SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 77
ระบบฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก
Database Management System for Retail Shop




             นายสันติ พันไธสง
             Santi Panthaisong




 สารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษา
   ตามหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
 สาขาการจัดการเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย
      มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
            ปี การศึกษา 2554
หัวข้อสารนิ พนธ์             ระบบฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก
นักศึกษา                     นาย สันติ พันไธสง
รหัสนักศึกษา                 5317670015
ปริ ญญา                      วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิ ชา                    การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ.                         2554
อาจารย์ผควบคุมสารนิ พนธ์ รศ.ดร. ฤกษ์ชย ฟูประทีปศิริ
        ู้                           ั




                                     บทคัดย่อ


        โครงงานนี้น้ีจะเป็ นการนําเสนอ ระบบการจัดการฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก มาช่วย
              ่ ี ่                           ่          ั
จัดการข้อมูลทีมอยูได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริมวิเคราะห์ปญหาทีพบบ่อยในกระบวนการการ
                                                              ่
                                                  ั ั
ทํางานต่างๆ ของร้านค้าปลีก และนําเทคโนโลยีในปจจุบนมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบงาน
                  ั
นี้ โดยหวังจะลดปญหาและข้อผิดพลาดต่างๆ ในการบริหารจัดการร้านค้าปลีก เช่น การจัดการ
ระบบคลังสินค้า ตรวจสอบยอดขาย เพือให้การดําเนินงานเป็ นไปอย่างรวดเร็ว และออกรายงาน
                                      ่
ทีตองการเพือนําไปวางแผนสําหรับการจัดการร้านค้าต่อไป
   ่ ้      ่




                                                                                     I
Project Title         Database Management System For Retail Shop
Student               Santi Panthaisong
Student ID            5317670015
Degree                Master of Science
Program               Information Technology Management
Year                  2011
Thesis Advisor        Assoc. Prof. Reckchai Fooprateepsiri, Ph.D.




                                    ABSTRACT


        This project will be presented. Database management system for retailers that
manage existing information effectively. By analyzing common problems in retailer
operation. Used current technology to developing this system. It is expected to reduce
the problems and errors in retail outlets management such as warehouse management
systems, check daily sales that improve retailer operation faster and higher
performance. And reporting with any requirement to plan for the management of the
store.




                                                                                    II
กิตติกรรมประกาศ


         สารนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จได้จากแนวความคิดและการแนะนําการดําเนินงานโครงงาน องค์
                          ํ
ความรูต่างๆจากอาจารย์ รศ.ดร.ฤกษ์ชย ฟูประทีปศิริ อาจารย์ทปรึกษาทีได้เสียสละเวลาให้
       ้                              ั                 ่ี       ่
คําปรึกษา ตรวจสอบข้อบกพร่องของระบบให้มความสมบูรณ์ อีกทังเพือๆทีคอยช่วยเหลือ
                                           ี               ้ ่ ่
สนับสนุนการจัดทําสารนิพนธ์ฉบับนี้
        ขอกราบขอพระคุณ คณาจารย์ทุกท่านทีชวยประสิทธิ ์ประสาทวิชาความรูจนสามารถ
                                              ่ ่                       ้
จัดทําสารนิพนธ์ให้สาเร็จได้ดวยดี ท้ายนี้ขอกราบพระคุณบิดามารดาทีคอยให้กาลังใจเสมอ
                   ํ        ้                                  ่      ํ


                                                                 สันติ พันไธสง




                                                                                   III
สารบัญ
                                                                  หน้า



บทคัดย่อภาษาไทย                                                       I

กิตติกรรมประกาศ                                                     II

สารบัญ                                                              III

สารบัญตาราง                                                         V

สารบัญรูป                                                          VI

บทที่ 1 บทนํา
               ั
        1.1 ปญหาและแรงจูงใจ                                         1
        1.2 วิเคราะห์                                               2
        1.3 จุดประสงค์                                              2
        1.4 ขอบเขต                                                  2
        1.5 แผนเวลาของโครงการ                                       3
บทที่ 2 ทฤษฎีและการออกแบบ

        2.1 กล่าวนํา                                                4
        2.2 ทฤษฏีฐานข้อมูล                                          4
        2.3 รหัสแท่ง                                               11
บทที่ 3 การดําเนินโครงการ

         3.1    ผังแสดงกระแสข้อมูลระดับสูง                         16
         3.2    ผังกระแสข้อมูลระดับต่างๆ                           18
         3.3    ผังแสดงความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล                   31
         3.4    Mapping Entity-Relationship Diagram                32
         3.5    พจนาจุกรมข้อมูล                                    33
         3.6    การออกแบบ interface ของระบบฐานข้อมูลร้านค้าปลีก    39




                                                                    IV
สารบัญ (ต่อ)
                                                        หน้า

บทที่ 4 ผลการทดลองหรือดําเนินงาน

        4.1 การออกแบบการดําเนินการในส่วนการเก็บข้อมูล    51
        4.2 การทดสอบกระบวนการทํางานแต่ละส่วน             52
บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน

      5.1 บทสรุป                                         69
              ั
      5.2 ปญหาและอุปสรรคทีพบจากการทําโครงงาน
                          ่                              69
      5.3 แนวทางการพัฒนาโครงการ                          69
เอกสารอ้างอิง                                            70




                                                          V
บทที่ 1
                                                บทนํา
ความเป็ นมา

        โดยทัว ไปแล้ว ร้า นค้า ปลีก ยัง เป็ น ระบบงานที่ใ ช้บุ ค ลากรเป็ น ผู้ป ฏิบ ัติง าน ซึ่ง เป็ น การ
               ่
ปฏิบติงานที่ยงมีขอผิดพลาดและขาดความเป็ นระเบียบเรียบร้อย เช่น การขายสินค้า การจัดการ
     ั        ั ้
คลังสินค้า การคิดราคาสินค้า การตรวจสอบใบเสร็จย้อนหลัง เป็ นต้น ซึงสิงต่างๆ เหล่านี้จะก็ให้เกิด
                                                                       ่ ่
   ั
ป ญ หาด้ า นการจัด การร้า น เป็ น ผลให้เ กิด ความเสีย หายทางธุ ร กิจ เกิด ความล่ า ช้า หรือ เกิด
ข้อผิดพลาดต่างๆ ซึ่งส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้า เนื่องจากลุกค้าต้องการความรวดเร็วและ
ความถูกต้องจากการรับบริการ นอกจากนี้ลูกค้ายังมีทางเลือกทีหลากหลายจากการเกิดขึ้นของ
ร้านค้าปลีกรายใหญ่ดวย
                    ้
               ั ั
         ในปจจุบนได้มรานค้าปลีกต่างชาติได้เข้ามาเปิ ดสาขาในไทยมากมาย โดยร้านค้าเหล่านี้มี
                      ี้
จุดเด่นอยู่ทการจัดการร้านด้วยความรวดเร็ว และมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วยในการทํางาน
            ่ี
ทําให้รานค้าปลีกของไทย ยากทีจะแข่งขันได้หากไม่มการเปลียนแปลง เพื่อตอบรับกับความต้องการ
       ้                      ่                 ี       ่
ของลูกค้า

        เพื่อให้การจัดการร้านค้าปลีกให้มประสิทธิภาพมากยิงขึน จึงได้มการทําเทคโนโลยีเข้ามา
                                        ี               ่ ้         ี
ช่วยในการดําเนินงาน โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ เพื่อมาช่วยในการทํางานหลายๆ ด้าน เช่น จัดเก็บ
ข้อมูล ค้นหาข้อมูลต่างๆ การจัดแสดงรายงานต่อเจ้าของกิจการ เพื่อนําข้อมูลต่างๆ ไปปรับปรุงร้าน
เพือสร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้าได้มากขึน
   ่                      ั               ้

1. ปัญหา และแรงจูงใจ (Problem/Motivation)
                        ั
     1.1. เพือลดปญหาจากการขายสินค้าเช่น คิดราคาผิด เป็ นต้น
              ่
     1.2. เพือสามารถจัดการคลังสินค้าได้ตอลดเวลา
                ่
     1.3. สามารถตรวจสอบสินค้าในคลังได้ทนที ไม่ตองใช้วธเดินไปตรวจสอบ
                                          ั       ้     ิี
     1.4. เพือเพิมความรวดเร็วในการขายสินค้า สร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้า
                  ่ ่                                               ั
     1.5. สามารถตรวจสอบรายการขายย้อนหลังได้
     1.6. เพือให้จดการข้อมูลต่างๆ ภายในร้านได้อย่างถูกต้องและเป็ นระบบ
            ่         ั




                                                                                                        1 

 
2. วิ เคราะห์ (Analysis)

         ในร้านค้าปลีก จะมีลกค้าเข้ามาซือสินค้าเป็ นจํานวนมากในระยะเวลาหนึ่งๆ ซึงอาจทําให้เกิด
                              ู         ้                                      ่
ความล่าช้าในการขายสินค้าได้ นอกจากนี้ยงก่อให้เกิดความผิดพลาดทีอาจจะตามมาได้ เช่น การคิด
                                          ั                       ่
ราคาสินค้าผิด นับจํานวนสินค้าไม่ครบ เป็ นต้น เนื่องจากทางร้านดําเนินการด้วยคนเป็ นหลัก และ
เมื่อมีการจัดเก็บใบเสร็จทีเป็ นเอกสารต่างๆ แล้วก็จะพบว่าเกิดการสูญหายหรือเสียหายอยู่บ่อยครัง
                         ่                                                                   ้
                                   ั
เนื่องจากจํานวนของใบเสร็จและปญหาจากการจัดเก็บไม่ดี ทําให้ลูกค้าหลายคนไม่พอใจในการซื้อ
สินค้า

3. จุดประสงค์ (Objectives)
       การพัฒนาระบบร้านค้าปลีกมีวตถุประสงค์หลักในการดําเนินงาน ดังนี้
                                 ั
    3.1 ศึก ษาและทําการออกแบบระบบร้านค้าปลีก เพื่อจัดการข้อมูล ให้มีความเป็ น ระเบียบ
                                ั
        สะดวกต่อการใช้งานและแก้ปญหาการซํ้าซ้อนของข้อมูล
    3.2 เพือพัฒนาระบบร้านค้าปลีก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
          ่
    3.3 เพื่อให้การดําเนินงานของร้านค้าปลีก เช่น การขาย การจัดการคลังสินค้า การซื้อสินค้า
        การบันทึกใบเสร็จ มีความรวดเร็ว ลดข้อผิดพลาดและสามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังได้

4. ขอบเขต (Scope)
     4.1 ระบบจัดการข้อมูลพืนฐาน
                            ้
       4.1.1 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลสินค้า
                              ่
       4.1.2 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลลูกค้า
                                ่
       4.1.3 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลผูใช้ระบบ
                                  ่              ้
       4.1.4 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลผูผลิต
                                    ่          ้
     4.2 ระบบการขาย
       4.2.1 สามารถทําการขายสินค้า พร้อมกับคํานวณราคาและเงินทอนได้
       4.2.2 สามารถยกเลิกการขายสินค้าได้
       4.2.3 สามารถเปลียนแปลงรายการการขายแต่ละรายการได้
                        ่
       4.2.4 สามารถแสดงยอดค้างชําระของลูกค้าแต่ละคนได้
       4.2.5 สามารถแสดงสินค้าทีลกค้าซือเป็ นประจําได้
                                        ู่   ้
     4.3 ระบบการจองสินค้าหรือสังล่วงหน้า
                                      ่
       4.3.1 สามารถให้ลกค้าโทรมาสังสินค้าล่วงหน้า หรือสังสินค้าล่วงหน้าได้
                          ู                ่            ่


                                                                                            2 

 
4.4 ระบบคลังสินค้า
               4.4.1 สามารถบันทึกการรับสินค้าเข้าร้านได้
               4.4.2 สามารถคํานวณราคาสินค้าต่อหน่วย ต้นทุนสินค้าเมือรับสินค้าเข้าร้านได้
                                                                     ่
               4.4.3 สามารถตัดจํานวนสินค้าเมือมีการขายสินค้านันๆ ออกไปทันทีเมือมีการขาย
                                              ่                ้                  ่
               4.4.4 สามารถแจ้งเตือนเมือสินค้าใดๆ ในร้านเหลืออยูต่ํากว่าจุดสังซือ
                                      ่                           ่          ่ ้
               4.4.5 สามารถแจ้งตําแหน่งของสินค้าในโกดังได้ เมือทําการค้นหาจากระบบ
                                                             ่
             4.5 ระบบการแสดงรายงาน
               4.5.1 สามารถแสดงยอดรวมยอดขายตามเงือนไขได้ เช่น ยอดต่อวัน ยอดต่อเดือน
                                                        ่
               4.5.2 สามารถแสดงรายได้สทธิตามเงือนไขได้ เช่น กําไรต่อวัน ต่อเดือน
                                        ุ          ่
               4.5.3 สามารถแสดงข้อมูลสินค้าขายดีตามเงือนไขได้
                                                          ่
               4.5.4 สามารถแสดงข้อมูลลูกค้าค้างชําระได้
               4.5.5 สามารถแสดงรายาชื่อสินค้าในคลังได้
               4.5.6 สามารถแสดงสินค้าในคลังทีจานวนตํ่ากว่าจุดสังซือ
                                                ่ํ               ่ ้
               4.5.7 สามารถแสดงข้อมูลลูกค้าตามเงือนไขได้
                                                     ่

      5. แผนเวลาของโครงงาน (Calendar Planning)

      ชื่องาน (Task Name)     : ระบบฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก
      ลักษณะงาน (Description) : การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
      ระยะเวลา (Duration)     : มิถุนายน 2554 – เมษายน 2554

                  ขั้นตอนการดําเนินงาน                มิ.ย.- ก.ค   ส.ค.- ก.ย   ต.ค.- พ.ย ธ.ค.- ก.พ มี.ค.- เม.ย

ระยะที่ 1 วิเคราะห์และศึกษาระบบงานปั จจุบน
                                         ั
ระยะที่ 2 ศึกษาความต้องการของระบบ
ระยะที่ 3 วิเคราะห์และออกแบบระบบ
ระยะที่ 4 พัฒนาและทดสอบระบบ
ระยะที่ 5 ทําคู่มือและเอกสารที่เกี่ยวข้อง




