SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
การสมรส 
Conditions of Marriage 
Sukit U-naidhamma 
11/11/57 1
การสมรส คือ การที่ชายและหญิงสมัครใจอยู่กินกันฉันสามีภริยาชั่ว 
ชีวิต 
องค์ประกอบ 
๑.คู่สมรสจะต้องเป็นชายและหญิง 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 157/2524 ผู้ร้องเป็นชายโดยกา เนิด แม้จะได้รับการ 
ผ่าตัดเปลี่ยนแปลงอวัยวะเพศเป็นหญิงแล้วก็ตาม แต่ก็ไม่มีกฎหมายรับรองให้ 
สิทธิผู้ร้องที่จะขอเปลี่ยนแปลงเพศที่ถือกา เนิดมาได้ ทั้งมิใช่เป็นกรณีที่ผู้ร้อง 
จะต้องใช้สิทธิทางศาลตามกฎหมาย ฉะนั้น ผู้ร้องจะขอให้ศาลมีคา สั่งให้ผู้ร้อง 
เปลี่ยนเพศมาเป็นหญิงไม่ได้ 
11/11/57 2
๒.การสมรสจะต้องเป็นการสมัครใจของชายหญิง 
๓.จะต้องอยู่ร่วมกันชั่วชีวิต 
๔.จะต้องมีคู่สมรสเพียงคนเดียว 
เงื่อนไขการสมรส 
๑.ชายและหญิงจะต้องมีอายุครบสิบเจ็ดปีบริบูรณ์ 
11/11/57 3
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๖๙/๒๕๔๔ จาเลยกระทาชาเราผู้เสียหายซึ่งเป็น 
เด็กหญิงอายุไม่เกิน15 ปี โดยผู้เสียหายยินยอมย่อมเป็นความผิดตามประมวล 
กฎหมายอาญา มาตรา 277 วรรคหนึ่ง แต่ในวรรคท้ายบัญญัติว่า ความผิด 
ดังกล่าวถ้าเป็นการกระทา ที่ชายกระทา กับเด็กหญิงอายุกว่า 13 ปี แต่ยังไม่เกิน 
15 ปี โดยเด็กหญิงนั้นยินยอมและภายหลังศาลอนุญาตให้ชายและเด็กหญิงนั้น 
สมรสกัน ผู้กระทาผิดไม่ต้องรับโทษ มีความหมายว่าในกรณีที่ชายและ 
เด็กหญิงมีอายุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ยังไม่อาจที่จะสมรสกันได้ตามประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1448 หากจะสมรสกันอันจะทา ให้ชายไม่ต้อง 
รับโทษต้องมีคา สั่งของศาลอนุญาตให้ทา การสมรส ฉะนั้น เมื่อขณะที่จา เลย 
และผู้เสียหายจดทะเบียนสมรสกันนั้น ทั้งจา เลยและผู้เสียหายมีอายุครบ 17 ปี 
บริบูรณ์แล้ว ย่อมจดทะเบียนสมรสกันได้โดยไม่ต้องได้รับอนุญาตจากศาล 
จา เลยและผู้เสียหายจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายอิสลามแล้ว ย่อมเป็นสามี 
ภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย จา เลยจึงไม่ต้องรับโทษอีกต่อไป 
11/11/57 4
๒.ชายหรือหญิงจะต้องไม่เป็นคนวิกลจริต คือ บุคคลที่มี 
จิตผิดปกติ และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ 
ม.๑๔๔๙ ม.๑๔๙๕ 
๓.ญาติสนิทสมรสกันไม่ได้ 
ม.๑๔๕๐ 
11/11/57 5
๓.๑.ญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป คือ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย และทวด 
๓.๒. ญาติสืบสายโลหิตโดยตรงลงมา คือ ลูก หลาน เหลน ลื่อ 
๓.๓.พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน 
๓.๔. พี่น้องร่วมแต่บิดามารดาเดียวกัน 
๔.ผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้ มาตรา ๑๕๙๘/๑๙ มาตรา 
๑๕๙๙/๒๗ มาตรา ๑๔๕๑ มาตรา ๑๕๙๘/๓๒ มาตรา ๑๔๕๑ 
๕.ชายหรือหญิงมิได้เป็นคู่สมรสของบุคคล มาตรา ๑๔๕๒ มาตรา 
๑๔๙๕ 
11/11/57 6
