SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
การจัดการสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการ 
บริษัท บริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จากัด 
เสนอ 
ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ 
จัดทาโดย 
5430102687 นายสิทธิพงศ์ พวงแก้ว 
5430110230 น.ส.ชวิศา ทองถนอม 
5430110752 น.ส.ศิวพร สายพานทอง 
5430110817 น.ส.สิริลักษณ์ ศักด์ิชลาธร 
หมู่เรียน 800 
รานงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting 
รหัสวิชา 03760433 คณะวิทยาการจัดการ สาขา การบัญชีบริหาร 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2557
คานา 
ร า ย ง า น เ ล่ม นี้เ ป็น ส่ว น ห นึ่ง ข อ ง วิช า Environmental Management Accounting 
โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎหมาย ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการ ซึ่งบริษัท ตะกั่ว 
คอน เซน เตรท ส์(ป ระ เท ศไทย) จากัด เป็นบ ริษัท ที่เกิด การโต้แ ย้ง ใน กรณีการท าเห มือง แ ร่ 
ซึ่ง เ ป็น ห นึ่ง ใ น โ ค ร ง ก า ร ที่ต้อ ง จัด ท า ก ร ะ ป ร ะ เ มิน สิ่ง แ ว ด ล้อ ม แ ล ะ สุข ภ า พ 
ในรายงานเลม่นี้ได้กลา่วถึงวิธีการดา เนินการที่บริษัทได้กระทา และผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมที่ได้เกิดขึ้น 
ทางคณะผู้จัดทา ขอขอบคุณ ที่ให้ข้อมูลและ และเป็นที่ปรึกษาในการศึกษาค้นคว้างานดังกล่าว 
ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ ผู้ที่ประ สิทธิประสาทวิช า และ องค์การอื่นๆ ที่ได้ให้ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ 
และขอบคุณเพื่อนๆที่ได้ให้กา ลังใจ ชว่ยแกไ้ขปัญหาตา่งๆทา ให้รายงานเลม่นี้ประสบความสาเร็จสมบูรณ์ 
คณะผู้จัดทา
สารบัญ 
เรื่อง 
โครงการที่ต้องจัดทา EIA 
การส่งผลกระทบตอ่ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน คา่ใช้จา่ย ขององค์การในการจัดทา EHIA 
การดา เนินการทางบัญชี เมอื่มีการจัดทา EHIA 
โครงการเหมืองแร่ที่ต้องทา รายงาน EIA 
ขนาดเหมืองแร่ที่ต้องจัดทา EIA 
กระบวนการพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
รายละเอียดโครงการ 
โครงการเหมืองแร่ บริษัท ตะกวั่ คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จา กดั 
บรรณานุกรม
โครงการด้านเหมืองแร่ 
โครงการที่ต้องจัดทา EIA 
1. โครงการด้านเหมืองแร่และการพัฒนาปิโตรเลียม 
2. โครงการด้านอุตสาหกรรม 
3. โครงการด้านคมนาคม 
4. โครงการด้านพัฒนาชุมชนและที่พักอาศัย 
5. โครงการด้านแหล่งน้าและพัฒนาเกษตรกรรม 
การส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย 
ขององค์การในการจัดทา EHIA 
จากข้อมูลที่แสดงให้เห็นข้างต้นวา่ โครงหรือกิจกรรมใดๆ ที่ส่งผลกระทบตอ่ความเป็นของชุมชน 
สิ่งแวดล้อม จา เป็นต้องทา การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ นั้น จึงนามาซึ่ง 
ผลกระทบตอ่ กิจการ เพื่อการทา กิจการหรือโครงการไดๆ เชน่เดียวกนั 
ในแง่ของการจัดทา บัญชีจึงแสดงให้เห็นถึง การสะท้อน ออกมาในรูป สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน 
คา่ใช้จา่ย ขององค์กรนั้น 
และส่วนการจัดทา EHIA ก็เปรียบเสมือน ทั้งการเกิด สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน 
และคา่ใช้จา่ย ขององค์กร แตท่ั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยูก่บันโยบายขององค์ต้องการยอมรับในมุมมองใด 
1.) สินทรัพย์ การทา EHIA เป็นการประเมินผลกระทบจากโครงการ หรือ กิจกรรมที่มีขนาดใหญ่ 
คา่ใช้จา่ยในการจัดทา ยอ่ยมีมูลคา่สูง เมอื่องค์กรต้องการให้มีผลการดา เนินงานที่ไมผ่กผันมาก 
จึงจา เป็นต้องรับรู้ส่วนงานเป็นสินทรัพย์เพื่อทยอย ตัดเป็นคา่ใช้จา่ยในแตล่ะปี ตามหลักการของการ 
ตัดคา่เสื่อมราคา และการตัดจา หน่าย 
2.) หนี้สิน ในกรณีของการกอ่ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชม ไมว่า่จะเป็นการเกิดโดยฉับพลัน 
หรือผลกระทบจากมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นอยา่งช้าๆ จากโครงการ 
ควรมีการตั้งประมาณวงเงินที่จะต้องชดใช้คืนแกสั่งคม 
ในจา นวนประมาณที่เหมาะสมตรงตามหลักการและมีผู้เชี่ยวชาญรับรองในกรณีต้องใช้ความเชี่ยวชาญเฉพา 
ะทาง เพื่อนามาซึ่งจา นวนที่ถูกต้องใกล้เคียงที่สุด
3.) ทุน รายได้ ต้นทุน คา่ใช้จา่ย เป็นกิจกรรมเกี่ยวกบัสิ่งแวดล้อม ที่อาศัยหลักการทางบัญชี 
และนโยบายขององค์กรเป็นตัวกา หนด 
การดา เนินการทางบัญชี เมื่อมีการจัดทา EHIA 
การจัดทา การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อมนั้น ต้องมีการจัดทา เป็นระบบ เพื่อประสิทธิ ที่ยั่งยืน 
ซึ่งมีระบบการจัดทา บัญชี EMA (Environmental Management Accounting) 
ซึ่งเป็นการบริหารจัดการระบบคา่ใช้จา่ยต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อม และตัวชี้วดัของสมรรถนะด้านสิ่งแวดล้อม 
โดยการคัดเลือกเครื่องมือมาใช้ในการเผ้าติดตามและตัดสินใจในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 
และยังมีแนวทางการจัดการส่งแวดล้อม อื่นๆ ที่องค์กรสามารถจัดทา ผ่านผา่นกระบวนการทางาน 
ซึ่งแนวทางในการทา MFCA หรือ Material Flow Cost Accounting 
เป็นวิธีการวดัการไหลและยอดคงคลัง 
"วตัถุ"ในกระบวนการผลิตบนรูปแบบของหน่วยทางกายภาคและทางการเงินและมุง่ 
เน้นการรักษาสิ่งแวดล้อม นอกเหนือจาก QCD (Quality, Cost, Delivery) ทั้งนี้ MFCA 
จะชว่ยให้เห็นการสูญเสียวตัถุและเกิดการสร้างแผนพัฒนาจากมุมมองใหม่ปัจจุบันนั้น MFCA 
กลายเป็นมาตรฐานสากลทยี่อมรับกนัทั่วโลก (ISO 14051) "MFCA" 
ถือเป็นส่วนชว่ยให้เกิดทั้งการลดต้นทุนและภาระทางสิ่งแวดล้อมพร้อม ๆ กนั 
ในการประยุกต์ใช้งานกบัสิ่งแวดล้อมมีหลักการดังนี้ 
1. การรับรู้ต้นทุนสิ่งแวดล้อม 
2. การรับรู้หนี้สินสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่เกิดความเสียหายกบัธรรมชาติที่คาดไมถึ่ง 
3. การรับรู้บันทึกคา่ชดเชยที่เกิดจากความเสียหาย 
4. การวดัมูลคา่ต้นทุนและหนี้สินสิ่งแวดล้อม 
5. การเปิดเยข้อมูลสู้สาธารณะ 
http://www.pnru.ac.th/offi/graduate/upload-files/uploaded/Thesis%207/B_715.pdf
โครงการเหมืองแร่ที่ต้องทารายงาน EIA 
1. เหมืองแร่ถา่นหิน 
2. เหมืองแร่โพแทช 
3. เหมืองแร่เกลือหิน 
4. เหมืองแรหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซิเมนต์ 
5. เหมืองแร่โลหะทุกชนิด 
6. โครงการเหมืองแร่ใต้ดิน 
7. โครงการเหมืองแร่ทุกชนิดที่ตั้งอยูใ่นพื้นที่ดังตอ่ไปนี้ 
- พื้นที่ชั้นคุณภาพลุม่น้าชั้น 1 ตามมติคณะรัฐมนตรี 
- ทะเล 
- ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรี 
- พื้นที่ชุม่น้าที่มีความสาคัญระหวา่งประเทศ 
- พื้ น ที่ ที่ อ ยู่ใ ก ล้แ ห ล่ง โ บ ร าณ ส ถ าน แ ห ล่ง โ บ ร าณ ค ดี แ ห ล่ง ป ร ะ วัติศ าส ต ร์ 
ห รือ อุท ยา น ป ร ะ วัติศ าส ต ร์ต า ม ก ฎ ห ม าย ว่าด้ว ย โบ รา ณ ส ถ า น โบ ร าณ วัต ถุ ศิล ป วัต ถุ 
แ ล ะ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ 
แหลง่มรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหลง่มรดกโลกตามอนุสัญญาระหวา่งประเทศในระยะทาง 2 กิโลเมตร 
8. โครงการเหมืองแร่ที่มีการใช้วตัถุระเบิด
ขนาดเหมืองแร่ทตี่้องจัดทา EIA 
เหมืองแร่ ขนาดโครงการ 
1. เ ห มื อ ง แ ร่ ใ ต้ ดิ น 
เฉพาะที่ออกแบบให้โครงสร้างมีการยุบตัวภายหลังการทา เหมืองโดยไมมี่ 
ค้า ยัน และไมมี่การใส่คืนวสัดุทดแทน เพื่อป้องกนัการยุบตัว 
ทุกขนาด 
2. เ ห มื อ ง แ ร่ ต ะ กั่ ว / เ ห มื อ ง แ ร่ สั ง ก ะ สี / 
เห มือง แ ร่โลห ะ อื่น ที่ใ ช้ไซยาไน ด์ห รือปรอทห รือตะ กั่วไน เตรต 
ใน กระ บวน การผลิตห รือเห มือง แ ร่โลห ะ อื่น ที่มีอาร์เซโน ไพ ไรต์ 
เป็นแร่ประกอบ 
ทุกขนาด 
3. เ ห มื อ ง แ ร่ ถ่ า น หิ น 
เฉพาะที่มีการลา เลียงแร่ถา่นหินออกนอกพื้นที่โครงการด้วยรถยนต์ 
ทุกขนาด 
4. เหมืองแร่ในทะเล ทุกขนาด
อุตสาหกรรมถลุงแร่ / หลอมโลหะ ขนาดโครงการ 
5. อุตสาหกรรมถลุงแร่เหล็ก ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่กระบวนการผลิต 
ตั้งแต่ 5,000 ตัน/วันขึ้นไป หรือที่มีปริมาณแร่ป้อน 
(input) เข้าสู่กระบวน การผลิตรวมกันตั้งแต่ 5,000 
ตัน/วนั ขึ้นไป 
6. อุตสาห กรรมถลุง แ ร่เห ล็ก ที่มีการผลิตถ่าน 
coke/มีกระบวนการ sintering 
ทุกขนาด 
7. อุตสาห กรรมถลุง แ ร่ ทอง แดง ทองคา ห รือ 
สังกะสี 
ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่กระบวน การผลิต 
ตั้ง แ ต่ 1,000 ตัน / วัน ขึ้น ไ ป 
ห รื อ ที่ มี ป ริ ม า ณ แ ร่ ป้ อ น ( input) 
เข้าสู่ก ระ บ ว น ก ารผ ลิต รว มกัน ตั้ง แ ต่ 1,000 
ตัน/วนัขึ้นไป 
8. อุตสาหกรรมถลุงแร่ตะกวั่ ทุกขนาด 
9 . อุต ส าห ก รร ม ห ล อม โล ห ะ (ยก เว้น เ ห ล็ก 
และอลูมิเนียม) 
ขนาดกา ลังการผลิต (output) ตั้งแต่50 ตัน/วนั ขึ้นไป 
หรือมีกา ลังการผลิตรวมกนัตั้งแต่50 ตัน/วนั ขึ้นไป 
10. อุตสาหกรรมหลอมตะกั่ว ขนาดกา ลังการผลิต (output) ตั้งแต่10 ตัน/วนั ขึ้นไป 
หรือมีกา ลังการผลิต รวมกนัตั้งแต1่0 ตัน/วนั ขึ้นไป
โครงการเหมืองแร่ที่ต้องทารายงาน IEE 
โครง การเห มือง แ ร่ที่มิได้ใ ช้วัตถุระเบิด เช่น เห มือง แ ร่บอลเคลย์ เห มือง แ ร่ดิน ขาว เห มือง ดิน 
แ ล ะ เ ห มื อ ง หิ น อ่ อ น 
แตท่ั้งนี้พื้นที่ที่จะขออนุญาตทา เหมืองจะต้องไมอ่ยู่ในพื้นที่ดังที่กลา่วมาแล้วในโครงการประเภทที่ต้องทา รา 
ยงาน EIA และต้องไมเ่ป็นเหมืองแร่โลหะ รวมทั้งเหมืองแร่ใต้ดิน 
กระบวนการพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
ขั้น ต อ น ห รือ ก ร ะ บ ว น ก าร พิจ ารณ าร าย ง า น EIA แ ล ะ IEE ถูก ก าห น ด ไว้ใ น มา ต รา 49- 
50แ ห่ง พ ร ะ ร าช บัญ ญัติส่ง เ ส ริม แ ล ะ รัก ษ าคุณ ภ าพ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม แ ห่ง ช า ติ พ .ศ .2535 
โครงการของเอกชนและโครงการที่ไมต่้องขอรับความเห็นชอบจาก ครม. (โครงการของรัฐ รัฐวิสาหกิจ 
แล ะ โ ค รง ก าร ร่ว มกับ เ อ กช น )โ ค ร ง ก าร ป ร ะ เภ ท นี้ไ ด้ก าห น ด ร ะ ย ะ เ ว ลา ก ารพิจ ารณ า 
ต า ม ขั้น ต อ น ดัง แ ส ด ง ใ น รูป ทั้ง นี้เ มื่อ ร า ย ง า น ส่ง ส ผ .แ ล้ว ภ า ย ใ น 15 วัน
จ ะ ถู ก ต ร ว จ ส อ บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ร า ย ง า น จ า ก นั้น อีก 15 วัน 
จะพิจารณาเสนอความเห็นให้กบัคณะกรรมการผู้ชา นาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวด 
ล้ อ ม (ค ช ก .) แ ล ะ ค ช ก . ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ภ า ย ใ น 45 วัน ห า ก ค ช ก . 
ไมใ่ห้ความเห็นชอบจะต้องจัดส่งรายงานเข้ามาใหม่ (ฉบับเพิ่มเติมหรือแกไ้ขทั้งฉบับ) และเมื่อส่งมาที่ สผ. 
แ ล้ว ค ช ก . ต้อ ง พิ จ า ร ณ า ภ า ย ใ น 30 วัน ห า ก ค ช ก . ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ ส ผ . 
จ ะ แ จ้ง ใ ห้ เ จ้า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้อ ง ท ร า บ ห า ก ค ช ก . 
ลงมติไมเ่ห็นชอบแล้วให้เริ่มต้นกระบวนการพิจารณา 
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
1. ด้านคุณภาพอากาศ เสียง และแรงสั่นสะเทือน 
1.1 ผลกระทบในภาพรวมด้านคุณภาพอากาศ เสียง และแรงสั่นสะเทือนของกลุม่หมูเ่หมืองและโรงโมหิ่น 
1.2 คุ ณ ภ า พ อ า ก า ศ 
ต้องมีการประเมินประสิทธิภาพของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศจะต้องมีความ 
ชัดเจน และพิจารณาเพิ่มเติมการตรวจวัดคุณภาพอากาศในสภาพปัจจุบัน 
1.3 พิจารณาและระบุลักษณะของกิจกรรมโครงการและรูปแบบการใช้พื้นที่โดยรอบพื้นที่โครงการ 
1.4 
กรณีผลการตรวจวดัคุณภาพอากาศบริเวณโรงแต่งแร่/โรงโมหิ่นในปัจจุบันมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานกา หนด 
ดังนั้นจะต้องเสนอแผนการปรับปรุงโรงแตง่แร่/โรงโมหิ่นให้มีประสิทธิภาพ 
2. ด้านอุทกวิทยาและคุณภาพน้า 
2.1 ก า ร ป ร ะ เ มิน ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม เ พี ย ง พ อ ข อ ง บ่อ ดัก ต ะ ก อ น 
จ ะ ต้อ ง ก า ห น ด ม า ต ร ก า ร จัด ก า ร น้า ที่เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป ฏิบัติไ ด้ 
เพื่อป้องกนัการแพร่กระจายหรือลดผลกระทบโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีโลหะหนักสูงกวา่เกณฑ์มาตรฐานและ 
มีพื้นที่เกษตรกรรม แหลง่น้า และแหลง่น้าบาดาลอยูใ่นบริเวณใกล้เคียง 
2.2 
การนาเสนอรายละเอียดการจัดการและการระบายน้าบริเวณพื้นที่โครงการพร้อมทั้งเสนอมาตรการป้องกนัแ 