                                                                                                      3 

       
 
 

                                           บทที่ 2
                                        ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 กล่าวนํา
            ั ั
        ในปจจุบนระบบบ่งชีอตโนมัติ (Automatic identification) ได้นิยมนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ระบุ
                          ้ ั
สถานะของสัตว์ หรือสิงของต่างๆ เช่น สินค้าทีเราให้ความสนใจ ซึงระบบบ่งชีอตโนมัตทรจกและใช้งานกัน
                    ่                       ่                ่          ้ ั        ิ ่ี ู้ ั
อย่างแพร่หลายทีสดคือ ระบบบาร์โค้ด (Barcode System) ซึงสามารถพบเห็นได้ทวไปในธุรกิจหรือใน
                ุ่                                      ่                     ั่
ชีวตประจําวัน และด้วยเหตุผลของบาร์โค้ดทีทาให้งายต่อการจัดเก็บข้อมูลทําให้ถกนํามาใช้ในการจัดการ
   ิ                                     ่ ํ ่                              ู
ระบบคงคลังของธุรกิจมาก เพือให้ธุรกิจมีความรวดเร็วในการจัดการ ลดข้อจํากัดในเรืองระยะเวลา ลดเวลา
                            ่                                                    ่
ในการดําเนินงาน

2.2 ทฤษฎีฐานข้อมูล
           [1] ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลทีมความสัมพันธ์กน นํามาเก็บรวบรวมเข้าไว้
                                                             ่ ี             ั
ด้วยกันอย่างมีระบบ และต้องตรงตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน เช่น ข้อมูลทะเบียนนักศึกษา จะมีขอมูล   ้
เกียวกับนักศึกษา ข้อมูลเกียวกับรายวิชาทีลงทะเบียน ข้อมูลอาจารย์ผสอน ข้อมูลเกียวกับเกรดของ
   ่                         ่             ่                            ู้     ่
นักศึกษา เป็ นต้น กลุ่มของข้อมูลนันอาจจะเกียวกับบุคคล สิงของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ทีเราสนใจ
                                      ้      ่             ่                               ่
หรืออาจได้มาจากการสังเกต การนับการวัด รวมทังข้อมูลทีเป็ นตัวเลข ข้อความ และรูปภาพ ก็สามารถ
                                                  ้      ่
นํามาจัดเก็บเป็ นฐานข้อมูลได้แต่ทสาคัญข้อมูลทุกอย่างต้องมีความสัมพันธ์กน และเก็บรวบรวมอย่างเป็ น
                                    ่ี ํ                                   ั
ระบบ เพราะเป็ นสิงทีตองนํามาใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต
                     ่ ่ ้
           2.2.1 ระบบฐานข้อมูล (Database System)
           หมายถึง ระบบการรวบรวมฐานข้อมูลหลายๆ ฐานข้อมูล ทีมความสัมพันธ์กน โดยมีวตถุประสงค์
                                                                 ่ ี             ั       ั
เพือเป็ นการลดความซํ้าซ้อนของข้อมูล ภายในระบบฐานข้อมูลต้องมีสวนของซอฟต์แวร์ททาหน้าทีในการ
     ่                                                                ่             ่ี ํ     ่
เชื่อมโยงและจัดการฐานข้อมูล ด้วยวิธและรูปแบบเหมาะสมเพือให้ผใช้งานสามารถเก็บข้อมูล ดูแลรักษา
                                         ี                    ่   ู้
ความปลอดภัย และง่ายต่อการนํามาใช้งานซอฟต์แวร์ซงเรียกว่า Database Management System
                                                      ่ึ
(DBMS)
           2.2.2 องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล
                   2.2.2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hard Ware) ในระบบฐานข้อมูลทีมประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ต่างๆ ที่
                                                                     ่ ี
พร้อมจะอํานวยความสะดวกในการบริหารระบบงานฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่วาจะเป็ นความเร็ว
                                                                                       ่
ของหน่วยประมวลผล ขนาดของหน่วยความจํากลางอุปกรณ์นําเข้าและออกรายงาน รวมถึงหน่วยความจํา
สํารองทีรองรับการประมวลผลข้อมูลในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
         ่



                                                                                                      4 
 
 
 

                 2.2.2.2 ซอฟต์แวร์ (Soft Ware) ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management
System) คือ ซอฟท์แวร์ททาหน้าทีในการจัดการฐานข้อมูล ในเรืองของการสร้างการปรับเปลียนแก้ไข
                             ่ี ํ        ่                                  ่                                     ่
โครงสร้าง การเรียกใช้ การจัดทํารายงาน การควบคุม การดูแลรักษาความปลอดภัย โดยจะเป็ นสือกลาง                               ่
ระหว่างผูใช้กบโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ทีมอยูในฐานข้อมูล
            ้ ั                                  ่ ี ่
                 2.2.2.3 ข้อมูล (Data) ข้อมูลทีถูกเก็บอยูในฐานข้อมูล และมีความสัมพันธ์กนระหว่างข้อมูล
                                                               ่          ่                                     ั
ในฐานข้อมูลมีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอย่างเป็ นระบบ ซึงข้อมูลเหล่านี้สามารถใช้  ่
ร่วมกันได้ ผูใช้ขอมูลในระบบฐานข้อมูล จะมองภาพข้อมูลในลักษณะทีแตกต่างกัน
              ้ ้                                                                     ่
                            1) มุมมองของการนําข้อมูลไปใช้ (External Level) จะสามารถแบ่งข้อมูลได้ดงนี้                             ั
                                       (1) ข้อมูลขาเข้า หรือข้อมูลดิบ (Data) เช่น ข้อมูลการสังซือข้อมูลการ  ่ ้
ตรวจรับ
                                       (2) ข้อมูลสารสนเทศ (Information) คือข้อมูลขาเข้าหรือข้อมูลดิบทีผาน                     ่ ่
                                ่
การประมวลผลแล้ว เช่น ฝายผลิตต้องการข้อมูลแสดงภาพรวมของสินค้าทีถูกสังเพือนําไปใช้ในการสัง่ ซือ
                                                                                            ่ ่ ่                                   ้
วัตถุดบ จึงทําการหาผลรวมจํานวนสินค้าทีถูกสัง่ แยกตามรายการสินค้า เพือความสะดวกในการใช้งาน
       ิ                                            ่                                         ่
                            2) มุมมองของผูออกแบบระบบฐานข้อมูล (Physical Level)
                                               ้
                                       (1) ข้อมูลทีผใช้ระบบต้องการใช้งาน (User Data) เช่น ข้อมูลของผูใช้ใน
                                                          ่ ู้                                                                  ้
ระบบงานขายสินค้า ได้แก่ ข้อมูลสินค้า, ข้อมูลลูกค้าและข้อมูลการสังซือสินค้า เป็ นต้น่ ้
                                       (2) ข้อมูลทีใช้อธิบายโครงสร้างของข้อมูล (Metadata) ในระบบฐานข้อมูล
                                                        ่
จะเรียกว่าพจนานุกรมข้อมูล (Data dictionary) ใช้สาหรับการอธิบายโครงสร้างของข้อมูล ประเภทของ
                                                                    ํ
ข้อมูล และคุณลักษณะพิเศษอื่นๆ
                  2.2.2.4 บุคลากร (People) ในระบบฐานข้อมูลจะมีบุคลากรทีเกียวข้องดังนี้ คือ       ่ ่
                            1) ผูใช้ทวไป (User) หมายถึง บุคลากรทีใช้ขอมูลจากระบบฐานข้อมูล เพือให้งาน
                                  ้ ั่                                          ่ ้                                       ่
สําเร็จลุลวงได้ เช่น ในระบบการฝากเงินธนาคารผูใช้ทวไปคือ พนักงาน ธนกิจ ทีรบฝากเงิน หรือระบบดู
          ่                                                      ้ ั่                                  ่ั
เกรดนักศึกษา ผูใช้ทวไปคือนักศึกษา
                  ้ ั่
                            2) พนักงานปฏิบตการ (Operator) หมายถึงผูปฏิบตการด้านการประมวลผล การ
                                                  ั ิ                                   ้ ั ิ
ป้อนข้อมูลเข้าเครืองคอมพิวเตอร์
                   ่
                            3) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) หมายถึงผูทมหน้าทีเขียนโปรแกรม ้ ่ี ี          ่
ประยุกต์ใช้งานต่างๆ เพือให้จดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ขอมูลเป็ นไปตามความต้องการของผูใช้
                          ่          ั                                ้                                       ้
                            4) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) หมายถึงบุคลากรทีทาหน้าที่                         ่ ํ
วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูล และออกแบบระบบงานทีจะนํามาใช้               ่
                            5) ผูบริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) หมายถึงบุคลากรทีทาหน้าที่
                                   ้                                                                                ่ ํ
บริหารและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทังหมดเป็ นผูตดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าใน
                                                                        ้         ้ ั
ระบบ จัดเก็บโดยวิธใดเทคนิคการเรียกใช้ขอมูล กําหนดระบบวิธการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การ
                      ี                               ้                       ี

                                                                                                                                   5 
 
 
 




                        2.2.2.5 ขันตอนปฏิบตงาน (Procedure) ในระบบฐานข้อมูลทีดจะต้องมีการจัดทําเอกสารที่
                                   ้          ั ิ                                                   ่ ี
ระบุขนตอนการทํางานของหน้าทีต่างๆ ระบบฐานข้อมูลทังในสภาวะปกติ และในสภาวะทีระบบเกิดการ
         ั้                              ่                                 ้                              ่
                          ั
ขัดข้อง หรือเกิดปญหา ซึงจะเป็ นขันตอนการปฏิบตงานสําหรับบุคลากรในทุกระดับขององค์กร
                                 ่         ้             ั ิ
                                                                                 ั
                2.2.3 โครงสร้างฐานข้อมูลโครงสร้างฐานข้อมูลหรือสถาปตยกรรมฐานข้อมูลแบ่งเป็ น 3 ระดับ
                        2.2.3.1 ระดับภายนอก - เป็นระดับการมองข้อมูลภายในฐานข้อมูลสําหรับผูใช้แต่ละคน        ้
ข้อมูลทีเห็นอาจจะมากน้อยแตกต่างกัน ขึนอยูกบสิทธิ ์การเข้าใช้งานฐานข้อมูล
              ่                                   ้ ่ ั
                        2.2.3.2 ระดับแนวคิด - เป็ นระดับของการออกแบบฐานข้อมูล จะมองเห็นข้อมูลทังหมดใน                 ้
ฐานข้อมูล
                        2.2.3.3 ระดับภายใน - เป็ นระดับของการจัดเก็บข้อมูลด้วยโครงสร้างข้อมูลทีเหมาะสม ซึง      ่         ่
โครงสร้างทีใช้เก็บข้อมูลมีผลต่อความเร็วและประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูลการแบ่งโครงสร้างฐานข้อมูล
                   ่
ออกเป็ น 3 ระดับนี้ ทําให้เกิดความเป็ นอิสระของข้อมูลเมือมีการเปลียนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับ
                                                                         ่                 ่
ภายในหรือระดับแนวคิดจะไม่มผลกระทบต่อโปรแกรมทีผใช้ใช้งานอยูในระดับภายนอก
                                       ี                              ่ ู้                     ่
                2.2.4 แบบจําลองฐานข้อมูลแบบจํา ลองฐานข้อมูล คือโครงสร้างข้อมูลระดับตรรกะทีใช้นํา เสนอ         ่
ข้อมูลและความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล ให้อยูในรูปแบบทีเข้าใจได้งาย แบบจําลองฐานข้อมูลมี 4 ประเภท
                                                    ่                  ่                 ่
ดังนี้
                        2.2.4.1 แบบจําลองฐานข้อมูลลําดับขัน (Hierarchical database model) แบบจําลองชนิดนี้
                                                               ้
ไฟล์ขอมูลจะถูกจัดไว้เป็ นโครงสร้างแบบบนลงล่าง ซึงมีลกษณะคล้ายกับโครงสร้างต้นไม้ เป็ นลําดับขัน
            ้                                                 ่ ั                                                       ้
ระดับสูงสุดจะเรียกว่า Root ระดับล่างสุดจะเรียกว่า Leaves ไฟล์ขอมูลต่างๆ จะมีเพียงไฟล์พอแค่หนึ่งไฟล์
                                                                                       ้                          ่
เท่านัน (one Parent) และแตกสาขาออกเป็ นหลายๆ ไฟล์ เรียกว่า ไฟล์ลก ปจจุบนไม่นิยมใช้กนแล้ว ข้อมูล
       ้                                                                                         ู ั ั              ั
จะมีความสัมพันธ์ในลักษณะ one-to-many
                                1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลลําดับชัน             ้
                                         (1) เหมาะกับข้อมูลทีมความสัมพันธ์แบบ one-to-many
                                                                 ่ ี
                                         (2) ความสามารถในการควบคุมความถูกต้องในข้อมูล
                                         (3) เหมาะกับข้อมูลทีมการเรียงลําดับแบบต่อเนื่อง
                                                                  ่ ี
                                2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลลําดับชัน                     ้
                                         (1) ไม่สามารถรองรับข้อมูลทีมความสัมพันธ์ในลักษณะของmany-to-
                                                                             ่ ี
many
                                         (2) มีความยืดหยุนน้อย ปรับเปลียนโครงสร้างมีความยุงยาก
                                                          ่                          ่                  ่
                                         (3) การค้นข้อมูลซึงอยูระดับล่างๆ จะต้องค้นหาไฟล์ทางด้านบนก่อน
                                                             ่ ่

                                                                                                                          6 
 
 
 

