SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
ปฏิกิริยาเคมีนางสาวแพรไหม ลังก้า ชั้นม. 6/1 เลขที่ 8
เป็นการเปลี่ยนแปลงของสารที่ได้ผลิตภัณฑ์ของสารที่แตกต่าง
จากสารเดิมโดยอาจ สังเกตจากการเปลี่ยนสีของสาร การเกิด
ตะกอน หรือการเกิดกลิ่นใหม่
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายปฏิกิริยาเคมี มีอยู่ 2 ทฤษฎี คือ
การเกิดปฏิกิริยาเคมี
1.ทฤษฎีการชน (The Collision Theory)
ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่ออนุภาคของสารตั้งต้นต้องมาปะทะกัน
หรือมาชนกัน และการชนกันนั้นมีทั้งการชนที่ประสบผลสาเร็จ ดังภาพ
2. ทฤษฎีแอกติเวเตดคอมเพลกซ์หรือทฤษฎีสภาวะทรานซิชัน (The Activated
Complex Theory or The Transition State Theory)
เป็นทฤษฎีที่ดัดแปลงมาจากทฤษฎีการชน โดยทฤษฎีนี้จะกล่าวถึงการ
ชนอย่างมีประสิทธิภาพของสารตั้งต้นในลักษณะที่ เหมาะสม โดยจะเกิดเป็น
สารประกอบใหม่ชั่วคราว ที่เรียกว่า สารเชิงซ้อนกัมมันต์ (Activated Complex)
ซึ่งในระหว่างการเกิดสารชนิดนี้พันธะเคมีของสารตั้งต้นจะอ่อนลง และเริ่มมีการ
สร้างพันธะใหม่ระหว่างคู่อะตอมที่เหมาะสม จนในที่สุดพันธะเก่าจะถูกทาลายลง
อย่างสิ้นเชิง และจะมีพันธะใหม่ถูกสร้างขึ้นมาแทนที่ ดัง แบบจาลองการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไปนี้
พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1. ปฏิกิริยาดูดความร้อน ( Endothermic reaction) เป็นปฏิกิริยาที่ดูด
พลังงานเข้าไปสลายพันธะมากกว่าที่คายออกมาเพื่อสร้าง พันธะ โดยใน
ปฏิกิริยาดูดความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานต่ากว่าผลิตภัณฑ์ จึงทา
ให้สิ่งแวดล้อมเย็นลง อุณหภูมิลดลง เมื่อเอามือสัมผัสภาชนะจะรู้สึกเย็น
ดังภาพ
2. ปฏิกิริยาคายความร้อน ( Exothermic reaction) เป็นปฏิกิริยาที่ดูด
พลังงานเข้าไปสลายพันธะน้อยกว่าที่คายออกมาเพื่อสร้าง พันธะ โดยใน
ปฏิกิริยาคายความร้อนนี้สารตั้งต้นจะมีพลังงานสูงกว่าผลิตภัณฑ์ จึงให้
พลังงานความร้อนออกมาสู่สิ่งแวดล้อม ทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น เมื่อเอามือ
สัมผัสภาชนะจะรู้สึกร้อน ดังภาพ
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
หมายถึง ปริมาณสารตั้ง
ต้นที่หายไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา
หรือปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น
ต่อหนึ่งหน่วยเวลา
เมื่อพิจารณาจากปฏิกิริยาต่อไปนี้
A + 2B -------------> C ………..(1)
ในขณะที่ปฏิกิริยาดาเนินไป สาร A และสาร B เป็นสารตั้งต้นถูก
ใช้ไป ดังนั้นความเข้มข้นของสาร A และ B จะลดลง ส่วนความ
เข้มข้นของสาร C ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์จะเพิ่มขึ้น จากปฏิกิริยา (1)
จะพบว่าอัตราการลดลงของสาร A เป็นครึ่งหนึ่งของการลดลง
ของสาร B
ดังนั้นเมื่อเขียนความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิริยาในรูปของสารต่างๆ
จะต้องคิดต่อ 1 โมล ของสารนั้น ซึ่งสามารถเขียนได้ดังนี้
อัตราการลดลงของสารตั้งต้น = ปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลง/ เวลา