ละแกไ้ขผลกระทบด้านระบายน้าจะต้องมีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้ 
2.3 พิจารณาและทบทวนความเหมาะสมของจุดเก็บตัวอยา่งคุณภาพสิ่งแวดล้อม 
2.4 ก ระ บ วน ก ารเกิดแ ร่ข อง โ ครง การมีน้าบ าดาล ห รือ น้าใ ต้ดิน เป็น ปัจจัยที่ท าใ ห้เกิด แ ร่ 
ไมไ่ด้เกิดจากการแปรสภาพของหินบะซอลต์ในพื้นที่โครงการ 
2.5 ก า ห น ด ม า ต ร ก า ร ใ ห้ ชั ด เ จ น 
หากอนุญาตให้ประชาชนเข้าใช้ประโยชน์จากสระกกัเก็บน้าที่จะพัฒนาจากพื้นที่ขุมเหมืองภายในพื้นที่โครง 
การ ภายหลังสิ้นสุดการทา เหมือง
2.6 
ให้พิจารณาการกา หนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าบาดาลโดยพิจารณาจากทิศทางการไหลของน้าบาดา 
ลประกอบด้วย 
3. ด้านทรัพยากรดินและธรณีวิทยา 
3.1 เ ส น อ ม า ต ร ก า ร จั ด ก า ร ดิ น ภ า ย ใ น พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร 
เพื่อป้องกนัการแพร่กระจายของสารโลหะหนักออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกพื้นที่โครงการให้ชัดเจน 
3.2 ด้านธรณีวิทยา เก็บตัวอยา่งและวิเคราะห์ดินในหินคลุกที่จา หน่ายแกผู่้ซื้อ 
4. ด้านการใช้ทดีิ่นและเกษตรกรรม 
4.1 ประเมินผลกระทบโดยเปรียบเทียบการดาเนินกิจกรรมของโครงการกบัการเกษตรกรรม 
4.2 ม า ต ร ก า ร ใ น ก า ร ช ด เ ช ย ค่า เ สีย ห า ย ที่อ า จ จ ะ เ กิด ขึ้น จ า ก ก า ร ท า 
เห มืองเป็น มาตรการป้อง กัน ผลกระ ทบต่อพื้น ที่เกษตรกรรมบริเวณใ กล้เคียง พื้น ที่โครง การ 
โ ด ย ก า ร เ ช่ า ที่ ดิ น ต า ม ที่ ไ ด้ ต ก ล ง กั บ ร า ษ ฎ ร เ ป็ น ร า ย ๆ ไ ป 
เพื่อเป็นค่าเสียโอกาสในส่วนของพืชผลทางการเกษตรที่ลดต่า ลงซึ่งอาจเกิดจากกิจกรรมของโครงการ 
ในขณะเดียวกนัราษฎรยังคงสามารถเก็บพืชผลทางการเกษตรจากที่ดินดังกล่าวได้ตามปกติ 
5. ด้านสังคมและการมีส่วนร่วม 
5.1 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง สั ง ค ม 
ทบทวนการนาเสนอข้อมูลรายงานใหมเ่นื่องจากผลการสารวจความคิดเห็นของประชาชนมีความเห็นวา่จะไ 
ม่ไ ด้รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ แ ต่ใ น ร า ย ง า น ร ะ บุ ว่า อ า จ ท า ใ ห้ เ กิด ผ ล ก ร ะ ท บ 
โดยสร้างความแตกแยกของชุมชนระหวา่งกลุ่มผู้สนับสนุนโครงการ กบักลุม่ผู้คัดค้านโครงการ 
5.2 ใ ห้ แ ส ด ง ต า แ ห น่ ง บ้า น ร า ษ ฎ ร ที่ ร ะ บุ ว่า ล ง ใ น แ ผ น ที่ ใ ห้ ชั ด เ จ น 
พร้อมทั้งประเมินผลกระทบตอ่กลุ่มบ้านดังกลา่ว
5.3 ม า ต ร ก า ร ใ น ก าร จัด ก าร ก ร ณีที่ ร า ษ ฎ ร ต้อ ง ก าร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง ข้อ ต ก ล ง ที่ มีอ ยู่เ ดิม 
ควรมีการประสานงานผา่นผู้นาชุมชนด้วย 
5.4 ก ารป ระ ช าสัมพัน ธ์โ คร ง การ ทั้ง มาต รก ารป้อง กัน แ ล ะ แ ก้ไ ขผ ลก ระ ท บ สิ่ง แ ว ดล้อ ม 
และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้แกผู่้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม 
และหน่วยงานที่เกยี่วข้อง ได้รับทราบอยา่งสม่า เสมอและต่อเนื่อง 
5.5 ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ โ ค ร ง ก า ร 
เนื่องจากประชาชนในพื้นที่มีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการขอประทานบัตรของโครงการจานวนน้อย 
จึงให้พิจารณาทบทวนแผนการประชาสัมพันธ์โครงการวา่มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด 
6. ด้านสาธารณูปโภค 
6.1 
แสดงเส้นทางการขนส่งของโครงการให้เป็นไปตามสภาพที่จะดา เนินการจริงตามที่โครงการได้ชี้แจงในที่ป 
ระชุม พร้อมทั้งประเมินผลกระทบจากการใช้เส้นทางดังกลา่ว 
6.2 ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร 
ทั้งในระยะกอ่สร้างและดา เนินการตอ่แนวสายส่งไฟฟ้าแรงสูงที่พาดผา่นพื้นที่โครงการและเสาไฟฟ้าแรงสูง 
ที่อยู่ใกล้เคียง พื้น ที่โครง การโดยใช้ความเห็น ของการไฟ ฟ้าฝ่ายผ ลิตแ ห่งประเทศไทย (กฟ ผ.) 
ที่โครงการชี้แจงวา่อยูร่ะหวา่งการตรวจสอบประกอบไว้ในรายงานสาหรับเป็นข้อมูลประกอบการประเมินใ 
ห้ชัดเจน 
6.3 แสดงรายละเอียดความสามารถในการรองรับของถนนคอนกรีต ตอ่กิจกรรมการขนส่งของโครงการ 
ตามที่รายงานระบุวา่ถนนมีความหนาเป็นพิเศษ สามารถรองรับน้าหนักของรถบรรทุกได้ 
6.4 ก ารจ ราจร ใ ห้ป ระ เ มิน ผล กร ะ ท บ ด้าน การ จราจร บริเวณ ถน น ท าง เข้า -ออ ก โคร ง ก าร 
ซึ่ง เ ป็น เ ส้น ท า ง ที่ใ ช้ร่ว ม กับ ร า ษ ฎ ร เ ข้า สู่พื้น ที่เ ก ษ ต ร ก ร ร ม 
พร้อมทั้งทบทวนมาตรการป้องกนัและแก้ไขผลกระทบต่อถนนดังกลา่ว 
7. ด้านสุขภาพ 
7.1 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพอนามยั ให้เพิ่มเติมหัวข้อการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพอนามยั 
7.2 ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก ร ะ ท บ 
พร้อมทั้งมาตรการป้องกนัและแก้ไขผลกระทบด้านสุขภาพและกองทุนเฝ้าระวงัภาวะสุขภาพอนามยั
7.3 ก าร ป ร ะ เ มิน ผ ล ก ร ะ ท บ ใ น ภ า พ ร ว ม ข อ ง พื้ น ที่ ห มู่เ ห มือ ง แ ล ะ พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร 
และกา หนดมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบตอ่สิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนสอดคล้องกบัการประเมินดังกลา่ว 
เพื่อยืนยันวา่กิจกรรมของโครงการไมก่อ่ให้เกิดผลกระทบในลักษณะสะสมหรือเพิ่มเติมโดยรวมต่อพื้นที่อ่อ 
นไหวที่ตั้งอยูบ่ริเวณใกล้เคียง 
7.4 
เสนอมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากฝุ่นละอองจากการทาเหมืองเป็นการเฉพาะ 
เ นื่ อ ง จ า ก โ ค ร ง ก า ร ฯ 
ประเมินวา่ประชาชนที่อาศัยอยูบ่ริเวณใกล้เคียงมีความเสี่ยงตอ่การได้รับผลกระทบจากฝุ่นละอองในระดับที่ 
รุนแรง รวมทั้งเสนอมาตรการติดตามตรวจสอบและกา หนดในการขนส่งแร่ของโครงการในมาตรการฯ 
ใ ห้ ชั ด เ จ น 
เพื่อยืนยันวา่การดา เนินโครงการไมก่อ่ให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพต่อราษฎรที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง 
7.5 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม 
ใ ห้ พิ จ า ร ณ า ก า ร บ ริ ห า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ด้ า น สุ ข ภ า พ 
โ ด ย ใ ห้ กับ ห น่ว ย ง า น ด้า น ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ มีห น้า ที่ โ ด ย ต ร ง ใ น พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร 
และให้เผยแพ ร่ผลการติดตามตรวจสอบให้กับห น่วยงาน สาธารณสุขในพื้น ที่ (สาธารณสุขอาเภ อ 
โรงพยาบาล) 
รายละเอียดโครงการ 
1) ทตี่ั้งและสภาพภูมิประเทศ 
อธิบายลักษณะและสภาพของพื้นที่ทั่วไป 
ที่ตั้ง 
- ระบุหมายเลขคา ขอประทานบัตร ชื่อผู้ขอประทานบัตร 
- ระบุพิกดัของพื้นที่ประทานบัตร โดยแสดงในแผนที่ มาตราส่วน 1:50,000 
อธิบายลักษณะภูมิประเทศ โดยรอบของพื้นที่โครงการ
อธิบายรายละเอียดที่พบ เชน่ ลักษณะพื้นที่ป่า เทือกเขา ความสูงจากอาณาเขตโดยรอบ 
อธิบายการใช้ประโยชน์ของพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง เชน่ กิจกรรมทาเหมืองเกา่ที่มีแนวถนน 
หรือขุมเหมืองเกา่ 
ระบุเส้นทางน้าที่ไหลผา่นโครงการหรือใกล้เคียงในรัศมีที่คาดวา่จะได้รับผลกระทบ 
อธิบายภาพประกอบลักษณะชุมชนและสภาพพื้นที่โดยรอบ ในรัศมีที่ศึกษาของพื้นที่โครงการ 
2) การคมนาคมและเส้นทางขนส่งแร่ 
อธิบายเส้นทางการขนส่งแร่โดยเริ่มจากอา เภอหรือสถานที่สาคัญที่เป็นที่ตั้งของโครงการไปจนถึง 
พื้นที่โครงการ 
ระบุชุมชนที่อยู่ใกล้พื้นที่โครงการระยะห่างของชุมชนกับเส้นทางขนส่งแร่ เช่น หมูบ่้าน A 
ห่างจากระยะทางขนส่งแร่ 0.5 กม. 
3) ลักษณะธรณีวิทยา 
ลักษณะธรณีวิทยาโดยทั่วไป ต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกบัชนิดหิน ชั้นหิน อายุหิน ลาดับชั้นหิน 
และธรณีวิทยาโครงสร้าง พร้อมแผนที่ธรณีวิทยาทั่วไป มาตราส่วน 1:50,000 หรือละเอียดกวา่ 
ระบุลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่ ต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ ชนิดแร่ ชนิดของแหล่งแร่(Type of 
Deposit) แ ล ะ ก า ร ก า เ นิ ด แ ร่ (Genesis) ค ว า ม สัม พัน ธ์กับ ลัก ษ ณ ะ ธ ร ณี วิท ย า 
ห รื อ ธ ร ณี วิท ย า โ ค ร ง ส ร้ า ง รู ป ร่า ง ข อ ง แ ห ล่ง แ ร่ (Shape of Body) 
ข อ บ เ ข ต แ ล ะ ข น า ด ก า ร แ ผ่ก ร ะ จ า ย ข อ ง แ ห ล่ง แ ร่ ค ว า ม ก ว้า ง ย า ว 
ห น า ค ว ามลึก ข อ ง ส าย แ ร่ห รือ ชั้น ที่ใ ห้แ ร่มุมเท แ ล ะ แ น วร ะ ดับ (Dip and Strike) 
ของสายแ ร่หรือชั้นที่ให้แร่ ธรณีวิทยาโครง สร้าง (Structural Geology) เช่น ระนาบชั้นหิน 
(Bedding) แนวรอยเลื่อน (Fault) ชั้นหินคดโค้ง (Fold)รอยแยกและกลุ่มของรอยแยก (Joint Set) 
รอยแตก (Fracture) ช นิดของแร่ที่จะทาเหมืองและ การเกิดร่วมกันของ แร่พลอยได้ช นิดอื่น 
คุณ ภ า พ ห รือ คุณ ส ม บัติข อ ง เ ค มีแ ล ะ ฟิ สิ ก ส์ ข อ ง แ ร่ ร ะ บุ ค ว า ม ส า คัญ 
คุณสมบัติพิเศษหรือคุณค่าทาง เศรษฐกิจของ แหล่งแ ร่ ความสมบูรณ์หรือเกรดของ แ ร่ 
แสดงรายละเอียดวิธีการคานวณปริมาณแร่สารองและมูลค่าของแร่ทุกชนิดที่จะ ทาเหมือง 
พร้อมแผนที่แสดง ลักษณะ ธรณีวิทยาแหล่ง แ ร่มาตราส่วน 1:50,000 หรือละ เอียดกว่า 
ภาพ ขอบเขตและภาพตัดขวางทางธรณีวิทยา (Geological CrossSection) หรือรายละเอียดอื่น ๆ 
ที่จา เป็นเพื่อประกอบการบรรยายลักษณะตา่งๆ ทางธรณีวิทยาแหลง่แร่
รูปธรณีควรเป็นรูปสีและให้ใช้สีและสัญลักษณ์ตามมาตรฐานของสมาคมธรณีวิทยาระหวา่งประเท 
ศ 
ก า ร อ ธิ บ า ย อ า ยุ หิ น ใ ห้ อ ธิ บ า ย หิ น แ ก่ที่ สุ ด ไ ป อ่ อ น ที่ สุ ด 
แตใ่นแผนที่ธรณีวิทยาจะต้องเรียงจากหินอ่อนที่สุดไปแกที่่สุด 
ก ร ณี ช นิ ด แ ร่หิ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ พื่ อ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก่อ ส ร้ า ง 
ต้องทดสอบคุณสมบัติทางกลศาสตร์ของหินตามมาตรฐานการกอ่สร้างของทางราชการ 
4) ปริมาณสารองทางธรณีวิทยา 
อธิบายการประเมินปริมาณสารองแหลง่แร่ภายในพื้นที่โครงการและปริมาณสารองแร่ที่ 
สามารถทา เหมืองได้ (Mine able Reserve) อัตราการผลิตแร่ รวมถึงปริมาณเปลือกดินและเศษหินที่เกิดจาก 
การทา เหมือง มูลคา่แหลง่แร่ 
5) การวางแผนและการออกแบบการทา เหมือง 
ประมาณการใช้ประโยชน์พื้นที่โครงการ 
ระบุเทคนิคและวิธีการทา เหมืองโดยพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่โครงการ 
อธิบายการประเมินปริมาณของแหลง่แร่ และแสดงตารางปริมาณแร่สารองที่สามารถ 
ทา เหมืองได้บริเวณพื้นที่โครงการ 
6) วิธีการทา เหมือง (Mine Operation) 
แผนการทา เหมือง ต้องระบุแผนงานการพัฒนาหน้าเหมือง การเปิดเปลือกดินและหิน 
ก าร ผ ลิต แ ร่ โ ด ย ร ะ บุเ ป็น ช่ว ง จ น สิ้น สุด โ ค ร ง ก าร พ ร้อ ม แ ผ น ที่ ม าต ร าส่ว น 1:5,000 
หรือใหญก่วา่และภาพตัดขวาง 
กรณีที่มีการใช้วตัถุระเบิด ให้ระบุรายละเอียดการใช้และเก็บวตัถุระเบิด ได้แก่การออกแบบ 
การเจาะรูระเบิด เชน่ ขนาดรูเจาะระเบิด ระยะระหวา่งรู (Spacing) ระยะระหวา่งแถว (Burden) ความลึก 
รูเจาะ (Hole Depth) ชนิดของวตัถุระเบิด วิธีการจุดระเบิดปริมาณการใช้ตอ่รูเจาะระเบิดและต่อจังหวะถว่ง 
เป็นต้น สาหรับการเก็บวตัถุระเบิด ให้ระบุ การออกแบบอาคารเก็บวตัถุระเบิด การรักษาความปลอดภัยใน 
ก า ร ใ ช้แ ล ะ เ ก็บ วัต ถุร ะ เ บิด เ ป็ น ต้น ก ร ณี ที่ มีอ า ค า ร เ ก็บ วัต ถุร ะ เ บิด อ ยู่แ ล้ว 
ให้แสดงที่ตั้งพร้อมภาพถา่ยประกอบ 
การจัดการเปลือกดิน เศษหิน และมูลดินทราย ต้องระบุการเก็บกองและการดูแลรักษาที่ 
สามารถป้องกนัการชะล้างพังทลาย 
กรณีที่มีการใช้น้าในการทา เหมือง ต้องระบุแหลง่ที่มาของน้าปริมาณการใช้น้าสาหรับ 
กิจก รรมต่าง ๆ และ การป้อง กัน และ รักษาคุณภ าพ น้าใ นพื้น ที่โครง การ เช่น การระ บายน้า 
ทิศทางการไหลของน้า 
การกกัเก็บน้า การปรับปรุงคุณภาพน้ากอ่นการระบายออกสู่แหลง่น้าสาธารณะ เป็นต้น 
เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา เหมือง ต้องระบุขนาดและจา นวนของเครื่องจักร
แตล่ะชนิดรวมทั้งจา นวนคนงานที่สัมพันธ์กบัอัตราการผลิตแร่และแผนการทา เหมือง 
7) การแต่งแร่ 
กรรมวิธีในการแตง่แร่ ต้องระบุวิธีการตา่งๆ แตล่ะขั้นตอนในกระบวนการแตง่แร่ พร้อม 
แ ผ น ผั ง ก า ร แ ต่ ง แ ร่ 
รวมทั้งการจัดการฝุ่นในแตล่ะขั้นตอนตามประกาศกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ 
เรื่อง ให้โรงโม่บดหรือยอ่ยหินมีระบบป้องกนัผลกระทบสิ่งแวดล้อม 
รายการเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ในการแตง่แร่ต้องระบุขนาดและจา นวนของเครื่องจักรแต่ 
ละชนิด 
การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณโรงโมหิ่น (กรณีที่มีโรงโมหิ่นอยูแ่ล้ว) 
8) การปฏิบัติตามมาตรการสิ่งแวดล้อมทผี่่านมา 
กรณีที่ผู้ประกอบการมีการดา เนินกิจกรรมการทา เหมืองอยูบ่ริเวณติดกบัโครงการหรือร่วม 
แผนผังกบัโครงการที่กา ลังดา เนินการขออนุญาตประทานบัตรจะต้องเสนอผลการปฏิบัติตามมาตรการด้าน 
สิ่งแวดล้อมที่ผา่นมาตามเงื่อนไขที่ได้รับ 
9) ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของแหล่งแร่ 
หัวข้อนี้นาเสนอสาหรับโครงการที่อยูใ่นลุม่น้าชั้น 1 และชั้น 2 แตก่รณีลุม่น้าชั้น 2 ซึ่งได้รับ 
การรับรองแหลง่แร่จากสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดไมจ่า เป็นต้องมีหัวข้อนี้ 
เหตุผล ความจาเป็น และความเหมาะสมด้านแหล่งแร่ 
กรณีมีโครงการ 
กรณีโครงการที่มีการนา เอาแร่มาใช้ประโยชน์ เชน่ แร่หินปูนอาจจะกอ่ให้เกิด 
ผลกระทบด้านบวกทั้งในด้านเศรษฐกิจ ทั้งระดับจุลภาคและมหภาค กอ่ให้เกิดผลประโยชน์ตอ่ส่วนรวม 
ตลอดจนความคุ้มคา่ในการนาทรัพยากรแร่ออกมาใช้ โดยการทา เหมืองแร่ของโครงการต่อไปในอนาคต 
คาด 
วา่จะกอ่ให้เกิดผลประโยชน์หรือผลดีตอ่ภาคส่วนตา่งๆ 
- โครงการจะได้สนับสนุนงบประมาณคา่ปลูกป่าชดเชยแกภ่าครัฐตามระเบียบของทาง 
ราชการ 
- กรณีพื้นที่โครงการอยูใ่กล้กับพื้นที่ป่าไม้ จะสามารถชว่ยเหลือเจ้าหน้าที่ป่าไม้ และ 
หน่วยงานที่เกยี่วข้องในการดูแล ป้องกนั พร้อมทั้งดับไฟป่าได้อยา่งรวดเร็ว 
- ลดการใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และพื้นที่ป่าตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 
ก ร ณี พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร เ ป็ น พื้ น ที่ เ ห มือ ง แ ร่เ ดิม ที่ ผ่า น ก า ร ท า เ ห มือ ง ม า แ ล้ว 
โดยบริเวณพื้นที่โครงการมีความเหมาะสม 
มีทรัพยากรแร่ปริมาณที่มาก และมีคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการนามาใช้ประโยชน์ ดังนั้นการทา เหมืองของ
โครงการจึงเป็นการใช้พื้นที่ได้อยา่งคมุ้คา่ตามศักยภาพแร่ ไมต่้องมีการใช้พื้นที่ป่าใหมบ่ริเวณอื่นๆ 
ด้านสังคม 
- การทา เหมืองของโครงการจะทาให้ชุมชนในบริเวณใกล้เคียงได้รับการจัดสรร 
คา่ภาคหลวงแร่ งบประมาณดังกลา่วสามารถนามาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเจริญมากขึ้น 
- ทา ให้ประชาชนภายในชุมชนใกล้เคียงโครงการไมต่้องย้ายถิ่นฐานไปหางานทา 
และทา งานในจังหวดัอื่น 
- ทา ให้ชุมชนในบริเวณใกล้เคียงโครงการได้รับการชว่ยเหลือกิจกรรมในด้านตา่งๆ 
เชน่ การสนับสนุนทุนการศึกษาแกเ่ยาวชน การส่งเสริมและปฏิสังขรณ์วดั และการปรับปรุงถนน เป็นต้น 
ด้านเศรษฐกิจ 
ผลกระทบทางตรง 
ภาษี การทา เหมืองของโครงการจะต้องมีการจา่ยภาษีรูปแบบต่างๆ 
ค่าภาคหลวงแร่ การทา เหมืองโครงการมีการจา่ยคา่ภาคหลวงแร่ และท้องถิ่น 
จะได้รับคา่ภาคหลวงแร่จากการทา เหมืองของโครงการ ร้อยละ 60 ของคา่ภาคหลวงแร่ 
การสร้างงานภายในชุมชน เนื่องจากโครงการมีความต้องการแรงงานในส่วน 
ปฏิบัติการเหมือง พนักงานส่วนซอ่มบา รุงเครื่องจักรกลเหมือง พนักงานโรงโม่และตา แหน่งบุคลากรอื่นๆ 
โดยมีพนักงานประจา ถือเป็นการสร้างงานได้เป็นอยา่งดี 
ผลกระทบทางอ้อม 
- การทาเหมืองของโครงการอาจกอ่ให้เกิดอาชีพใหมๆ่ ภายในชุมชน เช่น ร้านขายสินค้า ร้านอาหาร 
เพื่อรอง รับ ความต้อ ง การซื้อ สิน ค้าขอ ง พ นัก ง าน ใ น เห มือ ง ร้าน ป ะ ยาง รถบ รรทุก เป็น ต้น 
ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กบัประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น 
- กอ่ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเฉพาะธุรกิจที่มีความเกยี่วเนื่องกับการทา เหมืองของโครงการ 
- โครงการจะเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการ 
เพื่อเป็นตัวกลางในการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงโครงการโดยการจัดตั้งกองทุนเ 
ฝ้าระวงัภาวะสุขภาพอนามยั จัดสรรให้กบัหน่วยงานสาธารณสุขใกล้เคียงโครงการ 
กรณีไม่มีโครงการ 
หากไมมี่กิจกรรมการทาเหมืองแร่ของโครงการจะทา ให้บริเวณพื้นที่โครงการยังคงสภาพป่าไม้ (หากมี) 
ไ ม่มีก า ร ตัด ไ ม้บ ริเ ว ณ ที่ เ ห ลือ อ ยู่ส่ง ผ ล ใ ห้สัต ว์ป่ า มีแ ห ล่ง อ า ห า ร แ ล ะ ที่ อ ยู่อ า ศัย 
รวมถึงเป็นการชว่ยรักษาสภาพพื้นที่ป่าไว้ เพื่อชว่ยลดภาวะโลกร้อนที่เป็นปัญหาอยูใ่นปัจจุบัน 
การวิเคราะห์ความเหมาะสมด้านเศรษฐศาสตร์ 
ในการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการใช้ข้อสมมติฐานระดับราคาคงทโี่ดยปรับลดด้ว 
ยอัตราปรับลดทแี่ท้จริง (Real discount rate) แบง่การประเมินผลตอบแทนการลงทุน 3 กรณี
- ผลตอบแทนการลงทุน (ไมค่า นึงถึงมูลคา่การสูญเสียสิ่งแวดล้อม) 
- ผลตอบแทนการลงทุนเอกชน รวมมูลคา่การสูญเสียสิ่งแวดล้อม 
- ผลตอบแทนการลงทุนตอ่สังคม 
บริษัทที่นามาเป็นกรณีศึกษา โครงการเหมืองแร่ คือ 
บริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จากัด 
ประวัติความเป็นมา 
แร่ตะกวั่ในประเทศไทยผลิตได้ 2 ชนิด คือ 
สารประกอบของตะกวั่ในรูปของตะกั่วคาร์บอเนตและตะกั่วซัลไฟด์แหลง่แร่ตะกวั่สามารถพบในจังหวัดกา 
ญจนบุรี ยะลา เพชรบุรี เลย ราชบุรี ลา ปาง เพชรบูรณ์ และแพร่ ส่วนใหญเ่ป็นแหลง่แร่ที่เกิดเป็นสายแร่เล็กๆ
แทรกในหิน ส่วนแหลง่แร่ใหญที่่มีคุณคา่ทางเศรษฐกิจและมีการผลิตแร่ออกจา หน่ายจะอยูใ่นอา เภอ 
ทองผาภูมิ และอา เภอศรีสวสัด์ิ จังหวดักาญจนบุรี ซึ่งเป็นแหลง่แร่ตะกวั่ซัลไฟด์เป็นส่วนใหญ่ 
การผลิตแร่ตะกวั่ในประเทศไทยเป็นการผลิตเพื่อส่งออกขายตา่งประเทศ การผลิตแร่ 
ตะกวั่ซัลไฟด์จะใช้กระบวนการทา เหมืองโดยการขุดเจาะอุโมงค์ (ดา เนินการโดยบริษัท เค็มโก้จา กดั) 
ซึ่งจะได้แร่ตะกวั่ร้อยละ8.8 หลังผา่นกรรมวิธีล้างแร่ แตง่แร่ ลอยแร่ โดยใช้น้ายาเคมี 
จะได้หัวแร่ตะกวั่ซัลไฟด์ร้อยละ 65 ซึ่งส่งออกตา่งประเทศทั้งหมด 
เนื่องจากไมมี่โรงถลุงแร่ตะกวั่ซัลไฟด์ในประเทศ ส่วนหางของแร่จะตกตะกอนช้าๆ ในน้าทิ้ง 
สาหรับการผลิตตะกวั่คาร์บอเนต จะเป็นการทา เหมืองโดยวิธีเหมืองหาบ 
โดยมีแหลง่ผลิตใหญอ่ยูใ่นอา เภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี 
ซึ่งจะผลิตหัวแร่ตะกวั่ส่งโรงงานถลุงแร่ตะกั่วที่ตั้งอยูใ่นอา เภอเมือง จังหวดักาญจนบุรี 
ปัญหาการปนเปื้อนของสารตะกวั่ในลา ห้วยคลิตี้เกิดจากโรงแตง่แร่ตะกวั่ของเหมืองแร่บ่องาม 
ซึ่งเป็นแร่ตะกวั่คาร์บอเนตที่ดา เนินการโดย บริษัท ตะกั่วคอนเซนเตรทส์ (ประเทศไทย) จำ กัด 
ลา ห้วยคลิตี้ เป็นห้วยขนาดใหญไ่หลจากทิศเหนือไปทิศใต้ เกิดจากการรวมตัวกนัของห้วยคลิตี้ยอ่ย 
2 สาย คือ สายตะวนัตกและสายเหนือ ห้วยคลิตี้สายเหนือจะไหลผา่นเหมืองบอ่งาม 
ซึ่งเป็นเหมืองที่ผลิตแร่ตะกวั่คาร์บอเนตที่สาคัญ ส่วนห้วยคลิตี้สายตะวนัตก 
เกิดจากการรวมตัวของห้วยผึ้งและห้วย ดีกะ ซึ่งไหลผา่นหินปูนที่มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ตะกั่ว 
ห้วยคลิตี้จะไหลผา่นหมูบ่้านคลิตี้บน โรงลอยแร่คลิตี้ น้าตกธิดาดอย หมูบ่้านคลิตี้ลา่ง น้าตกคลิตี้ 
แล้วไปบรรจบกบัคลองลา งู และไหลไปลงเขื่อนศรีนครินทร์ 
เหตุการณ์ที่ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 
กรมควบคุมมลพิษได้รับการร้องขอให้ตรวจสอบมลพิษทางน้าจากเหมืองแร่คลิตี้ อา เภอทองผาภูมิ 
จังหวดักาญจนบุรี และหนังสือพิมพ์ลงขา่วการปลอ่ยน้าเสียจากเหมืองแร่คลิตี้ลงลา ห้วยคลิตี้เชน่กนั
ทา ให้ชาวหมูบ่้านคลิตี้ลา่งที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงได้รับความเดือดร้อนจากการใช้ประโยชน์จากน้าในลา 
ห้วยไมไ่ด้รวมทั้งพื้นที่ดังกลา่วอยูใ่นบริเวณพื้นที่อนุรักษ์มรดกโลกทุง่ใหญน่เรศวร 
หมูบ่้านคลิตี้ลา่ง ตั้งอยูใ่นพื้นที่ตา บลนาสวน อา เภอศรีสวสัด์ิ จังหวดักาญจนบุรี 
การคมนาคมยังไมส่ะดวก ไมมี่ ไฟฟ้า ไมมี่โรงเรียน มีประปาภูเขาตั้งแตปี่ พ.ศ. 2536 มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 
ประชากรอาศัยรวม 207 คน อยูอ่าศัยประจา 150 คน 
เนื่องจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมธัยมศึกษาจะไปเรียนและพักค้างคืนที่หมูบ่้านอื่น 
ประชากรส่วนใหญเ่ป็นชาวไทยกระเหรี่ยง นับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพทา นา ทา ไร่ 
พืชไร่ที่ปลูกส่วนใหญคื่อ ข้าวโพด พริก ฯลฯ มีการตั้งครัวเรือนกระจัดกระจายโดยทั่วไป 
กรมควบคุมมลพิษ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงในวนัที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2541 
พบวา่โรงแตง่แร่ดังกลา่วเป็นของบริษัท ตะกวั่คอนเซนเตรทส์ (ประเทศไทย) จา กดั ตั้งอยูที่่ ตา บลชะแล 
อา เภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี ประกอบกิจการแตง่แร่ตะกวั่ 
รับแร่ดิบจากเหมืองบอ่งามที่อยูใ่นเครือบริษัทเดียวกนั 
ปัญหาการร้องเรียนเกิดจากฝนตกหนักน้าไหลบ่า 
ทา ให้ทา นบบอ่เก็บกกัน้าหางแร่และน้าตะกอนขุน่ข้น (Tailing pond) 
ที่รองรับหางแร่จากกระบวนการแตง่แร่ตะกวั่ได้ขาดชา รุดแล้วไหลลงสู่ห้วยคลิตี้ ทา ให้ชาวบ้านใช้น้าไมไ่ด้ 
โดยกอ่นหน้านั้นเจ้าหน้าที่จากที่ทา การทรัพยากรธรณีประจา ท้องที่(จังหวัดกาญจนบุรี) 
ได้เข้าตรวจสอบวนัที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2541 
ได้สั่งการให้โรงแตง่แร่ดังกลา่วหยุดดาเนินการและทา การเปรียบเทียบปรับฐานกระทา ความผิดตาม 
พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 
ในอัตราสูงสุดพร้อมทั้งสั่งให้ปรับปรุงบอ่เก็บกักน้าหางแร่และน้าตะกอนขุน่ข้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 
จากปัญหาข้างต้นกรมควบคุมมลพิษได้ติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนตะกั่วในแหลง่น้าที่คาดวา่จะ 
ได้รับผลกระทบคือ ลา ห้วยคลิตี้ จา นวน 4 ครั้ง โดยเก็บตัวอยา่งน้า 
ตัวอยา่งดินตะกอนและตัวอยา่งสัตว์น้ามาตรวจวดัเป็นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร
ผลการตรวจวดัปริมาณตะกวั่ทั้งหมดในตัวอยา่งน้า 
จุดเกบ็ตัวอยา่งน้า 
ครั้งที่ 1 
(29 เม.ษ. 41) 
ครั้งที่ 2 
(26 พ.ค. 41) 
ครั้งที่ 3 
(28 มิ.ย. 41) 
ครั้งที่ 4 
(2 ธ.ค. 41) 
ลำหว้ยคลิตี้ 
1. กอ่นโรงแต่งแร่ (KC1) 0.006 0.007 0.006 0.005 
2. ใต้โรงแต่งแร่ (KC2) 0.11 0.1 0.07 0.03 
3. ห้วยคลติี้ 3 กม. (KC3) 0.5 0.33 0.41 0.07 
4. บ้านคลติี้ลา่ง (KC4) 0.55 0.4 0.09 0.13 
5. หน่วยรักษาอทุยานฯ (KC5) 0.17 0.17 0.14 0.14 
6. น้าตกคลติี้ลา่ง (KC6) - - - 0.11 
อำ่งเก็บน้ำ ศรีนครินทร์ 
1. ปากคลองงู (SI1) - 0.008 0.011 0.007 
2. กลางอา่งเกบ็น้า (SI2) - 0.005 0.003 0.004 
3. สนัเขื่อน (SI3) - 0.003 0.004 0.003 
มำตรฐำนคุณภำพน้ำ แหล่งน้ำ ผิวดิน (ตะกัว่ละลำย) 0.05 มก./ล. 
ผลการตรวจวดัปริมาณตะกวั่ทั้งหมดในตัวอยา่งดินตะกอนท้องน้า 
จุดเกบ็ตัวอยา่งน้า 
ครั้งที่ 1 
(29 เม.ษ. 41) 
ครั้งที่ 2 
(26 พ.ค. 41) 
ครั้งที่ 3 
(28 มิ.ย. 41) 
ครั้งที่ 4 
(2 ธ.ค. 41) 
ลำหว้ยคลิตี้ 
1. กอ่นโรงแต่งแร่ (KC1) 402 581 - 665 
2. ใต้โรงแต่งแร่ (KC2) 65,771 52,348 - 29,970 
3. ห้วยคลติี้ 3 กม. (KC3) 41,663 38,900 - 36,896 
4. บ้านคลติี้ลา่ง (KC4) 33,491 31,101 - 11,329 
5. หน่วยรักษาอทุยานฯ (KC5) 5,870 15,267 - 8,676 
6. น้าตกคลติี้ลา่ง (KC6) - - - 23,991 
อำ่งเก็บน้ำ ศรีนครินทร์ 
1. ปากคลองงู (SI1) - - - - 
2. กลางอา่งเกบ็น้า (SI2) - 774 - 432 
3. สนัเขื่อน (SI3) - - - - 
กรมอนามัย โดยสานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองอาชีวอนามัยและศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อมเขต 4 
ร า ช บุ รี ร่ ว ม กั บ ส า นั ก ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข จั ง ห วัด ก า ญ จ น บุ รี 
สานักพัฒ น าวิช าการกรมการแพ ทย์แ ละ กองระบาดวิทยา สานักง าน ปลัดกระ ทรวง สาธารณสุข 
ได้ดา เนินการออกหน่วยเคลื่อนที่ตรวจสุขภาพและศึกษาผลกระทบตอ่สุขภาพของประชาชนในหมูบ่้านคลิตี้ 
ล่ า ง ที่ เ กิ ด จ า ก ส า ร ต ะ กั่ ว ป น เ ปื้ อ น ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม 
เ พื่ อ ส า ร ว จ ส ภ า ว ะ ท า ง สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กับ โ ร ค พิ ษ ต ะ กั่ว 
เป็นการคัดกรองเบื้องต้นและศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งระดับตะกั่วในเลือดกับปัจจัยสิ่งแวดล้อม