                                  (4) ยากต่อการพัฒนาโปรแกรม
                 2.2.4.2 แบบจําลองฐานข้อมูลเครือข่าย (Network database model) มีโครงสร้างคล้ายกับ
โครงสร้างแบบลําดับขัน แต่จะมีความแตกต่างกันคือความสัมพันธ์ของข้อมูลมีทงแบบ one-to-many และ
                       ้                                                       ั้
many-to-many ซึงมีความยืดหยุนทีสงกว่า
                  ่              ่ ู่
                         1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลเครือข่าย
                                  (1) สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ many-to-many
                                  (2) ความซํ้าซ้อนในข้อมูลเกิดขึนน้อยกว่าแบบลําดับขัน
                                                                 ้                    ้
                                  (3) มีความยืดหยุนในด้านของการค้นหาข้อมูลดีกว่าเพราะใช้พอยน์เตอร์
                                                     ่
ในการเข้าถึง
                         2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลเครือข่าย
                                  (1) ความปลอดภัยของข้อมูลตํ่า
                                  (2) ใช้เนื้อทีหน่วยความจําในการเก็บพอยน์เตอร์
                                                   ่
                                  (3) การเปลียนแปลงในโครงสร้างมีความยุงยากอยู่
                                                 ่                           ่
                 2.2.4.3 แบบจําลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational database model) เป็ นลักษณะการ
ออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยูในลักษณะของตารางภายในตารางประกอบด้วยแถว (Row) และ
                                       ่
คอลัมน์ (Column) สามารถมีความสัมพันธ์กบตารางอื่นๆ ได้ ไม่วาเป็ นแบบ one-to-many หรือ แบบ
                                               ั                   ่
many-to-many และจะใช้ Key ในการอ้างอิงถึงตารางอื่นๆ ทีเกียวข้อง ซึง Key สามารถเป็ นได้ทง Primary
                                                             ่ ่           ่                 ั้
Key และ Secondary Key เพือเข้าถึงข้อมูลได้ ดังนันผูออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึง
                              ่                        ้ ้
ตารางข้อมูลทีจาเป็ นต้องใช้
              ่ํ
                         1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
                                  (1) มีความเข้าใจและสือสารได้เข้าใจง่าย เนื่องจากนําเสนอในลักษณะ
                                                           ่
ตาราง 2 มิติ
                                  (2) สามารถเลือกวิวข้อมูลตามเงือนไขได้
                                                                     ่
                                  (3) ความซับซ้อนในข้อมูลมีน้อย
                                  (4) มีระบบความปลอดภัยทีดี เพราะผูใช้งานจะไม่ทราบถึงกระบวนการ
                                                              ่          ้
จัดเก็บข้อมูล
                                  (5) โครงสร้างข้อมูลมีความเป็ นอิสระจากโปรแกรม
                         2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
                                  (1) มีคาใช้จายในระบบค่อนข้างสูง เนื่องจากใช้ทรัพยากรทีมความสามารถ
                                            ่ ่                                          ่ ี
สูง
                                  (2) แก้ไขปรับปรุงแฟ้มข้อมูลมีความยุงยาก เนื่องจากไม่ทราบถึง
                                                                       ่
กระบวนการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลทีแท้จริง่

                                                                                                  7 
 
 
 

                  2.2.4.4 แบบจําลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-Oriented database model) เป็ นเทคโนโลยี
          ใหม่ของการจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ให้ความสนใจด้วยการมองทุกสิงเป็ นวัตถุ โดยแต่ละวัตถุจะ      ่
          เป็ นแหล่งรวมของข้อมูล มีคลาสเป็ นตัวกําหนดคุณสมบัตหรือรายละเอียดของวัตถุ รวมทัง
                                                                                   ิ                                              ้
          คุณสมบัตการปกปิ ดความลับของวัตถุ
                    ิ
                           1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุ
                                         (1) สามารถจัดการกับข้อมูลชนิดต่างๆ ทีมความสลับซับซ้อนได้เป็ นอย่าง
                                                                                                    ่ ี
                            ดี ไม่วาจะเป็ นภาพกราฟิก วิดโอ และเสียง
                                     ่                               ี
                                         (2) สนับสนุนคุณสมบัตของการนํากลับมาใช้ใหม่ (Reusable)
                                                                         ิ
                            2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุตองใช้บุคลากรทีมความรูความ
                                                                                           ้                          ่ ี       ้
เชียวชาญ และประสบการณ์ในการจัดการกับข้อมูลทีมความสลับซับซ้อน
   ่                                                           ่ ี
          2.2.5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
                  [2] เป็ นฐานข้อมูลทีใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) มีการเก็บ
                                                   ่
แฟ้มข้อมูลในรูปตาราง 2 มิติ คือ ในแต่ละตารางแบ่งออกเป็ น แถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็ นคอลัมน์
ทําให้งายต่อการเข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุน้ี ระบบฐานข้อมูลแบบนี้จงได้รบความนิยมมากทีสด
        ่                                                                                                   ึ ั                         ุ่
เนื่องจากแบบจําลองนี้เกิดจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรืองเซ็ท (Set) ดังนัน เราจะมีคาศัพท์เฉพาะดังนี้
                                                                       ่                          ้                 ํ
                           1) รีเลชัน (Relation) ตาราง (Table)
                                         ่
                           2) ทูเปิ ล (Tuple) แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด (Record) หรือ ระเบียน
                           3) แอททริบวต์ (Attribute) คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์ (Field)
                                                     ิ
                           4) คาร์ดนลลิต้ิ (Cardinality) จํานวนแถว (Number of rows)
                                             ิ ั
                           5) ดีกรี (Degree) จํานวนแอททริบวต์ (Number of attribute)
                                                                             ิ
                           6) คียหลัก (Primary key) ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier)
                                   ์
                           7) โดเมน (Domain) ขอบเขตค่าของข้อมูลที่ Attribute ควรจะเป็ น
                  2.2.5.1 ชนิดของรีเลชัน ในระบบจัดการฐานข้อมูลทัวๆ ไปรีเลชันสามารถจําแนกออกได้
                                                       ่                                 ่                ่
เป็ น 2 ประเภท คือ
                            1) รีเลชันหลัก (Base Relation)เป็ นรีเลชันทีถูกกําหนดขึนเพือเก็บข้อมูล และเพือ
                                           ่                                         ่ ่                     ้ ่                        ่
นําข้อมูลไปใช้เมือมีการสร้างรีเลชัน โดยใช้ Data Definition Language เช่น ใน SQL คําสัง่ CREATE
                  ่                           ่
TABLEเป็ นการสร้างรีเลชันหลัก หลังจากนันก็จะทําการเก็บข้อมูลเพือการเรียกใช้ขอมูลในภายหลัง
                             ่                           ้                             ่                        ้
                           2) วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ารีเลชันสมมติเป็ นรีเลชันทีถูกสร้างขึน
                                                                                                ่                           ่ ่       ้
ตามความต้องการใช้ขอมูลของผูใช้แต่ละคนเนื่องจากผูใช้แต่ละคนอาจต้องการใช้ขอมูลในลักษณะทีแตกต่าง
                        ้              ้                           ้                                          ้                     ่
กัน จึงทําการกําหนดวิวของตัวเองขึนมาจาก Relation หลัก เพือความสะดวกในการใช้ขอมูล และช่วยให้
                                                 ้                               ่                                        ้
การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลทําได้งายขึนรีเลชันทีถกสมมติขนมานี้จะไม่มการเก็บข้อมูลจริงๆ ใน
                                                           ่ ้             ่ ่ ู             ้ึ                   ี
ระบบฐานข้อมูล

                                                                                                                                        8 
 
 
 

                       2.2.5.2 ประเภทของคีย์
                                 1) คียผสม (Combine key หรือComposite key) หมายถึง คียทประกอบ ด้วยแอท
                                             ์                                                                                                            ์ ่ี
ริบวต์มากกว่า 1 แอททริบวต์ เช่น รีเลชันของรายการสังอาหาร มีคย์ คือแอททริบวต์เลขทีใบสังอาหาร และ
    ิ                               ิ                            ่                        ่                             ี                           ิ           ่ ่
แอททริบวต์รหัสรายการอาหาร เพราะใบสังอาหารแต่ละใบจะมีรายการอาหารอยูในใบสังอาหารได้มากกว่า
               ิ                                                       ่                                                                          ่        ่
1 รายการ ดังนันถ้าใช้แอททริบวต์เลขทีใบสังอาหารเพียงตัวเดียวจะไม่สามารถแยกความแตกต่างแต่ละแถว
                     ้                              ิ           ่ ่
ได้
                                 2) คียคแข่ง (Candidate key) หมายถึง แอททริบวต์ทสามารถถูกกําหนดให้เป็ นคีย์
                                                 ์ ู่                                                                                     ิ ่ี
ในรีเลชันได้มากกว่า 1 แอททริบวต์ เช่น รีเลชันพนักงานมีแอททริบวต์ทสามารถเป็ นคียได้ 2 แอททริบวต์
           ่                                          ิ                      ่                                              ิ ่ี                              ์                 ิ
คือ แอททริบวต์รหัสพนักงาน กับแอททริบวต์เลขทีบตรประชาชน ดังนันในรีเลชันพนักงานสามารถเลือกแอ
                   ิ                                                 ิ               ่ ั                                       ้                ่
ททริบวต์ตวใดตัวหนึ่งเป็ นคียกได้
         ิ ั                            ์ ็
                                 3) คียหลัก (Primary key) หมายถึง คียคแข่งทีถูกกําหนดให้เป็ นคียเพือระบุแถวใน
                                               ์                                                                  ์ ู่             ่                               ์ ่
รีเลชัน ซึงคียหลักอาจเป็ นแอททริบวต์หรือกลุ่มของแอททริบวต์กได้ แต่คาทีมตองไม่ซ้าและต้องไม่เป็ นค่า
        ่ ่ ์                                               ิ                                             ิ ็                        ่ ่ ี ้            ํ
ว่าง ส่วนแอททริบวต์ทเี่ ป็ น คียคแข่งแต่ไม่ถูกเลือกเป็ นคียหลักเรียกว่า คียรอง (Alternate Key หรือ
                         ิ                  ์ ู่                                                  ์                                     ์
Secondary Key)
                                 4) คียนอก (Foreign key) หมายถึง คียทแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน
                                                  ์                                                              ์ ่ี                                                       ่
กล่าวคือ แอททริบวต์ หรือกลุ่มของแอททริบวต์ทเี่ ป็ นคียหลักในรีเลชันหนึ่งสามารถเป็ นคียนอกของรีเลชัน
                           ิ                                             ิ                      ์                            ่                                   ์                  ่
อื่นๆ ได้ เช่น รีเลชันพนักงานมีรหัสพนักงานเป็ นคียหลัก ส่วนรีเลชันใบสังอาหารมีเลขทีใบสังเป็นคียหลัก
                             ่                                                         ์                                  ่           ่                      ่ ่          ์
และมีรหัสพนักงานเป็ นคียนอก       ์
                                                        (1) แอททริบวต์ทเี่ ป็ นคียนอกมีคาว่างได้ แต่ถาคียนอก เป็ นกลุ่มของแอทท
                                                                           ิ                        ์               ่                          ้ ์
ริบวต์ จะไม่สามารถมีคาว่างได้
      ิ                        ่
                                                        (2) ค่าของแอททริบวต์ ทีเป็ นคียนอกสามารถซํ้ากันได้
                                                                                         ิ ่                          ์
                                                        (3) รีเลชันหนึ่งๆ มีหรือไม่มคยนอกได้ แต่ทุกรีเลชันต้องมีคยหลักเสมอ
                                                                   ่                                       ี ี ์                                      ่             ี ์
                       2.2.5.3 คุณสมบัตของ Relational     ิ
                                 1) ข้อมูลในแต่ละแถวไม่ซ้ากัน โดยระบบจัดการฐานข้อมูล มีกลไกทีใช้ในการ
                                                                                   ํ                                                                                 ่
ควบคุมไม่ให้เกิดการซํ้าซ้อนของข้อมูล เช่น รีเลชันพนักงานมีแอททริบวต์รหัสพนักงานเป็ นคีย์ เมือมีการ
                                                                                 ่                                               ิ                                      ่
ป้อนรหัสพนักงานซํ้ากันระบบจะการแจ้งเตือนว่ารหัสพนักงานซํ้าซ้อนกัน
                                 2) การเรียงลําดับข้อมูลในแต่ละแถวไม่เป็ นสาระสําคัญ เนื่องจากการเรียกใช้ขอมูล                                                                ้
ในรีเลชันสามารถเรียกใช้ตามความต้องการของผูใช้
             ่                                                                 ้
                                 3) การเรียงลําดับของแอททริบวต์ไม่เป็นสาระสําคัญ เพราะการอ้างอิงแอททริบวต์
                                                                                              ิ                                                                                   ิ
ใดๆ จะใช้ช่อของแอททริบวต์นนๆ ในการอ้างอิง ไม่ใช้ลาดับทีของแอททริบวต์
                 ื                    ิ ั้                                                  ํ                ่                             ิ
                                 4) ค่าของข้อมูลในแต่ละแอททริบวต์จะเป็ นค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน เช่น แอ
                                                                                                      ิ
ททริบวต์วนเกิด จะเก็บข้อมูลประเภทวันที่ ไม่ใช่เงินเดือนทีเป็ นตัวเลข
          ิ ั                                                                                           ่

                                                                                                                                                                                   9 
 
 
 