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1221/2527 พ.จดทะเบียนสมรสกับจา เลยที่1ขณะที่ พ. มี 
โจทก์เป็นภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายก่อนใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
บรรพ 5 อยู่แล้ว เป็นการฝ่าฝืนเงื่อนไขแห่งการสมรสและเป็นโมฆะตาม 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 และ 1496 โจทก์คงเป็นภริยา 
ของ พ. แต่ผู้เดียวเดิมที่พิพาทมีชื่อ พ. ถือกรรมสิทธ์ิร่วมกับบิดาก่อนสมรสกับ 
โจทก์จึงเป็นสินเดิมของ พ. กึ่งหนึ่ง ซึ่งตกเป็นสินส่วนตัวตาม ประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ตรวจชา ระใหม่ อีกกึ่งหนึ่ง พ. ได้รับมรดกของบิดา 
หลังสมรส จึงตกเป็นสินสมรสของโจทก์และ พ. สามีเมื่อที่พิพาทเป็นสินสมรส 
และสินส่วนตัวจึงเป็นสินบริคณห์ตาม มาตรา1462 เดิม สิ่งปลูกสร้างบนที่พิพาท 
ย่อมตกเป็นส่วนควบ พ. ทา หนังสือมอบอา นาจให้ขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างราย 
พิพาทซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้จา เลยทั้งห้า ต้องถือว่าโจทก์ยินยอมให้ขาย 
11/11/57 7
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1053/2537 โจทก์บรรยายฟ้องโดยระบุว่าโจทก์จา เลยได้ 
ร่วมกันซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเมื่อวันที่อะไร ประจา งวดใด และได้ซื้อสลาก 
กินแบ่งรัฐบาลขณะที่โจทก์จา เลยเป็นสามีภรรยากันโดยชอบด้วยกฎหมายและ 
อ้างเหตุจา เป็นในการที่โจทก์ขอเป็นผู้จัดการเงินรางวัลที่จา เลยถูกสลากกินแบ่ง 
รัฐบาลแต่ผู้เดียวเอาไว้ ฟ้องโจทก์ได้บรรยายโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหา 
และคา ขอบังคับแล้ว ส่วนการที่โจทก์จา เลยจะซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลที่ไหน 
จากใคร เป็นเพียงรายละเอียดที่สามารถนา สืบในชั้นพิจารณาได้ และจา เลยเอง 
ก็เข้าใจข้อหาโจทก์ดีสามารถต่อสู้คดีโจทก์ได้ถูกต้อง ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบ 
คลุม แม้ภรรยาเดิมของจา เลยจะฟ้องเพิกถอนการหย่า และศาลมีคา พิพากษา 
ตามยอมให้เพิกถอนการจดทะเบียนหย่าแล้วก็ตาม แต่เป็นการทา ภายหลังจากที่ 
โจทก์จา เลยจดทะเบียนสมรสกันถูกต้องตามกฎหมายแล้ว การสมรสระหว่าง 
โจทก์กับจา เลยจึงไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 
ที่ได้ตรวจชาระใหม่ พ.ศ. 2519 
11/11/57 8
มาตรา 1496 ประกอบด้วยมาตรา 1452 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น จา เลยใช้ 
เงินของจา เลยซื้อสลากกินแบ่งฯ ก่อนสมรสกับโจทก์สลากกินแบ่งฯ ออกรางวัลหลังจากที่ 
โจทก์จาเลยสมรสกันแล้ว และถูกรางวัล เงินรางวัลที่จาเลยได้รับมาจากการถูกสลากกิน 
แบ่งรัฐบาลระหว่างสมรสถือว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างสมรสย่อมเป็นสินสมรสตาม 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชาระใหม่พ.ศ. 2519 มาตรา 1474(1) 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชาระใหม่พ.ศ. 2519 มาตรา 1485 