พบวา่ชาวบ้านคลิตี้ล่างมีปริมาณตะกั่วในเลือดสูงกวา่ปกติทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก 0-6 ปี 
แต่ยังไม่พบอาการของ โรคพิษตะกั่วอย่าง ชัดเจน จาเป็นต้องมีการเฝ้าระ วังทาง สุขภ าพต่อไป 
จ า ก ก า ร ต ร ว จ ส อ บ สัต ว์น้า ป ร ะ เ ภ ท กุ้ง ห อ ย ปู ป ล า ใ น ห้ว ย 
คลิตี้ทุกบริเวณมีสารตะกวั่ปนเปื้อนอยูใ่นปริมาณที่ไมเ่หมาะสมต่อการบริโภคของประชาชนและพบวา่น้าใ 
น ล า ห้ว ย มีส า ร ต ะ กั่ว ป น เ ปื้ อ น อ ยู่ ห า ก ยัง ไ ม่ด า เ นิ น ก า ร แ ก้ไ ข ปั ญ ห า ดัง ก ล่า ว 
อาจส่งผลกระทบตอ่สุขภาพของประชาชนที่ใช้น้าจากลา ห้วยเพิ่มมากขึ้นได้ 
แผนที่โดยสังเขป แสดงที่ตั้งของโรงแตง่แร่คลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี และจุดตรวจสภาพน้า, 
ดินตะกอนธารน้า 
จากกรณีดังกลา่ว ทา ให้เกิดคดีความ “คดีการปนเปื้อนสารตะกวั่ในลา ห้วยคลิตี้” ละเมิด 
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฟ้องวนัที่ 30 มกราคม 
2546)ผลการพิพากษาให้จา เลยทั้งสอง(นายกา ธร ศรีสุวรรณมาลา โจทก์ บริษัท ตะกวั่คอนเซนเตรทส์
(ประเทศไทย) จา กดั จา เลย) ชดใช้เงินแกโ่จทก์ เป็นจา นวนทั้งสิ้น 29,551,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย 7.5% 
ตอ่ปี 
การทาแบบประเมินเพื่อศึกษาลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม มีผลทางการบัญชีดังนี้ 
1. กรณีการทา EHIA ในโครงการที่เหมืองแร่ที่สามารถผลการพิจารณาให้เกิดโครงการ 
จึงจะใช้วิธีบันทึกเป็นสินทรัพย์ และใช้วิธีตัดจา หน่าย ในการรีบรู้เป็นคา่ใช้จา่ย 
2. กรณีการทา EHIA แล้วนั้นโครงการไมผ่า่นการพิจารณาตอ่คณะกรรมการ และชุมชน 
จะทา การรับรู้เป็นคา่ใช้จา่ยทันที่ เป็นผลภาระของกิจการ 
ซึ่งแนวทางในการปฏิบัติดังกลา่ว อ้างอิงวิธีการดา เนินงานมาจาก มาตรฐานการบัญชี 
ฉบับที่ 29 (ปรับปรุงปี 2550) วา่ด้วยเรื่อง สัญญาเชา่ ซึ่งเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เรื่อง สัมปทาน 
ในมาตรฐานดังกลา่ว ได้กลา่วถึงแนวทางการปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั 
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ กรณีการทาเหมืองแร่ตะกั่ว 
แผน่เก็บประจุไฟฟ้าในแบตเตอรี่รถยนต์ มีส่วนประกอบที่สาคัญคือตะกวั่ ร้อยละ 90 ของ 
โลหะตะกวั่ที่ผลิตได้ในประเทศถูกใช้ไปเพื่อการดังกลา่ว 
ในแตล่ะปีประเทศไทยนาเข้าโลหะตะกวั่จากตา่งประเทศกวา่ร้อยละ 70 
ถึงแมว้า่เราจะสามารถผลิตโลหะตะกวั่ได้เอง ทั้งจากการรีไซเคิลแบตเตอรี่เกา่ และจากการถลุงสินแร่ตะกวั่ 
สาเหตุหนึ่งที่คือ การผลิตโลหะตะกวั่ในประเทศยังไมเ่พียงพอตอ่ความต้องการ ใช้ คือ 
ปัญหาการขาดแคลนวตัถุดิบ 
กอปรด้วยที่ผา่นมาการทา เหมืองแร่ตะกั่วและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ดังกลา่ว 
ได้กอ่ให้เกิดปัญหาผลกระทบตอ่สิ่งแวดล้อมตา่งๆ เชน่ 
ปัญหาการปนเปื้อนและแพร่กระจายของตะกอนห่างแร่ตะกั่วในลา ห้วยธรรมชาติ 
และผลกระทบตอ่สุขภาพและชีวิตความเป็นอยูข่องประชาชนในท้องถิ่น 
จนกอ่ให้เกิดกระแสตอ่ต้านการดา เนินกิจกรรมเหมืองแร่อยา่งต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2541
จากกระแสความต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
และความต้องการใช้ทรัพยากรแร่ตะกวั่เป็นฐานรองรับอุตสาหกรรมตอ่เนื่องเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของปร 
ะเทศ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ 
ได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI : Thailand Development 
Research Institute Foundation) 
ดา เนินโครงการจัดทา แผนแมบ่ททางด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและการฟื้นฟูพื้นที่ทาเหมือง 
เพื่อการพัฒนาทรัพยากรธรณีในเขตเศรษฐกิจแร่ตะกั่ว จังหวดักาญจนบุรี ในปีงบประมาณ 2545 
วตัถุประสงค์หลักของการดา เนินโครงการ คือ 
เพื่อประเมินความคุ้มคา่ทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการทา เหมืองแร่ตะกั่ว ในพื้นที่อา เภอทองผาภูมิ 
จังหวดักาญจนบุรี โดยการประเมินมูลคา่ 
สิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากการประกอบกิจกรรมเหมืองแร่และกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
เปรียบเทียบกบัมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ได้จากการพัฒนากิจกรรมเหมืองแร่ตะกวั่ 
มุมมองของการทาเหมืองตะกั่ว จาก กรีนพีซ 
ตลอดนับสิบปีที่ผา่นมา 
เหมืองตะกวั่คลิตี้ได้สร้างบทเรียนที่สาคัญให้กบัสังคมไทยถึงภัยจากการทา เหมืองตะกั่วและความหละหลวม 
ในมาตรการการควบคุมมลพิษ 
และการต้องสูญเสียทรัพยากรส่วนรวมไปให้กับกลุ่มทุนโดยที่สังคมส่วนรวมแทบไมไ่ด้อะไรกลับมา 
ปัจจุบัน 
ปัญหาการปนเปื้อนสารตะกวั่ในสิ่งแวดล้อมอยา่งรุนแรงจากการทา เหมืองตะกั่วคลิตี้ยังไมส่ามารถแกไ้ขได้ 
ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยทั้งความลา่ช้าในการดา เนินการแกไ้ขของหน่วยงานที่รับผิดชอบผู้กอ่มลพิษทิ้ง 
ความรับผิดชอบ สถานการณ์การแพร่กระจายการปนเปื้อนของสารตะกั่วไมส่ามารถควบคุมได้ ทั้งนี้ 
การฟื้นฟูห้วยคลิตี้ยังมีความยากลา บากในเชิงปฏิบัติ เชน่ 
การแพร่กระจายของสารตะกวั่ในพื้นที่ที่เข้าถึงลา บาก การสะสมของสารตะกวั่ ระดับการปนเปื้อนที่รุนแรง 
เทคโนโลยีที่มีอยูอ่ยา่งจา กดั และงบประมาณมหาศาลที่ต้องใช้ในการฟื้นฟูไมน่้อยกวา่ 800 ล้านบาท
การทา เหมืองตะกวั่อยา่งไมรั่บผิดชอบ ต้องแลกไปกบัการสูญเสียถาวรของแหลง่ต้นน้าชั้นดี แหลง่อาหาร 
วิถีชีวิตและสุขภาพของชุมชน ซึ่งไมส่ามารถประมาณคา่ได้ และนี่คือ “ต้นทุนที่แท้จริง” 
ของการทา เหมืองตะกวั่ อยา่งไรก็ตาม ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไมน่าสิ่งนี้มาเป็นบทเรียน 
ยังคงสมคบคิดกบักลุ่มทุนและนักวิชาการบางกลุ่มในการที่จะพยายามผลักดันให้มีการทา เหมือง 
โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นอันดับต้นของประเทศ ซึ่งเป็นทั้งพื้นที่ป่าชั้นดี 
แหลง่ต้นน้าที่สาคัญของประเทศ แหลง่อาหาร และแหลง่ชุมชนชาติพันธุ์ 
ซึ่งจะเป็นต้นทุนหรือทรัพยาส่วนรวมที่จะสูญเสียไปหากมีการอนุญาติให้ทา เหมืองตะกั่ว 
ข้ออ้างในการทา เหมืองล้วนถูกปั้นโดยนักวิชาการและหน่วยงานรัฐที่มีมุมมองคับแคบ สร้างมายาคติที่ผิดๆ 
เชน่ดังตอ่ไปนี้ 
มายาคติ ข้อเท็จจริง 
การทาเหมืองตะกวั่จาเป็นต่อการพัฒนา 
ประเทศ 
· ตะกวั่มีความเป็นอันตรายตลอดวงจรชีวิต ต้งัแต่การผลิตตะกวั่ 
การนาตะกวั่มาใชใ้นผลิตภัณฑ์ การใช้และการกา จัดทา ลาย 
ปัจจุบนัหลายประเทศจึงล้วนออกกฏหมายควบคุมการใชต้ะกวั่ในผลิตภัณ 
ฑ์ รวมถึงการนาเข้า หลายผูผ้ลิตในหลายอุตสาหกรรม เช่น น้ามัน เคมี สี 
อิเล็คทรอนิกส์ และอื่นๆ ล้วน เลิกใชส้ารตะกวั่ 
และหันมาใชส้ารทดแทนอื่นๆ 
แทนทมีี่ความปลอดภัย ซึ่งยังคงมีเพียงแบตเตอรี่ทยีั่งคงเป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ช้ 
ตะกวั่ แต่เทคโนโลยีก็เริ่มพัฒนาไปมาก ดังนั้น 
ในอนาคตตะกวั่อาจไม่มีความจาเป็น 
ความต้องการของตะกวั่ทวั่โลกจึงมีแนวโน้มลดลง 
· ประเทศไทย ความตอ้งการใชต้ะกวั่ก็ลดลง 
แม้แต่หม้อก๋วยเตีย๋วก็ไม่ตอ้งการตะกวั่ 
· ราคาของตะกวั่ลดลงอย่างต่อเนอื่ง หลังจากขึ้นสูกสุดในปี 
2007[1] ปัจจุบนัมีประเทศผูผ้ลิตตะกวั่รายใหญ่มีอยู่ไม่กี่ประเทศ 
โดยจีนเป็นผูส้่งออกรายใหญ่ทสีุ่ด ตามด้วยออสเตรเลีย อเมริกา และเปรู[2]
สร้างรายได้ให้กับชุมชนจากการจ้างงาน 
ภาษีท้องถิ่นและประเทศ 
· การจ้างงานในเหมืองตะกวั่อาจจะมีพอสมควร 
แต่เป็นการจ้างงานแรงงาน ไม่ก่อให้เกิดทักษะ 
และความสามารถในการพึ่งตัวเองได้ จึงไม่มีความยั่งยืน 
· กลุ่มได้ประโยชน์กระจุกตัวอยู่เพียงนายทุน 
และแนวโน้มการรับสินบนโดยเจ้าหน้าที่ทอ้งถิ่นที่อนุญาตให้ใชป้ระโยชน์ 
พื้นที่เจ้าหน้าทภี่าครัฐผูอ้นุมัติสัมปทาน และนักวิชาการสนับสนุน 
· กา ไรของการทาเหมืองตะกวั่ในประเทศกา ลังพัฒนา 
รวมถึงประเทศไทย มาจากการเอาเปรียบสองเรื่องใหญ่ๆ 
ที่เป็นการลดต้นทุน และสามารถทา กา ไรได้มาก 
· ราคาสัมปทานและภาษีอย่ใูนระดับต่ามากโดยแทบจะถือว่ารัฐและประ 
ชาชนไม่ได้อะไรกลับมาจากความเสี่ยงด้านผลกระทบและทรัพยากรที่สูญเ 
สีย 
· การผลิตที่ไม่รับผิดชอบ 
ผลักภาระด้านสิ่งแวดล้อมมาให้กับส่วนรวมไม่มีการลงทุนระบบป้องกนัผล 
กระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีพอ ดังนั้นจึงมีตน้ทุนต่า 
· ใช้พื้นที่ที่ห่างใกล เช่น ป่าไม้ ภูเขา จึงมีต้นทุนต่า 
การควบคุมผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 
· ทั่วโลกล้วนประสบปัญหาผลกระทบจากการทาเหมืองตะกวั่ ไม่ว่าจะเ 
ป็นออสเตรเลีย อเมริกา เม็กซิโก สก็อตแลนด์ 
และประเทศกา ลังพัฒนาในเอเซีย 
· การทาเหมืองตะกวั่และกระบวนการสกัดสารตะกวั่แบบอุตสาหกรรมนั้ 
น มีการใช้สารเคมีและนา้ปริมาณมหาศาล 
จึงก่อให้เกิดปริมาณนา้ทิ้งที่ปนเปื้อนตะกวั่และเคมีมากตามมาและยังมีของเ 
สียทเี่ป็นกากอันตราย ดังนั้น 
การปกป้องไม่ให้สารพิษเล็ดลอดออกสู่สิ่งแวดล้อมนั้น 
แทบจะเป็นไปไม่ได้ 
แม้จะมีมาตรการหรือกระบวนการบา บดัทดีี่เพียงใดก็ตาม 
· เนื่องด้วยผลกา ไรของการผลิตตะกวั่จะได้มาจากการลดตน้ทุน 
หรือผลักภาระตน้ทุนด้านสิ่งแวดล้อมให้กบัสังคม เหมืองตะกวั่ส่วนใหญ่ 
เช่นเหมืองคลิตี้ทเี่คยมีในประเทศไทย 
ล้วนละเลยและไม่ให้ความสาคัญต่อการลงทุนระบบป้องกันผลกระทบด้าน 
สิ่งแวดล้อม เพราะหากมีการลงทุนสูง 
ธุรกิจทาเหมืองแบบรับผิดชอบก็จะไม่มีกา ไร หรือไม่คุ้มทุน 
· หากเกิดปัญหาผิดพลาด หรือการปนเปื้อน 
ส่วนใหญ่มักจะไม่ยอมรับในข้อผิดพลาด จนกระทงั่จานนต่อหลักฐาน 
ก็จะใชวิ้ธีปิดบริษัทหนี
และผลักความรับผิดชอบให้กับภาครัฐในการจัดการ 
ท้งัด้านการชดเชยและฟื้นฟู ซึ่งคือผลักภาระมาให้กบัประชาชน 
หรือรัฐทใี่ชภ้าษีประชาชนมาใชจั้ดการ 
ผลกระทบของการทาเหมืองตะกวั่ 
· ผลกระทบด้านกายภาพทเี่ห็นได้ชดัเจน เช่น การทา ลายป่าไม้ 
การระเบิดหรือขุดเจาะภูเขาแล้วนั้น ผลกระทบทสี่า คญัและเป็นปัญหาทสีุ่ด 
ในการทา เหมืองตะกวั่คือ การใชส้ารเคมีในกระบวนการสกดั 
โดยมีน้าเป็นตวัทา ละลาย 
การทา ตะกวั่จึงเป็นอุตสาหกรรมที่ส่งผลกระทบทางน้ามาก 
และส่งผลต่อเนื่องอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศและชุมชน 
· สารตะกวั่ เป็นโลหะหนักที่มีความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต 
และไม่ย่อยสลาย มีความคงทนในสิ่งแวดล้อม 
และสะสมอยู่ในห่วงโซ่อาหาร ท้งัพืชและสัตว์ 
ดังนั้นหากมีการกระจายปนเปื้อนแล้ว 
จะมีความยากลา บากในการขจัดให้หมดไป หรือฟื้นฟูให้เหมือนเดิม 
และหากเกิดการปนเปื้อนในแหล่งชุมชน หรือแหล่งน้าอุปโภค บริโภค 
และแหล่งตน้น้า จะทา ให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงและประมาณค่าไม่ได้ 
· โดยสรุป การทา เหมืองตะกวั่ในปัจจุบนัให้ได้กา ไร 
คือการนาตน้ทุนสาธารณะไปใช้เช่น ป่าไม้ แหล่งน้า วิถีชีวิตและสุขภาพ 
· ในกรณีคลิตี้ ความเสียหายและค่าใชจ้่ายในการฟื้นฟูน่าจะไม่ต่า กว่า 
800 ล้านบาท 
รายได้ที่ประชาชนและภาครัฐได้จากการเปิดเหมืองคลิตี้ตลอดหลายสิบปีนั้ 
นน้อยจนแทบจะเทียบกนัไม่ได้ 
สารตะกวั่มีอย่ทูวั่ไปตามธรรมชาติ เป็น 
ทรัพยากรใต้ดินที่ต้องนา มาใช้ประโยชน์ 
และการปนเปื้อนสารตะกวั่ในสิ่งแวดล้อ 
มที่พบนั้น มีอย่แูล้วตามธรรมชาติ 
· ใตพื้้นภิภพและตามธรรมชาติทวั่ไปล้วนมีอยู่ซึ่งทรัพยากรแร่อันมีค่า 
แต่การที่จะนาออกมาใชน้ั้นควรพิจารณาให้รอบด้านถึงตน้ทุนต่างๆ 
โดยเฉพาะตน้ทุนสาธารณะ หรือความคุม้ค่าทจี่ะทา หรือคุม้ค่าทจี่ะเสีย 
· แร่ตะกวั่ที่มีตามธรรมชาติมักไม่ก่อให้เกิดผลกระทบหากไม่มีการไปร 
บกวน เนื่องจากอาจอยู่ลึกใตดิ้น 
หรือมักไม่มีการพบอยู่ในแหล่งน้าธรรมชาติหรือตะกอนตน้น้า 
รวมถึงในพืชและสัตว์ 
· การทาเหมืองตะกวั่แบบอุตสาหกรรมจะมีการใช้สารเคมีทจี่ะเป็นตัวเร่ง 
ให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี 
ซึ่งทาให้เกิดการแยกตัวของสารตะกวั่ออกจากดินหรือหินและอย่ใูนรูปที่พร้ 
อมจะกระจายตัวและปนเปื้อน 
และเมอื่สารเคมีถูกปล่อยทงิ้ปนเปื้อนไปกับนา้ทิ้งจากกระบวนการผลิตออก 
สู่สิ่งแวดล้อม สารเคมีเหล่านกี้็จะไปทาปฏิกิริยากับดิน หิน ตะกอนดิน
การทำ Ehia (เหมืองแร่)
การทำ Ehia (เหมืองแร่)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาจักรพงษ์ แผ่นทอง
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกA Bu'mbim Kanittha
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานauttawut singkeaw
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาYui Yuyee
 