อัตราการเพิ่มขึ้นของสารผลิตภัณฑ์ = ปริมาณของสารผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้น/ เวลา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตรา
การเกิดปฏิกิริยา
1.ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
กรณีที่สารตั้งต้นเป็นสารละลาย
ถ้าสารตั้งต้นมีความเข้มข้นมากจะเกิด
เร็ว เนื่องจากตัวถูกละลายมีโอกาสชน
กันมากขึ้นบ่อยขึ้น ในทางตรงกันข้าม
ถ้าเราเพิ่มปริมาตรของสารละลายโดย
ความเข้มข้นเท่าเดิม อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาจะเท่าเดิม
2.พื้นที่ผิวสัมผัส
กรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็นของแข็ง สารที่มีพื้นที่ผิวสัมผัสมาก
จะทาปฏิกิริยาได้เร็วขึ้น เนื่องจากสัมผัสกันมากขึ้น ใช้พิจารณากรณีที่สาร
ตั้งต้นมีสถานะของแข็ง ดังภาพ
3. ความดัน
กรณีที่สารตั้งต้นมีสถานะเป็น
ก๊าซ ถ้าความดันมากปริมาตรก็
ลดลง และปฏิกิริยาก็จะเกิดได้
เร็ว เนื่องจากอนุภาคของสารมี
โอกาสชนกันมากขึ้นบ่อยขึ้นใน
พื้นที่ที่จากัดนั่นเอง ดังภาพ
4. อุณหภูมิ
การที่อุณหภูมิของสารตั้งต้นเพิ่มขึ้นอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะ
เพิ่มขึ้น เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น โมเลกุลของสารในระบบจะมีพลังงาน
จลน์สูงขึ้นและมีการชนกันของโมเลกุลมากขึ้น
ต่า สูง
5. ตัวเร่งปฏิกิริยา (Catalyst)
หมายถึงสารเคมีที่ช่วยทาให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วขึ้น
เนื่องจากตัวเร่ง จะช่วยในการลดพลังงานกระตุ้นโดยช่วยปรับกลไกใน
การเกิดปฏิกิริยาให้เหมาะสม กว่าเดิม โดยจะเข้าไปช่วยตั้งแต่เริ่ม
ปฏิกิริยาแต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะ กลับมาเป็นสารเดิม
6. ธรรมชาติของสาร
เนื่องจากสารมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งแตกต่างกัน โดยปกติ
สารประกอบไอออนิกจะเคลื่อนที่ได้เร็วกว่าสารประกอบโควาเลนต์ ดังนั้น
สารประกอบไอออนิกจะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารประกอบโควาเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน
ปฏิกิริยาการเผาไหม้
การเผาไหม้เป็นปฏิกิริยาการรวมตัวกันของเชื้อเพลิงกับออกซิเจนอย่างรวดเร็ว พร้อม
กับเกิดการลุกไหม้และการคายความร้อน ในการเผาไหม้ส่วนใหญ่จะไม่ใช้ออกซิเจน
ล้วน ๆ เพราะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากแต่จะใช้อากาศแทน โดยอากาศจะมีแก๊สออกซิเจน
และแก๊สไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก ส่วนแก๊สอื่นมีปะปนอยู่น้อยมาก
ปฏิกิริยาการเกิดฝนกรด
ฝนกรด คือ น้าฝนที่รวมตัวกันกับแก๊สออกไซด์ของvโลหะบางชนิดในอากาศ เกิดเป็น
สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรด และมีความเป็นกรดอยู่ในช่วง pH = 3-5
แก๊สออกไซด์ของอโลหะที่ทาให้เกิดฝนกรด ได้แก่
- แก๊สออกไซด์ของกามะถัน เช่น แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์
แก๊สซัลเฟอร์ไตรออกไซด์
- แก๊สออกไซด์ของไนโตรเจน เช่น แก๊สไดไนโตรเจนไตรออกไซด์
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ และแก๊สไดไนโตรเจนเพนตะออกไซด์