                                        5) ค่าของข้อมูลในแต่ละแอททริบวต์ของแถวหนึ่งๆ จะเก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียว
                                                                                 ิ
(Single Value) ไม่ใช่กลุ่มของข้อมูลทีแสดงค่ามากกว่าหนึ่งแถว (Repeating Group)
                                                             ่
          2.2.6 Entity Relationship Model (ER Model)
          เป็ นเครืองมือในการอธิบายโครงสร้างของฐานข้อมูลในระดับ Conceptual ออกมาในลักษณะของ
                        ่
แผนภาพ ทีงายต่อความเข้าใจ เพือใช้สอสารระหว่างนักออกแบบฐานข้อมูล และผูใช้
                     ่่                              ่ ่ื                                                      ้
2.2.6.1 ส่วนประกอบของ ER model
                          1) เอนทิต้ี (Entity) คือบุคคล สถานที่ วัตถุ หรือเหตุการณ์ทเี่ ราสนใจ โดยทัวไปแล้วเอนทิต้ี             ่
จะมีกลุ่มทีบอกคุณสมบัตทบอกลักษณะของเอนทิต้ี เช่น พนักงานมีรหัส ชื่อ นามสกุล โดยจะมีคาของ
                   ่                    ิ ่ี                                                                                                ่
คุณสมบัตบางกลุ่มทีทาให้สามารถแยกเอนทิตออกจากเอนทิตอ่นได้ เช่น รหัสพนักงานทีจะไม่มพนักงานคน
                 ิ              ่ ํ                                ้ี                ้ี ื                              ่                ี
ไหนใช้ซ้ากันเลย เราเรียกค่าของคุณสมบัตกลุ่มนี้วาเป็น คีย์ ของเอนทิต้ี เอนทิตสามารถแบ่งได้ดงนี้
           ํ                                                     ิ     ่                                   ้ี                                    ั
                                        (1) เอนทิตปกติ (Regular Entity หรือ Strong Entity) คือเอนทิตทวๆ ไป ทีมแอ
                                                        ้ี                                                               ้ี ั ่                         ่ ี
ททริบวต์หนึ่งแยกความแตกต่างของข้อมูลแต่ละแถวได้ โดยไม่ตองอาศัยแอททริบวต์ของเอนทิตอ่น
       ิ                                                                                   ้                     ิ                            ้ี ื
สัญลักษณ์ของเอนทิตปกติ            ้ี
                                        (2) เอนทิตแบบอ่อน (Weak Entity) คือเอนทิตทตองอาศัยแอททริบวต์จากเอนทิต้ี
                                                        ้ี                                         ้ี ่ี ้                        ิ
อื่นมาช่วยในแยกความแตกต่างของข้อมูลแต่ละแถว
                          2.2.6.2 แอททริบวต์ (Attribute) คือคุณสมบัตหรือลักษณะของเอนทิต้ี เช่น แอททริบวต์ของ
                                                      ิ                                ิ                                                                 ิ
พนักงาน ประกอบด้วย รหัสพนักงาน, ชือ, นามสกุล, วันเกิด โดยมีช่อของแอททริบวต์กากับอยูภายใน และ
                                                               ่                                ื                  ิ ํ                ่
มีเส้นเชื่อมต่อกับเอนทิตแอททริบวต์สามารถแบ่งได้ 6 ประเภท
                                     ้ี            ิ
                                        1) Simple Attributeแอททริบวต์ทไม่สามารถแบ่งแยกย่อยได้อก เช่น เพศ,
                                                                              ิ ่ี                                   ี
เงินเดือนสัญลักษณ์ของแอททริบวต์                  ิ
                                        2) Composite Attributeมีลกษณะตรงข้ามกับแบบ Simple Attribute ทีสามารถ
                                                                          ั                                                               ่
แบ่งแยกย่อยไปได้อก เช่น แอททริบวต์ ชื่อสกุล สามารถแบ่งออกได้เป็ นแอททริบวต์ช่อ และ แอททริบวต์
                              ี                            ิ                                                  ิ ื                                           ิ
นามสกุล
                                        3) Key Attributeแอททริบวต์ทสามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของเอนทิตนนได้ และ
                                                                         ิ ่ี                                                                  ้ี ั ้
แอททริบวต์ประเภทนี้มคาไม่ซ้ากันสัญลักษณ์ของ Key Attribute
               ิ                     ี่        ํ
                                        4) Single - Valued Attributeแอททริบวต์ทมคาของข้อมูลได้เพียงแค่คาเดียว เช่น
                                                                                          ิ ่ี ี ่                                  ่
แอททริบวต์เพศ ทีระบุได้เพียง ชาย หรือ หญิง เท่านัน เพราะมนุษย์มเี พียงเพศเดียว
             ิ              ่                                               ้
                                        5) Multi - Valued Attributeมีลกษณะตรงข้ามกับแบบ Single Attribute ทีสามารถ
                                                                               ั                                                                      ่
มีคาของข้อมูลได้หลายค่า เช่น พนักงานแต่ละคนมีระดับการศึกษาทีแตกต่างกันสัญลักษณ์ของ Multi-
     ่                                                                                        ่
Valued Attribute
                                        6) Derived Attributeเป็ นแอททริบวต์ทได้มาจากการคํานวณ โดยอาศัยค่าในแอทท
                                                                                   ิ ่ี
ริบวต์อ่นๆ เช่น ค่าของอายุ ทีได้มาจากแอททริบวต์วนเกิด สัญลักษณ์ของ Derived Attribute
    ิ ื                                      ่                        ิ ั

                                                                                                                                                         10 
 
 
 

              2.2.6.3 รีเลชัน (Relation)เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิต้ี เช่น รีเลชันระหว่างเอนทิต้ี
                            ่                                                       ่
นักงานกับเอนทิตใบสังอาหาร มีความสัมพันธ์ คือ พนักงานเป็ นคนเขียนใบสังอาหารทีรบรายการมาจาก
               ้ี ่                                                       ่         ่ั
ลูกค้า

2.3 รหัสแท่ง (Barcode)
         [3] Barcode Scanner หรือ เครืองอ่านบาร์โค๊ด คือ เป็ นอุปกรณ์ทใช้อานข้อมูลทีอยูในแท่งบาร์โค้ด
                                       ่                              ่ี ่          ่ ่
แล้วแปลงให้เป็ นข้อมูลทีสามารถเข้าใจได้โดยคอมพิวเตอร์หน้าทีของเครืองอ่านบาร์โค้ด
                        ่                                     ่     ่
        1. หา Elements ทีถูกต้องของ Bar และ Space
                           ่
        2. กําหนดส่วนกว้างของแต่ละ Bar และ Space
        3. จัดกลุ่มของบาร์โค้ดทีอานเข้ามา
                                ่่
        4. นํา Element Widths เปรียบเทียบกับรูปแบบตารางบาร์โค้ด
        5. ตรวจสอบ Start/Stop Characters เวลาทีมการอ่านกลับทิศทาง
                                                 ่ ี
        6. ยืนยัน Quiet Zone ทังสองข้างของบาร์โค้ด
                                ้
        7. ยืนยันความถูกต้องของ Check Characters

      2.3.1 หลักการทํางานของเครืองอ่านบาร์โค๊ด
                                 ่
              1. เครืองอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด หรือ แหล่งกําเนิดแสง (Light Source)
                    ่
ภายในเครืองอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด และกวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์
        ่




                                    รูปที่ 2.1แสดงตัวอย่างรหัสแท่ง

                                                                                                       11 
 
 
 

              2. รับแสงทีสะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด ฉายการอ่านบาร์โค้ดจะใช้หลักการสะท้อนแสง
                         ่
กลับมาทีตวรับแสง
        ่ ั




                           รูปที่ 2.2 แสดงการทํางานของตัวอ่านรหัสแท่ง

              3. เปลียนปริมาณแสงทีสะท้อนกลับมาให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้า ภายในเครืองอ่านบาร์โค้ดจะมี
                     ่            ่                                       ่
อุปกรณ์เปลียนปริมาณแสง ทีสะท้อนกลับมาให้เป็ นสัญญาณทางไฟฟ้า
           ่              ่




                รูปที่ 2.3 แสดงตัวอย่างข้อมูลทีเครืองอ่านรหัสแปลงได้แปลงสัญญาณ
                                               ่ ่

               4. เปลียนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็ นข้อมูลทีนําไปใช้งานได้ สัญญาณไฟฟ้าจะไปเปรียบเทียบ
                       ่                           ่
กับตารางบาร์โค้ดที่ ตัวถอดรหัส (Decoder) และเปลียนให้เป็ นข้อมูลทีสามารถนําไปใช้งานได้
                                                ่                 ่




                                                                                               12 
 
 
 




                         รูปที่ 2.4 แสดงลําดับการทํางานของเครืองอ่านรหัสแท่ง
                                                             ่

          สรุปหลักการทํางานของเครืองอ่านบาร์โค้ด เครืองอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด แล้ว
                                 ่                  ่
รับแสงทีสะท้อนกลับจากแท่งบาร์โค้ด ซึง Space จะสะท้อนแสงได้ดกว่าแท่งBar จากนันปริมาณแสง
          ่                          ่                          ี              ้
สะท้อนจะถูกเปลียนไปเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้า แล้วถูกส่งต่อไปยังตัวถอดรหัส (Decoder) และแปลงให้เป็ น
                  ่
ข้อมูลทีสามารถนําไปใช้งานได้
        ่




                                   รูปที่ 2.5 แสดงภาพรวมการทํางาน

            2.3.2 ประเภทของเครืองอ่านบาร์โค้ด จําแนกออกได้ 2 กลุ่มใหญ่คอ เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส
                                    ่                                        ื       ่
และ เครืองอ่านบาร์โค้ด ไมสมผัส และยังสามารถแยกประเภทตามลักษณะการเคลื่อนย้ายได้ โดยแบ่งกลุ่ม
            ่                 ่ ั
เป็ นเครองอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) และ เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่ (Fixed
         ่ื                                                         ่
Positioning Scanners)
                    2.3.2.1 เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) เครืองอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้
                                  ่                                                ่
                                           ่            ่่                 ่
ส่วนมากจะมีหน่วยความจําในตัวเอง เพือเก็บข้อมูลทีอานหรือบันทึกด้วยปุมกดสามารถนําอุปกรณ์ไปใช้ได้
ง่ายโดย สามารถพกพาได้ การอ่านรหัสแต่ละครังจะนําเอาเครืองอ่านเข้าไปยังตําแหน่งทีสนค้าอยู่ ส่วนมาก
                                                     ้            ่                    ่ ิ
เครืองอานลักษณะนี้จะมีน้ําหนักเบา ส่วนแบบทีไม่มหน่วยความจําในตัวเองจะทํางานแบบไร้สายเหมือน
     ่ ่                                            ่ ี
โทรศัพท์ไร้สาย ทีใช้ภายในบ้านซึงมีขอจํากัดเรืองระยะทาง
                      ่               ่ ้         ่
                    2.3.2.2 เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่ (Fixed Positioning Scanners) เครือง อ่าน
                                ่                                                               ่
บาร์โค้ด ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ส่วนมากจะติดตังกับด้านข้าง หรือตําแหน่งใดๆ ทีเหมาะสมใน
                                                                ้                             ่
แนวทางวิงของสายพานลําเลียง เพืออ่านรหัสทีตดกับบรรจุภณฑ์และเคลื่อนทีผานไปตามระบบสายพาน
              ่                        ่         ่ ิ          ั                ่ ่
ลําเลียง บางครังเครืองอ่านประเภทนี้จะติดตังภายในอุปกรณ์ของระบบสายพานลําเลียง เพือให้สามารถอ่าน
                   ้ ่                         ้                                           ่
                                                                                                     13 
 
 
 



                                                                              อตังไว้ดานข้าง เครืองอ่านจะทําการอ่าน
                                                                              ื ้ ้             ่
บาร์โค้ดโดยอัตโนมัติ เมือมีวตถุเคลื่อนไหวอยูขางหน้าตัวเครือง
                           ่ ั                                    ่ ้                 ่
                  2.3.2.3 เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส (Contact Scanners) เครืองอ่านบาร์โค้ดประเภทนี้
                                          ่                                                                       ่
เป็ นอุปกรณ์ทเี่ วลาอ่าน ต้องสัมผัสกับผิวหน้าของรหัสแท่ง แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือเครืองอ่านบาร์โค้ดแบบ                 ่
ปากกา (Pen Scanner) หรือแวนด์ (Wand) เป็ นเครืองอ่านบาร์โค้ด ที่ มีลกษณะเหมือนหัวปากกา โดยม ี
                                                                          ่                              ั
ปลายปากกาเป็ นอุปกรณ์สาหรับผลิตลําแสงเพืออ่านข้อมูล นํ้าหนักเบา พกพาสะดวก มีขอจํากัดเรือง
                                ํ                                  ่                                                    ้ ่
คุณภาพฉลากต้องดีมาก เพราะหัวอ่านทีสมผสบนรหัสแท่งอาจจะทําให้รหัสลบหรือเสียหายได้ เหมาะ
                                                          ่ ั ั
สําหรับอ่านบาร์โค้ดบนเอกสารหรือคูปอง
                  2.3.2.4เครืองอ่านบาร์โค้ดแบบไม่สมผัส (Non Contact Scanner)
                                  ่                                     ั
เป็ น เครืองอ่านบาร์โค้ด ทีมหลายรูปแบบจากแบบง่ายๆ ทีลกษณะคล้ายปี นทีเห็นตามร้านค้าปลีก จนถึง
             ่                 ่ ี                                              ่ ั                        ่
ระบบแบบ Pocket PC สามารถอ่านโดยห่างจากรหัสแท่งได้ ทําให้ทางานได้รวดเร็ว ง่ายและสะดวก โดย            ํ
แบ่งเป็ นหลายชนิดดังนี้
                            1) เครืองอ่านบาร์โค้ดแบบ CCD (Charge Coupled Device Scanner) เครืองอ่าน
                                              ่                                                                             ่
บาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็ นเครืองอ่านราคาถูก การทํางานจะอาศัยการสะท้อนของแสงจากรหัสแท่งและช่องว่าง
                                    ่
แล้วเปลียนเป็ น สัญญาณวีดโอ เครืองอ่านแบบนี้ในขณะอ่านจะไม่มการเคลื่อนทีชนส่วน ความแม่นยําจะสูง
           ่                            ี            ่                                           ี           ่ ้ิ
กว่าแบบเลเซอร์ ใช้พลังงานน้อย อายุการใช้งานของอุปกรณ์ในการสร้างลําแสง (LED) จะยาวนานกว่า
เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบนี้ยงเป็ นแบบตัดวงจรไฟอัตโนมัตในกรณีทไม่มการใช้งาน
       ่                              ั                                       ิ                ่ี ี
                            2) เครืองอ่านบาร์โคดแบบ Linear Imaging เครืองอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็ น
                                                  ่                                                    ่
เครืองอ่านบาร์โค้ด ทีใช้หลักการอ่านโดยวิธจบภาพโดยเลนซ์รบภาพเช่นเดียวกับกล้องถ่ายรูป ทําให้ระบบ
         ่               ่                                     ีั                           ั
หัวอ่านมีความสามารถในการอ่านในเชิงเรขาคณิตสูงกว่าเครืองอ่านแบบ CCD สามารถอ่านบาร์โค้ดขนาด
                                                                                    ่
เล็กมากๆได้ เนื่องจากใช้การอ่านด้วยตัวเลนซ์รบภาพทําให้จบภาพได้ระยะไกลขึน อ่านได้เร็วถึง 100-450
                                                                      ั                 ั                       ้
scan ต่อวินาที ดังนันจึงอาจกล่าวได้วา เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบ Linear Imaging มีความสามารถในการ
                       ้                                ่    ่
อ่านและความเร็วในการอ่านเหนือว่าการอ่านแบบ CCD แต่มความทนทานเหมือนกัน และอ่านในระยะไกล    ี
ได้เทียบเท่ามาตรฐานของเครืองอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์
                                            ่
                            3) เครืองอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ ( Laser Scanner) เครืองอ่านบาร์โค้ด ชนิดนี้ม ี
                                                ่                                                                     ่
                     ่       ่
วิธการทํางาน คือเมือกดปุมอ่านรหัสจะเกิดลําแสงเลเซอร์ซงมีกระจกเงาเคลื่อนทีมารับแสง แล้วสะท้อนไป
     ี                                                                           ่ึ                           ่
ตกกระทบกับรหัส และผ่านเป็ นแนวเส้นตรงเพียงครังเดียว ลําแสงทียงออกมาจะมีขนาดเล็กด้วย ความถี่
                                                                            ้                      ่ ิ
เดียว ไมกระจายออกไปนอกเขตทีตองการทําให้สามารถอ่านรหัสทีมขนาดเล็กได้ดี
               ่                                    ่ ้                                       ่ ี
ไวดวย
    ้ ้



