SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
144

แรงจูงใจในการเลือกใช้ ยาแผนโบราณของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
(MOTIVATION IN CHOOSING TRADITIONAL MEDICINES
OF CONSUMERS IN BANGKOK)
ปิ ยพรรณ รัตนพิกุล 1 ดร. พีรพงษ์ ฟูศิริ 2
---------------------------------------------------------------บทคัดย่ อ
การศึกษาครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิ พลของปั จจัยส่ วนบุคคล ที่มีต่อ
ั
แรงจู งใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร และ
้
ความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยทางการตลาด และปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ ยวข้อง กับ
แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร โดยใช้
้
แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมื อวิจย ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล กับ กลุ่ ม ตัวอย่า งที่ เป็ น
ั
ผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครที่มีอายุต้งแต่ 18 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไปและมีประสบการณ์
้
ั
การเลือกใช้ยาแผนโบราณมาก่อน บริ เวณย่านธุ รกิจการค้าและห้างสรรพสิ นค้าขนาด
ใหญ่ที่มีชื่อเสี ยงใน 6 ปกครองที่กระจายครบทุกกลุ่มพื้นที่ในเขตกรุ งเทพมหานคร
จํานวน 400 ตัวอย่าง ระยะเวลาทําการศึกษาอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
2555 รวมประมาณ 3 เดือน และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ขอมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วน
้
เบี่ยงเบนมาตรฐาน t-Test F-Test และ MRA
ผลการศึ ก ษา พบว่า ด้า นเพศที่ แ ตกต่ า งกัน มี อิ ท ธิ ผ ลต่ อ แรงจู ง ใจในการ
เลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ส่ วนใหญ่แตกต่างกัน
้
ยกเว้น ปั จจัยด้านความรู ้สึกไว้วางใจผลิ ตภัณฑ์ยาแผนโบราณที่ได้ใช้ โดยอุ่นใจจาก
1

นักศึกษาปริ ญญาโท หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต คณะบริ หารธุ รกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิ ต
2
อาจารย์ประจําหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต คณะบริ หารธุ รกิจ
มหาวิทยาลัยรังสิ ต
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
145
ผลข้างเคียงต่างๆ และปั จจัยด้านความภูมิใจและยินดีแนะนําผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ
บอกต่อหรื อชักชวนให้บุคคลรอบข้างใช้ตามอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05
โดยปั จจัยด้านอายุ ด้านระดับการศึกษา ด้านอาชี พ และด้านรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อนที่
แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขต
้
กรุ งเทพมหานครทุ กปั จจัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปั จจัย
ทางการตลาดส่ วนใหญ่ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางจัดจําหน่าย และด้านการ
ส่ ง เสริ ม การตลาดและการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรมี ค วามสั ม พัน ธ์ กับ
แรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ยกเว้น
้
ั
ด้านราคา ไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค
้
ในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 และปั จจัยภายนอก
อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องส่ วนใหญ่ ได้แก่ ด้านครอบครัวและด้านสังคมและวัฒนธรรม ไม่มี
ความสั ม พัน ธ์ ก ับ แรงจู ง ใจในการเลื อ กใช้ ย าแผนโบราณของผู้บ ริ โภค ในเขต
ั
กรุ งเทพมหานคร ยกเว้น ด้านเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยา
แผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
้
ั
0.05
คําสํ าคัญ: แรงจูงใจ ยาแผนโบราณ
ABSTRACT
This study has objectives to study influence of personal factors on
motivation of consumers in Bangkok in choosing traditional medicines and
relationship between marketing and relating external factors and their motivation. It
utilized questionnaire to collect data from samples that are four hundred consumers
with two main required qualifications – minimum age of eighteen years and usage
experience for traditional medicines in business area and large-sized department
stores in each of six chosen districts as the representative of six administrative
districts in Bangkok. Research period includes three months during February till
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
146
April 2012 and statistic issues used to analyze the collected data consist of
percentage, mean, standard deviation, t-Test, F-Test, and MRA.
Consequence of this study conclude that gender influence most factors of
motivation in choosing traditional medicines, excluding factors of trust in no sideeffects and proud and introduction at significant level of 0.05. Age, educational
level, career and average monthly income influence all factors of motivation in
choosing traditional medicines at significant level of 0.05. Most of marketing
factors, excluding price, have relationship with the motivation. Conversely, most of
relating external factors, excluding economy, have no relationship with the
motivation at significant level of 0.05.
KEY WORDS: MOTIVATION, TRADITIONAL MEDICINES
บทนํา
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (2555); องค์การเภสัชกรรม (2555)
ยาแผนโบราณ เป็ นยาที่มุ่งหมายสําหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ ซึ่ ง
อยู่ในตํารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรี ประกาศ หรื อยาที่รัฐมนตรี ป ระกาศให้เป็ นยา
แผนโบราณ หรื อยาที่ได้รับอนุ ญาตให้ข้ ึนทะเบียนตํารับยาเป็ นยาแผนโบราณ ซึ่ งเป็ น
การนํา เอาสมุ นไพรจากพฤกษชาติ สัตว์ หรื อแร่ มาผสม ปรุ ง หรื อการแปรสภาพ
สมุนไพรที่ถูกแปรรู ปเป็ นยาแผนโบราณมีท้งที่อยูในรู ปยานํ้า ยาเม็ด หรื อแคปซูล
ั ่
ยาแผนโบราณเป็ นผลิตภัณฑ์ที่จาเป็ นต่อการรักษาโรค ที่ตองได้รับกาควบคุม
ํ
้
การผลิต และจําหน่าย ในปั จจุบนมียาแผนปั จจุบนหลายชนิดที่มีสรรพคุณในการักษา
ั
ั
เป็ นอย่างดี และสะดวกในการใช้ แต่อาจมีราคาสู งและอาจส่ งผลข้างเคียงได้ ยาแผน
โบราณจึงกลายเป็ นทางเลือกสอดคล้องกับกระแสนิยมของสังคม ทําให้มีควาต้องการ
ใช้ยาแผนโบราณและยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นเป็ นจํานวนมาก ที่ช่วยสร้างโอกาสทางธุ รกิจ
ได้เป็ นอย่างดีภายใต้การดําเนินการที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ผูวิจย ได้ใ ห้ค วามสํา คัญต้องการใช้ย าโดยเฉพาะแผนโบราณและเล็ ง เห็ น
้ ั
ช่องทางธุ รกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมยา จึงตัดสิ นใจเลือกศึกษาแรงจูงใจในการเลือกใช้
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
147
ยาแผนโบราณของผูบริ โภค ในเขตกรุ งเทพมหานคร โดยมุ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์
้
ของปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปั จจัยส่ วนบุคคล ปั จจัยทางการตลาด และปั จจัยภาย
ต่างๆ ประกอบด้วย ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่มีต่อพฤติกรรมและ
แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค โดยหวังเป็ นอย่างยิงว่าได้ทราบ
้
่
ถึ งพฤติ กรรมการเลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ใน
้
ปั จจุบน และทราบถึงความสัมพันธ์ของปั จจัยต่างๆ ที่เลือกศึกษากับแรงจูงใจในการ
ั
เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร เพื่อนําไปใช้เป็ นแนวทาง
้
ในการวางแผนการผลิตและการจําหน่ายยาที่มีประสิ ทธิ ภาพตรงกับความต้องการของ
ผูบรโภคมากขึ้น รวมทั้งการใช้เป็ นข้อมูลสําหรับการอ้างอิงสําหรับผูประกอบการใน
้
้
ธุ รกิจยาต่อไป
วัตถุประสงค์ ในการวิจัย
1. เพื่อศึกษอิทธิ พลของปั จจัยส่ วนบุคคล ที่มีต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยา
แผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยทางการตลาด และแรงจูงใจในการ
เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และ
แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ
ี่
1. ทําให้ทราบถึ งพฤติกรรมการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค ในเขต
้
กรุ งเทพมหานคร และความสัมพันธ์ของปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการ
เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
2. ทําให้ได้ขอมู ลที่ เป็ นประโยชน์ต่อผูประกอบการในธุ รกิ จยา ทั้งแผน
้
้
ปั จจุ บ นและแผนโบราณ รวมถึ งสมุ นไพรต่า งๆ ที่ ส ามารถนํา ไปปรั บ ใช้เป็ นแนว
ั
ทางการดํา เนิ น ธุ ร กิ จ วางแผนการผลิ ต และการตลาดเพื่ อ ให้ส ามารถตอบสนอง
ผูบริ โภคได้อย่างเหมาะสม และตรงกับความต้องการมากขึ้น
้

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
148
สมมติฐานของการวิจัย
1. ปั จจัยส่ วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีอิทธิผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครแตกต่างกัน
้
2. ปั จจัยทางการตลาดมี ค วามสัม พันธ์ กับ แรงจูง ใจในการเลื อกใช้ยาแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
3. ปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์ กับแรงจูงใจในการเลือกใช้
ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
กรอบแนวคิด
ตัวแปรอิสระ

ปัจจัยส่ วนบุคคล

1.
2.

เพศ อายุ ระดับการศึกษา
อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน

3.
4.
5.
6.

ปัจจัยทางการตลาด
ผลิตภัณฑ์
ราคา
ช่องทางจัดจําหน่าย
การส่ งเสริ มตลาดและการสื่ อสารการตลาด
แบบครบวงจร

ตัวแปรตาม

7.
8.
9.