บัญญัติว่าสามีหรือภริยาอาจร้องขอต่อศาลให้ตนเป็นผู้จัดการสินสมรสโดยเฉพาะอย่างใด 
อย่างหนึ่งหรือเข้าร่วมจัดการในการนั้นได้ ถ้าการที่จะทา เช่นนั้นจะเป็นประโยชน์ยิ่งกว่า 
เป็นข้อยกเว้นจากหลักทั่วไป เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์จา เลยทา สัญญาก่อนสมรสกันไว้ เงิน 
รางวัลที่เหลือฝากในธนาคารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสินสมรส โจทก์จา เลยย่อมเป็นผู้จัดการ 
สินสมรสร่วมกันอยู่แล้วกรณีจึงไม่มีเหตุจา เป็นใด ๆ ที่โจทก์จะเป็นผู้จัดการเงินรางวัล 
ดังกล่าวเพียงผู้เดียวแต่อย่างใด 
11/11/57 9
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 6077/2537 ขณะจา เลยจดทะเบียนสมรสกับ น. เมื่อวันที่ 
18 มิถุนายน 2522น. จดทะเบียนสมรสกับโจทก์อยู่ก่อนแล้ว ฉะนั้นการสมรส 
ระหว่างจาเลยกับ น. จึงฝ่าฝืนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 
ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1496 เดิมซึ่งใช้ 
บังคับอยู่ในขณะนั้น การตกเป็นโมฆะดังกล่าวมีผลเท่ากับว่าจา เลยและ น. มิได้ 
ทา การสมรสกัน ดังนั้นการจดทะเบียนสมรสระหว่างโจทก์และ น. ในครั้งหลัง 
จึงกระทา ในขณะที่จา เลยไม่มีฐานะเป็นคู่สมรสของ น. การสมรสระหว่างโจทก์ 
และ น. จึงชอบด้วยกฎหมายโจทก์จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์มาตรา 133 เดิม และมาตรา 1497 เดิม มีอานาจฟ้องขอให้ศาล 
พิพากษาว่าการสมรสระหว่างจาเลยกับ น. เป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1496 เดิมได้ 
11/11/57 10
คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 1237/2544 ขณะที่จา เลยจดทะเบียนสมรสกับ ส. 
ในวันที่ 10 สิงหาคม2531 จาเลยไม่มีคู่สมรสเพราะจาเลยจดทะเบียน 
หย่ากับ ค. แล้วตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2515 จึงไม่เป็นการฝ่าฝืน 
เงื่อนไขการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 
การที่จา เลยไม่มีคู่สมรสอยู่ในขณะที่จดทะเบียนสมรส แม้จา เลยจะแจ้ง 
ว่าจาเลยเคยสมรสแต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสก็มีผลอย่างเดียวกันว่า 
จา เลยไม่มีคู่สมรสในขณะที่จา เลยจดทะเบียนสมรสกับ ส. นั่นเองการที่ 
นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสให้จาเลยกับ ส. โดยเชื่อว่าจาเลยไม่เคย 
สมรสมาก่อนจึงไม่อาจทาให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหายและไม่น่าจะ 
เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน จาเลยจึงไม่มีความผิดตาม 
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 และมาตรา 267 
11/11/57 11
๖.ชายหรือหญิงยินยอมเป็นสามีภรรยากัน 
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1127/2536 เมื่อคดีอาญาที่จา เลยทั้งสองถูกฟ้องเป็นเรื่องแจ้งความ 
เท็จต่อเจ้าพนักงาน ส่วนคดีนี้เป็นคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ศาลมีคา พิพากษาว่าการสมรสของ 
