว่าด้วย
การอภิบาลอินเทอร์เน็ตของไทย ร่วมกับกลุ่ม
องค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม
และวิชาการ
โครงการปัจจุบัน (2014-2015)
• โครงการสนับสนุนการมีส่วนร่วม
ร่วมในอภิบาลอินเทอร์เน็ต
(Internet Governance) ส่งเสริม
การมีส่วนร่วมในการออกแบบนโยบาย โดยส่ง
เสริมให้เกิดเวทีพูดคุยที่มีหลายผู้มีส่วนได้ส่วน
เสีย (multistakeholders) ในลักษณะ Internet
Governance Forum เช่นเดียวกับหลายประเทศ
และจัดทำเอกสารข้อมูลและหลักการที่เกี่ยวข้อง
• โครงการจัดทำเอกสารความรู้ด้าน
นิติวิทยาศาสตร์ดิจิทัล (Digital
Forensics) ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐาน
ของกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับสิทธิดิจิทัล
เพื่อเป็นพื้นฐานในการให้ความรู้กับนักกฎหมาย
และนักสิทธิมนุษยชน
ติดต่อ
contact@thainetizen.org



Facebook: Thai Netizen Network

Twitter: @thainetizen

–Scott Cook
“We're still in the first minutes of the first day of
the Internet revolution.”
–Tim Berners-Lee
“There was a time when people felt the internet
was another world, but now people realise it's a
tool that we use in this world.”
–Bill Gates
“The Internet is becoming the town square for
the global village of tomorrow.”
–Noam Chomsky
“The internet could be a very positive step
towards education, organisation and
participation in a meaningful society.”

More Related Content

Similar to แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง

อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้guesta6407f
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิปguesta6407f
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิปguesta6407f
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest6bc2ef1
 
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)Arthit Suriyawongkul
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703opendream
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703opendream
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...ETDAofficialRegist
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวAsina Pornwasin
 
Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556
Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556
Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 Yakuzaazero
 
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation WiseKnow Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 PresentationThailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 PresentationPeerasak C.
 
Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Peerasak C.
 
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016WiseKnow Thailand
 
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Morraget Morraget
 

Similar to แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง (20)

อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตและสังคมฐานความรู้
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิป
 
คร.นิป
คร.นิปคร.นิป
คร.นิป
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
ระบบ เทคนิค และมาตรฐาน ในการพัฒนา(เว็บไซต์)ห้องสมุด ในฐานะบริการสาธารณะ (เอกสาร)
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
 
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703Opendream web-lib-standards-doc-20100703
Opendream web-lib-standards-doc-20100703
 
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ... 30.03.2020  เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
30.03.2020 เอกสารการแถลงผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี ...
 
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าวการใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
การใช้สื่อสังคม (Social media) ในการสืบค้นและการรายงานข่าว
 
Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556
Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556 Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556
Presentation รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2556
 
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
 
e-Government Thailand
e-Government Thailande-Government Thailand
e-Government Thailand
 
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 PresentationThailand Internet User Profile 2013 Presentation
Thailand Internet User Profile 2013 Presentation
 
One Stop Search
One Stop SearchOne Stop Search
One Stop Search
 
Cybertools for Research : One Search
Cybertools for Research : One SearchCybertools for Research : One Search
Cybertools for Research : One Search
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014Thailand internet user profile 2014
Thailand internet user profile 2014
 
Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016Thailand Internet User Profile 2016
Thailand Internet User Profile 2016
 
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
Thailand internet user profile 2016 (ดีมาก)
 

More from Arthit Suriyawongkul

Beyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsBeyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsArthit Suriyawongkul
 
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล... ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...Arthit Suriyawongkul
 
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...Arthit Suriyawongkul
 
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวพ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวArthit Suriyawongkul
 
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งArthit Suriyawongkul
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมArthit Suriyawongkul
 
โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน Arthit Suriyawongkul
 
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลคนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลArthit Suriyawongkul
 
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandThree-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandArthit Suriyawongkul
 
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Arthit Suriyawongkul
 
Data Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataData Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataArthit Suriyawongkul
 
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Arthit Suriyawongkul
 
Information Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesInformation Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesArthit Suriyawongkul
 
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมการส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมArthit Suriyawongkul
 
Cybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesCybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesArthit Suriyawongkul
 
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandDevelopment and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandArthit Suriyawongkul
 
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterThe Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterArthit Suriyawongkul
 
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandThe state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandArthit Suriyawongkul
 
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดเร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดArthit Suriyawongkul
 

More from Arthit Suriyawongkul (20)

Beyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationshipsBeyond retailer-consumer relationships
Beyond retailer-consumer relationships
 
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล... ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
ทุน ข้อมูล และสภาพแวดล้อม: เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกแบบแล...
 