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...Gritiga Soothorn
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25629 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25629GATPAT1
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 

Mais procurados (20)

โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงานประเภทของโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
วิธีสืบค้นวิทยานิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น How to searc...
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25629 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 

Destaque

การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)AmPere Si Si
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Naname001
 
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อมพ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อมสุชญา สกุลวงศ์
 
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_องข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_องสุชญา สกุลวงศ์
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมJunjira Wuttiwitchai
 

Destaque (7)

การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
 
รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
 
เหมืองแร่
เหมืองแร่เหมืองแร่
เหมืองแร่
 
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อมพ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
พ.ร.บ.การส งเสร มและร_กษาค_ณภาพส__งแวดล_อม
 
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_องข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
ข อ 2มาตรการจ ดการส__งแวดล_อมเก__ยวข_อง
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 

Semelhante a การทำ Ehia (เหมืองแร่)

รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1teeclub
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...teeclub
 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)Orawan Siripun
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕Prachoom Rangkasikorn
 
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227Notty Satiphabunsodakorn
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3บัณฑิต ป้านสวาท
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)Nat Srpn
 
Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
Problems and Problem-Solving in Mab Ta PhutProblems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
Problems and Problem-Solving in Mab Ta PhutSarinee Achavanuntakul
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานThanawut Rattanadon
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55RMUTT
 
นำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายในนำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายในPalasut
 
_____________________________________-p.m-2.5
  _____________________________________-p.m-2.5  _____________________________________-p.m-2.5
_____________________________________-p.m-2.5sathianwutsukitsuksw
 
การจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆการจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆWiroj Suknongbueng
 
ประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptx
ประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptxประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptx
ประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptxWolfnkomNkom
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยNIMT
 
1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว
1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว
1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัวอนุุรักษ์ พูลสวัสดิ์
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5AVGROUP
 

Semelhante a การทำ Ehia (เหมืองแร่) (20)

รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
 
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
หงส์ บันทึกข้อความ.Docx227
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 67(IRPC)
 
Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
Problems and Problem-Solving in Mab Ta PhutProblems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
Problems and Problem-Solving in Mab Ta Phut
 
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงานใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 คุณลักษณะของโครงงานที่ดีและการเขียนเค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 9 55
 
นำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายในนำเสนอระบบควบคุมภายใน
นำเสนอระบบควบคุมภายใน
 
_____________________________________-p.m-2.5
  _____________________________________-p.m-2.5  _____________________________________-p.m-2.5
_____________________________________-p.m-2.5
 
การจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆการจัดงานต่างๆ
การจัดงานต่างๆ
 
ประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptx
ประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptxประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptx
ประชุมโครงการน้ำเสียของงวานเดกหเรนพำเกดเสน หาดหกนาเน.pptx
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว
1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว
1 การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
โครงการMouกับ ศูนย์วิศวกรรม55
 
Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09Bank of Thailand Payment Report 09
Bank of Thailand Payment Report 09
 

การทำ Ehia (เหมืองแร่)