จา เลยทั้งสองเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งไม่ต้องอาศัยมูลความผิด 
ทางอาญาฐานแจ้งความเท็จแต่อย่างใด กรณีจึงไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ศาลไม่ 
จา ต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคดีอาญาและมีอา นาจฟังข้อเท็จจริงใหม่ตามที่ปรากฏ 
ในสา นวนคดีแพ่งได้ เมื่อพฤติการณ์แห่งคดีปรากฏว่าช่วงเกิดเหตุจา เลยที่2 ยังอยู่กินฉัน 
สามีภรรยากับนาย บ.ส่วนจา เลยที่ 1 มีฐานะเป็นเพียงลูกจ้างของบุคคลทั้งสอง การที่จา เลย 
ทั้งสองร่วมกันไปขอจดทะเบียนสมรสโดยแจ้งต่อเจ้าพนักงานว่ามีเจตนาจะสมรสกันและ 
ต่างไม่เคยมีคู่สมรสมาก่อนจึงผิดไปจากเจตนาที่แท้จริง และไม่น่าเชื่อว่าจา เลยทั้งสอง 
ยินยอมเป็นสามีภริยากันอันเป็นเงื่อนไขแห่งการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและ 
พาณิชย์ มาตรา 1458 โจทก์จึงมีสิทธิร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรสระหว่างจา เลยทั้ง 
สองเป็นโมฆะได้ 
11/11/57 12
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 5280/2544 โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรส 
ระหว่างจาเลยกับนาง ส. มารดาโจทก์เป็นโมฆะ โดยอ้างว่า จาเลยจดทะเบียน 
สมรสกับหญิงอื่น โดยหญิงนั้นแอบอ้างชื่อว่าเป็นนาง ส. เป็นการกล่าวอ้างว่ามี 
การจดทะเบียนสมรสไม่ถูกต้องตามกฎหมายโดยนาง ส. ไม่ได้ให้ความยินยอม 
อันเป็นการฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 ย่อมตก 
เป็นโมฆะตามมาตรา 1495 ซึ่งจะต้องมีคา พิพากษาของศาลเท่านั้นที่จะแสดงว่า 
การสมรสเป็นโมฆะ โดยคู่สมรส บิดามารดา หรือผู้สืบสันดานของคู่สมรสอาจ 
ร้องขอให้ศาลพิพากษาว่า การสมรสเป็นโมฆะได้ตามมาตรา 1496 ดังนั้น แม้ 
นาง ส. ถึงแก่ความตายทาให้การสมรสสิ้นสุดลงก่อนโจทก์ฟ้อง แต่เมื่อยัง 
ปรากฏความเป็นโมฆะอยู่โดยยังไม่มีคาพิพากษาให้เป็นโมฆะ ย่อม 
กระทบกระเทือนสิทธิของโจทก์ซึ่งเป็นผู้สืบสันดาน โจทก์ย่อมมีอา นาจฟ้อง 
ขอให้การสมรสเป็นโมฆะได้ 
11/11/57 13
คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1067/2545 การสมรสจะทา ได้ต่อเมื่อชายและหญิงยินยอมเป็นสามี 
ภริยากัน โดยทั้งสองคนตกลงจะเป็นบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามี 
ภริยาทั้งในทางธรรมชาติและกฎหมาย ได้ดูแลความทุกข์สุข เจ็บป่วยซึ่งกันและกันต้อง 
ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน การที่จา เลยจดทะเบียน 
สมรสกับ ช. แต่ไม่ได้พักอาศัยอยู่ด้วยกัน เมื่อ ช. ป่วย โจทก์เป็นผู้พา ช. ไปโรงพยาบาลและ 
เสียค่ารักษาพยาบาลให้ และยังให้ ช. ไปพักอาศัยอยู่ด้วย ส่วนจา เลยยังคงพักอาศัยอยู่กับ 
น้องสาวและไม่เคยออกค่ารักษาพยาบาลทั้งไม่เคยมาเยี่ยมเยียน ช. เลย เห็นได้ชัดว่าจา เลย 
กับ ช. มิได้อยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยาแต่อย่างใด จา เลยเองก็ยังรับว่าไม่อยากไปจดทะเบียน 