                                                                                                                          14 
 
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 

Mais procurados (20)

สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 

Semelhante a ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง

รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงานผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างแนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างUtai Sukviwatsirikul
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์
คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์
คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์ThailandCoop
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน kaakvc
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 

Semelhante a ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง (20)

รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงานผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
ผลงานนักศึกษาวิชาโครงงาน
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างแนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
Blockchain based Customer Relation System
Blockchain based Customer Relation SystemBlockchain based Customer Relation System
Blockchain based Customer Relation System
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
Project ii v.2.0
Project ii v.2.0Project ii v.2.0
Project ii v.2.0
 
คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์
คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์
คู่มือการพัฒนาโซ่คุณค่าผลิตภัณฑ์
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Category management
Category managementCategory management
Category management
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง

  • 1. ระบบฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก Database Management System for Retail Shop นายสันติ พันไธสง Santi Panthaisong สารนิพนธ์ฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการจัดการเทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปี การศึกษา 2554
  • 2. หัวข้อสารนิ พนธ์ ระบบฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก นักศึกษา นาย สันติ พันไธสง รหัสนักศึกษา 5317670015 ปริ ญญา วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิ ชา การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2554 อาจารย์ผควบคุมสารนิ พนธ์ รศ.ดร. ฤกษ์ชย ฟูประทีปศิริ ู้ ั บทคัดย่อ โครงงานนี้น้ีจะเป็ นการนําเสนอ ระบบการจัดการฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก มาช่วย ่ ี ่ ่ ั จัดการข้อมูลทีมอยูได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริมวิเคราะห์ปญหาทีพบบ่อยในกระบวนการการ ่ ั ั ทํางานต่างๆ ของร้านค้าปลีก และนําเทคโนโลยีในปจจุบนมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบงาน ั นี้ โดยหวังจะลดปญหาและข้อผิดพลาดต่างๆ ในการบริหารจัดการร้านค้าปลีก เช่น การจัดการ ระบบคลังสินค้า ตรวจสอบยอดขาย เพือให้การดําเนินงานเป็ นไปอย่างรวดเร็ว และออกรายงาน ่ ทีตองการเพือนําไปวางแผนสําหรับการจัดการร้านค้าต่อไป ่ ้ ่ I
  • 3. Project Title Database Management System For Retail Shop Student Santi Panthaisong Student ID 5317670015 Degree Master of Science Program Information Technology Management Year 2011 Thesis Advisor Assoc. Prof. Reckchai Fooprateepsiri, Ph.D. ABSTRACT This project will be presented. Database management system for retailers that manage existing information effectively. By analyzing common problems in retailer operation. Used current technology to developing this system. It is expected to reduce the problems and errors in retail outlets management such as warehouse management systems, check daily sales that improve retailer operation faster and higher performance. And reporting with any requirement to plan for the management of the store. II
  • 4. กิตติกรรมประกาศ สารนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จได้จากแนวความคิดและการแนะนําการดําเนินงานโครงงาน องค์ ํ ความรูต่างๆจากอาจารย์ รศ.ดร.ฤกษ์ชย ฟูประทีปศิริ อาจารย์ทปรึกษาทีได้เสียสละเวลาให้ ้ ั ่ี ่ คําปรึกษา ตรวจสอบข้อบกพร่องของระบบให้มความสมบูรณ์ อีกทังเพือๆทีคอยช่วยเหลือ ี ้ ่ ่ สนับสนุนการจัดทําสารนิพนธ์ฉบับนี้ ขอกราบขอพระคุณ คณาจารย์ทุกท่านทีชวยประสิทธิ ์ประสาทวิชาความรูจนสามารถ ่ ่ ้ จัดทําสารนิพนธ์ให้สาเร็จได้ดวยดี ท้ายนี้ขอกราบพระคุณบิดามารดาทีคอยให้กาลังใจเสมอ ํ ้ ่ ํ สันติ พันไธสง III
  • 5. สารบัญ หน้า บทคัดย่อภาษาไทย I กิตติกรรมประกาศ II สารบัญ III สารบัญตาราง V สารบัญรูป VI บทที่ 1 บทนํา ั 1.1 ปญหาและแรงจูงใจ 1 1.2 วิเคราะห์ 2 1.3 จุดประสงค์ 2 1.4 ขอบเขต 2 1.5 แผนเวลาของโครงการ 3 บทที่ 2 ทฤษฎีและการออกแบบ 2.1 กล่าวนํา 4 2.2 ทฤษฏีฐานข้อมูล 4 2.3 รหัสแท่ง 11 บทที่ 3 การดําเนินโครงการ 3.1 ผังแสดงกระแสข้อมูลระดับสูง 16 3.2 ผังกระแสข้อมูลระดับต่างๆ 18 3.3 ผังแสดงความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล 31 3.4 Mapping Entity-Relationship Diagram 32 3.5 พจนาจุกรมข้อมูล 33 3.6 การออกแบบ interface ของระบบฐานข้อมูลร้านค้าปลีก 39 IV
  • 6. สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการทดลองหรือดําเนินงาน 4.1 การออกแบบการดําเนินการในส่วนการเก็บข้อมูล 51 4.2 การทดสอบกระบวนการทํางานแต่ละส่วน 52 บทที่ 5 สรุปผลการดําเนินงาน 5.1 บทสรุป 69 ั 5.2 ปญหาและอุปสรรคทีพบจากการทําโครงงาน ่ 69 5.3 แนวทางการพัฒนาโครงการ 69 เอกสารอ้างอิง 70 V
  • 7. บทที่ 1 บทนํา ความเป็ นมา โดยทัว ไปแล้ว ร้า นค้า ปลีก ยัง เป็ น ระบบงานที่ใ ช้บุ ค ลากรเป็ น ผู้ป ฏิบ ัติง าน ซึ่ง เป็ น การ ่ ปฏิบติงานที่ยงมีขอผิดพลาดและขาดความเป็ นระเบียบเรียบร้อย เช่น การขายสินค้า การจัดการ ั ั ้ คลังสินค้า การคิดราคาสินค้า การตรวจสอบใบเสร็จย้อนหลัง เป็ นต้น ซึงสิงต่างๆ เหล่านี้จะก็ให้เกิด ่ ่ ั ป ญ หาด้ า นการจัด การร้า น เป็ น ผลให้เ กิด ความเสีย หายทางธุ ร กิจ เกิด ความล่ า ช้า หรือ เกิด ข้อผิดพลาดต่างๆ ซึ่งส่งผลต่อความพึงพอใจของลูกค้า เนื่องจากลุกค้าต้องการความรวดเร็วและ ความถูกต้องจากการรับบริการ นอกจากนี้ลูกค้ายังมีทางเลือกทีหลากหลายจากการเกิดขึ้นของ ร้านค้าปลีกรายใหญ่ดวย ้ ั ั ในปจจุบนได้มรานค้าปลีกต่างชาติได้เข้ามาเปิ ดสาขาในไทยมากมาย โดยร้านค้าเหล่านี้มี ี้ จุดเด่นอยู่ทการจัดการร้านด้วยความรวดเร็ว และมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วยในการทํางาน ่ี ทําให้รานค้าปลีกของไทย ยากทีจะแข่งขันได้หากไม่มการเปลียนแปลง เพื่อตอบรับกับความต้องการ ้ ่ ี ่ ของลูกค้า เพื่อให้การจัดการร้านค้าปลีกให้มประสิทธิภาพมากยิงขึน จึงได้มการทําเทคโนโลยีเข้ามา ี ่ ้ ี ช่วยในการดําเนินงาน โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ เพื่อมาช่วยในการทํางานหลายๆ ด้าน เช่น จัดเก็บ ข้อมูล ค้นหาข้อมูลต่างๆ การจัดแสดงรายงานต่อเจ้าของกิจการ เพื่อนําข้อมูลต่างๆ ไปปรับปรุงร้าน เพือสร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้าได้มากขึน ่ ั ้ 1. ปัญหา และแรงจูงใจ (Problem/Motivation) ั 1.1. เพือลดปญหาจากการขายสินค้าเช่น คิดราคาผิด เป็ นต้น ่ 1.2. เพือสามารถจัดการคลังสินค้าได้ตอลดเวลา ่ 1.3. สามารถตรวจสอบสินค้าในคลังได้ทนที ไม่ตองใช้วธเดินไปตรวจสอบ ั ้ ิี 1.4. เพือเพิมความรวดเร็วในการขายสินค้า สร้างความพึงพอใจให้กบลูกค้า ่ ่ ั 1.5. สามารถตรวจสอบรายการขายย้อนหลังได้ 1.6. เพือให้จดการข้อมูลต่างๆ ภายในร้านได้อย่างถูกต้องและเป็ นระบบ ่ ั 1   
  • 8. 2. วิ เคราะห์ (Analysis) ในร้านค้าปลีก จะมีลกค้าเข้ามาซือสินค้าเป็ นจํานวนมากในระยะเวลาหนึ่งๆ ซึงอาจทําให้เกิด ู ้ ่ ความล่าช้าในการขายสินค้าได้ นอกจากนี้ยงก่อให้เกิดความผิดพลาดทีอาจจะตามมาได้ เช่น การคิด ั ่ ราคาสินค้าผิด นับจํานวนสินค้าไม่ครบ เป็ นต้น เนื่องจากทางร้านดําเนินการด้วยคนเป็ นหลัก และ เมื่อมีการจัดเก็บใบเสร็จทีเป็ นเอกสารต่างๆ แล้วก็จะพบว่าเกิดการสูญหายหรือเสียหายอยู่บ่อยครัง ่ ้ ั เนื่องจากจํานวนของใบเสร็จและปญหาจากการจัดเก็บไม่ดี ทําให้ลูกค้าหลายคนไม่พอใจในการซื้อ สินค้า 3. จุดประสงค์ (Objectives) การพัฒนาระบบร้านค้าปลีกมีวตถุประสงค์หลักในการดําเนินงาน ดังนี้ ั 3.1 ศึก ษาและทําการออกแบบระบบร้านค้าปลีก เพื่อจัดการข้อมูล ให้มีความเป็ น ระเบียบ ั สะดวกต่อการใช้งานและแก้ปญหาการซํ้าซ้อนของข้อมูล 3.2 เพือพัฒนาระบบร้านค้าปลีก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ่ 3.3 เพื่อให้การดําเนินงานของร้านค้าปลีก เช่น การขาย การจัดการคลังสินค้า การซื้อสินค้า การบันทึกใบเสร็จ มีความรวดเร็ว ลดข้อผิดพลาดและสามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังได้ 4. ขอบเขต (Scope) 4.1 ระบบจัดการข้อมูลพืนฐาน ้ 4.1.1 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลสินค้า ่ 4.1.2 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลลูกค้า ่ 4.1.3 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลผูใช้ระบบ ่ ้ 4.1.4 สามารถค้นหา เพิม ลบ แก้ไข ข้อมูลผูผลิต ่ ้ 4.2 ระบบการขาย 4.2.1 สามารถทําการขายสินค้า พร้อมกับคํานวณราคาและเงินทอนได้ 4.2.2 สามารถยกเลิกการขายสินค้าได้ 4.2.3 สามารถเปลียนแปลงรายการการขายแต่ละรายการได้ ่ 4.2.4 สามารถแสดงยอดค้างชําระของลูกค้าแต่ละคนได้ 4.2.5 สามารถแสดงสินค้าทีลกค้าซือเป็ นประจําได้ ู่ ้ 4.3 ระบบการจองสินค้าหรือสังล่วงหน้า ่ 4.3.1 สามารถให้ลกค้าโทรมาสังสินค้าล่วงหน้า หรือสังสินค้าล่วงหน้าได้ ู ่ ่ 2   