แรงจูงใจในการ
เลือกใช้ ยาแผน
โบราณของผู้บริโภค
ในเขต
กรุ งเทพมหานคร

ปัจจัยภายนอกอืนๆ ที่เกียวข้ อง
่
่
ครอบครัว
เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
149
แนวคิด

แนวคิ ด ทฤษฎี และงานวิจยที่ เกี่ ยวข้องในการศึ กษาเรื่ องแรงจูงใจในการ
ั
เลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบ ริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ในครั้ ง นี้ ครอบคลุ ม
้
เนื้อหาสําคัญต่างๆ ได้แก่
องค์การเภสัชกรรม (2555) ยาแผนโบราณ ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรื อบําบัดโรค ซึ่ งอยู่ในตํารา
ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรี ประกาศหรื อยาที่รัฐมนตรี ประกาศเป็ นยาแผนโบราณ หรื อ
ยาที่ได้รับอนุญาตให้ข้ ึนทะเบียนตํารับยาเป็ นยาแผนโบราณ
Schiffman and Kanuk (2000) พฤติกรรมผูบริ โภค หมายถึ ง กระบวนและ
้
กิ จกรรมต่างๆ ที่บุคคลเข้าไปมีส่วนเกี่ ยวข้องในการเสาะแสวงหา การเลือก การซื้ อ
การใช้ การประเมินผล และการใช้สอยผลิตภัณฑ์และบริ การ เพื่อสนองความต้องการ
และปรารถนาอยากได้ให้ได้รับความพึงพอใจ
พงษ์พฒน์ รักอารมณ์ (2555) แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง กระบวนการที่ชก
ั
ั
นําโน้มน้าวให้บุคคลเกิดความมานะพยายามเพื่อสนองตอบความต้องการบางประการ
ให้บรรลุผลสําเร็ จ
Kurtz (2008) ส่ วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง การ
ผสมผสาน 4 กลยุทธ์ ประกอบด้วยผลิ ตภัณฑ์ การกํา หนดราคา ช่ องทางการจัดจํา
หนาย และการส่ งเสริ มการตลาด เพื่อกําหนดความต้องการและความชื่ นชอบในตลาด
เป้ าหมาย
ระเบียบวิธีวจัย
ิ
การวิจยครั้งนี้ เป็ นการวิจยเชิ งปริ มาณแบบสํารวจ (Quantitative and Survey
ั
ั
Research) โดยใช้แบบสอบถามที่ มี่โครงสร้ างของกลุ่มข้อคําถามแบบปลายปิ ด 4
ส่ วนและในส่ วนของการให้แสดงข้อแนะนําในด้านต่างๆ อย่างอิสระ เป็ นเครื่ องมือ
วิจยสําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลกับผูบริ โภคที่มีอายุต้ งแต่ 18 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไปและมี
ั
้
ั
ประสบการณ์การเลือกใช้ยาแผนโบราณมาก่อนในเขตพญาไท 45 คน เขตปทุมวัน 35

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
150
คน เขตลาดพร้าว 74 คน เขตบางกะปิ 91 คน เขตธนบุรี 75 คน และเขตภาษีเจริ ญ 80
คน รวม 400 ตัวอย่าง
สถิ ติที่ใช้วิเคราะห์ขอมูลในการศึกษาครั้ งนี้ จําแนกออกได้เป็ น สถิ ติเชิ ง
้
พรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test One-way ANOVA
(F-test) โดยทําการเปรี ยบเที ยบแบบรายคู่ (post hoc test) ของฟิ ชเชอร์ (Fisher’s
Least-Significant Difference: LSD) และ Multiple Regression Analysis (MRA)
อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ั
สรุ ปผลการวิจัย
1. สรุปผลการวิเคราะห์ ข้อมูลส่ วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง ร้อยละ 60.00 มีอายุระหว่าง 3135 ปี ร้อยละ 31.00 สําเร็ จการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี ร้ อยละ 30.00 มี อาชี พเป็ น
พนักงานบริ ษทเอกชน ร้ อยละ 46.50 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001ั
30,000 บาท ร้อยละ 30.00
2. สรุ ปผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัย
ทางการตลาด
พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปั จจัยทางการตลาดในภาพรวมให้
ความสําคัญด้านการส่ งเสริ มการตลาด และการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรมาก
ที่สุด ตามมาด้วยด้านช่องทางจัดจําหน่าย ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคาตามลําดับ
ในการพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในด้านผลิตภัณฑ์
โดยให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านความเป็ นธรรมชาติ หรื อสมุนไพรของผลิตภัณฑ์ยา
แผนโบราณส่ งผลทําให้ไม่มีผลข้างเคียงที่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายมากที่สุด ด้านราคา
ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านราคา ที่ถูกกว่าราคาของผลิตภัณฑ์ยาแผนปั จจุบนมาก
ั
ที่สุด ด้านช่ องทางจัดจําหน่าย ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านสถานที่จาหน่ายที่ต้ งอยู่
ํ
ั
ใกล้ที่พก ที่ทางานหรื อสถานศึกษามากที่สุด และด้านการส่ งเสริ มการตลาดและการ
ั
ํ
สื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านประเภทของการสื่ อสาร