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
กฎหมายเกี่ยวกับเนื้อหา โฆษณา และการตลาดออนไลน์ (ทำให้เพื่อนไปสอบ DAAT ไม่รู้จ...
 
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัวพ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
พ.ร.บ.คุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล และสิทธิในความเป็นส่วนตัว
 
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้งRights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
Rights-based Internet Governance: การอภิบาลอินเทอร์เน็ตโดยคิดจากสิทธิเป็นที่ตั้ง
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคม
 
โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน โดนอุ้มในโลกเสมือน
โดนอุ้มในโลกเสมือน
 
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัลคนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
คนทำงานและแรงงานในยุคดิจิทัล
 
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on ThailandThree-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
Three-Layer Model for the Control of Online Content: A Study on Thailand
 
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
Mapping Stakeholders, Decision-makers, and Implementers in Thailand’s Cyber P...
 
Data Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big DataData Protection
 in the Age of Big Data
Data Protection
 in the Age of Big Data
 
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
Anonymity in the Digital Age #digitalcitizen16
 
Information Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong CountriesInformation Laws in Mekong Countries
Information Laws in Mekong Countries
 
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวมการส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
การส่งเสริมการกำกับกันเอง
ในกิจการสื่อใหม่ยุคหลอมรวม
 
Cybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity DifferencesCybercrime and Cybersecurity Differences
Cybercrime and Cybersecurity Differences
 
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in ThailandDevelopment and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
Development and Concerns over "Digital Economy" Bills in Thailand
 
Thailand on LINE
Thailand on LINEThailand on LINE
Thailand on LINE
 
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days LaterThe Junta Digital Agenda: 76 Days Later
The Junta Digital Agenda: 76 Days Later
 
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in ThailandThe state of Internet freedom after the coup in Thailand
The state of Internet freedom after the coup in Thailand
 
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิดเร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
เร็วขึ้น ดีขึ้น มากขึ้น ด้วยข้อมูลเปิด
 

แนะนำมูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและวัฒนธรรมพลเมือง

  • 1.
  • 3. ข้อมูลองค์กร • องค์กรไม่แสวงกำไร ดำเนินงานเพื่อ คุ้มครองสิทธิพลเมืองที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีและสารสนเทศ • ก่อตั้งในชื่อ “เครือข่ายพลเมือง เน็ต” (Thai Netizen Network) เมื่อ ธ.ค. 2008 ในสภาพแวดล้อมที่รัฐเริ่ม เข้มงวดกับการควบคุมอินเทอร์เน็ต เป็น ช่วงแรกของการใช้พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ • จดทะเบียน “มูลนิธิเพื่ออินเทอร์เน็ตและ วัฒนธรรมพลเมือง” (Foundation for Internet and Civic Culture) เมื่อ 28 พ.ค. 2014 -- ทะเบียนเลขที่ กท 2445
  • 4. วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ • ส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้าน เทคโนโลยี สังคม วัฒนธรรม • ส่งเสริมการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การสร้างความรู้ การมีส่วนร่วมของ พลเมือง • ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ของประชาชน
  • 5. ทุนดำเนินงาน • Media Legal Defence Initiative (ธ.ค. 2008 - พ.ค. 2009) • มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ (2009-2012) • Privacy International (2013-2014) • สมาคมเครือข่ายสื่อมวลชนในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ (ต.ค. 2013 - ก.ย. 2015) • Open Society Foundation (2014) • Global Fund for Human Rights (2015) • และทุนโครงการระยะสั้น (1-6 เดือน) อีก จำนวนหนึ่ง
  • 6. คณะทำงานปัจจุบัน • สฤณี อาชวานันทกุล ประธานคณะทำงาน • ลลิตา รังสรรค์วิวัฒน์ ผู้ประสานงานเครือข่าย • พินดา พิสิฐบุตร เจ้าหน้าที่สิทธิดิจิทัล • อาทิตย์ สุริยะวงศ์กุล งานวิจัยและสื่อพลเมือง
  • 7. กิจกรรม • ติดตามสถานการณ์สิทธิดิจิทัล • เข้าร่วมในกระบวนการด้านนโยบายทั้ง ระดับประเทศและระหว่างประเทศ • จัดสัมมนา อบรม และพบปะอย่างไม่ เป็นทางการกับชุมชนผู้ใช้เน็ต และจัด ประชุมกึ่งวิชาการประจำปี • ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีกับกลุ่ม ประชาสังคมและนักกฎหมายสิทธิ • เผยแพร่ข่าวสารบนเว็บไซต์และสิ่ง พิมพ์ จัดทำและแปลเอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 9. ติดตามและเสนอนโยบาย • ติดตามและจัดทำข้อเสนอสู่ สาธารณะ และร่วมเป็นคณะทำงาน ตามความเหมาะสม • การแก้ไขพ.ร.บ.ว่าด้วยการกระ ทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะประเด็นความรับผิดของตัวกลาง (intermediary liability) การควบคุมเนื้อหา และ การใช้เป็นกฎหมายหมิ่นประมาท • ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • ชุดกฎหมายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ- สังคมและความมั่นคงไซเบอร์
  • 10. โรงเรียนพ(ล)บค่ำ • Night School เป็นโครงการความร่วม มือกับห้องสมุดศิลปะ
 The Reading Room Bangkok • บรรยาย+กิจกรรมระหว่างผู้เข้าร่วม • แลกเปลี่ยนมุมมองถึงความเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย โดย เฉพาะประเด็นการแสดงออก ทรัพย์สิน ทางปัญญา สื่อใหม่ ขบวนการทางสังคม และมีเดียอาร์ต • ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเทศกาลศิลปะ Kunstvlaai: Festival of Independents ที่อัมสเตอร์ดัม (2011)
  • 11. พฤหัด • ThursDIY เป็นกิจกรรมแลกเปลี่ยน ทักษะออนไลน์ โดยเน้นไปที่ทักษะ การสร้างข้อมูลพื้นฐานในรูปแบบโอ เพนซอร์ส และการรักษาข้อมูลส่วน บุคคล • ตัวอย่างเนื้อหา: การทำข้อมูลแผนที่ ด้วย OpenStreetMap, การเขียนวิกิ พีเดีย, การแปลคำบรรยายวิดีโอ ออนไลน์ด้วย Amara, การใช้งาน อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย • ขยายการอบรมวิกิพีเดียและ OpenStreetMap ไปยัง มหาวิทยาลัย (ศิลปากร, ธรรมศาสตร์)
  • 12. คู่มือสื่อพลเมือง • คู่มือสื่อพลเมือง ความรู้และข้อ แนะนำเบื้องต้นเพื่อให้พลเมืองทำ สื่อเองได้ อย่างมีคุณภาพและ ความรับผิดชอบ • เนื้อหา: ภาษาและเครื่องมือของสื่อ พลเมือง, เทคนิคการเผยแพร่, จริยธรรมของสื่อพลเมือง, ข้อ แนะนำด้านกฎหมาย, กรณีศึกษา จากต่างประเทศ • พิมพ์ 1,000 เล่ม (2010)
  • 13. “มาราธอน” • มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง วัฒนธรรม รวบรวมบทความ วิชาการ งานแปล และบันทึก เสวนาที่จัดโดยเครือข่ายพลเมือง เน็ต • เนื้อหาครอบคลุมประเด็นด้าน กฎหมาย มานุษยวิทยา วัฒนธรรม ศึกษา ศิลปะ การเมืองระหว่าง ประเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สื่อใหม่ • พิมพ์ 2,000 เล่ม (2012)
  • 14. คู่มือพลเมืองเน็ต • คู่มือพลเมืองเน็ต รวบรวมคำแนะนำ ให้ผู้ใช้เน็ตเข้าใจการทำงานของ อินเทอร์เน็ต และรักษาสิทธิและความ ปลอดภัยตัวเองได้ • เนื้อหา: อินเทอร์เน็ตทำงานอย่างไร, การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย, ความเป็นส่วนตัวกับสื่อสังคม, ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์ และทรัพย์สินทางปัญญา, สิทธิใน ความเป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคควรรู้ • พิมพ์ 3 ครั้ง รวม 6,000 เล่ม (2013)