  • 1. การจัดการสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการ บริษัท บริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จากัด เสนอ ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ จัดทาโดย 5430102687 นายสิทธิพงศ์ พวงแก้ว 5430110230 น.ส.ชวิศา ทองถนอม 5430110752 น.ส.ศิวพร สายพานทอง 5430110817 น.ส.สิริลักษณ์ ศักด์ิชลาธร หมู่เรียน 800 รานงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา Environmental Management Accounting รหัสวิชา 03760433 คณะวิทยาการจัดการ สาขา การบัญชีบริหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2557
  • 2. คานา ร า ย ง า น เ ล่ม นี้เ ป็น ส่ว น ห นึ่ง ข อ ง วิช า Environmental Management Accounting โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับกฎหมาย ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการ ซึ่งบริษัท ตะกั่ว คอน เซน เตรท ส์(ป ระ เท ศไทย) จากัด เป็นบ ริษัท ที่เกิด การโต้แ ย้ง ใน กรณีการท าเห มือง แ ร่ ซึ่ง เ ป็น ห นึ่ง ใ น โ ค ร ง ก า ร ที่ต้อ ง จัด ท า ก ร ะ ป ร ะ เ มิน สิ่ง แ ว ด ล้อ ม แ ล ะ สุข ภ า พ ในรายงานเลม่นี้ได้กลา่วถึงวิธีการดา เนินการที่บริษัทได้กระทา และผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมที่ได้เกิดขึ้น ทางคณะผู้จัดทา ขอขอบคุณ ที่ให้ข้อมูลและ และเป็นที่ปรึกษาในการศึกษาค้นคว้างานดังกล่าว ผศ. พัชนิจ เนาวพันธ์ ผู้ที่ประ สิทธิประสาทวิช า และ องค์การอื่นๆ ที่ได้ให้ข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ และขอบคุณเพื่อนๆที่ได้ให้กา ลังใจ ชว่ยแกไ้ขปัญหาตา่งๆทา ให้รายงานเลม่นี้ประสบความสาเร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ เรื่อง โครงการที่ต้องจัดทา EIA การส่งผลกระทบตอ่ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน คา่ใช้จา่ย ขององค์การในการจัดทา EHIA การดา เนินการทางบัญชี เมอื่มีการจัดทา EHIA โครงการเหมืองแร่ที่ต้องทา รายงาน EIA ขนาดเหมืองแร่ที่ต้องจัดทา EIA กระบวนการพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายละเอียดโครงการ โครงการเหมืองแร่ บริษัท ตะกวั่ คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จา กดั บรรณานุกรม
  • 4. โครงการด้านเหมืองแร่ โครงการที่ต้องจัดทา EIA 1. โครงการด้านเหมืองแร่และการพัฒนาปิโตรเลียม 2. โครงการด้านอุตสาหกรรม 3. โครงการด้านคมนาคม 4. โครงการด้านพัฒนาชุมชนและที่พักอาศัย 5. โครงการด้านแหล่งน้าและพัฒนาเกษตรกรรม การส่งผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ขององค์การในการจัดทา EHIA จากข้อมูลที่แสดงให้เห็นข้างต้นวา่ โครงหรือกิจกรรมใดๆ ที่ส่งผลกระทบตอ่ความเป็นของชุมชน สิ่งแวดล้อม จา เป็นต้องทา การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ นั้น จึงนามาซึ่ง ผลกระทบตอ่ กิจการ เพื่อการทา กิจการหรือโครงการไดๆ เชน่เดียวกนั ในแง่ของการจัดทา บัญชีจึงแสดงให้เห็นถึง การสะท้อน ออกมาในรูป สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน คา่ใช้จา่ย ขององค์กรนั้น และส่วนการจัดทา EHIA ก็เปรียบเสมือน ทั้งการเกิด สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน และคา่ใช้จา่ย ขององค์กร แตท่ั้งนี้ทั้งนั้นขึ้นอยูก่บันโยบายขององค์ต้องการยอมรับในมุมมองใด 1.) สินทรัพย์ การทา EHIA เป็นการประเมินผลกระทบจากโครงการ หรือ กิจกรรมที่มีขนาดใหญ่ คา่ใช้จา่ยในการจัดทา ยอ่ยมีมูลคา่สูง เมอื่องค์กรต้องการให้มีผลการดา เนินงานที่ไมผ่กผันมาก จึงจา เป็นต้องรับรู้ส่วนงานเป็นสินทรัพย์เพื่อทยอย ตัดเป็นคา่ใช้จา่ยในแตล่ะปี ตามหลักการของการ ตัดคา่เสื่อมราคา และการตัดจา หน่าย 2.) หนี้สิน ในกรณีของการกอ่ให้เกิดผลกระทบต่อชุมชม ไมว่า่จะเป็นการเกิดโดยฉับพลัน หรือผลกระทบจากมลพิษที่เพิ่มสูงขึ้นอยา่งช้าๆ จากโครงการ ควรมีการตั้งประมาณวงเงินที่จะต้องชดใช้คืนแกสั่งคม ในจา นวนประมาณที่เหมาะสมตรงตามหลักการและมีผู้เชี่ยวชาญรับรองในกรณีต้องใช้ความเชี่ยวชาญเฉพา ะทาง เพื่อนามาซึ่งจา นวนที่ถูกต้องใกล้เคียงที่สุด
  • 5. 3.) ทุน รายได้ ต้นทุน คา่ใช้จา่ย เป็นกิจกรรมเกี่ยวกบัสิ่งแวดล้อม ที่อาศัยหลักการทางบัญชี และนโยบายขององค์กรเป็นตัวกา หนด การดา เนินการทางบัญชี เมื่อมีการจัดทา EHIA การจัดทา การบัญชีบริหารสิ่งแวดล้อมนั้น ต้องมีการจัดทา เป็นระบบ เพื่อประสิทธิ ที่ยั่งยืน ซึ่งมีระบบการจัดทา บัญชี EMA (Environmental Management Accounting) ซึ่งเป็นการบริหารจัดการระบบคา่ใช้จา่ยต้นทุนด้านสิ่งแวดล้อม และตัวชี้วดัของสมรรถนะด้านสิ่งแวดล้อม โดยการคัดเลือกเครื่องมือมาใช้ในการเผ้าติดตามและตัดสินใจในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และยังมีแนวทางการจัดการส่งแวดล้อม อื่นๆ ที่องค์กรสามารถจัดทา ผ่านผา่นกระบวนการทางาน ซึ่งแนวทางในการทา MFCA หรือ Material Flow Cost Accounting เป็นวิธีการวดัการไหลและยอดคงคลัง "วตัถุ"ในกระบวนการผลิตบนรูปแบบของหน่วยทางกายภาคและทางการเงินและมุง่ เน้นการรักษาสิ่งแวดล้อม นอกเหนือจาก QCD (Quality, Cost, Delivery) ทั้งนี้ MFCA จะชว่ยให้เห็นการสูญเสียวตัถุและเกิดการสร้างแผนพัฒนาจากมุมมองใหม่ปัจจุบันนั้น MFCA กลายเป็นมาตรฐานสากลทยี่อมรับกนัทั่วโลก (ISO 14051) "MFCA" ถือเป็นส่วนชว่ยให้เกิดทั้งการลดต้นทุนและภาระทางสิ่งแวดล้อมพร้อม ๆ กนั ในการประยุกต์ใช้งานกบัสิ่งแวดล้อมมีหลักการดังนี้ 1. การรับรู้ต้นทุนสิ่งแวดล้อม 2. การรับรู้หนี้สินสิ่งแวดล้อม ในกรณีที่เกิดความเสียหายกบัธรรมชาติที่คาดไมถึ่ง 3. การรับรู้บันทึกคา่ชดเชยที่เกิดจากความเสียหาย 4. การวดัมูลคา่ต้นทุนและหนี้สินสิ่งแวดล้อม 5. การเปิดเยข้อมูลสู้สาธารณะ http://www.pnru.ac.th/offi/graduate/upload-files/uploaded/Thesis%207/B_715.pdf
  • 6. โครงการเหมืองแร่ที่ต้องทารายงาน EIA 1. เหมืองแร่ถา่นหิน 2. เหมืองแร่โพแทช 3. เหมืองแร่เกลือหิน 4. เหมืองแรหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซิเมนต์ 5. เหมืองแร่โลหะทุกชนิด 6. โครงการเหมืองแร่ใต้ดิน 7. โครงการเหมืองแร่ทุกชนิดที่ตั้งอยูใ่นพื้นที่ดังตอ่ไปนี้ - พื้นที่ชั้นคุณภาพลุม่น้าชั้น 1 ตามมติคณะรัฐมนตรี - ทะเล - ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรี - พื้นที่ชุม่น้าที่มีความสาคัญระหวา่งประเทศ - พื้ น ที่ ที่ อ ยู่ใ ก ล้แ ห ล่ง โ บ ร าณ ส ถ าน แ ห ล่ง โ บ ร าณ ค ดี แ ห ล่ง ป ร ะ วัติศ าส ต ร์ ห รือ อุท ยา น ป ร ะ วัติศ าส ต ร์ต า ม ก ฎ ห ม าย ว่าด้ว ย โบ รา ณ ส ถ า น โบ ร าณ วัต ถุ ศิล ป วัต ถุ แ ล ะ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ แหลง่มรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหลง่มรดกโลกตามอนุสัญญาระหวา่งประเทศในระยะทาง 2 กิโลเมตร 8. โครงการเหมืองแร่ที่มีการใช้วตัถุระเบิด
  • 7. ขนาดเหมืองแร่ทตี่้องจัดทา EIA เหมืองแร่ ขนาดโครงการ 1. เ ห มื อ ง แ ร่ ใ ต้ ดิ น เฉพาะที่ออกแบบให้โครงสร้างมีการยุบตัวภายหลังการทา เหมืองโดยไมมี่ ค้า ยัน และไมมี่การใส่คืนวสัดุทดแทน เพื่อป้องกนัการยุบตัว ทุกขนาด 2. เ ห มื อ ง แ ร่ ต ะ กั่ ว / เ ห มื อ ง แ ร่ สั ง ก ะ สี / เห มือง แ ร่โลห ะ อื่น ที่ใ ช้ไซยาไน ด์ห รือปรอทห รือตะ กั่วไน เตรต ใน กระ บวน การผลิตห รือเห มือง แ ร่โลห ะ อื่น ที่มีอาร์เซโน ไพ ไรต์ เป็นแร่ประกอบ ทุกขนาด 3. เ ห มื อ ง แ ร่ ถ่ า น หิ น เฉพาะที่มีการลา เลียงแร่ถา่นหินออกนอกพื้นที่โครงการด้วยรถยนต์ ทุกขนาด 4. เหมืองแร่ในทะเล ทุกขนาด
  • 8. อุตสาหกรรมถลุงแร่ / หลอมโลหะ ขนาดโครงการ 5. อุตสาหกรรมถลุงแร่เหล็ก ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่กระบวนการผลิต ตั้งแต่ 5,000 ตัน/วันขึ้นไป หรือที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่กระบวน การผลิตรวมกันตั้งแต่ 5,000 ตัน/วนั ขึ้นไป 6. อุตสาห กรรมถลุง แ ร่เห ล็ก ที่มีการผลิตถ่าน coke/มีกระบวนการ sintering ทุกขนาด 7. อุตสาห กรรมถลุง แ ร่ ทอง แดง ทองคา ห รือ สังกะสี ที่มีปริมาณแร่ป้อน (input) เข้าสู่กระบวน การผลิต ตั้ง แ ต่ 1,000 ตัน / วัน ขึ้น ไ ป ห รื อ ที่ มี ป ริ ม า ณ แ ร่ ป้ อ น ( input) เข้าสู่ก ระ บ ว น ก ารผ ลิต รว มกัน ตั้ง แ ต่ 1,000 ตัน/วนัขึ้นไป 8. อุตสาหกรรมถลุงแร่ตะกวั่ ทุกขนาด 9 . อุต ส าห ก รร ม ห ล อม โล ห ะ (ยก เว้น เ ห ล็ก และอลูมิเนียม) ขนาดกา ลังการผลิต (output) ตั้งแต่50 ตัน/วนั ขึ้นไป หรือมีกา ลังการผลิตรวมกนัตั้งแต่50 ตัน/วนั ขึ้นไป 10. อุตสาหกรรมหลอมตะกั่ว ขนาดกา ลังการผลิต (output) ตั้งแต่10 ตัน/วนั ขึ้นไป หรือมีกา ลังการผลิต รวมกนัตั้งแต1่0 ตัน/วนั ขึ้นไป
  • 9. โครงการเหมืองแร่ที่ต้องทารายงาน IEE โครง การเห มือง แ ร่ที่มิได้ใ ช้วัตถุระเบิด เช่น เห มือง แ ร่บอลเคลย์ เห มือง แ ร่ดิน ขาว เห มือง ดิน แ ล ะ เ ห มื อ ง หิ น อ่ อ น แตท่ั้งนี้พื้นที่ที่จะขออนุญาตทา เหมืองจะต้องไมอ่ยู่ในพื้นที่ดังที่กลา่วมาแล้วในโครงการประเภทที่ต้องทา รา ยงาน EIA และต้องไมเ่ป็นเหมืองแร่โลหะ รวมทั้งเหมืองแร่ใต้ดิน กระบวนการพิจารณารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม ขั้น ต อ น ห รือ ก ร ะ บ ว น ก าร พิจ ารณ าร าย ง า น EIA แ ล ะ IEE ถูก ก าห น ด ไว้ใ น มา ต รา 49- 50แ ห่ง พ ร ะ ร าช บัญ ญัติส่ง เ ส ริม แ ล ะ รัก ษ าคุณ ภ าพ สิ่ง แ ว ด ล้อ ม แ ห่ง ช า ติ พ .ศ .2535 โครงการของเอกชนและโครงการที่ไมต่้องขอรับความเห็นชอบจาก ครม. (โครงการของรัฐ รัฐวิสาหกิจ แล ะ โ ค รง ก าร ร่ว มกับ เ อ กช น )โ ค ร ง ก าร ป ร ะ เภ ท นี้ไ ด้ก าห น ด ร ะ ย ะ เ ว ลา ก ารพิจ ารณ า ต า ม ขั้น ต อ น ดัง แ ส ด ง ใ น รูป ทั้ง นี้เ มื่อ ร า ย ง า น ส่ง ส ผ .แ ล้ว ภ า ย ใ น 15 วัน
  • 10. จ ะ ถู ก ต ร ว จ ส อ บ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ร า ย ง า น จ า ก นั้น อีก 15 วัน จะพิจารณาเสนอความเห็นให้กบัคณะกรรมการผู้ชา นาญการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวด ล้ อ ม (ค ช ก .) แ ล ะ ค ช ก . ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ภ า ย ใ น 45 วัน ห า ก ค ช ก . ไมใ่ห้ความเห็นชอบจะต้องจัดส่งรายงานเข้ามาใหม่ (ฉบับเพิ่มเติมหรือแกไ้ขทั้งฉบับ) และเมื่อส่งมาที่ สผ. แ ล้ว ค ช ก . ต้อ ง พิ จ า ร ณ า ภ า ย ใ น 30 วัน ห า ก ค ช ก . ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ ส ผ . จ ะ แ จ้ง ใ ห้ เ จ้า ข อ ง โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้อ ง ท ร า บ ห า ก ค ช ก . ลงมติไมเ่ห็นชอบแล้วให้เริ่มต้นกระบวนการพิจารณา การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1. ด้านคุณภาพอากาศ เสียง และแรงสั่นสะเทือน 1.1 ผลกระทบในภาพรวมด้านคุณภาพอากาศ เสียง และแรงสั่นสะเทือนของกลุม่หมูเ่หมืองและโรงโมหิ่น 1.2 คุ ณ ภ า พ อ า ก า ศ ต้องมีการประเมินประสิทธิภาพของมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบด้านคุณภาพอากาศจะต้องมีความ ชัดเจน และพิจารณาเพิ่มเติมการตรวจวัดคุณภาพอากาศในสภาพปัจจุบัน 1.3 พิจารณาและระบุลักษณะของกิจกรรมโครงการและรูปแบบการใช้พื้นที่โดยรอบพื้นที่โครงการ 1.4 กรณีผลการตรวจวดัคุณภาพอากาศบริเวณโรงแต่งแร่/โรงโมหิ่นในปัจจุบันมีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐานกา หนด ดังนั้นจะต้องเสนอแผนการปรับปรุงโรงแตง่แร่/โรงโมหิ่นให้มีประสิทธิภาพ 2. ด้านอุทกวิทยาและคุณภาพน้า 2.1 ก า ร ป ร ะ เ มิน ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม เ พี ย ง พ อ ข อ ง บ่อ ดัก ต ะ ก อ น จ ะ ต้อ ง ก า ห น ด ม า ต ร ก า ร จัด ก า ร น้า ที่เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ส า ม า ร ถ ป ฏิบัติไ ด้ เพื่อป้องกนัการแพร่กระจายหรือลดผลกระทบโดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีโลหะหนักสูงกวา่เกณฑ์มาตรฐานและ มีพื้นที่เกษตรกรรม แหลง่น้า และแหลง่น้าบาดาลอยูใ่นบริเวณใกล้เคียง 2.2 การนาเสนอรายละเอียดการจัดการและการระบายน้าบริเวณพื้นที่โครงการพร้อมทั้งเสนอมาตรการป้องกนัแ ละแกไ้ขผลกระทบด้านระบายน้าจะต้องมีความชัดเจน สามารถปฏิบัติได้ 2.3 พิจารณาและทบทวนความเหมาะสมของจุดเก็บตัวอยา่งคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2.4 ก ระ บ วน ก ารเกิดแ ร่ข อง โ ครง การมีน้าบ าดาล ห รือ น้าใ ต้ดิน เป็น ปัจจัยที่ท าใ ห้เกิด แ ร่ ไมไ่ด้เกิดจากการแปรสภาพของหินบะซอลต์ในพื้นที่โครงการ 2.5 ก า ห น ด ม า ต ร ก า ร ใ ห้ ชั ด เ จ น หากอนุญาตให้ประชาชนเข้าใช้ประโยชน์จากสระกกัเก็บน้าที่จะพัฒนาจากพื้นที่ขุมเหมืองภายในพื้นที่โครง การ ภายหลังสิ้นสุดการทา เหมือง
  • 11. 2.6 ให้พิจารณาการกา หนดจุดติดตามตรวจสอบคุณภาพน้าบาดาลโดยพิจารณาจากทิศทางการไหลของน้าบาดา ลประกอบด้วย 3. ด้านทรัพยากรดินและธรณีวิทยา 3.1 เ ส น อ ม า ต ร ก า ร จั ด ก า ร ดิ น ภ า ย ใ น พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร เพื่อป้องกนัการแพร่กระจายของสารโลหะหนักออกสู่สิ่งแวดล้อมภายนอกพื้นที่โครงการให้ชัดเจน 3.2 ด้านธรณีวิทยา เก็บตัวอยา่งและวิเคราะห์ดินในหินคลุกที่จา หน่ายแกผู่้ซื้อ 4. ด้านการใช้ทดีิ่นและเกษตรกรรม 4.1 ประเมินผลกระทบโดยเปรียบเทียบการดาเนินกิจกรรมของโครงการกบัการเกษตรกรรม 4.2 ม า ต ร ก า ร ใ น ก า ร ช ด เ ช ย ค่า เ สีย ห า ย ที่อ า จ จ ะ เ กิด ขึ้น จ า ก ก า ร ท า เห มืองเป็น มาตรการป้อง กัน ผลกระ ทบต่อพื้น ที่เกษตรกรรมบริเวณใ กล้เคียง พื้น ที่โครง การ โ ด ย ก า ร เ ช่ า ที่ ดิ น ต า ม ที่ ไ ด้ ต ก ล ง กั บ ร า ษ ฎ ร เ ป็ น ร า ย ๆ ไ ป เพื่อเป็นค่าเสียโอกาสในส่วนของพืชผลทางการเกษตรที่ลดต่า ลงซึ่งอาจเกิดจากกิจกรรมของโครงการ ในขณะเดียวกนัราษฎรยังคงสามารถเก็บพืชผลทางการเกษตรจากที่ดินดังกล่าวได้ตามปกติ 5. ด้านสังคมและการมีส่วนร่วม 5.1 ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง สั ง ค ม ทบทวนการนาเสนอข้อมูลรายงานใหมเ่นื่องจากผลการสารวจความคิดเห็นของประชาชนมีความเห็นวา่จะไ ม่ไ ด้รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ แ ต่ใ น ร า ย ง า น ร ะ บุ ว่า อ า จ ท า ใ ห้ เ กิด ผ ล ก ร ะ ท บ โดยสร้างความแตกแยกของชุมชนระหวา่งกลุ่มผู้สนับสนุนโครงการ กบักลุม่ผู้คัดค้านโครงการ 5.2 ใ ห้ แ ส ด ง ต า แ ห น่ ง บ้า น ร า ษ ฎ ร ที่ ร ะ บุ ว่า ล ง ใ น แ ผ น ที่ ใ ห้ ชั ด เ จ น พร้อมทั้งประเมินผลกระทบตอ่กลุ่มบ้านดังกลา่ว
  • 12. 5.3 ม า ต ร ก า ร ใ น ก าร จัด ก าร ก ร ณีที่ ร า ษ ฎ ร ต้อ ง ก าร เ ป ลี่ย น แ ป ล ง ข้อ ต ก ล ง ที่ มีอ ยู่เ ดิม ควรมีการประสานงานผา่นผู้นาชุมชนด้วย 5.4 ก ารป ระ ช าสัมพัน ธ์โ คร ง การ ทั้ง มาต รก ารป้อง กัน แ ล ะ แ ก้ไ ขผ ลก ระ ท บ สิ่ง แ ว ดล้อ ม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้แกผู่้ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม และหน่วยงานที่เกยี่วข้อง ได้รับทราบอยา่งสม่า เสมอและต่อเนื่อง 5.5 ก า ร ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ โ ค ร ง ก า ร เนื่องจากประชาชนในพื้นที่มีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการขอประทานบัตรของโครงการจานวนน้อย จึงให้พิจารณาทบทวนแผนการประชาสัมพันธ์โครงการวา่มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด 6. ด้านสาธารณูปโภค 6.1 แสดงเส้นทางการขนส่งของโครงการให้เป็นไปตามสภาพที่จะดา เนินการจริงตามที่โครงการได้ชี้แจงในที่ป ระชุม พร้อมทั้งประเมินผลกระทบจากการใช้เส้นทางดังกลา่ว 6.2 ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ก า ร ด า เ นิ น โ ค ร ง ก า ร ทั้งในระยะกอ่สร้างและดา เนินการตอ่แนวสายส่งไฟฟ้าแรงสูงที่พาดผา่นพื้นที่โครงการและเสาไฟฟ้าแรงสูง ที่อยู่ใกล้เคียง พื้น ที่โครง การโดยใช้ความเห็น ของการไฟ ฟ้าฝ่ายผ ลิตแ ห่งประเทศไทย (กฟ ผ.) ที่โครงการชี้แจงวา่อยูร่ะหวา่งการตรวจสอบประกอบไว้ในรายงานสาหรับเป็นข้อมูลประกอบการประเมินใ ห้ชัดเจน 6.3 แสดงรายละเอียดความสามารถในการรองรับของถนนคอนกรีต ตอ่กิจกรรมการขนส่งของโครงการ ตามที่รายงานระบุวา่ถนนมีความหนาเป็นพิเศษ สามารถรองรับน้าหนักของรถบรรทุกได้ 6.4 ก ารจ ราจร ใ ห้ป ระ เ มิน ผล กร ะ ท บ ด้าน การ จราจร บริเวณ ถน น ท าง เข้า -ออ ก โคร ง ก าร ซึ่ง เ ป็น เ ส้น ท า ง ที่ใ ช้ร่ว ม กับ ร า ษ ฎ ร เ ข้า สู่พื้น ที่เ ก ษ ต ร ก ร ร ม พร้อมทั้งทบทวนมาตรการป้องกนัและแก้ไขผลกระทบต่อถนนดังกลา่ว 7. ด้านสุขภาพ 7.1 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพอนามยั ให้เพิ่มเติมหัวข้อการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพอนามยั 7.2 ร า ย ล ะ เ อี ย ด ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก ร ะ ท บ พร้อมทั้งมาตรการป้องกนัและแก้ไขผลกระทบด้านสุขภาพและกองทุนเฝ้าระวงัภาวะสุขภาพอนามยั