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
151
การตลาด และจํานวนของประเภทการสื่ อสารการตลาดและการผสมผสานการใช้การ
สื่ อสารการตลาดเท่ากันมากที่สุด
3. สรุ ปผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัย
ภายนอกอืนๆ ทีเ่ กียวข้ อง
่
่
พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องใน
ภาพรวมให้ความสําคัญด้านครอบครัวมากที่สุด ตามมาด้วยด้านสังคมและวัฒนธรรม
และด้านเศรษฐกิจตามลําดับ
ในการพิจารณารายด้าน กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในด้านครอบครัว โดยให้
ความสําคัญกับปั จจัยด้านบทบาทของผูริเริ่ มในครอบครัวมากที่สุด ด้านเศรษฐกิจ ให้
้
ความสําคัญกับปั จจัยด้านขนาดของตลาด และสภาพการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ยาแผน
โบราณมากที่สุด และด้านสังคมและวัฒนธรรม ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านทัศนคติ
และความเชื่อเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรรักษาโรคมากที่สุด
4. สรุ ปผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกียวกับ
่
แรงจูงใจในการเลือกใช้ ยาแผนโบราณของผู้บริโภค
กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็น เกี่ยวกับแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ
โดยให้ความสําคัญมากที่สุด กับปั จจัยด้านความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ
ที่สามารถรักษาโรคให้หายได้ตามที่ตองการ
้
5. สรุปผลข้ อเสนอแนะ
กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 6 ราย คิดเป็ นร้ อยละ 1.50 ให้ขอเสนอแนะตามด้าน
้
ต่างๆ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านราคาของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ
ด้านช่องทางจัดจําหน่ายของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านการส่ งเสริ มการตลาดและ
การสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรสําหรับผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านครอบครัว
ั
ในมุมมองที่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ ด้านเศรษฐกิจที่
มี ค วามสั ม พัน ธ์ ก ับ แรงจู ง ใจในการเลื อ กใช้ ย าแผนโบราณ ด้า นการสั ง คมที่ มี
ความสั ม พันธ์ ก ับ แรงจู ง ใจในการเลื อกใช้ย าแผนโบราณ และด้า นวัฒนธรรมที่ มี
ั
ความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
152
5.1.6 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน
สมมติฐานที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคลที่แตกต่างกันมีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการ
เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครแตกต่างกัน
้
พบว่า ด้า นเพศที่ แตกต่ างกันมี อิท ธิ ผลต่อแรงจูง ใจในการเลื อกใช้ย าแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครส่ วนใหญ่แตกต่างกัน ยกเว้น ปั จจัยด้าน
้
ความรู้สึกไว้วางใจผลิ ตภัณฑ์ยาแผนโบราณที่ได้ใช้ โดยอุ่นใจจากผลข้างเคียงต่างๆ
และปั จจัยด้า นความภู มิ ใ จและยินดี แนะนํา ผลิ ตภัณฑ์ย าแผนโบราณ บอกต่อหรื อ
ชักชวนให้บุคคลรอบข้างใช้ตามอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ั
ด้านอายุที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณ
ของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครทุกปั จจัยแตกต่างกันอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่
้
ั
ระดับ 0.05 โดยมี 10 คู่ของช่วงอายุที่มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
ด้านระดับการศึ กษาที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ย า
แผนโบราณของผู ้บ ริ โ ภคในเขตกรุ ง เทพมหานครทุ ก ปั จ จัย แตกต่ า งกัน อย่ า งมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมี 9 คู่ของระดับการศึกษา ที่มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจ
ในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
ด้านอาชีพที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณ
ของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครทุกปั จจัยแตกต่างกันอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่
้
ั
ระดับ 0.05 โดยมี 5 คู่ของอาชี พที่มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ
ของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
ด้านรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อนที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้
ยาแผนโบราณของผูบ ริ โภคในเขตกรุ ง เทพมหานครทุ ก ปั จจัยแตกต่า งกัน อย่า งมี
้
นัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยมี 11 คู่ของรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อนที่ มีอิทธิ ผลต่อ
แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
สมมติฐานที่ 2 ปั จจัยทางการตลาดมีความสัมพันธ์ กับแรงจูงใจในการ
เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
153
พบว่า ด้า นผลิ ต ภัณ ฑ์มี ค วามสั ม พันธ์ ก ับ แรงจูง ใจในการเลื อ กใช้ย าแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
้
ั
ั
ด้านราคา ไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของ
ผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
้
ั
ั
ด้านช่ องทางจัดจําหน่ าย มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
้
ั
ด้า นการส่ ง เสริ มการตลาด และการสื่ อ สารการตลาดแบบครบวงจรมี
ความสั ม พัน ธ์ กับ แรงจู ง ใจในการเลื อ กใช้ย าแผนโบราณของผูบ ริ โ ภคในเขต
้
กรุ งเทพมหานคร อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ั
ทั้ง นี้ ปั จจั ย ทางการตลาดส่ วนใหญ่ ยกเว้น ปั จ จั ย ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี
ความสัมพันธ์เชิ งบวกกับแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขต
้
กรุ งเทพมหานคร อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
ั
ั
สมมติฐานที่ 3 ปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจใน
การเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร
้
ั
พบว่า ด้านครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผน
โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
้
ั
ั
ด้านเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของ
ผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
้
ั
ั
ด้านสังคมและวัฒนธรรม ไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยา
แผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ
้
0.05
อภิปรายผลการวิจัย
ผลการศึกษาในครั้งนี้ สอดคล้องกับผลการศึกษาของนภัสรัญชน์ ฤกษ์เรื อง
ฤทธิ์ (2553) เรื่ อ งปั จ จัย ที่ มี อิท ธิ พ ลต่ อ การใช้ย าสมุ น ไพรในโรงพยาบาลอู่ ท อง
จังหวัดสุ พรรณบุรี ของชริ นชัย เจริ ญสิ ริวิไล (2550) เรื่ องพฤติกรรมการใช้บริ การ
และปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิ พลต่อการเลือกร้านขายยาแผนปั จจุบน
ั
ในกรุ งเทพมหานคร ของพิสิทธิ์ ลํ้าประเสริ ฐ (2547) เรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ อ
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
154
ยาพาราเซตามอลของประชาชนในเขตกรุ งเทพมหานคร ของปี ฐพล รัตนจินดา (2551)
เรื่ องปั จจัยทางการตลาด ที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค
้
ในเขตกรุ ง เทพมหานคร ของอุ ไ รวรรณ์ อัศ วภู มิ (2550) เรื่ อ งทัศ นคติ ที่ มี ต่ อ ยา
สมุ นไพรของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร และของมัณฑนา ทรัพย์เจริ ญพันธ์
้
(2550) เรื่ องพฤติกรรมการบริ โภคยาแผนโบราณในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนบน
ข้ อเสนอแนะ
1. ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้
ผูป ระกอบการผลิ ตและจํา หน่ ายยาแผนโบราณควรให้ค วามสํา คัญกับ ทุ ก
้
ปั จจัยที่เกี่ยวข้องตามข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ ดังนี้
ด้านผลิตภัณฑ์ ควรมีการควบคุมการผลิตตลอดกระบวนการอย่างจริ งจังเพื่อ
ป้ องกันการใช้สารมี พิษผสมในยาแผนโบราณ และสร้างความมันใจแก้ผูบริ โภคใน
้
่
การเลือกใช้ยาที่มาจากธรรมชาติอย่างแท้จริ งที่ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ซึ่ งสอดคล้องกับ
การให้ ค วามสํ า คัญ ของผูบ ริ โ ภคเกี่ ย วกับ ความเป็ นธรรมชาติ ห รื อ สมุ น ไพรของ
้
ผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ส่ งผลทําให้ไม่มีผลข้างเคียงที่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายมาก
ที่สุด
ด้านราคา ควรมีการควบคุมในการกําหนดราคาให้มีมาตรฐานสมเหตุสมผล
ตามต้น ทุ น การผลิ ต และความต้อ งการในตลาด และมี ร าคาที่ ถู ก กว่า ราคาของ
ผลิตภัณฑ์ยาแผนปั จจุบน
ั
ด้านช่ องทางจัดจําหน่ าย ควรมีการส่ งเสริ มให้มีการวางจําหน่ ายยาแผน
โบราณร่ วมกับร้านจําหน่ายยาแผนปั จจุบน มากขึ้น เพื่อเพิ่มช่องทางและการกระจาย
ั
จุดจําหน่ายให้สามารถเข้าถึงได้มากและง่ายขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับการที่ผูบริ โภคให้
้
ความสําคัญต่อสถานที่จาหน่ายที่ต้งอยูใกล้ที่พก ที่ทางาน หรื อสถานศึกษามากที่สุด
ํ
ั ่
ั ํ
ด้านการส่ งเสริ มการตลาดและการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร ควรเน้น
ความสามารถในการเข้าถึงในข้อมูลข่าวสาร ประเภทการสื่ อสารการตลาดจึงความมี
ความหลากหลายและใช้ร่วมกันตามความเหมาะสมให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดที่มี
ความสอดคล้องกับผลการศึกษาในครั้งนี้
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
155
ด้านครอบครัว ควรให้ความสําคัญต่อบทบาทของการริ เริ่ มจากครอบครัว
เนื่ องจากครอบครั วเป็ นสถาบันพื้ นฐานที่ มี ค วามสํา คัญในการจูง ใจให้ส มาชิ ก ใน
ครอบครัวเลือกใช้ยาแผนโบราณได้โดยง่าย
ด้า นเศรษฐกิ จ ควรเน้ น ทางเลื อ กในการรั ก ษาโรคที่ มี คุ ณ ภาพและ
ประสิ ทธิ ภาพแต่มีตนทุนไม่สูงของยาแผนโบราณสกัดมาจากสมุนไพร ซึ่ งมีความ
้
เหมาะสมกับ ภาวะเศรษฐกิ จโดยทัวไป อีก ทั้ง เป็ นแนวทางการส่ ง เสริ ม สภาพการ
่
แข่งขันของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณได้อีกด้วย
ด้านการสังคมและวัฒนธรรม ควรทําการตลาดบนพื้นฐานของทุนเดิมในด้าน
ทัศนคติ และความเชื่ อเกี่ ยวกับการใช้สมุนไพรรักษาโรคของผูบริ โภค ทํา ให้ใ ช้
้
แรงจูง ใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณได้ง่าย ทั้งนี้ ควรทําใช้ประโยชน์จากความ
หลากหลายทางชี วภาพในด้านสมุนไพรของประเทศ และทําการวิจยเพื่อพัฒนายา
ั
แผนโบราณให้ มี ค วามหลากหลายในการรั ก ษาให้ ค รอบคลุ ม โรค ได้ อ ย่ า งมี
ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
2. ข้ อเสนอแนะในครั้งต่ อไป
ควรต่อยอดการศึกษา โดยเลือกทําการศึกษาตัวแปรอื่นๆ เพื่อให้ได้ขอมูลที่มี
้
ความหลายหลากมากขึ้น
ควรทํา การศึ ก ษากลุ่ ม ตัว อย่า งนอกเหนื อจากกลุ่ ม ประชากรเป้ าหมายใน
งานวิจยครั้งนี้ ซึ่ งอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่อื่นๆ เพื่อให้ได้ขอมูลที่มีมุมมองแตกต่างกัน
ั
้
มากขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของผูบริ โภคหลากหลายกลุ่มมากขึ้น
้
เอกสารอ้างอิง
กมลวัฒน์ ธรรมรักษา. “คุณค่ าตราสิ นค้ าและการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร
(IMC) ทีมีผลต่ อพฤติกรรมการใช้ ผลิตภัณฑ์ นํายาเปลี่ยนสี ผมในเขต
่
้
กรุงเทพมหานคร.” สารนิพนธ์หลักสู ตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการ, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทร์ วโรฒ,
ิ
2553

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
156
กรมการปกครอง. จํานวนประชากรและประชากรแยกรายอายุ. ระบบบริ การข้อมูล
ประชากร, กระทรวงมหาดไทย, 2554
กฤษติกา คงสมพงษ์. “การสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร สํ าคัญต่ อการตลาดยุคใหม่
อย่ างไร.” บทความ, Marketeer Magazine ฉบับที่ 63 พฤษภาคม 2548
กิตติพนธ์ คงสวัสดิเกียรติและคณะ. ระเบียบวิธีวจัยทางธุรกิจ. กรุ งเทพมหานคร:
ั
ิ
เพียร์ สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า, 2552
่
คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แนวคิดและทฤษฎีด้านประชากรศาสตร์ .
เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน, 2554
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. แรงจูงใจ. คู่มือประกอบการสอนประจํา
สาขาวิชาสังคมศึกษา, 2554
่
จิตราภรณ์ วันใจ. “ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดทีมีผลต่ อการตัดสิ นใจจัดจําหน่ าย
ยาสมุนไพรไทยของผู้ประกอบการร้ านขายยา จังหวัดเชี ยงราย.” รายงาน
การศึกษาอิสระสาขาวิชาการจัดการทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัย
่
ราชภัฏเชียงราย, 2548
จิรชยา ติรณะประกิจ. “ทัศนคติของผู้บริโภคทีมีต่อร้ านขายยาในเขต
่
กรุงเทพมหานคร.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจ
มหาบัณฑิตสําหรับนักบริ หาร สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทัวไป, คณะ
่
บริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2554
ชริ นชัย เจริ ญสิ ริวไล. “พฤติกรรมการใช้ บริการและปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่
ิ
มีอทธิพลต่ อการเลือกร้ านขายยาแผนปัจจุบันในกรุงเทพมหานคร.” รายงาน
ิ
การศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2550
่
ไซมอน โชติอนันต์. “การสื่ อสารการตลาดครบวงจร.” บทความ, วารสารบริ ษท ซิ ม
ั
แอนด์ซน คอมมิวนิเคชัน (ประเทศไทย) จํากัด. 2554
ั
่
ธงชัย สันติวงศ์. พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนา
พาณิ ช, 2517
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
157
ธงชัย สันติวงษ์. พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุ งเทพมหานคร:
ไทยวัฒนา, 2540
ธี รพันธ์ โล่ห์ทองคํา. กลยุทธ์ สื่อสารการตลาดแบบครบวงจร. กรุ งเทพมหานคร: ทิป
ปิ้ ง พอยท์, 2544
นภัสรัญชน์ ฤกษ์เรื องฤทธิ์ . “ปัจจัยทีมีอทธิพลต่ อการใช้ ยาสมุนไพรในโรงพยาบาลอู่
่ ิ
ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี.” วิทยานิพนธ์สาธารณสุ ขศาสตรมหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2553
ปริ ญ ลักษิตานนท์. การบริหารตลาดยุคใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: ธี ระฟิ ลม์และไซเท็กซ์,
2541
ปี ฐพล รัตนจินดา. “ปัจจัยทางการตลาดทีมีอทธิพลต่ อพฤติกรรมการใช้ ยาแผนโบราณ
่ ิ
ของผู้บริ โภคในเขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตรบริ หารธุรกิจ
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช,
2551
พงษ์พฒน์ รักอารมณ์. พฤติกรรมองค์ กร. คู่มือประกอบการเรี ยนการสอนวิชา
ั
พฤติกรรมองค์กร, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2555
พรรณราย ทรพยะประภา. จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุ งเทพมหานคร: โอ เอส พริ้ นติง
้
เฮาส์, 2529
พรรษพล มังกรพิศม์. “IMC Choose The Best for Grest”, บทความ, นิตยสาร
BrandAge ประจําเดือนตุลาคม 2549
พระปลัดวีระนันท์ วีรนนุ โท เจริ ญราช. “ความพึงพอใจในการใช้ ยาสมุนไพรของ
ประชาชนในตําบลท่ าวุ้ง อําเภอท่าวุ่ง จังหวัดลพบุรี.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตร
ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี,
2550
พวงเพชร วัชรอยู่ และสุ ปราณี สนธิ รัตน์. จิตวิทยาทัวไป. กรุ งเทพมหานคร: เนติกุล
่
การพิมพ์, 2537