  • 9. 4.4 ระบบคลังสินค้า 4.4.1 สามารถบันทึกการรับสินค้าเข้าร้านได้ 4.4.2 สามารถคํานวณราคาสินค้าต่อหน่วย ต้นทุนสินค้าเมือรับสินค้าเข้าร้านได้ ่ 4.4.3 สามารถตัดจํานวนสินค้าเมือมีการขายสินค้านันๆ ออกไปทันทีเมือมีการขาย ่ ้ ่ 4.4.4 สามารถแจ้งเตือนเมือสินค้าใดๆ ในร้านเหลืออยูต่ํากว่าจุดสังซือ ่ ่ ่ ้ 4.4.5 สามารถแจ้งตําแหน่งของสินค้าในโกดังได้ เมือทําการค้นหาจากระบบ ่ 4.5 ระบบการแสดงรายงาน 4.5.1 สามารถแสดงยอดรวมยอดขายตามเงือนไขได้ เช่น ยอดต่อวัน ยอดต่อเดือน ่ 4.5.2 สามารถแสดงรายได้สทธิตามเงือนไขได้ เช่น กําไรต่อวัน ต่อเดือน ุ ่ 4.5.3 สามารถแสดงข้อมูลสินค้าขายดีตามเงือนไขได้ ่ 4.5.4 สามารถแสดงข้อมูลลูกค้าค้างชําระได้ 4.5.5 สามารถแสดงรายาชื่อสินค้าในคลังได้ 4.5.6 สามารถแสดงสินค้าในคลังทีจานวนตํ่ากว่าจุดสังซือ ่ํ ่ ้ 4.5.7 สามารถแสดงข้อมูลลูกค้าตามเงือนไขได้ ่ 5. แผนเวลาของโครงงาน (Calendar Planning) ชื่องาน (Task Name) : ระบบฐานข้อมูลสําหรับร้านค้าปลีก ลักษณะงาน (Description) : การพัฒนาระบบฐานข้อมูล ระยะเวลา (Duration) : มิถุนายน 2554 – เมษายน 2554 ขั้นตอนการดําเนินงาน มิ.ย.- ก.ค ส.ค.- ก.ย ต.ค.- พ.ย ธ.ค.- ก.พ มี.ค.- เม.ย ระยะที่ 1 วิเคราะห์และศึกษาระบบงานปั จจุบน ั ระยะที่ 2 ศึกษาความต้องการของระบบ ระยะที่ 3 วิเคราะห์และออกแบบระบบ ระยะที่ 4 พัฒนาและทดสอบระบบ ระยะที่ 5 ทําคู่มือและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3   
  • 10.     บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 กล่าวนํา ั ั ในปจจุบนระบบบ่งชีอตโนมัติ (Automatic identification) ได้นิยมนํามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ระบุ ้ ั สถานะของสัตว์ หรือสิงของต่างๆ เช่น สินค้าทีเราให้ความสนใจ ซึงระบบบ่งชีอตโนมัตทรจกและใช้งานกัน ่ ่ ่ ้ ั ิ ่ี ู้ ั อย่างแพร่หลายทีสดคือ ระบบบาร์โค้ด (Barcode System) ซึงสามารถพบเห็นได้ทวไปในธุรกิจหรือใน ุ่ ่ ั่ ชีวตประจําวัน และด้วยเหตุผลของบาร์โค้ดทีทาให้งายต่อการจัดเก็บข้อมูลทําให้ถกนํามาใช้ในการจัดการ ิ ่ ํ ่ ู ระบบคงคลังของธุรกิจมาก เพือให้ธุรกิจมีความรวดเร็วในการจัดการ ลดข้อจํากัดในเรืองระยะเวลา ลดเวลา ่ ่ ในการดําเนินงาน 2.2 ทฤษฎีฐานข้อมูล [1] ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลทีมความสัมพันธ์กน นํามาเก็บรวบรวมเข้าไว้ ่ ี ั ด้วยกันอย่างมีระบบ และต้องตรงตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน เช่น ข้อมูลทะเบียนนักศึกษา จะมีขอมูล ้ เกียวกับนักศึกษา ข้อมูลเกียวกับรายวิชาทีลงทะเบียน ข้อมูลอาจารย์ผสอน ข้อมูลเกียวกับเกรดของ ่ ่ ่ ู้ ่ นักศึกษา เป็ นต้น กลุ่มของข้อมูลนันอาจจะเกียวกับบุคคล สิงของ สถานที่ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ทีเราสนใจ ้ ่ ่ ่ หรืออาจได้มาจากการสังเกต การนับการวัด รวมทังข้อมูลทีเป็ นตัวเลข ข้อความ และรูปภาพ ก็สามารถ ้ ่ นํามาจัดเก็บเป็ นฐานข้อมูลได้แต่ทสาคัญข้อมูลทุกอย่างต้องมีความสัมพันธ์กน และเก็บรวบรวมอย่างเป็ น ่ี ํ ั ระบบ เพราะเป็ นสิงทีตองนํามาใช้ประโยชน์ต่อไปในอนาคต ่ ่ ้ 2.2.1 ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ระบบการรวบรวมฐานข้อมูลหลายๆ ฐานข้อมูล ทีมความสัมพันธ์กน โดยมีวตถุประสงค์ ่ ี ั ั เพือเป็ นการลดความซํ้าซ้อนของข้อมูล ภายในระบบฐานข้อมูลต้องมีสวนของซอฟต์แวร์ททาหน้าทีในการ ่ ่ ่ี ํ ่ เชื่อมโยงและจัดการฐานข้อมูล ด้วยวิธและรูปแบบเหมาะสมเพือให้ผใช้งานสามารถเก็บข้อมูล ดูแลรักษา ี ่ ู้ ความปลอดภัย และง่ายต่อการนํามาใช้งานซอฟต์แวร์ซงเรียกว่า Database Management System ่ึ (DBMS) 2.2.2 องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล 2.2.2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hard Ware) ในระบบฐานข้อมูลทีมประสิทธิภาพควรมีฮาร์ดแวร์ต่างๆ ที่ ่ ี พร้อมจะอํานวยความสะดวกในการบริหารระบบงานฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่วาจะเป็ นความเร็ว ่ ของหน่วยประมวลผล ขนาดของหน่วยความจํากลางอุปกรณ์นําเข้าและออกรายงาน รวมถึงหน่วยความจํา สํารองทีรองรับการประมวลผลข้อมูลในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ่ 4   
  • 11.     2.2.2.2 ซอฟต์แวร์ (Soft Ware) ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System) คือ ซอฟท์แวร์ททาหน้าทีในการจัดการฐานข้อมูล ในเรืองของการสร้างการปรับเปลียนแก้ไข ่ี ํ ่ ่ ่ โครงสร้าง การเรียกใช้ การจัดทํารายงาน การควบคุม การดูแลรักษาความปลอดภัย โดยจะเป็ นสือกลาง ่ ระหว่างผูใช้กบโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ทีมอยูในฐานข้อมูล ้ ั ่ ี ่ 2.2.2.3 ข้อมูล (Data) ข้อมูลทีถูกเก็บอยูในฐานข้อมูล และมีความสัมพันธ์กนระหว่างข้อมูล ่ ่ ั ในฐานข้อมูลมีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็ นศูนย์กลางข้อมูลอย่างเป็ นระบบ ซึงข้อมูลเหล่านี้สามารถใช้ ่ ร่วมกันได้ ผูใช้ขอมูลในระบบฐานข้อมูล จะมองภาพข้อมูลในลักษณะทีแตกต่างกัน ้ ้ ่ 1) มุมมองของการนําข้อมูลไปใช้ (External Level) จะสามารถแบ่งข้อมูลได้ดงนี้ ั (1) ข้อมูลขาเข้า หรือข้อมูลดิบ (Data) เช่น ข้อมูลการสังซือข้อมูลการ ่ ้ ตรวจรับ (2) ข้อมูลสารสนเทศ (Information) คือข้อมูลขาเข้าหรือข้อมูลดิบทีผาน ่ ่ ่ การประมวลผลแล้ว เช่น ฝายผลิตต้องการข้อมูลแสดงภาพรวมของสินค้าทีถูกสังเพือนําไปใช้ในการสัง่ ซือ ่ ่ ่ ้ วัตถุดบ จึงทําการหาผลรวมจํานวนสินค้าทีถูกสัง่ แยกตามรายการสินค้า เพือความสะดวกในการใช้งาน ิ ่ ่ 2) มุมมองของผูออกแบบระบบฐานข้อมูล (Physical Level) ้ (1) ข้อมูลทีผใช้ระบบต้องการใช้งาน (User Data) เช่น ข้อมูลของผูใช้ใน ่ ู้ ้ ระบบงานขายสินค้า ได้แก่ ข้อมูลสินค้า, ข้อมูลลูกค้าและข้อมูลการสังซือสินค้า เป็ นต้น่ ้ (2) ข้อมูลทีใช้อธิบายโครงสร้างของข้อมูล (Metadata) ในระบบฐานข้อมูล ่ จะเรียกว่าพจนานุกรมข้อมูล (Data dictionary) ใช้สาหรับการอธิบายโครงสร้างของข้อมูล ประเภทของ ํ ข้อมูล และคุณลักษณะพิเศษอื่นๆ 2.2.2.4 บุคลากร (People) ในระบบฐานข้อมูลจะมีบุคลากรทีเกียวข้องดังนี้ คือ ่ ่ 1) ผูใช้ทวไป (User) หมายถึง บุคลากรทีใช้ขอมูลจากระบบฐานข้อมูล เพือให้งาน ้ ั่ ่ ้ ่ สําเร็จลุลวงได้ เช่น ในระบบการฝากเงินธนาคารผูใช้ทวไปคือ พนักงาน ธนกิจ ทีรบฝากเงิน หรือระบบดู ่ ้ ั่ ่ั เกรดนักศึกษา ผูใช้ทวไปคือนักศึกษา ้ ั่ 2) พนักงานปฏิบตการ (Operator) หมายถึงผูปฏิบตการด้านการประมวลผล การ ั ิ ้ ั ิ ป้อนข้อมูลเข้าเครืองคอมพิวเตอร์ ่ 3) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) หมายถึงผูทมหน้าทีเขียนโปรแกรม ้ ่ี ี ่ ประยุกต์ใช้งานต่างๆ เพือให้จดเก็บข้อมูล การเรียกใช้ขอมูลเป็ นไปตามความต้องการของผูใช้ ่ ั ้ ้ 4) นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analyst) หมายถึงบุคลากรทีทาหน้าที่ ่ ํ วิเคราะห์ระบบฐานข้อมูล และออกแบบระบบงานทีจะนํามาใช้ ่ 5) ผูบริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) หมายถึงบุคลากรทีทาหน้าที่ ้ ่ ํ บริหารและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทังหมดเป็ นผูตดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าใน ้ ้ ั ระบบ จัดเก็บโดยวิธใดเทคนิคการเรียกใช้ขอมูล กําหนดระบบวิธการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การ ี ้ ี 5   
  • 12.     2.2.2.5 ขันตอนปฏิบตงาน (Procedure) ในระบบฐานข้อมูลทีดจะต้องมีการจัดทําเอกสารที่ ้ ั ิ ่ ี ระบุขนตอนการทํางานของหน้าทีต่างๆ ระบบฐานข้อมูลทังในสภาวะปกติ และในสภาวะทีระบบเกิดการ ั้ ่ ้ ่ ั ขัดข้อง หรือเกิดปญหา ซึงจะเป็ นขันตอนการปฏิบตงานสําหรับบุคลากรในทุกระดับขององค์กร ่ ้ ั ิ ั 2.2.3 โครงสร้างฐานข้อมูลโครงสร้างฐานข้อมูลหรือสถาปตยกรรมฐานข้อมูลแบ่งเป็ น 3 ระดับ 2.2.3.1 ระดับภายนอก - เป็นระดับการมองข้อมูลภายในฐานข้อมูลสําหรับผูใช้แต่ละคน ้ ข้อมูลทีเห็นอาจจะมากน้อยแตกต่างกัน ขึนอยูกบสิทธิ ์การเข้าใช้งานฐานข้อมูล ่ ้ ่ ั 2.2.3.2 ระดับแนวคิด - เป็ นระดับของการออกแบบฐานข้อมูล จะมองเห็นข้อมูลทังหมดใน ้ ฐานข้อมูล 2.2.3.3 ระดับภายใน - เป็ นระดับของการจัดเก็บข้อมูลด้วยโครงสร้างข้อมูลทีเหมาะสม ซึง ่ ่ โครงสร้างทีใช้เก็บข้อมูลมีผลต่อความเร็วและประสิทธิภาพในการเข้าถึงข้อมูลการแบ่งโครงสร้างฐานข้อมูล ่ ออกเป็ น 3 ระดับนี้ ทําให้เกิดความเป็ นอิสระของข้อมูลเมือมีการเปลียนแปลงแก้ไขโครงสร้างข้อมูลในระดับ ่ ่ ภายในหรือระดับแนวคิดจะไม่มผลกระทบต่อโปรแกรมทีผใช้ใช้งานอยูในระดับภายนอก ี ่ ู้ ่ 2.2.4 แบบจําลองฐานข้อมูลแบบจํา ลองฐานข้อมูล คือโครงสร้างข้อมูลระดับตรรกะทีใช้นํา เสนอ ่ ข้อมูลและความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล ให้อยูในรูปแบบทีเข้าใจได้งาย แบบจําลองฐานข้อมูลมี 4 ประเภท ่ ่ ่ ดังนี้ 2.2.4.1 แบบจําลองฐานข้อมูลลําดับขัน (Hierarchical database model) แบบจําลองชนิดนี้ ้ ไฟล์ขอมูลจะถูกจัดไว้เป็ นโครงสร้างแบบบนลงล่าง ซึงมีลกษณะคล้ายกับโครงสร้างต้นไม้ เป็ นลําดับขัน ้ ่ ั ้ ระดับสูงสุดจะเรียกว่า Root ระดับล่างสุดจะเรียกว่า Leaves ไฟล์ขอมูลต่างๆ จะมีเพียงไฟล์พอแค่หนึ่งไฟล์ ้ ่ เท่านัน (one Parent) และแตกสาขาออกเป็ นหลายๆ ไฟล์ เรียกว่า ไฟล์ลก ปจจุบนไม่นิยมใช้กนแล้ว ข้อมูล ้ ู ั ั ั จะมีความสัมพันธ์ในลักษณะ one-to-many 1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลลําดับชัน ้ (1) เหมาะกับข้อมูลทีมความสัมพันธ์แบบ one-to-many ่ ี (2) ความสามารถในการควบคุมความถูกต้องในข้อมูล (3) เหมาะกับข้อมูลทีมการเรียงลําดับแบบต่อเนื่อง ่ ี 2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลลําดับชัน ้ (1) ไม่สามารถรองรับข้อมูลทีมความสัมพันธ์ในลักษณะของmany-to- ่ ี many (2) มีความยืดหยุนน้อย ปรับเปลียนโครงสร้างมีความยุงยาก ่ ่ ่ (3) การค้นข้อมูลซึงอยูระดับล่างๆ จะต้องค้นหาไฟล์ทางด้านบนก่อน ่ ่ 6   