- แก๊สออกไซด์ของคาร์บอน เช่น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แหล่งที่
ปล่อยแก๊สทาให้เกิดฝนกรด
- แก๊สออกไซด์ของกามะถัน เกิดจากการปล่อยควันเสียจากโรงงาน
อุตสาหกรรมโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหิน หรือน้ามันเชื้อเพลิงที่มีกามะถันเป็น
องค์ประกอบ รวมทั้งไอเสียรถยนต์ ในธรรมชาติจากปล่องภูเขาไฟ การย่อยสลาย
พืช
- แก๊สออกไซด์ ของไนโตรเจน เกิดจากเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น
ควันเสียรถยนต์ ควันเสียจากโรงงานแบตเตอรี่ รวมทั้งควันจากไฟไหม้ป่า
ผลกระทบของฝนกรด
ปฏิกิริยาการเกิดสนิม มีดังนั้น
1.การผุกร่อนของโลหะ คือปฏิกิริยาเคมีที่เกิดระหว่างโลหะกับภาวะ
แวดล้อม
2.ภาวะแวดล้อมที่ทาให้ผุกร่อน คือ ความชื้น และออกซิเจน(H2O, O2) หรือ
H2O กับอากาศ
3.ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดในการผุกร่อน เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
3.1 โลหะที่เกิดปฏิกิริยา Oxidation (ให้อิเล็กตรอน)
3.2 ภาวะแวดล้อมเป็นฝ่ายรับอิเล็กตรอน เกิดปฏิกิริยา Reduction
ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก
4. สมการแสดงปฏิกิริยาการผุกร่อน
ปฏิกิริยาการสลายตัวของสารบางชนิด
ปฏิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือโซเดียมไบคาร์บอเนต หรือเรียกกันทั่วไปว่า โซดาทา
ขนม เป็นสารเคมีที่นามาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง เช่น ทาคาราเมล ใส่ในน้าต้มผักทาให้
ผักมีสีเขียว ใช้เป็นส่วนผสมของผงฟู
ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในผงฟูเมื่อได้รับความร้อน พบว่าโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะ
สลายให้ CO2 ดังสมการ
2NaHCO3
ความร้อน Na2CO3 + H2O + CO2
โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตนอกจากใช้ทาขนมหลายชนิดแล้ว ยังใช้ประโยชน์ใน
การดับไฟป่า โดยโปรยผง NaHCO3 จากเครื่องบินลงบริเวณเหนือไฟป่า ความร้อนจากไฟ
ป่าจะทาให้สาร NaHCO3 สลายตัวให้แก๊ส CO2 ทั้งนี้แก๊ส CO2 ที่เกิดขึ้นเป็นแก๊สที่หนัก
กว่าอากาศ จึงปกคลุมไม่ให้เชื้อเพลิงได้รับแก๊สออกซิเจน ทาให้บรรเทาหรือหยุดการเผา
ไหม้ลง
ปฏิกิริยาการสลายตัวของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เป็นสารใช้ฟอกสีผมและฆ่าเชื้อโรค โดยปกติจะ
สลายตัวไปเองอย่างช้า ๆ ให้น้าและออกซิเจนเกิดขึ้น ดังสมการ แสงสว่างและ
ความร้อนจะช่วยเร่งให้เกิดการสลายตัวเร็วขึ้น ดังนั้นจึงต้องเก็บไว้ในที่มืด หรือ
ในภาชนะสีน้าตาลเข้ม และในที่เย็น
08 ปฏิกิริยาเคมี 6-1

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2Bios Logos
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน FBangon Suyana
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41Angkana Potha
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 Saipanya school
 

Mais procurados (20)

คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียนแบบทดสอบก่อนเรียน  หลังเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 

08 ปฏิกิริยาเคมี 6-1