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
158
พิสิทธิ์ ลํ้าประเสริ ฐ. “ปัจจัยทีมีผลต่ อการเลือกซื้อยาพาราเซตามอลของประชาชนใน
่
เขตกรุ งเทพมหานคร.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจ
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ,
่
มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2547
มัณฑนา ทรัพย์เจริ ญพันธ์. “พฤติกรรมการบริโภคยาแผนโบราณในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตรบริ หารธุรกิจ
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช,
2550
รุ จาภา แพ่งเกษร. การบริหารการตลาด (Marketing Management). เอกสาร
ประกอบการเรี ยนการสอนหลักสู ตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย
รังสิ ต, 2555
วิไลลักษณ์ ภูประเสริ ฐ. “การใช้ ยาสมุนไพรของประชาชนในเมืองท่าพระบาท แขวง
บอลิคําไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา
สาธารณสุ ขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารสาธารณสุ ข,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553
วิทยาลัยการอาชีพเทิง. หน่ วยที่ 9: ความสั มพันธ์ ระหว่ างธุรกิจกับเศรษฐกิจและสั งคม
ของประเทศ. คู่มือประกอบการสอน, 2555
วิลาวัณย์ อภิจรรยาธรรม. “ความพึงพอใจของลูกค้ าทีมีต่อส่ วนประสมทางการตลาด
่
ของร้ านขายยาฟาสซิโน สาขาศิริราช.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ
หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิตสําหรับนักบริ หาร สาขาวิชาการจัดการ
ธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2550
่
ศิริวรรณ เสรี รัตน์. การบริ หารการตลาดยุคใหม่ . พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุ งเทพมหานคร:
พัฒนาศึกษา, 2541
ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ. การบริ หารการตลาดยุคใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: ธี ระ
ฟิ ล์มและไซเท็กซ์, 2541

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
159
ศุภวุฒิ สายเชื้อ. “สภาวะถดถอยของเศรษฐกิจโลก: ผลกระทบต่ อประเทศไทย.”
บทความ, วารสารสมาคมส่ งเสริ มผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ
้
ขนาดย่อมไทย (สสวท.) สาขาเชียงใหม่-ลําพูน, 2554
สํานักยา. กฎหมายยา. เอกสารแจก, 2555
สําอางค์ งามวิชา. การบริ หารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุ งเทพมหานคร: โอเดียนส
โตร์ , 2543
สุ ชา จันทน์เอม. จิตวิทยาทัวไป. กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2533
่
สุ ดาพร กุณฑลบุตร. หลักการตลาดสมัยใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2550
สุ ภาภรณ์ พลนิกร. พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุ งเทพมหานคร: โฮลิสติก
พับลิชชิ่ง, 2548
เสนาะ ติเยาว์. หลักการบริหาร. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2543
เสรี วงษ์มณฑา. ครบเครื่องเรื่ องการสื่ อสารการตลาด. กรุ งเทพมหานคร: วิสิทธิ์ พฒนา,
ั
2540
องค์การเภสัชกรรม. “ยาแผนโบราณ.” วารสารองค์การเภสัชกรรม. ธันวาคม 2554
อดุลย์ จาตุรงคกุล. การโฆษณา. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2518
อรุ ณี รุ่ งจิรา. “ปัจจัยทีมีผลต่ อการตัดสิ นใจเลือกซื้อสิ นค้ าแผนกยาและผลิตภัณฑ์ เพือ
่
่
สุ ขภาพในร้ านวัตสั นของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.” รายงาน
การศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2550
่
อารี พันธ์มณี . จิตวิทยาสร้ างสรรค์ การเรี ยนการสอน. กรุ งเทพมหานคร: ใยไหม เอดดิ
เคท, 2546
อุไรวรรณ์ อัศวภูมิ. “ทัศนคติทมีต่อยาสมุนไพรของผู้บริโภคในเขต
ี่
กรุ งเทพมหานคร.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจ
มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช,
2550
( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
160
Armstrong, Gary and Kotler, Phillip. Marketing and Introduction. 6th Edition,
New Jersey: Pearson Education, 2003
Bolles, R. C. Theory of Motivation. New York: Harper & Row, 1967
Cherrington, D. J. Organizational Behavior: The Management of Individual and
Organizational Performance. 2nd Edition, Boston: Allyn and Bacon, 1994
Cronbach, Lee J. Coefficient Alpha And The Internal Structure Of Tests.
Psychometrika, 1951
Daft, R. L. Management. 5th Edition, New York: Harcourt College, 2000
Dubrin, A. J. and Ireland, R. D. Management and Organization. 2nd Edition,
Cincinnati, OH: South Western, 1993
Engel, James F., Blackwell, Roger D., and Minard, A. Faul. Consumer Behavior.
7th Edition,
Fort Worth: The Dryden Press, 1993
Etzel, Michael J., Walker, Bruce J. and Stanton, William J. Marketing. 12th
Edition, Boston: McGraw-Hill, 2001
Griffin, R. W. Management. 6th Edition, New York: Houghton Miflin, 1999
Ivancevich , John M. and Matteson, Michael T. Organizational Behavior and
Management.
6th Edition, New York: McGraw- Hill Companies, 2002
Kotler, Philip. Marketing Management. 10th Edition, New Jersey: Prentice-Hall,
2000
Kotler, Philip. Marketing Management. 11th Edition, New Jersey: Prentice-Hall,
2003
Kotler, Philip and Armstrong, Gary. Principles of Marketing. 9th Edition, New
Jersey: Prentice Hall, 2001

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
161
Kurtz, David L. Principles of Contemporary Marketing. China: South-Western,
2008
Loudon, David L. and Bitta, Albert. Marketing by Menu. New York: Van
Nostrand Reinlord , 1993
Luthans, F. Organizational Behavior. Singapore: McGraw-Hill, 1992
Schermerhorn, John R. , Hunt, James G. and Osborn, Richard N. Organizational
Behavior. 8th Edition, USA: John Wiley & Sons, 2003
Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie Lazar. Consumer Behavior. 7th Edition,
New Jersey:
Prentice-Hall, 2000
Schultz, Don E., Tannenbaum, Stanley, and Lauterborn, Robert F. The New
Marketing Paradigm: Integrated Marketing Communications. USA:
McGraw-Hill, 2008
Turner, Ronna C. and Carlson, Laurie. “Indexes of Item-Objective Congruence
for Multidimensional Items.” International Journal of Testing Volume 3
Number 2. 2003
Vroom, V. H. Work and Motivation. Harmondsworth, England: Penguin, 1995
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ข่ าวประชาสั มพันธ์ ข้ อมูลกฎหมาย สาระน่ า
รู้ . ข้อมูลออนไลน์, 2555 เข้าถึงได้จาก http://www.fda.moph.go.th
สํานักผังเมือง. ผังเมืองรวม 2549. ข้อมูลออนไลน์, 2555 เข้าถึงได้จาก
http://www.bma-cpd.go.th
องค์การเภสัชกรรม. รู้ เรื่องยา. ข้อมูลออนไลน์, 2555 เข้าถึงได้จาก
http://www.gpo.or.th

( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางหลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.Utai Sukviwatsirikul
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1Utai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (12)

Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
A
AA
A
 
Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางหลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
หลักเกณ์การพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอาง
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
 
AIM2201
AIM2201AIM2201
AIM2201
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 1
 

Destaque

01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas
01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas
01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & GasGREEN INTERNATIONAL
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled PresentationKhanh Ehost
 
004 ajhoon chet_ghawar
004 ajhoon chet_ghawar004 ajhoon chet_ghawar
004 ajhoon chet_ghawarsureshpal360
 
eLearning in Romania: the State of the Art
eLearning in Romania: the State of the ArteLearning in Romania: the State of the Art
eLearning in Romania: the State of the ArteLearning Papers
 
MKG Corporate Profile
MKG Corporate ProfileMKG Corporate Profile
MKG Corporate ProfileSOMESH KUMAR
 
Company profile[1]
Company profile[1]Company profile[1]
Company profile[1]Jazheel My
 
Institutional presentation 2_q15
Institutional presentation 2_q15Institutional presentation 2_q15
Institutional presentation 2_q15Kianne Paganini
 
Wearinasia business kit
Wearinasia business kitWearinasia business kit
Wearinasia business kitAndrew Gunawan
 
Resume_Aug_2015_Amended_1
Resume_Aug_2015_Amended_1Resume_Aug_2015_Amended_1
Resume_Aug_2015_Amended_1Jonathan Mix
 
Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)
Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)
Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)AHMED HASSAN
 
CV Ibnu Sodik.xlsx
CV  Ibnu Sodik.xlsxCV  Ibnu Sodik.xlsx
CV Ibnu Sodik.xlsxIbnu Sodik
 
Foreword - Holy Quran
Foreword - Holy QuranForeword - Holy Quran
Foreword - Holy QuranNoor Al Islam
 

Destaque (20)

Cpns sar 2013
Cpns sar 2013Cpns sar 2013
Cpns sar 2013
 
01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas
01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas
01 Corporate Profile Green Intl_PM Services,Training and Oil & Gas
 
Analis de la oracion
Analis de la oracionAnalis de la oracion
Analis de la oracion
 
Untitled Presentation
Untitled PresentationUntitled Presentation
Untitled Presentation
 
004 ajhoon chet_ghawar
004 ajhoon chet_ghawar004 ajhoon chet_ghawar
004 ajhoon chet_ghawar
 
CEM AX Retail Plus
CEM AX Retail PlusCEM AX Retail Plus
CEM AX Retail Plus
 
A.Manigandan -CV 24-06-15
A.Manigandan -CV 24-06-15A.Manigandan -CV 24-06-15
A.Manigandan -CV 24-06-15
 
eLearning in Romania: the State of the Art
eLearning in Romania: the State of the ArteLearning in Romania: the State of the Art
eLearning in Romania: the State of the Art
 
MKG Corporate Profile
MKG Corporate ProfileMKG Corporate Profile
MKG Corporate Profile
 