  • 13.     (4) ยากต่อการพัฒนาโปรแกรม 2.2.4.2 แบบจําลองฐานข้อมูลเครือข่าย (Network database model) มีโครงสร้างคล้ายกับ โครงสร้างแบบลําดับขัน แต่จะมีความแตกต่างกันคือความสัมพันธ์ของข้อมูลมีทงแบบ one-to-many และ ้ ั้ many-to-many ซึงมีความยืดหยุนทีสงกว่า ่ ่ ู่ 1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลเครือข่าย (1) สนับสนุนความสัมพันธ์แบบ many-to-many (2) ความซํ้าซ้อนในข้อมูลเกิดขึนน้อยกว่าแบบลําดับขัน ้ ้ (3) มีความยืดหยุนในด้านของการค้นหาข้อมูลดีกว่าเพราะใช้พอยน์เตอร์ ่ ในการเข้าถึง 2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลเครือข่าย (1) ความปลอดภัยของข้อมูลตํ่า (2) ใช้เนื้อทีหน่วยความจําในการเก็บพอยน์เตอร์ ่ (3) การเปลียนแปลงในโครงสร้างมีความยุงยากอยู่ ่ ่ 2.2.4.3 แบบจําลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational database model) เป็ นลักษณะการ ออกแบบฐานข้อมูลโดยจัดข้อมูลให้อยูในลักษณะของตารางภายในตารางประกอบด้วยแถว (Row) และ ่ คอลัมน์ (Column) สามารถมีความสัมพันธ์กบตารางอื่นๆ ได้ ไม่วาเป็ นแบบ one-to-many หรือ แบบ ั ่ many-to-many และจะใช้ Key ในการอ้างอิงถึงตารางอื่นๆ ทีเกียวข้อง ซึง Key สามารถเป็ นได้ทง Primary ่ ่ ่ ั้ Key และ Secondary Key เพือเข้าถึงข้อมูลได้ ดังนันผูออกแบบฐานข้อมูลจะต้องมีการวางแผนถึง ่ ้ ้ ตารางข้อมูลทีจาเป็ นต้องใช้ ่ํ 1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (1) มีความเข้าใจและสือสารได้เข้าใจง่าย เนื่องจากนําเสนอในลักษณะ ่ ตาราง 2 มิติ (2) สามารถเลือกวิวข้อมูลตามเงือนไขได้ ่ (3) ความซับซ้อนในข้อมูลมีน้อย (4) มีระบบความปลอดภัยทีดี เพราะผูใช้งานจะไม่ทราบถึงกระบวนการ ่ ้ จัดเก็บข้อมูล (5) โครงสร้างข้อมูลมีความเป็ นอิสระจากโปรแกรม 2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (1) มีคาใช้จายในระบบค่อนข้างสูง เนื่องจากใช้ทรัพยากรทีมความสามารถ ่ ่ ่ ี สูง (2) แก้ไขปรับปรุงแฟ้มข้อมูลมีความยุงยาก เนื่องจากไม่ทราบถึง ่ กระบวนการจัดเก็บข้อมูลในฐานข้อมูลทีแท้จริง่ 7   
  • 14.     2.2.4.4 แบบจําลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (Object-Oriented database model) เป็ นเทคโนโลยี ใหม่ของการจัดการฐานข้อมูลเชิงวัตถุ ให้ความสนใจด้วยการมองทุกสิงเป็ นวัตถุ โดยแต่ละวัตถุจะ ่ เป็ นแหล่งรวมของข้อมูล มีคลาสเป็ นตัวกําหนดคุณสมบัตหรือรายละเอียดของวัตถุ รวมทัง ิ ้ คุณสมบัตการปกปิ ดความลับของวัตถุ ิ 1) ข้อดีของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุ (1) สามารถจัดการกับข้อมูลชนิดต่างๆ ทีมความสลับซับซ้อนได้เป็ นอย่าง ่ ี ดี ไม่วาจะเป็ นภาพกราฟิก วิดโอ และเสียง ่ ี (2) สนับสนุนคุณสมบัตของการนํากลับมาใช้ใหม่ (Reusable) ิ 2) ข้อเสียของแบบจําลองฐานข้อมูลเชิงวัตถุตองใช้บุคลากรทีมความรูความ ้ ่ ี ้ เชียวชาญ และประสบการณ์ในการจัดการกับข้อมูลทีมความสลับซับซ้อน ่ ่ ี 2.2.5 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) [2] เป็ นฐานข้อมูลทีใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) มีการเก็บ ่ แฟ้มข้อมูลในรูปตาราง 2 มิติ คือ ในแต่ละตารางแบ่งออกเป็ น แถวๆ และในแต่ละแถวจะแบ่งเป็ นคอลัมน์ ทําให้งายต่อการเข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุน้ี ระบบฐานข้อมูลแบบนี้จงได้รบความนิยมมากทีสด ่ ึ ั ุ่ เนื่องจากแบบจําลองนี้เกิดจากทฤษฎีทางคณิตศาสตร์เรืองเซ็ท (Set) ดังนัน เราจะมีคาศัพท์เฉพาะดังนี้ ่ ้ ํ 1) รีเลชัน (Relation) ตาราง (Table) ่ 2) ทูเปิ ล (Tuple) แถว (Row) หรือ เรคคอร์ด (Record) หรือ ระเบียน 3) แอททริบวต์ (Attribute) คอลัมน์ (Column) หรือฟิลด์ (Field) ิ 4) คาร์ดนลลิต้ิ (Cardinality) จํานวนแถว (Number of rows) ิ ั 5) ดีกรี (Degree) จํานวนแอททริบวต์ (Number of attribute) ิ 6) คียหลัก (Primary key) ค่าเอกลักษณ์ (Unique identifier) ์ 7) โดเมน (Domain) ขอบเขตค่าของข้อมูลที่ Attribute ควรจะเป็ น 2.2.5.1 ชนิดของรีเลชัน ในระบบจัดการฐานข้อมูลทัวๆ ไปรีเลชันสามารถจําแนกออกได้ ่ ่ ่ เป็ น 2 ประเภท คือ 1) รีเลชันหลัก (Base Relation)เป็ นรีเลชันทีถูกกําหนดขึนเพือเก็บข้อมูล และเพือ ่ ่ ่ ้ ่ ่ นําข้อมูลไปใช้เมือมีการสร้างรีเลชัน โดยใช้ Data Definition Language เช่น ใน SQL คําสัง่ CREATE ่ ่ TABLEเป็ นการสร้างรีเลชันหลัก หลังจากนันก็จะทําการเก็บข้อมูลเพือการเรียกใช้ขอมูลในภายหลัง ่ ้ ่ ้ 2) วิว (View) หรืออาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ารีเลชันสมมติเป็ นรีเลชันทีถูกสร้างขึน ่ ่ ่ ้ ตามความต้องการใช้ขอมูลของผูใช้แต่ละคนเนื่องจากผูใช้แต่ละคนอาจต้องการใช้ขอมูลในลักษณะทีแตกต่าง ้ ้ ้ ้ ่ กัน จึงทําการกําหนดวิวของตัวเองขึนมาจาก Relation หลัก เพือความสะดวกในการใช้ขอมูล และช่วยให้ ้ ่ ้ การรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลทําได้งายขึนรีเลชันทีถกสมมติขนมานี้จะไม่มการเก็บข้อมูลจริงๆ ใน ่ ้ ่ ่ ู ้ึ ี ระบบฐานข้อมูล 8   
  • 15.     2.2.5.2 ประเภทของคีย์ 1) คียผสม (Combine key หรือComposite key) หมายถึง คียทประกอบ ด้วยแอท ์ ์ ่ี ริบวต์มากกว่า 1 แอททริบวต์ เช่น รีเลชันของรายการสังอาหาร มีคย์ คือแอททริบวต์เลขทีใบสังอาหาร และ ิ ิ ่ ่ ี ิ ่ ่ แอททริบวต์รหัสรายการอาหาร เพราะใบสังอาหารแต่ละใบจะมีรายการอาหารอยูในใบสังอาหารได้มากกว่า ิ ่ ่ ่ 1 รายการ ดังนันถ้าใช้แอททริบวต์เลขทีใบสังอาหารเพียงตัวเดียวจะไม่สามารถแยกความแตกต่างแต่ละแถว ้ ิ ่ ่ ได้ 2) คียคแข่ง (Candidate key) หมายถึง แอททริบวต์ทสามารถถูกกําหนดให้เป็ นคีย์ ์ ู่ ิ ่ี ในรีเลชันได้มากกว่า 1 แอททริบวต์ เช่น รีเลชันพนักงานมีแอททริบวต์ทสามารถเป็ นคียได้ 2 แอททริบวต์ ่ ิ ่ ิ ่ี ์ ิ คือ แอททริบวต์รหัสพนักงาน กับแอททริบวต์เลขทีบตรประชาชน ดังนันในรีเลชันพนักงานสามารถเลือกแอ ิ ิ ่ ั ้ ่ ททริบวต์ตวใดตัวหนึ่งเป็ นคียกได้ ิ ั ์ ็ 3) คียหลัก (Primary key) หมายถึง คียคแข่งทีถูกกําหนดให้เป็ นคียเพือระบุแถวใน ์ ์ ู่ ่ ์ ่ รีเลชัน ซึงคียหลักอาจเป็ นแอททริบวต์หรือกลุ่มของแอททริบวต์กได้ แต่คาทีมตองไม่ซ้าและต้องไม่เป็ นค่า ่ ่ ์ ิ ิ ็ ่ ่ ี ้ ํ ว่าง ส่วนแอททริบวต์ทเี่ ป็ น คียคแข่งแต่ไม่ถูกเลือกเป็ นคียหลักเรียกว่า คียรอง (Alternate Key หรือ ิ ์ ู่ ์ ์ Secondary Key) 4) คียนอก (Foreign key) หมายถึง คียทแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างรีเลชัน ์ ์ ่ี ่ กล่าวคือ แอททริบวต์ หรือกลุ่มของแอททริบวต์ทเี่ ป็ นคียหลักในรีเลชันหนึ่งสามารถเป็ นคียนอกของรีเลชัน ิ ิ ์ ่ ์ ่ อื่นๆ ได้ เช่น รีเลชันพนักงานมีรหัสพนักงานเป็ นคียหลัก ส่วนรีเลชันใบสังอาหารมีเลขทีใบสังเป็นคียหลัก ่ ์ ่ ่ ่ ่ ์ และมีรหัสพนักงานเป็ นคียนอก ์ (1) แอททริบวต์ทเี่ ป็ นคียนอกมีคาว่างได้ แต่ถาคียนอก เป็ นกลุ่มของแอทท ิ ์ ่ ้ ์ ริบวต์ จะไม่สามารถมีคาว่างได้ ิ ่ (2) ค่าของแอททริบวต์ ทีเป็ นคียนอกสามารถซํ้ากันได้ ิ ่ ์ (3) รีเลชันหนึ่งๆ มีหรือไม่มคยนอกได้ แต่ทุกรีเลชันต้องมีคยหลักเสมอ ่ ี ี ์ ่ ี ์ 2.2.5.3 คุณสมบัตของ Relational ิ 1) ข้อมูลในแต่ละแถวไม่ซ้ากัน โดยระบบจัดการฐานข้อมูล มีกลไกทีใช้ในการ ํ ่ ควบคุมไม่ให้เกิดการซํ้าซ้อนของข้อมูล เช่น รีเลชันพนักงานมีแอททริบวต์รหัสพนักงานเป็ นคีย์ เมือมีการ ่ ิ ่ ป้อนรหัสพนักงานซํ้ากันระบบจะการแจ้งเตือนว่ารหัสพนักงานซํ้าซ้อนกัน 2) การเรียงลําดับข้อมูลในแต่ละแถวไม่เป็ นสาระสําคัญ เนื่องจากการเรียกใช้ขอมูล ้ ในรีเลชันสามารถเรียกใช้ตามความต้องการของผูใช้ ่ ้ 3) การเรียงลําดับของแอททริบวต์ไม่เป็นสาระสําคัญ เพราะการอ้างอิงแอททริบวต์ ิ ิ ใดๆ จะใช้ช่อของแอททริบวต์นนๆ ในการอ้างอิง ไม่ใช้ลาดับทีของแอททริบวต์ ื ิ ั้ ํ ่ ิ 4) ค่าของข้อมูลในแต่ละแอททริบวต์จะเป็ นค่าของข้อมูลประเภทเดียวกัน เช่น แอ ิ ททริบวต์วนเกิด จะเก็บข้อมูลประเภทวันที่ ไม่ใช่เงินเดือนทีเป็ นตัวเลข ิ ั ่ 9   