  • 13. 7.3 ก าร ป ร ะ เ มิน ผ ล ก ร ะ ท บ ใ น ภ า พ ร ว ม ข อ ง พื้ น ที่ ห มู่เ ห มือ ง แ ล ะ พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร และกา หนดมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบตอ่สิ่งแวดล้อมที่ชัดเจนสอดคล้องกบัการประเมินดังกลา่ว เพื่อยืนยันวา่กิจกรรมของโครงการไมก่อ่ให้เกิดผลกระทบในลักษณะสะสมหรือเพิ่มเติมโดยรวมต่อพื้นที่อ่อ นไหวที่ตั้งอยูบ่ริเวณใกล้เคียง 7.4 เสนอมาตรการป้องกนัและแกไ้ขผลกระทบด้านสุขภาพที่เกิดจากฝุ่นละอองจากการทาเหมืองเป็นการเฉพาะ เ นื่ อ ง จ า ก โ ค ร ง ก า ร ฯ ประเมินวา่ประชาชนที่อาศัยอยูบ่ริเวณใกล้เคียงมีความเสี่ยงตอ่การได้รับผลกระทบจากฝุ่นละอองในระดับที่ รุนแรง รวมทั้งเสนอมาตรการติดตามตรวจสอบและกา หนดในการขนส่งแร่ของโครงการในมาตรการฯ ใ ห้ ชั ด เ จ น เพื่อยืนยันวา่การดา เนินโครงการไมก่อ่ให้เกิดผลกระทบด้านสุขภาพต่อราษฎรที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียง 7.5 มาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ใ ห้ พิ จ า ร ณ า ก า ร บ ริ ห า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ด้ า น สุ ข ภ า พ โ ด ย ใ ห้ กับ ห น่ว ย ง า น ด้า น ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ มีห น้า ที่ โ ด ย ต ร ง ใ น พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร และให้เผยแพ ร่ผลการติดตามตรวจสอบให้กับห น่วยงาน สาธารณสุขในพื้น ที่ (สาธารณสุขอาเภ อ โรงพยาบาล) รายละเอียดโครงการ 1) ทตี่ั้งและสภาพภูมิประเทศ อธิบายลักษณะและสภาพของพื้นที่ทั่วไป ที่ตั้ง - ระบุหมายเลขคา ขอประทานบัตร ชื่อผู้ขอประทานบัตร - ระบุพิกดัของพื้นที่ประทานบัตร โดยแสดงในแผนที่ มาตราส่วน 1:50,000 อธิบายลักษณะภูมิประเทศ โดยรอบของพื้นที่โครงการ
  • 14. อธิบายรายละเอียดที่พบ เชน่ ลักษณะพื้นที่ป่า เทือกเขา ความสูงจากอาณาเขตโดยรอบ อธิบายการใช้ประโยชน์ของพื้นที่โครงการและพื้นที่ใกล้เคียง เชน่ กิจกรรมทาเหมืองเกา่ที่มีแนวถนน หรือขุมเหมืองเกา่ ระบุเส้นทางน้าที่ไหลผา่นโครงการหรือใกล้เคียงในรัศมีที่คาดวา่จะได้รับผลกระทบ อธิบายภาพประกอบลักษณะชุมชนและสภาพพื้นที่โดยรอบ ในรัศมีที่ศึกษาของพื้นที่โครงการ 2) การคมนาคมและเส้นทางขนส่งแร่ อธิบายเส้นทางการขนส่งแร่โดยเริ่มจากอา เภอหรือสถานที่สาคัญที่เป็นที่ตั้งของโครงการไปจนถึง พื้นที่โครงการ ระบุชุมชนที่อยู่ใกล้พื้นที่โครงการระยะห่างของชุมชนกับเส้นทางขนส่งแร่ เช่น หมูบ่้าน A ห่างจากระยะทางขนส่งแร่ 0.5 กม. 3) ลักษณะธรณีวิทยา ลักษณะธรณีวิทยาโดยทั่วไป ต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกบัชนิดหิน ชั้นหิน อายุหิน ลาดับชั้นหิน และธรณีวิทยาโครงสร้าง พร้อมแผนที่ธรณีวิทยาทั่วไป มาตราส่วน 1:50,000 หรือละเอียดกวา่ ระบุลักษณะธรณีวิทยาแหล่งแร่ ต้องระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ ชนิดแร่ ชนิดของแหล่งแร่(Type of Deposit) แ ล ะ ก า ร ก า เ นิ ด แ ร่ (Genesis) ค ว า ม สัม พัน ธ์กับ ลัก ษ ณ ะ ธ ร ณี วิท ย า ห รื อ ธ ร ณี วิท ย า โ ค ร ง ส ร้ า ง รู ป ร่า ง ข อ ง แ ห ล่ง แ ร่ (Shape of Body) ข อ บ เ ข ต แ ล ะ ข น า ด ก า ร แ ผ่ก ร ะ จ า ย ข อ ง แ ห ล่ง แ ร่ ค ว า ม ก ว้า ง ย า ว ห น า ค ว ามลึก ข อ ง ส าย แ ร่ห รือ ชั้น ที่ใ ห้แ ร่มุมเท แ ล ะ แ น วร ะ ดับ (Dip and Strike) ของสายแ ร่หรือชั้นที่ให้แร่ ธรณีวิทยาโครง สร้าง (Structural Geology) เช่น ระนาบชั้นหิน (Bedding) แนวรอยเลื่อน (Fault) ชั้นหินคดโค้ง (Fold)รอยแยกและกลุ่มของรอยแยก (Joint Set) รอยแตก (Fracture) ช นิดของแร่ที่จะทาเหมืองและ การเกิดร่วมกันของ แร่พลอยได้ช นิดอื่น คุณ ภ า พ ห รือ คุณ ส ม บัติข อ ง เ ค มีแ ล ะ ฟิ สิ ก ส์ ข อ ง แ ร่ ร ะ บุ ค ว า ม ส า คัญ คุณสมบัติพิเศษหรือคุณค่าทาง เศรษฐกิจของ แหล่งแ ร่ ความสมบูรณ์หรือเกรดของ แ ร่ แสดงรายละเอียดวิธีการคานวณปริมาณแร่สารองและมูลค่าของแร่ทุกชนิดที่จะ ทาเหมือง พร้อมแผนที่แสดง ลักษณะ ธรณีวิทยาแหล่ง แ ร่มาตราส่วน 1:50,000 หรือละ เอียดกว่า ภาพ ขอบเขตและภาพตัดขวางทางธรณีวิทยา (Geological CrossSection) หรือรายละเอียดอื่น ๆ ที่จา เป็นเพื่อประกอบการบรรยายลักษณะตา่งๆ ทางธรณีวิทยาแหลง่แร่
  • 15. รูปธรณีควรเป็นรูปสีและให้ใช้สีและสัญลักษณ์ตามมาตรฐานของสมาคมธรณีวิทยาระหวา่งประเท ศ ก า ร อ ธิ บ า ย อ า ยุ หิ น ใ ห้ อ ธิ บ า ย หิ น แ ก่ที่ สุ ด ไ ป อ่ อ น ที่ สุ ด แตใ่นแผนที่ธรณีวิทยาจะต้องเรียงจากหินอ่อนที่สุดไปแกที่่สุด ก ร ณี ช นิ ด แ ร่หิ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม เ พื่ อ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก่อ ส ร้ า ง ต้องทดสอบคุณสมบัติทางกลศาสตร์ของหินตามมาตรฐานการกอ่สร้างของทางราชการ 4) ปริมาณสารองทางธรณีวิทยา อธิบายการประเมินปริมาณสารองแหลง่แร่ภายในพื้นที่โครงการและปริมาณสารองแร่ที่ สามารถทา เหมืองได้ (Mine able Reserve) อัตราการผลิตแร่ รวมถึงปริมาณเปลือกดินและเศษหินที่เกิดจาก การทา เหมือง มูลคา่แหลง่แร่ 5) การวางแผนและการออกแบบการทา เหมือง ประมาณการใช้ประโยชน์พื้นที่โครงการ ระบุเทคนิคและวิธีการทา เหมืองโดยพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่โครงการ อธิบายการประเมินปริมาณของแหลง่แร่ และแสดงตารางปริมาณแร่สารองที่สามารถ ทา เหมืองได้บริเวณพื้นที่โครงการ 6) วิธีการทา เหมือง (Mine Operation) แผนการทา เหมือง ต้องระบุแผนงานการพัฒนาหน้าเหมือง การเปิดเปลือกดินและหิน ก าร ผ ลิต แ ร่ โ ด ย ร ะ บุเ ป็น ช่ว ง จ น สิ้น สุด โ ค ร ง ก าร พ ร้อ ม แ ผ น ที่ ม าต ร าส่ว น 1:5,000 หรือใหญก่วา่และภาพตัดขวาง กรณีที่มีการใช้วตัถุระเบิด ให้ระบุรายละเอียดการใช้และเก็บวตัถุระเบิด ได้แก่การออกแบบ การเจาะรูระเบิด เชน่ ขนาดรูเจาะระเบิด ระยะระหวา่งรู (Spacing) ระยะระหวา่งแถว (Burden) ความลึก รูเจาะ (Hole Depth) ชนิดของวตัถุระเบิด วิธีการจุดระเบิดปริมาณการใช้ตอ่รูเจาะระเบิดและต่อจังหวะถว่ง เป็นต้น สาหรับการเก็บวตัถุระเบิด ให้ระบุ การออกแบบอาคารเก็บวตัถุระเบิด การรักษาความปลอดภัยใน ก า ร ใ ช้แ ล ะ เ ก็บ วัต ถุร ะ เ บิด เ ป็ น ต้น ก ร ณี ที่ มีอ า ค า ร เ ก็บ วัต ถุร ะ เ บิด อ ยู่แ ล้ว ให้แสดงที่ตั้งพร้อมภาพถา่ยประกอบ การจัดการเปลือกดิน เศษหิน และมูลดินทราย ต้องระบุการเก็บกองและการดูแลรักษาที่ สามารถป้องกนัการชะล้างพังทลาย กรณีที่มีการใช้น้าในการทา เหมือง ต้องระบุแหลง่ที่มาของน้าปริมาณการใช้น้าสาหรับ กิจก รรมต่าง ๆ และ การป้อง กัน และ รักษาคุณภ าพ น้าใ นพื้น ที่โครง การ เช่น การระ บายน้า ทิศทางการไหลของน้า การกกัเก็บน้า การปรับปรุงคุณภาพน้ากอ่นการระบายออกสู่แหลง่น้าสาธารณะ เป็นต้น เครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ในการทา เหมือง ต้องระบุขนาดและจา นวนของเครื่องจักร
  • 16. แตล่ะชนิดรวมทั้งจา นวนคนงานที่สัมพันธ์กบัอัตราการผลิตแร่และแผนการทา เหมือง 7) การแต่งแร่ กรรมวิธีในการแตง่แร่ ต้องระบุวิธีการตา่งๆ แตล่ะขั้นตอนในกระบวนการแตง่แร่ พร้อม แ ผ น ผั ง ก า ร แ ต่ ง แ ร่ รวมทั้งการจัดการฝุ่นในแตล่ะขั้นตอนตามประกาศกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เรื่อง ให้โรงโม่บดหรือยอ่ยหินมีระบบป้องกนัผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายการเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ในการแตง่แร่ต้องระบุขนาดและจา นวนของเครื่องจักรแต่ ละชนิด การใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณโรงโมหิ่น (กรณีที่มีโรงโมหิ่นอยูแ่ล้ว) 8) การปฏิบัติตามมาตรการสิ่งแวดล้อมทผี่่านมา กรณีที่ผู้ประกอบการมีการดา เนินกิจกรรมการทา เหมืองอยูบ่ริเวณติดกบัโครงการหรือร่วม แผนผังกบัโครงการที่กา ลังดา เนินการขออนุญาตประทานบัตรจะต้องเสนอผลการปฏิบัติตามมาตรการด้าน สิ่งแวดล้อมที่ผา่นมาตามเงื่อนไขที่ได้รับ 9) ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของแหล่งแร่ หัวข้อนี้นาเสนอสาหรับโครงการที่อยูใ่นลุม่น้าชั้น 1 และชั้น 2 แตก่รณีลุม่น้าชั้น 2 ซึ่งได้รับ การรับรองแหลง่แร่จากสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดไมจ่า เป็นต้องมีหัวข้อนี้ เหตุผล ความจาเป็น และความเหมาะสมด้านแหล่งแร่ กรณีมีโครงการ กรณีโครงการที่มีการนา เอาแร่มาใช้ประโยชน์ เชน่ แร่หินปูนอาจจะกอ่ให้เกิด ผลกระทบด้านบวกทั้งในด้านเศรษฐกิจ ทั้งระดับจุลภาคและมหภาค กอ่ให้เกิดผลประโยชน์ตอ่ส่วนรวม ตลอดจนความคุ้มคา่ในการนาทรัพยากรแร่ออกมาใช้ โดยการทา เหมืองแร่ของโครงการต่อไปในอนาคต คาด วา่จะกอ่ให้เกิดผลประโยชน์หรือผลดีตอ่ภาคส่วนตา่งๆ - โครงการจะได้สนับสนุนงบประมาณคา่ปลูกป่าชดเชยแกภ่าครัฐตามระเบียบของทาง ราชการ - กรณีพื้นที่โครงการอยูใ่กล้กับพื้นที่ป่าไม้ จะสามารถชว่ยเหลือเจ้าหน้าที่ป่าไม้ และ หน่วยงานที่เกยี่วข้องในการดูแล ป้องกนั พร้อมทั้งดับไฟป่าได้อยา่งรวดเร็ว - ลดการใช้พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และพื้นที่ป่าตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 ก ร ณี พื้ น ที่ โ ค ร ง ก า ร เ ป็ น พื้ น ที่ เ ห มือ ง แ ร่เ ดิม ที่ ผ่า น ก า ร ท า เ ห มือ ง ม า แ ล้ว โดยบริเวณพื้นที่โครงการมีความเหมาะสม มีทรัพยากรแร่ปริมาณที่มาก และมีคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการนามาใช้ประโยชน์ ดังนั้นการทา เหมืองของ
  • 17. โครงการจึงเป็นการใช้พื้นที่ได้อยา่งคมุ้คา่ตามศักยภาพแร่ ไมต่้องมีการใช้พื้นที่ป่าใหมบ่ริเวณอื่นๆ ด้านสังคม - การทา เหมืองของโครงการจะทาให้ชุมชนในบริเวณใกล้เคียงได้รับการจัดสรร คา่ภาคหลวงแร่ งบประมาณดังกลา่วสามารถนามาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นให้มีความเจริญมากขึ้น - ทา ให้ประชาชนภายในชุมชนใกล้เคียงโครงการไมต่้องย้ายถิ่นฐานไปหางานทา และทา งานในจังหวดัอื่น - ทา ให้ชุมชนในบริเวณใกล้เคียงโครงการได้รับการชว่ยเหลือกิจกรรมในด้านตา่งๆ เชน่ การสนับสนุนทุนการศึกษาแกเ่ยาวชน การส่งเสริมและปฏิสังขรณ์วดั และการปรับปรุงถนน เป็นต้น ด้านเศรษฐกิจ ผลกระทบทางตรง ภาษี การทา เหมืองของโครงการจะต้องมีการจา่ยภาษีรูปแบบต่างๆ ค่าภาคหลวงแร่ การทา เหมืองโครงการมีการจา่ยคา่ภาคหลวงแร่ และท้องถิ่น จะได้รับคา่ภาคหลวงแร่จากการทา เหมืองของโครงการ ร้อยละ 60 ของคา่ภาคหลวงแร่ การสร้างงานภายในชุมชน เนื่องจากโครงการมีความต้องการแรงงานในส่วน ปฏิบัติการเหมือง พนักงานส่วนซอ่มบา รุงเครื่องจักรกลเหมือง พนักงานโรงโม่และตา แหน่งบุคลากรอื่นๆ โดยมีพนักงานประจา ถือเป็นการสร้างงานได้เป็นอยา่งดี ผลกระทบทางอ้อม - การทาเหมืองของโครงการอาจกอ่ให้เกิดอาชีพใหมๆ่ ภายในชุมชน เช่น ร้านขายสินค้า ร้านอาหาร เพื่อรอง รับ ความต้อ ง การซื้อ สิน ค้าขอ ง พ นัก ง าน ใ น เห มือ ง ร้าน ป ะ ยาง รถบ รรทุก เป็น ต้น ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กบัประชาชนในชุมชนเพิ่มขึ้น - กอ่ให้เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยเฉพาะธุรกิจที่มีความเกยี่วเนื่องกับการทา เหมืองของโครงการ - โครงการจะเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนหน่วยงานสาธารณสุขในบริเวณใกล้เคียงพื้นที่โครงการ เพื่อเป็นตัวกลางในการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในบริเวณใกล้เคียงโครงการโดยการจัดตั้งกองทุนเ ฝ้าระวงัภาวะสุขภาพอนามยั จัดสรรให้กบัหน่วยงานสาธารณสุขใกล้เคียงโครงการ กรณีไม่มีโครงการ หากไมมี่กิจกรรมการทาเหมืองแร่ของโครงการจะทา ให้บริเวณพื้นที่โครงการยังคงสภาพป่าไม้ (หากมี) ไ ม่มีก า ร ตัด ไ ม้บ ริเ ว ณ ที่ เ ห ลือ อ ยู่ส่ง ผ ล ใ ห้สัต ว์ป่ า มีแ ห ล่ง อ า ห า ร แ ล ะ ที่ อ ยู่อ า ศัย รวมถึงเป็นการชว่ยรักษาสภาพพื้นที่ป่าไว้ เพื่อชว่ยลดภาวะโลกร้อนที่เป็นปัญหาอยูใ่นปัจจุบัน การวิเคราะห์ความเหมาะสมด้านเศรษฐศาสตร์ ในการวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการใช้ข้อสมมติฐานระดับราคาคงทโี่ดยปรับลดด้ว ยอัตราปรับลดทแี่ท้จริง (Real discount rate) แบง่การประเมินผลตอบแทนการลงทุน 3 กรณี
  • 18. - ผลตอบแทนการลงทุน (ไมค่า นึงถึงมูลคา่การสูญเสียสิ่งแวดล้อม) - ผลตอบแทนการลงทุนเอกชน รวมมูลคา่การสูญเสียสิ่งแวดล้อม - ผลตอบแทนการลงทุนตอ่สังคม บริษัทที่นามาเป็นกรณีศึกษา โครงการเหมืองแร่ คือ บริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จากัด ประวัติความเป็นมา แร่ตะกวั่ในประเทศไทยผลิตได้ 2 ชนิด คือ สารประกอบของตะกวั่ในรูปของตะกั่วคาร์บอเนตและตะกั่วซัลไฟด์แหลง่แร่ตะกวั่สามารถพบในจังหวัดกา ญจนบุรี ยะลา เพชรบุรี เลย ราชบุรี ลา ปาง เพชรบูรณ์ และแพร่ ส่วนใหญเ่ป็นแหลง่แร่ที่เกิดเป็นสายแร่เล็กๆ
  • 19. แทรกในหิน ส่วนแหลง่แร่ใหญที่่มีคุณคา่ทางเศรษฐกิจและมีการผลิตแร่ออกจา หน่ายจะอยูใ่นอา เภอ ทองผาภูมิ และอา เภอศรีสวสัด์ิ จังหวดักาญจนบุรี ซึ่งเป็นแหลง่แร่ตะกวั่ซัลไฟด์เป็นส่วนใหญ่ การผลิตแร่ตะกวั่ในประเทศไทยเป็นการผลิตเพื่อส่งออกขายตา่งประเทศ การผลิตแร่ ตะกวั่ซัลไฟด์จะใช้กระบวนการทา เหมืองโดยการขุดเจาะอุโมงค์ (ดา เนินการโดยบริษัท เค็มโก้จา กดั) ซึ่งจะได้แร่ตะกวั่ร้อยละ8.8 หลังผา่นกรรมวิธีล้างแร่ แตง่แร่ ลอยแร่ โดยใช้น้ายาเคมี จะได้หัวแร่ตะกวั่ซัลไฟด์ร้อยละ 65 ซึ่งส่งออกตา่งประเทศทั้งหมด เนื่องจากไมมี่โรงถลุงแร่ตะกวั่ซัลไฟด์ในประเทศ ส่วนหางของแร่จะตกตะกอนช้าๆ ในน้าทิ้ง สาหรับการผลิตตะกวั่คาร์บอเนต จะเป็นการทา เหมืองโดยวิธีเหมืองหาบ โดยมีแหลง่ผลิตใหญอ่ยูใ่นอา เภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี ซึ่งจะผลิตหัวแร่ตะกวั่ส่งโรงงานถลุงแร่ตะกั่วที่ตั้งอยูใ่นอา เภอเมือง จังหวดักาญจนบุรี ปัญหาการปนเปื้อนของสารตะกวั่ในลา ห้วยคลิตี้เกิดจากโรงแตง่แร่ตะกวั่ของเหมืองแร่บ่องาม ซึ่งเป็นแร่ตะกวั่คาร์บอเนตที่ดา เนินการโดย บริษัท ตะกั่วคอนเซนเตรทส์ (ประเทศไทย) จำ กัด ลา ห้วยคลิตี้ เป็นห้วยขนาดใหญไ่หลจากทิศเหนือไปทิศใต้ เกิดจากการรวมตัวกนัของห้วยคลิตี้ยอ่ย 2 สาย คือ สายตะวนัตกและสายเหนือ ห้วยคลิตี้สายเหนือจะไหลผา่นเหมืองบอ่งาม ซึ่งเป็นเหมืองที่ผลิตแร่ตะกวั่คาร์บอเนตที่สาคัญ ส่วนห้วยคลิตี้สายตะวนัตก เกิดจากการรวมตัวของห้วยผึ้งและห้วย ดีกะ ซึ่งไหลผา่นหินปูนที่มีความอุดมสมบูรณ์ของแร่ตะกั่ว ห้วยคลิตี้จะไหลผา่นหมูบ่้านคลิตี้บน โรงลอยแร่คลิตี้ น้าตกธิดาดอย หมูบ่้านคลิตี้ลา่ง น้าตกคลิตี้ แล้วไปบรรจบกบัคลองลา งู และไหลไปลงเขื่อนศรีนครินทร์ เหตุการณ์ที่ส่งผลให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษได้รับการร้องขอให้ตรวจสอบมลพิษทางน้าจากเหมืองแร่คลิตี้ อา เภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี และหนังสือพิมพ์ลงขา่วการปลอ่ยน้าเสียจากเหมืองแร่คลิตี้ลงลา ห้วยคลิตี้เชน่กนั