  • 15. GIS Watch • Global Information Society Watch เป็นรายงานประจำปีที่สำรวจความ เปลี่ยนแปลงของสังคมสารสนเทศทั่วโลก จัดพิมพ์โดย Association for Progressive Communications • เปลี่ยนหัวข้อหลักทุกปี เช่น อินเทอร์เน็ต และการคอรัปชัน เพศสถานะและไอซีที สิทธิอินเทอร์เน็ตและกระบวนการ ประชาธิปไตย • แบ่งเป็นสองส่วน: วิเคราะห์เชิงประเด็นใน ภาพรวม และรายงานวิจัยรายประเทศ • เครือข่ายพลเมืองเน็ตเขียนรายงานส่วน ของประเทศไทยตั้งแต่ปี 2011
  • 16. รายงานพลเมืองเน็ต • รายงานพลเมืองเน็ต (Netizen Report) รายงานประจำปี รวบรวม สถานการณ์สิทธิเสรีภาพด้านข้อมูล ข่าวสาร นโยบายของภาครัฐต่อ อินเทอร์เน็ต และปรากฏการณ์น่า สนใจทางวัฒนธรรมออนไลน์ • จัดทำเป็นภาษาไทยและแปลเป็น ภาษาอังกฤษ ต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี 2010
  • 17. งานวิจัย • ราคาของการเซ็นเซอร์ : มุมมอง ทางเศรษฐศาสตร์ (2012) ร่วมกับ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • สำรวจมาตรการรักษาความ ปลอดภัยและการคุ้มครองความ เป็นส่วนตัวของผู้ให้บริการ ออนไลน์ไทย (2013-2014) ร่วมกับ Privacy International
  • 18. แปลเอกสารและสื่อที่สำคัญ • คำประกาศ: 10 สิทธิและหลักการอินเทอร์เน็ต • หลักการมะนิลาว่าด้วยความรับผิดของสื่อ ตัวกลาง • หลักการระหว่างประเทศว่าด้วยการใช้หลักสิทธิ มนุษยชนกับการสอดแนมการสื่อสาร • สิทธิความเป็นส่วนตัวในยุคดิจิทัล – รายงานของ สำนักงานข้าหลวงใหญ่ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ • ผลกระทบของการสอดแนมการสื่อสารโดยรัฐต่อ การใช้สิทธิมนุษยชนเพื่อเข้าถึงความเป็นส่วนตัว และเสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก – รายงานของผู้รายงานพิเศษว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและ เสรีภาพด้านความเห็นและการแสดงออก แฟรงค์ ลารัว • คลิป บทความ และหนังสือ
  • 19. อบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายและ นโยบายอินเทอร์เน็ต • โครงการอบรมการสู้คดี คอมพิวเตอร์ ร่วมกับสมาคมนัก กฎหมายสิทธิมนุษยชน (HRLA) และโครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อ กฎหมายประชาชน (iLaw) ให้ ความรู้ด้านการใช้หลักฐานทาง อิเล็กทรอนิกส์ • โครงการ “โรงเรียนพลเมืองเน็ต” ให้ความรู้ด้านการอภิบาล อินเทอร์เน็ต (Internet governance) กับนักศึกษาปี สุดท้ายและกลุ่มคนเริ่มทำงาน
  • 20. ประชุมประจำปี • 2012- การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ สิทธิพลเมืองครั้งที่ 1 ร่วมกับไทยพีบีเอสและ สมาคมสื่อมวลชนแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • 2013 - การประชุมว่าด้วยเทคโนโลยีและ สิทธิพลเมืองครั้งที่ 2 ร่วมกับคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย • 2014 - สัมมนาสาธารณะว่าด้วย เทคโนโลยีและสังคม ร่วมกับคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • 2015 - เวทีประชาสังคมไทยว่าด้วยการ อภิบาลอินเทอร์เน็ต ร่วมกับกลุ่มองค์กรภาคประชา สังคมและมหาวิทยาลัย • 2015 (23 ก.ค.) - เวทีระดับชาติว่าด้วย การอภิบาลอินเทอร์เน็ตของไทย ร่วมกับกลุ่ม องค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และวิชาการ
  • 21. โครงการปัจจุบัน (2014-2015) • โครงการสนับสนุนการมีส่วนร่วม ร่วมในอภิบาลอินเทอร์เน็ต (Internet Governance) ส่งเสริม การมีส่วนร่วมในการออกแบบนโยบาย โดยส่ง เสริมให้เกิดเวทีพูดคุยที่มีหลายผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย (multistakeholders) ในลักษณะ Internet Governance Forum เช่นเดียวกับหลายประเทศ และจัดทำเอกสารข้อมูลและหลักการที่เกี่ยวข้อง • โครงการจัดทำเอกสารความรู้ด้าน นิติวิทยาศาสตร์ดิจิทัล (Digital Forensics) ส่งเสริมการพัฒนามาตรฐาน ของกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวข้องกับสิทธิดิจิทัล เพื่อเป็นพื้นฐานในการให้ความรู้กับนักกฎหมาย และนักสิทธิมนุษยชน
  • 23. –Scott Cook “We're still in the first minutes of the first day of the Internet revolution.”
  • 24. –Tim Berners-Lee “There was a time when people felt the internet was another world, but now people realise it's a tool that we use in this world.”
  • 25. –Bill Gates “The Internet is becoming the town square for the global village of tomorrow.”
  • 26. –Noam Chomsky “The internet could be a very positive step towards education, organisation and participation in a meaningful society.”