  • 16.     5) ค่าของข้อมูลในแต่ละแอททริบวต์ของแถวหนึ่งๆ จะเก็บข้อมูลได้เพียงค่าเดียว ิ (Single Value) ไม่ใช่กลุ่มของข้อมูลทีแสดงค่ามากกว่าหนึ่งแถว (Repeating Group) ่ 2.2.6 Entity Relationship Model (ER Model) เป็ นเครืองมือในการอธิบายโครงสร้างของฐานข้อมูลในระดับ Conceptual ออกมาในลักษณะของ ่ แผนภาพ ทีงายต่อความเข้าใจ เพือใช้สอสารระหว่างนักออกแบบฐานข้อมูล และผูใช้ ่่ ่ ่ื ้ 2.2.6.1 ส่วนประกอบของ ER model 1) เอนทิต้ี (Entity) คือบุคคล สถานที่ วัตถุ หรือเหตุการณ์ทเี่ ราสนใจ โดยทัวไปแล้วเอนทิต้ี ่ จะมีกลุ่มทีบอกคุณสมบัตทบอกลักษณะของเอนทิต้ี เช่น พนักงานมีรหัส ชื่อ นามสกุล โดยจะมีคาของ ่ ิ ่ี ่ คุณสมบัตบางกลุ่มทีทาให้สามารถแยกเอนทิตออกจากเอนทิตอ่นได้ เช่น รหัสพนักงานทีจะไม่มพนักงานคน ิ ่ ํ ้ี ้ี ื ่ ี ไหนใช้ซ้ากันเลย เราเรียกค่าของคุณสมบัตกลุ่มนี้วาเป็น คีย์ ของเอนทิต้ี เอนทิตสามารถแบ่งได้ดงนี้ ํ ิ ่ ้ี ั (1) เอนทิตปกติ (Regular Entity หรือ Strong Entity) คือเอนทิตทวๆ ไป ทีมแอ ้ี ้ี ั ่ ่ ี ททริบวต์หนึ่งแยกความแตกต่างของข้อมูลแต่ละแถวได้ โดยไม่ตองอาศัยแอททริบวต์ของเอนทิตอ่น ิ ้ ิ ้ี ื สัญลักษณ์ของเอนทิตปกติ ้ี (2) เอนทิตแบบอ่อน (Weak Entity) คือเอนทิตทตองอาศัยแอททริบวต์จากเอนทิต้ี ้ี ้ี ่ี ้ ิ อื่นมาช่วยในแยกความแตกต่างของข้อมูลแต่ละแถว 2.2.6.2 แอททริบวต์ (Attribute) คือคุณสมบัตหรือลักษณะของเอนทิต้ี เช่น แอททริบวต์ของ ิ ิ ิ พนักงาน ประกอบด้วย รหัสพนักงาน, ชือ, นามสกุล, วันเกิด โดยมีช่อของแอททริบวต์กากับอยูภายใน และ ่ ื ิ ํ ่ มีเส้นเชื่อมต่อกับเอนทิตแอททริบวต์สามารถแบ่งได้ 6 ประเภท ้ี ิ 1) Simple Attributeแอททริบวต์ทไม่สามารถแบ่งแยกย่อยได้อก เช่น เพศ, ิ ่ี ี เงินเดือนสัญลักษณ์ของแอททริบวต์ ิ 2) Composite Attributeมีลกษณะตรงข้ามกับแบบ Simple Attribute ทีสามารถ ั ่ แบ่งแยกย่อยไปได้อก เช่น แอททริบวต์ ชื่อสกุล สามารถแบ่งออกได้เป็ นแอททริบวต์ช่อ และ แอททริบวต์ ี ิ ิ ื ิ นามสกุล 3) Key Attributeแอททริบวต์ทสามารถบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของเอนทิตนนได้ และ ิ ่ี ้ี ั ้ แอททริบวต์ประเภทนี้มคาไม่ซ้ากันสัญลักษณ์ของ Key Attribute ิ ี่ ํ 4) Single - Valued Attributeแอททริบวต์ทมคาของข้อมูลได้เพียงแค่คาเดียว เช่น ิ ่ี ี ่ ่ แอททริบวต์เพศ ทีระบุได้เพียง ชาย หรือ หญิง เท่านัน เพราะมนุษย์มเี พียงเพศเดียว ิ ่ ้ 5) Multi - Valued Attributeมีลกษณะตรงข้ามกับแบบ Single Attribute ทีสามารถ ั ่ มีคาของข้อมูลได้หลายค่า เช่น พนักงานแต่ละคนมีระดับการศึกษาทีแตกต่างกันสัญลักษณ์ของ Multi- ่ ่ Valued Attribute 6) Derived Attributeเป็ นแอททริบวต์ทได้มาจากการคํานวณ โดยอาศัยค่าในแอทท ิ ่ี ริบวต์อ่นๆ เช่น ค่าของอายุ ทีได้มาจากแอททริบวต์วนเกิด สัญลักษณ์ของ Derived Attribute ิ ื ่ ิ ั 10   
  • 17.     2.2.6.3 รีเลชัน (Relation)เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิต้ี เช่น รีเลชันระหว่างเอนทิต้ี ่ ่ นักงานกับเอนทิตใบสังอาหาร มีความสัมพันธ์ คือ พนักงานเป็ นคนเขียนใบสังอาหารทีรบรายการมาจาก ้ี ่ ่ ่ั ลูกค้า 2.3 รหัสแท่ง (Barcode) [3] Barcode Scanner หรือ เครืองอ่านบาร์โค๊ด คือ เป็ นอุปกรณ์ทใช้อานข้อมูลทีอยูในแท่งบาร์โค้ด ่ ่ี ่ ่ ่ แล้วแปลงให้เป็ นข้อมูลทีสามารถเข้าใจได้โดยคอมพิวเตอร์หน้าทีของเครืองอ่านบาร์โค้ด ่ ่ ่ 1. หา Elements ทีถูกต้องของ Bar และ Space ่ 2. กําหนดส่วนกว้างของแต่ละ Bar และ Space 3. จัดกลุ่มของบาร์โค้ดทีอานเข้ามา ่่ 4. นํา Element Widths เปรียบเทียบกับรูปแบบตารางบาร์โค้ด 5. ตรวจสอบ Start/Stop Characters เวลาทีมการอ่านกลับทิศทาง ่ ี 6. ยืนยัน Quiet Zone ทังสองข้างของบาร์โค้ด ้ 7. ยืนยันความถูกต้องของ Check Characters 2.3.1 หลักการทํางานของเครืองอ่านบาร์โค๊ด ่ 1. เครืองอ่าน (Reader) ฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด หรือ แหล่งกําเนิดแสง (Light Source) ่ ภายในเครืองอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด และกวาดแสงอ่านผ่านแท่งบาร์ ่ รูปที่ 2.1แสดงตัวอย่างรหัสแท่ง 11   
  • 18.     2. รับแสงทีสะท้อนกลับมาจากตัวบาร์โค๊ด ฉายการอ่านบาร์โค้ดจะใช้หลักการสะท้อนแสง ่ กลับมาทีตวรับแสง ่ ั รูปที่ 2.2 แสดงการทํางานของตัวอ่านรหัสแท่ง 3. เปลียนปริมาณแสงทีสะท้อนกลับมาให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้า ภายในเครืองอ่านบาร์โค้ดจะมี ่ ่ ่ อุปกรณ์เปลียนปริมาณแสง ทีสะท้อนกลับมาให้เป็ นสัญญาณทางไฟฟ้า ่ ่ รูปที่ 2.3 แสดงตัวอย่างข้อมูลทีเครืองอ่านรหัสแปลงได้แปลงสัญญาณ ่ ่ 4. เปลียนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็ นข้อมูลทีนําไปใช้งานได้ สัญญาณไฟฟ้าจะไปเปรียบเทียบ ่ ่ กับตารางบาร์โค้ดที่ ตัวถอดรหัส (Decoder) และเปลียนให้เป็ นข้อมูลทีสามารถนําไปใช้งานได้ ่ ่ 12   
  • 19.     รูปที่ 2.4 แสดงลําดับการทํางานของเครืองอ่านรหัสแท่ง ่ สรุปหลักการทํางานของเครืองอ่านบาร์โค้ด เครืองอ่านบาร์โค้ดจะฉายแสงลงบนแท่งบาร์โค้ด แล้ว ่ ่ รับแสงทีสะท้อนกลับจากแท่งบาร์โค้ด ซึง Space จะสะท้อนแสงได้ดกว่าแท่งBar จากนันปริมาณแสง ่ ่ ี ้ สะท้อนจะถูกเปลียนไปเป็ นสัญญาณทางไฟฟ้า แล้วถูกส่งต่อไปยังตัวถอดรหัส (Decoder) และแปลงให้เป็ น ่ ข้อมูลทีสามารถนําไปใช้งานได้ ่ รูปที่ 2.5 แสดงภาพรวมการทํางาน 2.3.2 ประเภทของเครืองอ่านบาร์โค้ด จําแนกออกได้ 2 กลุ่มใหญ่คอ เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส ่ ื ่ และ เครืองอ่านบาร์โค้ด ไมสมผัส และยังสามารถแยกประเภทตามลักษณะการเคลื่อนย้ายได้ โดยแบ่งกลุ่ม ่ ่ ั เป็ นเครองอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) และ เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่ (Fixed ่ื ่ Positioning Scanners) 2.3.2.1 เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบเคลื่อนย้ายได้ (Portable) เครืองอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ ่ ่ ่ ่่ ่ ส่วนมากจะมีหน่วยความจําในตัวเอง เพือเก็บข้อมูลทีอานหรือบันทึกด้วยปุมกดสามารถนําอุปกรณ์ไปใช้ได้ ง่ายโดย สามารถพกพาได้ การอ่านรหัสแต่ละครังจะนําเอาเครืองอ่านเข้าไปยังตําแหน่งทีสนค้าอยู่ ส่วนมาก ้ ่ ่ ิ เครืองอานลักษณะนี้จะมีน้ําหนักเบา ส่วนแบบทีไม่มหน่วยความจําในตัวเองจะทํางานแบบไร้สายเหมือน ่ ่ ่ ี โทรศัพท์ไร้สาย ทีใช้ภายในบ้านซึงมีขอจํากัดเรืองระยะทาง ่ ่ ้ ่ 2.3.2.2 เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบยึดติดกับที่ (Fixed Positioning Scanners) เครือง อ่าน ่ ่ บาร์โค้ด ประเภทนี้ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ส่วนมากจะติดตังกับด้านข้าง หรือตําแหน่งใดๆ ทีเหมาะสมใน ้ ่ แนวทางวิงของสายพานลําเลียง เพืออ่านรหัสทีตดกับบรรจุภณฑ์และเคลื่อนทีผานไปตามระบบสายพาน ่ ่ ่ ิ ั ่ ่ ลําเลียง บางครังเครืองอ่านประเภทนี้จะติดตังภายในอุปกรณ์ของระบบสายพานลําเลียง เพือให้สามารถอ่าน ้ ่ ้ ่ 13   
  • 20.     อตังไว้ดานข้าง เครืองอ่านจะทําการอ่าน ื ้ ้ ่ บาร์โค้ดโดยอัตโนมัติ เมือมีวตถุเคลื่อนไหวอยูขางหน้าตัวเครือง ่ ั ่ ้ ่ 2.3.2.3 เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบสัมผัส (Contact Scanners) เครืองอ่านบาร์โค้ดประเภทนี้ ่ ่ เป็ นอุปกรณ์ทเี่ วลาอ่าน ต้องสัมผัสกับผิวหน้าของรหัสแท่ง แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือเครืองอ่านบาร์โค้ดแบบ ่ ปากกา (Pen Scanner) หรือแวนด์ (Wand) เป็ นเครืองอ่านบาร์โค้ด ที่ มีลกษณะเหมือนหัวปากกา โดยม ี ่ ั ปลายปากกาเป็ นอุปกรณ์สาหรับผลิตลําแสงเพืออ่านข้อมูล นํ้าหนักเบา พกพาสะดวก มีขอจํากัดเรือง ํ ่ ้ ่ คุณภาพฉลากต้องดีมาก เพราะหัวอ่านทีสมผสบนรหัสแท่งอาจจะทําให้รหัสลบหรือเสียหายได้ เหมาะ ่ ั ั สําหรับอ่านบาร์โค้ดบนเอกสารหรือคูปอง 2.3.2.4เครืองอ่านบาร์โค้ดแบบไม่สมผัส (Non Contact Scanner) ่ ั เป็ น เครืองอ่านบาร์โค้ด ทีมหลายรูปแบบจากแบบง่ายๆ ทีลกษณะคล้ายปี นทีเห็นตามร้านค้าปลีก จนถึง ่ ่ ี ่ ั ่ ระบบแบบ Pocket PC สามารถอ่านโดยห่างจากรหัสแท่งได้ ทําให้ทางานได้รวดเร็ว ง่ายและสะดวก โดย ํ แบ่งเป็ นหลายชนิดดังนี้ 1) เครืองอ่านบาร์โค้ดแบบ CCD (Charge Coupled Device Scanner) เครืองอ่าน ่ ่ บาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็ นเครืองอ่านราคาถูก การทํางานจะอาศัยการสะท้อนของแสงจากรหัสแท่งและช่องว่าง ่ แล้วเปลียนเป็ น สัญญาณวีดโอ เครืองอ่านแบบนี้ในขณะอ่านจะไม่มการเคลื่อนทีชนส่วน ความแม่นยําจะสูง ่ ี ่ ี ่ ้ิ กว่าแบบเลเซอร์ ใช้พลังงานน้อย อายุการใช้งานของอุปกรณ์ในการสร้างลําแสง (LED) จะยาวนานกว่า เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบนี้ยงเป็ นแบบตัดวงจรไฟอัตโนมัตในกรณีทไม่มการใช้งาน ่ ั ิ ่ี ี 2) เครืองอ่านบาร์โคดแบบ Linear Imaging เครืองอ่านบาร์โค้ด ประเภทนี้ เป็ น ่ ่ เครืองอ่านบาร์โค้ด ทีใช้หลักการอ่านโดยวิธจบภาพโดยเลนซ์รบภาพเช่นเดียวกับกล้องถ่ายรูป ทําให้ระบบ ่ ่ ีั ั หัวอ่านมีความสามารถในการอ่านในเชิงเรขาคณิตสูงกว่าเครืองอ่านแบบ CCD สามารถอ่านบาร์โค้ดขนาด ่ เล็กมากๆได้ เนื่องจากใช้การอ่านด้วยตัวเลนซ์รบภาพทําให้จบภาพได้ระยะไกลขึน อ่านได้เร็วถึง 100-450 ั ั ้ scan ต่อวินาที ดังนันจึงอาจกล่าวได้วา เครืองอ่านบาร์โค้ด แบบ Linear Imaging มีความสามารถในการ ้ ่ ่ อ่านและความเร็วในการอ่านเหนือว่าการอ่านแบบ CCD แต่มความทนทานเหมือนกัน และอ่านในระยะไกล ี ได้เทียบเท่ามาตรฐานของเครืองอ่านบาร์โค้ด แบบเลเซอร์ ่ 3) เครืองอ่านบาร์โค้ดแบบเลเซอร์ ( Laser Scanner) เครืองอ่านบาร์โค้ด ชนิดนี้ม ี ่ ่ ่ ่ วิธการทํางาน คือเมือกดปุมอ่านรหัสจะเกิดลําแสงเลเซอร์ซงมีกระจกเงาเคลื่อนทีมารับแสง แล้วสะท้อนไป ี ่ึ ่ ตกกระทบกับรหัส และผ่านเป็ นแนวเส้นตรงเพียงครังเดียว ลําแสงทียงออกมาจะมีขนาดเล็กด้วย ความถี่ ้ ่ ิ เดียว ไมกระจายออกไปนอกเขตทีตองการทําให้สามารถอ่านรหัสทีมขนาดเล็กได้ดี ่ ่ ้ ่ ี ไวดวย ้ ้ 14