BPC_Profile_2015
BPC_Profile_2015BPC_Profile_2015
BPC_Profile_2015
 
Company profile[1]
Company profile[1]Company profile[1]
Company profile[1]
 
Institutional presentation 2_q15
Institutional presentation 2_q15Institutional presentation 2_q15
Institutional presentation 2_q15
 
Wearinasia business kit
Wearinasia business kitWearinasia business kit
Wearinasia business kit
 
CUA Transcript
CUA TranscriptCUA Transcript
CUA Transcript
 
Resume_Aug_2015_Amended_1
Resume_Aug_2015_Amended_1Resume_Aug_2015_Amended_1
Resume_Aug_2015_Amended_1
 
Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)
Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)
Detailed Professional Profile (Ahmed HASSAN)
 
Project head Electrical
Project head ElectricalProject head Electrical
Project head Electrical
 
SIMON CHERIYAN - CV
SIMON CHERIYAN - CVSIMON CHERIYAN - CV
SIMON CHERIYAN - CV
 
CV Ibnu Sodik.xlsx
CV  Ibnu Sodik.xlsxCV  Ibnu Sodik.xlsx
CV Ibnu Sodik.xlsx
 
Foreword - Holy Quran
Foreword - Holy QuranForeword - Holy Quran
Foreword - Holy Quran
 

Semelhante a Piyapan

ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfRabbitBlock
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthUtai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)kamolwantnok
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3Utai Sukviwatsirikul
 
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014Chuchai Sornchumni
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาDMS Library
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 

Semelhante a Piyapan (20)

ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
 
Mark30955nk abs
Mark30955nk absMark30955nk abs
Mark30955nk abs
 
Mark30955nk abs
Mark30955nk absMark30955nk abs
Mark30955nk abs
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
ใบความรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
Convenient pharmacy
Convenient pharmacyConvenient pharmacy
Convenient pharmacy
 
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
F
FF
F
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3อาหารสุขภาพ 3
อาหารสุขภาพ 3
 
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Mais de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Piyapan