  • 20. ทา ให้ชาวหมูบ่้านคลิตี้ลา่งที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้เคียงได้รับความเดือดร้อนจากการใช้ประโยชน์จากน้าในลา ห้วยไมไ่ด้รวมทั้งพื้นที่ดังกลา่วอยูใ่นบริเวณพื้นที่อนุรักษ์มรดกโลกทุง่ใหญน่เรศวร หมูบ่้านคลิตี้ลา่ง ตั้งอยูใ่นพื้นที่ตา บลนาสวน อา เภอศรีสวสัด์ิ จังหวดักาญจนบุรี การคมนาคมยังไมส่ะดวก ไมมี่ ไฟฟ้า ไมมี่โรงเรียน มีประปาภูเขาตั้งแตปี่ พ.ศ. 2536 มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประชากรอาศัยรวม 207 คน อยูอ่าศัยประจา 150 คน เนื่องจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาและมธัยมศึกษาจะไปเรียนและพักค้างคืนที่หมูบ่้านอื่น ประชากรส่วนใหญเ่ป็นชาวไทยกระเหรี่ยง นับถือศาสนาพุทธ ประกอบอาชีพทา นา ทา ไร่ พืชไร่ที่ปลูกส่วนใหญคื่อ ข้าวโพด พริก ฯลฯ มีการตั้งครัวเรือนกระจัดกระจายโดยทั่วไป กรมควบคุมมลพิษ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงในวนัที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2541 พบวา่โรงแตง่แร่ดังกลา่วเป็นของบริษัท ตะกวั่คอนเซนเตรทส์ (ประเทศไทย) จา กดั ตั้งอยูที่่ ตา บลชะแล อา เภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี ประกอบกิจการแตง่แร่ตะกวั่ รับแร่ดิบจากเหมืองบอ่งามที่อยูใ่นเครือบริษัทเดียวกนั ปัญหาการร้องเรียนเกิดจากฝนตกหนักน้าไหลบ่า ทา ให้ทา นบบอ่เก็บกกัน้าหางแร่และน้าตะกอนขุน่ข้น (Tailing pond) ที่รองรับหางแร่จากกระบวนการแตง่แร่ตะกวั่ได้ขาดชา รุดแล้วไหลลงสู่ห้วยคลิตี้ ทา ให้ชาวบ้านใช้น้าไมไ่ด้ โดยกอ่นหน้านั้นเจ้าหน้าที่จากที่ทา การทรัพยากรธรณีประจา ท้องที่(จังหวัดกาญจนบุรี) ได้เข้าตรวจสอบวนัที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2541 ได้สั่งการให้โรงแตง่แร่ดังกลา่วหยุดดาเนินการและทา การเปรียบเทียบปรับฐานกระทา ความผิดตาม พ.ร.บ.แร่ พ.ศ. 2510 ในอัตราสูงสุดพร้อมทั้งสั่งให้ปรับปรุงบอ่เก็บกักน้าหางแร่และน้าตะกอนขุน่ข้นให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากปัญหาข้างต้นกรมควบคุมมลพิษได้ติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนตะกั่วในแหลง่น้าที่คาดวา่จะ ได้รับผลกระทบคือ ลา ห้วยคลิตี้ จา นวน 4 ครั้ง โดยเก็บตัวอยา่งน้า ตัวอยา่งดินตะกอนและตัวอยา่งสัตว์น้ามาตรวจวดัเป็นระยะทางประมาณ 8 กิโลเมตร
  • 21. ผลการตรวจวดัปริมาณตะกวั่ทั้งหมดในตัวอยา่งน้า จุดเกบ็ตัวอยา่งน้า ครั้งที่ 1 (29 เม.ษ. 41) ครั้งที่ 2 (26 พ.ค. 41) ครั้งที่ 3 (28 มิ.ย. 41) ครั้งที่ 4 (2 ธ.ค. 41) ลำหว้ยคลิตี้ 1. กอ่นโรงแต่งแร่ (KC1) 0.006 0.007 0.006 0.005 2. ใต้โรงแต่งแร่ (KC2) 0.11 0.1 0.07 0.03 3. ห้วยคลติี้ 3 กม. (KC3) 0.5 0.33 0.41 0.07 4. บ้านคลติี้ลา่ง (KC4) 0.55 0.4 0.09 0.13 5. หน่วยรักษาอทุยานฯ (KC5) 0.17 0.17 0.14 0.14 6. น้าตกคลติี้ลา่ง (KC6) - - - 0.11 อำ่งเก็บน้ำ ศรีนครินทร์ 1. ปากคลองงู (SI1) - 0.008 0.011 0.007 2. กลางอา่งเกบ็น้า (SI2) - 0.005 0.003 0.004 3. สนัเขื่อน (SI3) - 0.003 0.004 0.003 มำตรฐำนคุณภำพน้ำ แหล่งน้ำ ผิวดิน (ตะกัว่ละลำย) 0.05 มก./ล. ผลการตรวจวดัปริมาณตะกวั่ทั้งหมดในตัวอยา่งดินตะกอนท้องน้า จุดเกบ็ตัวอยา่งน้า ครั้งที่ 1 (29 เม.ษ. 41) ครั้งที่ 2 (26 พ.ค. 41) ครั้งที่ 3 (28 มิ.ย. 41) ครั้งที่ 4 (2 ธ.ค. 41) ลำหว้ยคลิตี้ 1. กอ่นโรงแต่งแร่ (KC1) 402 581 - 665 2. ใต้โรงแต่งแร่ (KC2) 65,771 52,348 - 29,970 3. ห้วยคลติี้ 3 กม. (KC3) 41,663 38,900 - 36,896 4. บ้านคลติี้ลา่ง (KC4) 33,491 31,101 - 11,329 5. หน่วยรักษาอทุยานฯ (KC5) 5,870 15,267 - 8,676 6. น้าตกคลติี้ลา่ง (KC6) - - - 23,991 อำ่งเก็บน้ำ ศรีนครินทร์ 1. ปากคลองงู (SI1) - - - - 2. กลางอา่งเกบ็น้า (SI2) - 774 - 432 3. สนัเขื่อน (SI3) - - - - กรมอนามัย โดยสานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองอาชีวอนามัยและศูนย์อนามัยสิ่งแวดล้อมเขต 4 ร า ช บุ รี ร่ ว ม กั บ ส า นั ก ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข จั ง ห วัด ก า ญ จ น บุ รี สานักพัฒ น าวิช าการกรมการแพ ทย์แ ละ กองระบาดวิทยา สานักง าน ปลัดกระ ทรวง สาธารณสุข ได้ดา เนินการออกหน่วยเคลื่อนที่ตรวจสุขภาพและศึกษาผลกระทบตอ่สุขภาพของประชาชนในหมูบ่้านคลิตี้ ล่ า ง ที่ เ กิ ด จ า ก ส า ร ต ะ กั่ ว ป น เ ปื้ อ น ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม เ พื่ อ ส า ร ว จ ส ภ า ว ะ ท า ง สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ กี่ ย ว กับ โ ร ค พิ ษ ต ะ กั่ว เป็นการคัดกรองเบื้องต้นและศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่งระดับตะกั่วในเลือดกับปัจจัยสิ่งแวดล้อม
  • 22. พบวา่ชาวบ้านคลิตี้ล่างมีปริมาณตะกั่วในเลือดสูงกวา่ปกติทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก 0-6 ปี แต่ยังไม่พบอาการของ โรคพิษตะกั่วอย่าง ชัดเจน จาเป็นต้องมีการเฝ้าระ วังทาง สุขภ าพต่อไป จ า ก ก า ร ต ร ว จ ส อ บ สัต ว์น้า ป ร ะ เ ภ ท กุ้ง ห อ ย ปู ป ล า ใ น ห้ว ย คลิตี้ทุกบริเวณมีสารตะกวั่ปนเปื้อนอยูใ่นปริมาณที่ไมเ่หมาะสมต่อการบริโภคของประชาชนและพบวา่น้าใ น ล า ห้ว ย มีส า ร ต ะ กั่ว ป น เ ปื้ อ น อ ยู่ ห า ก ยัง ไ ม่ด า เ นิ น ก า ร แ ก้ไ ข ปั ญ ห า ดัง ก ล่า ว อาจส่งผลกระทบตอ่สุขภาพของประชาชนที่ใช้น้าจากลา ห้วยเพิ่มมากขึ้นได้ แผนที่โดยสังเขป แสดงที่ตั้งของโรงแตง่แร่คลิตี้ อ.ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรี และจุดตรวจสภาพน้า, ดินตะกอนธารน้า จากกรณีดังกลา่ว ทา ให้เกิดคดีความ “คดีการปนเปื้อนสารตะกวั่ในลา ห้วยคลิตี้” ละเมิด พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฟ้องวนัที่ 30 มกราคม 2546)ผลการพิพากษาให้จา เลยทั้งสอง(นายกา ธร ศรีสุวรรณมาลา โจทก์ บริษัท ตะกวั่คอนเซนเตรทส์
  • 23. (ประเทศไทย) จา กดั จา เลย) ชดใช้เงินแกโ่จทก์ เป็นจา นวนทั้งสิ้น 29,551,000 บาท พร้อมดอกเบี้ย 7.5% ตอ่ปี การทาแบบประเมินเพื่อศึกษาลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม มีผลทางการบัญชีดังนี้ 1. กรณีการทา EHIA ในโครงการที่เหมืองแร่ที่สามารถผลการพิจารณาให้เกิดโครงการ จึงจะใช้วิธีบันทึกเป็นสินทรัพย์ และใช้วิธีตัดจา หน่าย ในการรีบรู้เป็นคา่ใช้จา่ย 2. กรณีการทา EHIA แล้วนั้นโครงการไมผ่า่นการพิจารณาตอ่คณะกรรมการ และชุมชน จะทา การรับรู้เป็นคา่ใช้จา่ยทันที่ เป็นผลภาระของกิจการ ซึ่งแนวทางในการปฏิบัติดังกลา่ว อ้างอิงวิธีการดา เนินงานมาจาก มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 29 (ปรับปรุงปี 2550) วา่ด้วยเรื่อง สัญญาเชา่ ซึ่งเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เรื่อง สัมปทาน ในมาตรฐานดังกลา่ว ได้กลา่วถึงแนวทางการปฏิบัติ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ กรณีการทาเหมืองแร่ตะกั่ว แผน่เก็บประจุไฟฟ้าในแบตเตอรี่รถยนต์ มีส่วนประกอบที่สาคัญคือตะกวั่ ร้อยละ 90 ของ โลหะตะกวั่ที่ผลิตได้ในประเทศถูกใช้ไปเพื่อการดังกลา่ว ในแตล่ะปีประเทศไทยนาเข้าโลหะตะกวั่จากตา่งประเทศกวา่ร้อยละ 70 ถึงแมว้า่เราจะสามารถผลิตโลหะตะกวั่ได้เอง ทั้งจากการรีไซเคิลแบตเตอรี่เกา่ และจากการถลุงสินแร่ตะกวั่ สาเหตุหนึ่งที่คือ การผลิตโลหะตะกวั่ในประเทศยังไมเ่พียงพอตอ่ความต้องการ ใช้ คือ ปัญหาการขาดแคลนวตัถุดิบ กอปรด้วยที่ผา่นมาการทา เหมืองแร่ตะกั่วและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ดังกลา่ว ได้กอ่ให้เกิดปัญหาผลกระทบตอ่สิ่งแวดล้อมตา่งๆ เชน่ ปัญหาการปนเปื้อนและแพร่กระจายของตะกอนห่างแร่ตะกั่วในลา ห้วยธรรมชาติ และผลกระทบตอ่สุขภาพและชีวิตความเป็นอยูข่องประชาชนในท้องถิ่น จนกอ่ให้เกิดกระแสตอ่ต้านการดา เนินกิจกรรมเหมืองแร่อยา่งต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2541
  • 24. จากกระแสความต้องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความต้องการใช้ทรัพยากรแร่ตะกวั่เป็นฐานรองรับอุตสาหกรรมตอ่เนื่องเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของปร ะเทศ กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI : Thailand Development Research Institute Foundation) ดา เนินโครงการจัดทา แผนแมบ่ททางด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมและการฟื้นฟูพื้นที่ทาเหมือง เพื่อการพัฒนาทรัพยากรธรณีในเขตเศรษฐกิจแร่ตะกั่ว จังหวดักาญจนบุรี ในปีงบประมาณ 2545 วตัถุประสงค์หลักของการดา เนินโครงการ คือ เพื่อประเมินความคุ้มคา่ทางเศรษฐศาสตร์ของโครงการทา เหมืองแร่ตะกั่ว ในพื้นที่อา เภอทองผาภูมิ จังหวดักาญจนบุรี โดยการประเมินมูลคา่ สิ่งแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบจากการประกอบกิจกรรมเหมืองแร่และกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เปรียบเทียบกบัมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ได้จากการพัฒนากิจกรรมเหมืองแร่ตะกวั่ มุมมองของการทาเหมืองตะกั่ว จาก กรีนพีซ ตลอดนับสิบปีที่ผา่นมา เหมืองตะกวั่คลิตี้ได้สร้างบทเรียนที่สาคัญให้กบัสังคมไทยถึงภัยจากการทา เหมืองตะกั่วและความหละหลวม ในมาตรการการควบคุมมลพิษ และการต้องสูญเสียทรัพยากรส่วนรวมไปให้กับกลุ่มทุนโดยที่สังคมส่วนรวมแทบไมไ่ด้อะไรกลับมา ปัจจุบัน ปัญหาการปนเปื้อนสารตะกวั่ในสิ่งแวดล้อมอยา่งรุนแรงจากการทา เหมืองตะกั่วคลิตี้ยังไมส่ามารถแกไ้ขได้ ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยทั้งความลา่ช้าในการดา เนินการแกไ้ขของหน่วยงานที่รับผิดชอบผู้กอ่มลพิษทิ้ง ความรับผิดชอบ สถานการณ์การแพร่กระจายการปนเปื้อนของสารตะกั่วไมส่ามารถควบคุมได้ ทั้งนี้ การฟื้นฟูห้วยคลิตี้ยังมีความยากลา บากในเชิงปฏิบัติ เชน่ การแพร่กระจายของสารตะกวั่ในพื้นที่ที่เข้าถึงลา บาก การสะสมของสารตะกวั่ ระดับการปนเปื้อนที่รุนแรง เทคโนโลยีที่มีอยูอ่ยา่งจา กดั และงบประมาณมหาศาลที่ต้องใช้ในการฟื้นฟูไมน่้อยกวา่ 800 ล้านบาท
  • 25. การทา เหมืองตะกวั่อยา่งไมรั่บผิดชอบ ต้องแลกไปกบัการสูญเสียถาวรของแหลง่ต้นน้าชั้นดี แหลง่อาหาร วิถีชีวิตและสุขภาพของชุมชน ซึ่งไมส่ามารถประมาณคา่ได้ และนี่คือ “ต้นทุนที่แท้จริง” ของการทา เหมืองตะกวั่ อยา่งไรก็ตาม ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกลับไมน่าสิ่งนี้มาเป็นบทเรียน ยังคงสมคบคิดกบักลุ่มทุนและนักวิชาการบางกลุ่มในการที่จะพยายามผลักดันให้มีการทา เหมือง โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นอันดับต้นของประเทศ ซึ่งเป็นทั้งพื้นที่ป่าชั้นดี แหลง่ต้นน้าที่สาคัญของประเทศ แหลง่อาหาร และแหลง่ชุมชนชาติพันธุ์ ซึ่งจะเป็นต้นทุนหรือทรัพยาส่วนรวมที่จะสูญเสียไปหากมีการอนุญาติให้ทา เหมืองตะกั่ว ข้ออ้างในการทา เหมืองล้วนถูกปั้นโดยนักวิชาการและหน่วยงานรัฐที่มีมุมมองคับแคบ สร้างมายาคติที่ผิดๆ เชน่ดังตอ่ไปนี้ มายาคติ ข้อเท็จจริง การทาเหมืองตะกวั่จาเป็นต่อการพัฒนา ประเทศ · ตะกวั่มีความเป็นอันตรายตลอดวงจรชีวิต ต้งัแต่การผลิตตะกวั่ การนาตะกวั่มาใชใ้นผลิตภัณฑ์ การใช้และการกา จัดทา ลาย ปัจจุบนัหลายประเทศจึงล้วนออกกฏหมายควบคุมการใชต้ะกวั่ในผลิตภัณ ฑ์ รวมถึงการนาเข้า หลายผูผ้ลิตในหลายอุตสาหกรรม เช่น น้ามัน เคมี สี อิเล็คทรอนิกส์ และอื่นๆ ล้วน เลิกใชส้ารตะกวั่ และหันมาใชส้ารทดแทนอื่นๆ แทนทมีี่ความปลอดภัย ซึ่งยังคงมีเพียงแบตเตอรี่ทยีั่งคงเป็นผลิตภัณฑ์ทใี่ช้ ตะกวั่ แต่เทคโนโลยีก็เริ่มพัฒนาไปมาก ดังนั้น ในอนาคตตะกวั่อาจไม่มีความจาเป็น ความต้องการของตะกวั่ทวั่โลกจึงมีแนวโน้มลดลง · ประเทศไทย ความตอ้งการใชต้ะกวั่ก็ลดลง แม้แต่หม้อก๋วยเตีย๋วก็ไม่ตอ้งการตะกวั่ · ราคาของตะกวั่ลดลงอย่างต่อเนอื่ง หลังจากขึ้นสูกสุดในปี 2007[1] ปัจจุบนัมีประเทศผูผ้ลิตตะกวั่รายใหญ่มีอยู่ไม่กี่ประเทศ โดยจีนเป็นผูส้่งออกรายใหญ่ทสีุ่ด ตามด้วยออสเตรเลีย อเมริกา และเปรู[2]
  • 26. สร้างรายได้ให้กับชุมชนจากการจ้างงาน ภาษีท้องถิ่นและประเทศ · การจ้างงานในเหมืองตะกวั่อาจจะมีพอสมควร แต่เป็นการจ้างงานแรงงาน ไม่ก่อให้เกิดทักษะ และความสามารถในการพึ่งตัวเองได้ จึงไม่มีความยั่งยืน · กลุ่มได้ประโยชน์กระจุกตัวอยู่เพียงนายทุน และแนวโน้มการรับสินบนโดยเจ้าหน้าที่ทอ้งถิ่นที่อนุญาตให้ใชป้ระโยชน์ พื้นที่เจ้าหน้าทภี่าครัฐผูอ้นุมัติสัมปทาน และนักวิชาการสนับสนุน · กา ไรของการทาเหมืองตะกวั่ในประเทศกา ลังพัฒนา รวมถึงประเทศไทย มาจากการเอาเปรียบสองเรื่องใหญ่ๆ ที่เป็นการลดต้นทุน และสามารถทา กา ไรได้มาก · ราคาสัมปทานและภาษีอย่ใูนระดับต่ามากโดยแทบจะถือว่ารัฐและประ ชาชนไม่ได้อะไรกลับมาจากความเสี่ยงด้านผลกระทบและทรัพยากรที่สูญเ สีย · การผลิตที่ไม่รับผิดชอบ ผลักภาระด้านสิ่งแวดล้อมมาให้กับส่วนรวมไม่มีการลงทุนระบบป้องกนัผล กระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่ดีพอ ดังนั้นจึงมีตน้ทุนต่า · ใช้พื้นที่ที่ห่างใกล เช่น ป่าไม้ ภูเขา จึงมีต้นทุนต่า การควบคุมผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม · ทั่วโลกล้วนประสบปัญหาผลกระทบจากการทาเหมืองตะกวั่ ไม่ว่าจะเ ป็นออสเตรเลีย อเมริกา เม็กซิโก สก็อตแลนด์ และประเทศกา ลังพัฒนาในเอเซีย · การทาเหมืองตะกวั่และกระบวนการสกัดสารตะกวั่แบบอุตสาหกรรมนั้ น มีการใช้สารเคมีและนา้ปริมาณมหาศาล จึงก่อให้เกิดปริมาณนา้ทิ้งที่ปนเปื้อนตะกวั่และเคมีมากตามมาและยังมีของเ สียทเี่ป็นกากอันตราย ดังนั้น การปกป้องไม่ให้สารพิษเล็ดลอดออกสู่สิ่งแวดล้อมนั้น แทบจะเป็นไปไม่ได้ แม้จะมีมาตรการหรือกระบวนการบา บดัทดีี่เพียงใดก็ตาม · เนื่องด้วยผลกา ไรของการผลิตตะกวั่จะได้มาจากการลดตน้ทุน หรือผลักภาระตน้ทุนด้านสิ่งแวดล้อมให้กบัสังคม เหมืองตะกวั่ส่วนใหญ่ เช่นเหมืองคลิตี้ทเี่คยมีในประเทศไทย ล้วนละเลยและไม่ให้ความสาคัญต่อการลงทุนระบบป้องกันผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม เพราะหากมีการลงทุนสูง ธุรกิจทาเหมืองแบบรับผิดชอบก็จะไม่มีกา ไร หรือไม่คุ้มทุน · หากเกิดปัญหาผิดพลาด หรือการปนเปื้อน ส่วนใหญ่มักจะไม่ยอมรับในข้อผิดพลาด จนกระทงั่จานนต่อหลักฐาน ก็จะใชวิ้ธีปิดบริษัทหนี
  • 27. และผลักความรับผิดชอบให้กับภาครัฐในการจัดการ ท้งัด้านการชดเชยและฟื้นฟู ซึ่งคือผลักภาระมาให้กบัประชาชน หรือรัฐทใี่ชภ้าษีประชาชนมาใชจั้ดการ ผลกระทบของการทาเหมืองตะกวั่ · ผลกระทบด้านกายภาพทเี่ห็นได้ชดัเจน เช่น การทา ลายป่าไม้ การระเบิดหรือขุดเจาะภูเขาแล้วนั้น ผลกระทบทสี่า คญัและเป็นปัญหาทสีุ่ด ในการทา เหมืองตะกวั่คือ การใชส้ารเคมีในกระบวนการสกดั โดยมีน้าเป็นตวัทา ละลาย การทา ตะกวั่จึงเป็นอุตสาหกรรมที่ส่งผลกระทบทางน้ามาก และส่งผลต่อเนื่องอย่างรุนแรงต่อระบบนิเวศและชุมชน · สารตะกวั่ เป็นโลหะหนักที่มีความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต และไม่ย่อยสลาย มีความคงทนในสิ่งแวดล้อม และสะสมอยู่ในห่วงโซ่อาหาร ท้งัพืชและสัตว์ ดังนั้นหากมีการกระจายปนเปื้อนแล้ว จะมีความยากลา บากในการขจัดให้หมดไป หรือฟื้นฟูให้เหมือนเดิม และหากเกิดการปนเปื้อนในแหล่งชุมชน หรือแหล่งน้าอุปโภค บริโภค และแหล่งตน้น้า จะทา ให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงและประมาณค่าไม่ได้ · โดยสรุป การทา เหมืองตะกวั่ในปัจจุบนัให้ได้กา ไร คือการนาตน้ทุนสาธารณะไปใช้เช่น ป่าไม้ แหล่งน้า วิถีชีวิตและสุขภาพ · ในกรณีคลิตี้ ความเสียหายและค่าใชจ้่ายในการฟื้นฟูน่าจะไม่ต่า กว่า 800 ล้านบาท รายได้ที่ประชาชนและภาครัฐได้จากการเปิดเหมืองคลิตี้ตลอดหลายสิบปีนั้ นน้อยจนแทบจะเทียบกนัไม่ได้ สารตะกวั่มีอย่ทูวั่ไปตามธรรมชาติ เป็น ทรัพยากรใต้ดินที่ต้องนา มาใช้ประโยชน์ และการปนเปื้อนสารตะกวั่ในสิ่งแวดล้อ มที่พบนั้น มีอย่แูล้วตามธรรมชาติ · ใตพื้้นภิภพและตามธรรมชาติทวั่ไปล้วนมีอยู่ซึ่งทรัพยากรแร่อันมีค่า แต่การที่จะนาออกมาใชน้ั้นควรพิจารณาให้รอบด้านถึงตน้ทุนต่างๆ โดยเฉพาะตน้ทุนสาธารณะ หรือความคุม้ค่าทจี่ะทา หรือคุม้ค่าทจี่ะเสีย · แร่ตะกวั่ที่มีตามธรรมชาติมักไม่ก่อให้เกิดผลกระทบหากไม่มีการไปร บกวน เนื่องจากอาจอยู่ลึกใตดิ้น หรือมักไม่มีการพบอยู่ในแหล่งน้าธรรมชาติหรือตะกอนตน้น้า รวมถึงในพืชและสัตว์ · การทาเหมืองตะกวั่แบบอุตสาหกรรมจะมีการใช้สารเคมีทจี่ะเป็นตัวเร่ง ให้เกิดปฏิกิริยาทางเคมี ซึ่งทาให้เกิดการแยกตัวของสารตะกวั่ออกจากดินหรือหินและอย่ใูนรูปที่พร้ อมจะกระจายตัวและปนเปื้อน และเมอื่สารเคมีถูกปล่อยทงิ้ปนเปื้อนไปกับนา้ทิ้งจากกระบวนการผลิตออก สู่สิ่งแวดล้อม สารเคมีเหล่านกี้็จะไปทาปฏิกิริยากับดิน หิน ตะกอนดิน