  • 1. 144 แรงจูงใจในการเลือกใช้ ยาแผนโบราณของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร (MOTIVATION IN CHOOSING TRADITIONAL MEDICINES OF CONSUMERS IN BANGKOK) ปิ ยพรรณ รัตนพิกุล 1 ดร. พีรพงษ์ ฟูศิริ 2 ---------------------------------------------------------------บทคัดย่ อ การศึกษาครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิ พลของปั จจัยส่ วนบุคคล ที่มีต่อ ั แรงจู งใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร และ ้ ความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยทางการตลาด และปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ ยวข้อง กับ แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร โดยใช้ ้ แบบสอบถามเป็ นเครื่ องมื อวิจย ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล กับ กลุ่ ม ตัวอย่า งที่ เป็ น ั ผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครที่มีอายุต้งแต่ 18 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไปและมีประสบการณ์ ้ ั การเลือกใช้ยาแผนโบราณมาก่อน บริ เวณย่านธุ รกิจการค้าและห้างสรรพสิ นค้าขนาด ใหญ่ที่มีชื่อเสี ยงใน 6 ปกครองที่กระจายครบทุกกลุ่มพื้นที่ในเขตกรุ งเทพมหานคร จํานวน 400 ตัวอย่าง ระยะเวลาทําการศึกษาอยู่ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน 2555 รวมประมาณ 3 เดือน และสถิติที่ใช้วิเคราะห์ขอมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วน ้ เบี่ยงเบนมาตรฐาน t-Test F-Test และ MRA ผลการศึ ก ษา พบว่า ด้า นเพศที่ แ ตกต่ า งกัน มี อิ ท ธิ ผ ลต่ อ แรงจู ง ใจในการ เลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ส่ วนใหญ่แตกต่างกัน ้ ยกเว้น ปั จจัยด้านความรู ้สึกไว้วางใจผลิ ตภัณฑ์ยาแผนโบราณที่ได้ใช้ โดยอุ่นใจจาก 1 นักศึกษาปริ ญญาโท หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยรังสิ ต 2 อาจารย์ประจําหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยรังสิ ต ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 2. 145 ผลข้างเคียงต่างๆ และปั จจัยด้านความภูมิใจและยินดีแนะนําผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ บอกต่อหรื อชักชวนให้บุคคลรอบข้างใช้ตามอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยปั จจัยด้านอายุ ด้านระดับการศึกษา ด้านอาชี พ และด้านรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อนที่ แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขต ้ กรุ งเทพมหานครทุ กปั จจัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปั จจัย ทางการตลาดส่ วนใหญ่ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางจัดจําหน่าย และด้านการ ส่ ง เสริ ม การตลาดและการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรมี ค วามสั ม พัน ธ์ กับ แรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ยกเว้น ้ ั ด้านราคา ไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค ้ ในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 และปั จจัยภายนอก อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องส่ วนใหญ่ ได้แก่ ด้านครอบครัวและด้านสังคมและวัฒนธรรม ไม่มี ความสั ม พัน ธ์ ก ับ แรงจู ง ใจในการเลื อ กใช้ ย าแผนโบราณของผู้บ ริ โภค ในเขต ั กรุ งเทพมหานคร ยกเว้น ด้านเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยา แผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ ้ ั 0.05 คําสํ าคัญ: แรงจูงใจ ยาแผนโบราณ ABSTRACT This study has objectives to study influence of personal factors on motivation of consumers in Bangkok in choosing traditional medicines and relationship between marketing and relating external factors and their motivation. It utilized questionnaire to collect data from samples that are four hundred consumers with two main required qualifications – minimum age of eighteen years and usage experience for traditional medicines in business area and large-sized department stores in each of six chosen districts as the representative of six administrative districts in Bangkok. Research period includes three months during February till ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 3. 146 April 2012 and statistic issues used to analyze the collected data consist of percentage, mean, standard deviation, t-Test, F-Test, and MRA. Consequence of this study conclude that gender influence most factors of motivation in choosing traditional medicines, excluding factors of trust in no sideeffects and proud and introduction at significant level of 0.05. Age, educational level, career and average monthly income influence all factors of motivation in choosing traditional medicines at significant level of 0.05. Most of marketing factors, excluding price, have relationship with the motivation. Conversely, most of relating external factors, excluding economy, have no relationship with the motivation at significant level of 0.05. KEY WORDS: MOTIVATION, TRADITIONAL MEDICINES บทนํา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (2555); องค์การเภสัชกรรม (2555) ยาแผนโบราณ เป็ นยาที่มุ่งหมายสําหรับใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ ซึ่ ง อยู่ในตํารายาแผนโบราณที่รัฐมนตรี ประกาศ หรื อยาที่รัฐมนตรี ป ระกาศให้เป็ นยา แผนโบราณ หรื อยาที่ได้รับอนุ ญาตให้ข้ ึนทะเบียนตํารับยาเป็ นยาแผนโบราณ ซึ่ งเป็ น การนํา เอาสมุ นไพรจากพฤกษชาติ สัตว์ หรื อแร่ มาผสม ปรุ ง หรื อการแปรสภาพ สมุนไพรที่ถูกแปรรู ปเป็ นยาแผนโบราณมีท้งที่อยูในรู ปยานํ้า ยาเม็ด หรื อแคปซูล ั ่ ยาแผนโบราณเป็ นผลิตภัณฑ์ที่จาเป็ นต่อการรักษาโรค ที่ตองได้รับกาควบคุม ํ ้ การผลิต และจําหน่าย ในปั จจุบนมียาแผนปั จจุบนหลายชนิดที่มีสรรพคุณในการักษา ั ั เป็ นอย่างดี และสะดวกในการใช้ แต่อาจมีราคาสู งและอาจส่ งผลข้างเคียงได้ ยาแผน โบราณจึงกลายเป็ นทางเลือกสอดคล้องกับกระแสนิยมของสังคม ทําให้มีควาต้องการ ใช้ยาแผนโบราณและยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นเป็ นจํานวนมาก ที่ช่วยสร้างโอกาสทางธุ รกิจ ได้เป็ นอย่างดีภายใต้การดําเนินการที่ถูกต้องตามกฎหมาย ผูวิจย ได้ใ ห้ค วามสํา คัญต้องการใช้ย าโดยเฉพาะแผนโบราณและเล็ ง เห็ น ้ ั ช่องทางธุ รกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมยา จึงตัดสิ นใจเลือกศึกษาแรงจูงใจในการเลือกใช้ ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 4. 147 ยาแผนโบราณของผูบริ โภค ในเขตกรุ งเทพมหานคร โดยมุ่งศึกษาถึงความสัมพันธ์ ้ ของปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ปั จจัยส่ วนบุคคล ปั จจัยทางการตลาด และปั จจัยภาย ต่างๆ ประกอบด้วย ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่มีต่อพฤติกรรมและ แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค โดยหวังเป็ นอย่างยิงว่าได้ทราบ ้ ่ ถึ งพฤติ กรรมการเลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ใน ้ ปั จจุบน และทราบถึงความสัมพันธ์ของปั จจัยต่างๆ ที่เลือกศึกษากับแรงจูงใจในการ ั เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร เพื่อนําไปใช้เป็ นแนวทาง ้ ในการวางแผนการผลิตและการจําหน่ายยาที่มีประสิ ทธิ ภาพตรงกับความต้องการของ ผูบรโภคมากขึ้น รวมทั้งการใช้เป็ นข้อมูลสําหรับการอ้างอิงสําหรับผูประกอบการใน ้ ้ ธุ รกิจยาต่อไป วัตถุประสงค์ ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษอิทธิ พลของปั จจัยส่ วนบุคคล ที่มีต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยา แผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยทางการตลาด และแรงจูงใจในการ เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และ แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ ี่ 1. ทําให้ทราบถึ งพฤติกรรมการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค ในเขต ้ กรุ งเทพมหานคร และความสัมพันธ์ของปั จจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการ เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ 2. ทําให้ได้ขอมู ลที่ เป็ นประโยชน์ต่อผูประกอบการในธุ รกิ จยา ทั้งแผน ้ ้ ปั จจุ บ นและแผนโบราณ รวมถึ งสมุ นไพรต่า งๆ ที่ ส ามารถนํา ไปปรั บ ใช้เป็ นแนว ั ทางการดํา เนิ น ธุ ร กิ จ วางแผนการผลิ ต และการตลาดเพื่ อ ให้ส ามารถตอบสนอง ผูบริ โภคได้อย่างเหมาะสม และตรงกับความต้องการมากขึ้น ้ ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 5. 148 สมมติฐานของการวิจัย 1. ปั จจัยส่ วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีอิทธิผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครแตกต่างกัน ้ 2. ปั จจัยทางการตลาดมี ค วามสัม พันธ์ กับ แรงจูง ใจในการเลื อกใช้ยาแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ 3. ปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์ กับแรงจูงใจในการเลือกใช้ ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ กรอบแนวคิด ตัวแปรอิสระ ปัจจัยส่ วนบุคคล 1. 2. เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 3. 4. 5. 6. ปัจจัยทางการตลาด ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางจัดจําหน่าย การส่ งเสริ มตลาดและการสื่ อสารการตลาด แบบครบวงจร ตัวแปรตาม 7. 8. 9. แรงจูงใจในการ เลือกใช้ ยาแผน โบราณของผู้บริโภค ในเขต กรุ งเทพมหานคร ปัจจัยภายนอกอืนๆ ที่เกียวข้ อง ่ ่ ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 6. 149 แนวคิด แนวคิ ด ทฤษฎี และงานวิจยที่ เกี่ ยวข้องในการศึ กษาเรื่ องแรงจูงใจในการ ั เลื อกใช้ยาแผนโบราณของผูบ ริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ในครั้ ง นี้ ครอบคลุ ม ้ เนื้อหาสําคัญต่างๆ ได้แก่ องค์การเภสัชกรรม (2555) ยาแผนโบราณ ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 หมายถึง ยาที่ใช้ในการประกอบโรคศิลปะแผนโบราณหรื อบําบัดโรค ซึ่ งอยู่ในตํารา ยาแผนโบราณที่รัฐมนตรี ประกาศหรื อยาที่รัฐมนตรี ประกาศเป็ นยาแผนโบราณ หรื อ ยาที่ได้รับอนุญาตให้ข้ ึนทะเบียนตํารับยาเป็ นยาแผนโบราณ Schiffman and Kanuk (2000) พฤติกรรมผูบริ โภค หมายถึ ง กระบวนและ ้ กิ จกรรมต่างๆ ที่บุคคลเข้าไปมีส่วนเกี่ ยวข้องในการเสาะแสวงหา การเลือก การซื้ อ การใช้ การประเมินผล และการใช้สอยผลิตภัณฑ์และบริ การ เพื่อสนองความต้องการ และปรารถนาอยากได้ให้ได้รับความพึงพอใจ พงษ์พฒน์ รักอารมณ์ (2555) แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง กระบวนการที่ชก ั ั นําโน้มน้าวให้บุคคลเกิดความมานะพยายามเพื่อสนองตอบความต้องการบางประการ ให้บรรลุผลสําเร็ จ Kurtz (2008) ส่ วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง การ ผสมผสาน 4 กลยุทธ์ ประกอบด้วยผลิ ตภัณฑ์ การกํา หนดราคา ช่ องทางการจัดจํา หนาย และการส่ งเสริ มการตลาด เพื่อกําหนดความต้องการและความชื่ นชอบในตลาด เป้ าหมาย ระเบียบวิธีวจัย ิ การวิจยครั้งนี้ เป็ นการวิจยเชิ งปริ มาณแบบสํารวจ (Quantitative and Survey ั ั Research) โดยใช้แบบสอบถามที่ มี่โครงสร้ างของกลุ่มข้อคําถามแบบปลายปิ ด 4 ส่ วนและในส่ วนของการให้แสดงข้อแนะนําในด้านต่างๆ อย่างอิสระ เป็ นเครื่ องมือ วิจยสําหรับเก็บรวบรวมข้อมูลกับผูบริ โภคที่มีอายุต้ งแต่ 18 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไปและมี ั ้ ั ประสบการณ์การเลือกใช้ยาแผนโบราณมาก่อนในเขตพญาไท 45 คน เขตปทุมวัน 35 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 7. 150 คน เขตลาดพร้าว 74 คน เขตบางกะปิ 91 คน เขตธนบุรี 75 คน และเขตภาษีเจริ ญ 80 คน รวม 400 ตัวอย่าง สถิ ติที่ใช้วิเคราะห์ขอมูลในการศึกษาครั้ งนี้ จําแนกออกได้เป็ น สถิ ติเชิ ง ้ พรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test One-way ANOVA (F-test) โดยทําการเปรี ยบเที ยบแบบรายคู่ (post hoc test) ของฟิ ชเชอร์ (Fisher’s Least-Significant Difference: LSD) และ Multiple Regression Analysis (MRA) อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั สรุ ปผลการวิจัย 1. สรุปผลการวิเคราะห์ ข้อมูลส่ วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง ร้อยละ 60.00 มีอายุระหว่าง 3135 ปี ร้อยละ 31.00 สําเร็ จการศึกษาในระดับปริ ญญาตรี ร้ อยละ 30.00 มี อาชี พเป็ น พนักงานบริ ษทเอกชน ร้ อยละ 46.50 และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001ั 30,000 บาท ร้อยละ 30.00 2. สรุ ปผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัย ทางการตลาด พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปั จจัยทางการตลาดในภาพรวมให้ ความสําคัญด้านการส่ งเสริ มการตลาด และการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรมาก ที่สุด ตามมาด้วยด้านช่องทางจัดจําหน่าย ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคาตามลําดับ ในการพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในด้านผลิตภัณฑ์ โดยให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านความเป็ นธรรมชาติ หรื อสมุนไพรของผลิตภัณฑ์ยา แผนโบราณส่ งผลทําให้ไม่มีผลข้างเคียงที่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายมากที่สุด ด้านราคา ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านราคา ที่ถูกกว่าราคาของผลิตภัณฑ์ยาแผนปั จจุบนมาก ั ที่สุด ด้านช่ องทางจัดจําหน่าย ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านสถานที่จาหน่ายที่ต้ งอยู่ ํ ั ใกล้ที่พก ที่ทางานหรื อสถานศึกษามากที่สุด และด้านการส่ งเสริ มการตลาดและการ ั ํ สื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านประเภทของการสื่ อสาร ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 8. 151 การตลาด และจํานวนของประเภทการสื่ อสารการตลาดและการผสมผสานการใช้การ สื่ อสารการตลาดเท่ากันมากที่สุด 3. สรุ ปผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัย ภายนอกอืนๆ ทีเ่ กียวข้ อง ่ ่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องใน ภาพรวมให้ความสําคัญด้านครอบครัวมากที่สุด ตามมาด้วยด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านเศรษฐกิจตามลําดับ ในการพิจารณารายด้าน กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในด้านครอบครัว โดยให้ ความสําคัญกับปั จจัยด้านบทบาทของผูริเริ่ มในครอบครัวมากที่สุด ด้านเศรษฐกิจ ให้ ้ ความสําคัญกับปั จจัยด้านขนาดของตลาด และสภาพการแข่งขันของผลิตภัณฑ์ยาแผน โบราณมากที่สุด และด้านสังคมและวัฒนธรรม ให้ความสําคัญกับปั จจัยด้านทัศนคติ และความเชื่อเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรรักษาโรคมากที่สุด 4. สรุ ปผลการวิเคราะห์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกียวกับ ่ แรงจูงใจในการเลือกใช้ ยาแผนโบราณของผู้บริโภค กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็น เกี่ยวกับแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ โดยให้ความสําคัญมากที่สุด กับปั จจัยด้านความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ที่สามารถรักษาโรคให้หายได้ตามที่ตองการ ้ 5. สรุปผลข้ อเสนอแนะ กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 6 ราย คิดเป็ นร้ อยละ 1.50 ให้ขอเสนอแนะตามด้าน ้ ต่างๆ ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านราคาของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านช่องทางจัดจําหน่ายของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านการส่ งเสริ มการตลาดและ การสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจรสําหรับผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ด้านครอบครัว ั ในมุมมองที่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ ด้านเศรษฐกิจที่ มี ค วามสั ม พัน ธ์ ก ับ แรงจู ง ใจในการเลื อ กใช้ ย าแผนโบราณ ด้า นการสั ง คมที่ มี ความสั ม พันธ์ ก ับ แรงจู ง ใจในการเลื อกใช้ย าแผนโบราณ และด้า นวัฒนธรรมที่ มี ั ความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 9. 152 5.1.6 สรุปผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานที่ 1 ปั จจัยส่ วนบุคคลที่แตกต่างกันมีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการ เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครแตกต่างกัน ้ พบว่า ด้า นเพศที่ แตกต่ างกันมี อิท ธิ ผลต่อแรงจูง ใจในการเลื อกใช้ย าแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครส่ วนใหญ่แตกต่างกัน ยกเว้น ปั จจัยด้าน ้ ความรู้สึกไว้วางใจผลิ ตภัณฑ์ยาแผนโบราณที่ได้ใช้ โดยอุ่นใจจากผลข้างเคียงต่างๆ และปั จจัยด้า นความภู มิ ใ จและยินดี แนะนํา ผลิ ตภัณฑ์ย าแผนโบราณ บอกต่อหรื อ ชักชวนให้บุคคลรอบข้างใช้ตามอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั ด้านอายุที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณ ของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครทุกปั จจัยแตกต่างกันอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ ้ ั ระดับ 0.05 โดยมี 10 คู่ของช่วงอายุที่มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ ด้านระดับการศึ กษาที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ย า แผนโบราณของผู ้บ ริ โ ภคในเขตกรุ ง เทพมหานครทุ ก ปั จ จัย แตกต่ า งกัน อย่ า งมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมี 9 คู่ของระดับการศึกษา ที่มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจ ในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ ด้านอาชีพที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณ ของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครทุกปั จจัยแตกต่างกันอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ ้ ั ระดับ 0.05 โดยมี 5 คู่ของอาชี พที่มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณ ของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ ด้านรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อนที่แตกต่างกัน มีอิทธิ ผลต่อแรงจูงใจในการเลือกใช้ ยาแผนโบราณของผูบ ริ โภคในเขตกรุ ง เทพมหานครทุ ก ปั จจัยแตกต่า งกัน อย่า งมี ้ นัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ 0.05 โดยมี 11 คู่ของรายได้เฉลี่ ยต่อเดื อนที่ มีอิทธิ ผลต่อ แรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ สมมติฐานที่ 2 ปั จจัยทางการตลาดมีความสัมพันธ์ กับแรงจูงใจในการ เลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 10. 153 พบว่า ด้า นผลิ ต ภัณ ฑ์มี ค วามสั ม พันธ์ ก ับ แรงจูง ใจในการเลื อ กใช้ย าแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ้ ั ั ด้านราคา ไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของ ผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ้ ั ั ด้านช่ องทางจัดจําหน่ าย มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ้ ั ด้า นการส่ ง เสริ มการตลาด และการสื่ อ สารการตลาดแบบครบวงจรมี ความสั ม พัน ธ์ กับ แรงจู ง ใจในการเลื อ กใช้ย าแผนโบราณของผูบ ริ โ ภคในเขต ้ กรุ งเทพมหานคร อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ั ทั้ง นี้ ปั จจั ย ทางการตลาดส่ วนใหญ่ ยกเว้น ปั จ จั ย ด้ า นผลิ ต ภั ณ ฑ์ มี ความสัมพันธ์เชิ งบวกกับแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขต ้ กรุ งเทพมหานคร อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ั ั สมมติฐานที่ 3 ปั จจัยภายนอกอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจใน การเลือกใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร ้ ั พบว่า ด้านครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผน โบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ้ ั ั ด้านเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยาแผนโบราณของ ผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ้ ั ั ด้านสังคมและวัฒนธรรม ไม่มีความสัมพันธ์กบแรงจูงใจในการเลือกใช้ยา แผนโบราณของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานครอย่างมีนัยสําคัญทางสถิ ติที่ระดับ ้ 0.05 อภิปรายผลการวิจัย ผลการศึกษาในครั้งนี้ สอดคล้องกับผลการศึกษาของนภัสรัญชน์ ฤกษ์เรื อง ฤทธิ์ (2553) เรื่ อ งปั จ จัย ที่ มี อิท ธิ พ ลต่ อ การใช้ย าสมุ น ไพรในโรงพยาบาลอู่ ท อง จังหวัดสุ พรรณบุรี ของชริ นชัย เจริ ญสิ ริวิไล (2550) เรื่ องพฤติกรรมการใช้บริ การ และปั จจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิ พลต่อการเลือกร้านขายยาแผนปั จจุบน ั ในกรุ งเทพมหานคร ของพิสิทธิ์ ลํ้าประเสริ ฐ (2547) เรื่ องปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้ อ ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 11. 154 ยาพาราเซตามอลของประชาชนในเขตกรุ งเทพมหานคร ของปี ฐพล รัตนจินดา (2551) เรื่ องปั จจัยทางการตลาด ที่มีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมการใช้ยาแผนโบราณของผูบริ โภค ้ ในเขตกรุ ง เทพมหานคร ของอุ ไ รวรรณ์ อัศ วภู มิ (2550) เรื่ อ งทัศ นคติ ที่ มี ต่ อ ยา สมุ นไพรของผูบริ โภคในเขตกรุ งเทพมหานคร และของมัณฑนา ทรัพย์เจริ ญพันธ์ ้ (2550) เรื่ องพฤติกรรมการบริ โภคยาแผนโบราณในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนบน ข้ อเสนอแนะ 1. ข้ อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ผูป ระกอบการผลิ ตและจํา หน่ ายยาแผนโบราณควรให้ค วามสํา คัญกับ ทุ ก ้ ปั จจัยที่เกี่ยวข้องตามข้อเสนอแนะในด้านต่างๆ ดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ ควรมีการควบคุมการผลิตตลอดกระบวนการอย่างจริ งจังเพื่อ ป้ องกันการใช้สารมี พิษผสมในยาแผนโบราณ และสร้างความมันใจแก้ผูบริ โภคใน ้ ่ การเลือกใช้ยาที่มาจากธรรมชาติอย่างแท้จริ งที่ไม่มีผลข้างเคียงใดๆ ซึ่ งสอดคล้องกับ การให้ ค วามสํ า คัญ ของผูบ ริ โ ภคเกี่ ย วกับ ความเป็ นธรรมชาติ ห รื อ สมุ น ไพรของ ้ ผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ส่ งผลทําให้ไม่มีผลข้างเคียงที่เป็ นอันตรายต่อร่ างกายมาก ที่สุด ด้านราคา ควรมีการควบคุมในการกําหนดราคาให้มีมาตรฐานสมเหตุสมผล ตามต้น ทุ น การผลิ ต และความต้อ งการในตลาด และมี ร าคาที่ ถู ก กว่า ราคาของ ผลิตภัณฑ์ยาแผนปั จจุบน ั ด้านช่ องทางจัดจําหน่ าย ควรมีการส่ งเสริ มให้มีการวางจําหน่ ายยาแผน โบราณร่ วมกับร้านจําหน่ายยาแผนปั จจุบน มากขึ้น เพื่อเพิ่มช่องทางและการกระจาย ั จุดจําหน่ายให้สามารถเข้าถึงได้มากและง่ายขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับการที่ผูบริ โภคให้ ้ ความสําคัญต่อสถานที่จาหน่ายที่ต้งอยูใกล้ที่พก ที่ทางาน หรื อสถานศึกษามากที่สุด ํ ั ่ ั ํ ด้านการส่ งเสริ มการตลาดและการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร ควรเน้น ความสามารถในการเข้าถึงในข้อมูลข่าวสาร ประเภทการสื่ อสารการตลาดจึงความมี ความหลากหลายและใช้ร่วมกันตามความเหมาะสมให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดที่มี ความสอดคล้องกับผลการศึกษาในครั้งนี้ ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 12. 155 ด้านครอบครัว ควรให้ความสําคัญต่อบทบาทของการริ เริ่ มจากครอบครัว เนื่ องจากครอบครั วเป็ นสถาบันพื้ นฐานที่ มี ค วามสํา คัญในการจูง ใจให้ส มาชิ ก ใน ครอบครัวเลือกใช้ยาแผนโบราณได้โดยง่าย ด้า นเศรษฐกิ จ ควรเน้ น ทางเลื อ กในการรั ก ษาโรคที่ มี คุ ณ ภาพและ ประสิ ทธิ ภาพแต่มีตนทุนไม่สูงของยาแผนโบราณสกัดมาจากสมุนไพร ซึ่ งมีความ ้ เหมาะสมกับ ภาวะเศรษฐกิ จโดยทัวไป อีก ทั้ง เป็ นแนวทางการส่ ง เสริ ม สภาพการ ่ แข่งขันของผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณได้อีกด้วย ด้านการสังคมและวัฒนธรรม ควรทําการตลาดบนพื้นฐานของทุนเดิมในด้าน ทัศนคติ และความเชื่ อเกี่ ยวกับการใช้สมุนไพรรักษาโรคของผูบริ โภค ทํา ให้ใ ช้ ้ แรงจูง ใจในการเลื อกใช้ยาแผนโบราณได้ง่าย ทั้งนี้ ควรทําใช้ประโยชน์จากความ หลากหลายทางชี วภาพในด้านสมุนไพรของประเทศ และทําการวิจยเพื่อพัฒนายา ั แผนโบราณให้ มี ค วามหลากหลายในการรั ก ษาให้ ค รอบคลุ ม โรค ได้ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น 2. ข้ อเสนอแนะในครั้งต่ อไป ควรต่อยอดการศึกษา โดยเลือกทําการศึกษาตัวแปรอื่นๆ เพื่อให้ได้ขอมูลที่มี ้ ความหลายหลากมากขึ้น ควรทํา การศึ ก ษากลุ่ ม ตัว อย่า งนอกเหนื อจากกลุ่ ม ประชากรเป้ าหมายใน งานวิจยครั้งนี้ ซึ่ งอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่อื่นๆ เพื่อให้ได้ขอมูลที่มีมุมมองแตกต่างกัน ั ้ มากขึ้นและสอดคล้องกับความต้องการของผูบริ โภคหลากหลายกลุ่มมากขึ้น ้ เอกสารอ้างอิง กมลวัฒน์ ธรรมรักษา. “คุณค่ าตราสิ นค้ าและการสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ทีมีผลต่ อพฤติกรรมการใช้ ผลิตภัณฑ์ นํายาเปลี่ยนสี ผมในเขต ่ ้ กรุงเทพมหานคร.” สารนิพนธ์หลักสู ตรปริ ญญาบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทร์ วโรฒ, ิ 2553 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 13. 156 กรมการปกครอง. จํานวนประชากรและประชากรแยกรายอายุ. ระบบบริ การข้อมูล ประชากร, กระทรวงมหาดไทย, 2554 กฤษติกา คงสมพงษ์. “การสื่ อสารการตลาดแบบครบวงจร สํ าคัญต่ อการตลาดยุคใหม่ อย่ างไร.” บทความ, Marketeer Magazine ฉบับที่ 63 พฤษภาคม 2548 กิตติพนธ์ คงสวัสดิเกียรติและคณะ. ระเบียบวิธีวจัยทางธุรกิจ. กรุ งเทพมหานคร: ั ิ เพียร์ สัน เอ็ดดูเคชัน อินโดไชน่า, 2552 ่ คณะบริ หารธุ รกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แนวคิดและทฤษฎีด้านประชากรศาสตร์ . เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน, 2554 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. แรงจูงใจ. คู่มือประกอบการสอนประจํา สาขาวิชาสังคมศึกษา, 2554 ่ จิตราภรณ์ วันใจ. “ปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดทีมีผลต่ อการตัดสิ นใจจัดจําหน่ าย ยาสมุนไพรไทยของผู้ประกอบการร้ านขายยา จังหวัดเชี ยงราย.” รายงาน การศึกษาอิสระสาขาวิชาการจัดการทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัย ่ ราชภัฏเชียงราย, 2548 จิรชยา ติรณะประกิจ. “ทัศนคติของผู้บริโภคทีมีต่อร้ านขายยาในเขต ่ กรุงเทพมหานคร.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจ มหาบัณฑิตสําหรับนักบริ หาร สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทัวไป, คณะ ่ บริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2554 ชริ นชัย เจริ ญสิ ริวไล. “พฤติกรรมการใช้ บริการและปัจจัยส่ วนประสมทางการตลาดที่ ิ มีอทธิพลต่ อการเลือกร้ านขายยาแผนปัจจุบันในกรุงเทพมหานคร.” รายงาน ิ การศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2550 ่ ไซมอน โชติอนันต์. “การสื่ อสารการตลาดครบวงจร.” บทความ, วารสารบริ ษท ซิ ม ั แอนด์ซน คอมมิวนิเคชัน (ประเทศไทย) จํากัด. 2554 ั ่ ธงชัย สันติวงศ์. พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนา พาณิ ช, 2517 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 14. 157 ธงชัย สันติวงษ์. พฤติกรรมผู้บริโภคทางการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนา, 2540 ธี รพันธ์ โล่ห์ทองคํา. กลยุทธ์ สื่อสารการตลาดแบบครบวงจร. กรุ งเทพมหานคร: ทิป ปิ้ ง พอยท์, 2544 นภัสรัญชน์ ฤกษ์เรื องฤทธิ์ . “ปัจจัยทีมีอทธิพลต่ อการใช้ ยาสมุนไพรในโรงพยาบาลอู่ ่ ิ ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี.” วิทยานิพนธ์สาธารณสุ ขศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2553 ปริ ญ ลักษิตานนท์. การบริหารตลาดยุคใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: ธี ระฟิ ลม์และไซเท็กซ์, 2541 ปี ฐพล รัตนจินดา. “ปัจจัยทางการตลาดทีมีอทธิพลต่ อพฤติกรรมการใช้ ยาแผนโบราณ ่ ิ ของผู้บริ โภคในเขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตรบริ หารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช, 2551 พงษ์พฒน์ รักอารมณ์. พฤติกรรมองค์ กร. คู่มือประกอบการเรี ยนการสอนวิชา ั พฤติกรรมองค์กร, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2555 พรรณราย ทรพยะประภา. จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุ งเทพมหานคร: โอ เอส พริ้ นติง ้ เฮาส์, 2529 พรรษพล มังกรพิศม์. “IMC Choose The Best for Grest”, บทความ, นิตยสาร BrandAge ประจําเดือนตุลาคม 2549 พระปลัดวีระนันท์ วีรนนุ โท เจริ ญราช. “ความพึงพอใจในการใช้ ยาสมุนไพรของ ประชาชนในตําบลท่ าวุ้ง อําเภอท่าวุ่ง จังหวัดลพบุรี.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตร ปริ ญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาไทยศึกษา, มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, 2550 พวงเพชร วัชรอยู่ และสุ ปราณี สนธิ รัตน์. จิตวิทยาทัวไป. กรุ งเทพมหานคร: เนติกุล ่ การพิมพ์, 2537 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 15. 158 พิสิทธิ์ ลํ้าประเสริ ฐ. “ปัจจัยทีมีผลต่ อการเลือกซื้อยาพาราเซตามอลของประชาชนใน ่ เขตกรุ งเทพมหานคร.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, ่ มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2547 มัณฑนา ทรัพย์เจริ ญพันธ์. “พฤติกรรมการบริโภคยาแผนโบราณในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน.” วิทยานิพนธ์หลักสู ตรบริ หารธุรกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช, 2550 รุ จาภา แพ่งเกษร. การบริหารการตลาด (Marketing Management). เอกสาร ประกอบการเรี ยนการสอนหลักสู ตรบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย รังสิ ต, 2555 วิไลลักษณ์ ภูประเสริ ฐ. “การใช้ ยาสมุนไพรของประชาชนในเมืองท่าพระบาท แขวง บอลิคําไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญา สาธารณสุ ขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารสาธารณสุ ข, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2553 วิทยาลัยการอาชีพเทิง. หน่ วยที่ 9: ความสั มพันธ์ ระหว่ างธุรกิจกับเศรษฐกิจและสั งคม ของประเทศ. คู่มือประกอบการสอน, 2555 วิลาวัณย์ อภิจรรยาธรรม. “ความพึงพอใจของลูกค้ าทีมีต่อส่ วนประสมทางการตลาด ่ ของร้ านขายยาฟาสซิโน สาขาศิริราช.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิตสําหรับนักบริ หาร สาขาวิชาการจัดการ ธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2550 ่ ศิริวรรณ เสรี รัตน์. การบริ หารการตลาดยุคใหม่ . พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุ งเทพมหานคร: พัฒนาศึกษา, 2541 ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ. การบริ หารการตลาดยุคใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: ธี ระ ฟิ ล์มและไซเท็กซ์, 2541 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 16. 159 ศุภวุฒิ สายเชื้อ. “สภาวะถดถอยของเศรษฐกิจโลก: ผลกระทบต่ อประเทศไทย.” บทความ, วารสารสมาคมส่ งเสริ มผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและ ้ ขนาดย่อมไทย (สสวท.) สาขาเชียงใหม่-ลําพูน, 2554 สํานักยา. กฎหมายยา. เอกสารแจก, 2555 สําอางค์ งามวิชา. การบริ หารการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุ งเทพมหานคร: โอเดียนส โตร์ , 2543 สุ ชา จันทน์เอม. จิตวิทยาทัวไป. กรุ งเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2533 ่ สุ ดาพร กุณฑลบุตร. หลักการตลาดสมัยใหม่ . กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2550 สุ ภาภรณ์ พลนิกร. พฤติกรรมผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุ งเทพมหานคร: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง, 2548 เสนาะ ติเยาว์. หลักการบริหาร. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2543 เสรี วงษ์มณฑา. ครบเครื่องเรื่ องการสื่ อสารการตลาด. กรุ งเทพมหานคร: วิสิทธิ์ พฒนา, ั 2540 องค์การเภสัชกรรม. “ยาแผนโบราณ.” วารสารองค์การเภสัชกรรม. ธันวาคม 2554 อดุลย์ จาตุรงคกุล. การโฆษณา. กรุ งเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2518 อรุ ณี รุ่ งจิรา. “ปัจจัยทีมีผลต่ อการตัดสิ นใจเลือกซื้อสิ นค้ าแผนกยาและผลิตภัณฑ์ เพือ ่ ่ สุ ขภาพในร้ านวัตสั นของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.” รายงาน การศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการธุ รกิจทัวไป, คณะบริ หารธุ รกิจ, มหาวิทยาลัยรังสิ ต, 2550 ่ อารี พันธ์มณี . จิตวิทยาสร้ างสรรค์ การเรี ยนการสอน. กรุ งเทพมหานคร: ใยไหม เอดดิ เคท, 2546 อุไรวรรณ์ อัศวภูมิ. “ทัศนคติทมีต่อยาสมุนไพรของผู้บริโภคในเขต ี่ กรุ งเทพมหานคร.” รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจ มหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช, 2550 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 17. 160 Armstrong, Gary and Kotler, Phillip. Marketing and Introduction. 6th Edition, New Jersey: Pearson Education, 2003 Bolles, R. C. Theory of Motivation. New York: Harper & Row, 1967 Cherrington, D. J. Organizational Behavior: The Management of Individual and Organizational Performance. 2nd Edition, Boston: Allyn and Bacon, 1994 Cronbach, Lee J. Coefficient Alpha And The Internal Structure Of Tests. Psychometrika, 1951 Daft, R. L. Management. 5th Edition, New York: Harcourt College, 2000 Dubrin, A. J. and Ireland, R. D. Management and Organization. 2nd Edition, Cincinnati, OH: South Western, 1993 Engel, James F., Blackwell, Roger D., and Minard, A. Faul. Consumer Behavior. 7th Edition, Fort Worth: The Dryden Press, 1993 Etzel, Michael J., Walker, Bruce J. and Stanton, William J. Marketing. 12th Edition, Boston: McGraw-Hill, 2001 Griffin, R. W. Management. 6th Edition, New York: Houghton Miflin, 1999 Ivancevich , John M. and Matteson, Michael T. Organizational Behavior and Management. 6th Edition, New York: McGraw- Hill Companies, 2002 Kotler, Philip. Marketing Management. 10th Edition, New Jersey: Prentice-Hall, 2000 Kotler, Philip. Marketing Management. 11th Edition, New Jersey: Prentice-Hall, 2003 Kotler, Philip and Armstrong, Gary. Principles of Marketing. 9th Edition, New Jersey: Prentice Hall, 2001 ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )
  • 18. 161 Kurtz, David L. Principles of Contemporary Marketing. China: South-Western, 2008 Loudon, David L. and Bitta, Albert. Marketing by Menu. New York: Van Nostrand Reinlord , 1993 Luthans, F. Organizational Behavior. Singapore: McGraw-Hill, 1992 Schermerhorn, John R. , Hunt, James G. and Osborn, Richard N. Organizational Behavior. 8th Edition, USA: John Wiley & Sons, 2003 Schiffman, Leon G. and Kanuk, Leslie Lazar. Consumer Behavior. 7th Edition, New Jersey: Prentice-Hall, 2000 Schultz, Don E., Tannenbaum, Stanley, and Lauterborn, Robert F. The New Marketing Paradigm: Integrated Marketing Communications. USA: McGraw-Hill, 2008 Turner, Ronna C. and Carlson, Laurie. “Indexes of Item-Objective Congruence for Multidimensional Items.” International Journal of Testing Volume 3 Number 2. 2003 Vroom, V. H. Work and Motivation. Harmondsworth, England: Penguin, 1995 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. ข่ าวประชาสั มพันธ์ ข้ อมูลกฎหมาย สาระน่ า รู้ . ข้อมูลออนไลน์, 2555 เข้าถึงได้จาก http://www.fda.moph.go.th สํานักผังเมือง. ผังเมืองรวม 2549. ข้อมูลออนไลน์, 2555 เข้าถึงได้จาก http://www.bma-cpd.go.th องค์การเภสัชกรรม. รู้ เรื่องยา. ข้อมูลออนไลน์, 2555 เข้าถึงได้จาก http://www.gpo.or.th ( วารสารการเงิน การลงทุน การตลาด และการบริ หารธุรกิจ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 )