สมรส แต่ ช. เป็นผู้พาไปโดยบอกว่าถ้าไม่จดทะเบียนสมรสแล้วจะไม่มีผู้ใดมีสิทธิรับเงิน 
บา เหน็จตกทอด ซึ่งก็ปรากฏว่าเมื่อ ช. ถึงแก่กรรมจา เลยเป็นผู้ได้รับเงินบา เหน็จตกทอดมา 
จริง แสดงว่าจา เลยจดทะเบียนสมรสกับ ช. โดยมิได้มีเจตนาที่จะเป็นสามีภริยากันมาแต่แรก 
หากแต่เป็นการกระทา เพื่อให้มีสิทธิรับเงินบา เหน็จตกทอดเท่านั้น การสมรสของจา เลยจึง 
ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 ตกเป็นโมฆะตาม 
มาตรา 1495 
11/11/57 14
๗.หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อผ่าน ๓๑๐ วันนับจากการสมรสสิ้นสุดลง 
ม.๑๔๕๓ 
๘.ผู้เยาว์จะทา การสมรสได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากบิดามารดาหรือ 
ผู้ปกครอง 
ม.๑๔๕๔ ม.๑๔๕๕ 
11/11/57 15
แบบแห่งการสมรส 
ม.๑๔๕๗ เงื่อนไขการจดทะเบียน 
ม.๑๔๔๘-๑๔๕๔ 
11/11/57 16
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๔๐/๒๕๒๕ นายทะเบียนอ้างระเบียบกระทรวงมหาดไทย 
มาเป็นเหตุไม่รับจดทะเบียนไม่ได้ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๔๑๕๒/๒๕๓๒ โจทก์ไปยื่นคา ร้องขอจดทะเบียนสมรสโดย 
ระบุด้วยว่าเอาหนังสือรับรองความเป็นโสดจากสถานทูตมาแสดงไม่ได้ ขอให้ 
จาเลยทาหนังสือถามข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวโจทก์ไปที่สถานทูตเพื่อใช้ 
ประกอบการจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายไทย การที่จา เลยซึ่งเป็นนายทะเบียน 
ออกหนังสือสอบถามให้และรอหนังสือรับรองจากสถานทูตประเทศที่โจทก์มี 
สัญชาติ เพื่อประกอบการพิจารณาว่าโจทก์เป็นโสดไม่ต้องห้ามสมรสตาม 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 นั้น ถือไม่ได้ว่าจา เลยปฏิเสธไม่ 
ยอมรับจดทะเบียนสมรสให้แก่โจทก์ กรณีจึงยังไม่มีการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ 
โจทก์ไม่มีอา นาจฟ้อง. 
11/11/57 17
คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๑๖/๒๕๔๓ แม้ใบทะเบียนการสมรสมิได้ 
ประทับตรานายทะเบียน ก็หาทาให้ทะเบียนการสมรสไม่สมบูรณ์หรือ 
เป็นโมฆะ เพราะพระราชบัญญัติการจดทะเบียนครอบครัวฯ กาหนด 
เพียงให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อไว้เป็นสา คัญ มิได้มีบทบัญญัติว่าต้อง 
ประทับตรานายทะเบียนแต่อย่างใด 
11/11/57 18
คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๓๙/๒๕๔๘ แม้ตามสาเนาทะเบียนการสมรสจะปรากฏ 
ลายมือชื่อฝ่ายชายคือ จา เลยที่ 1 เป็นผู้ร้องขอจดทะเบียนแต่เพียงผู้เดียวก็ตาม แต่ 
ในบันทึกด้านหลังของทะเบียนสมรสดังกล่าวเจ้าหน้าที่ได้บันทึกถ้อยคา ที่จา เลย 
ที่ 1 และผู้ตายให้ไว้ว่าคู่สมรสทั้งสองฝ่ายมีความสมัครใจและเต็มใจที่จะจด 
ทะเบียนสมรสกัน โดยทั้งจา เลยที่ 1 และผู้ตายได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน 
บันทึกดังกล่าวได้ทาในวันและเวลาต่อเนื่องกับรายการจดทะเบียนสมรส 
ด้านหน้า จึงย่อมถือได้ว่าจา เลยที่ 1 และผู้ตายได้ให้ถ้อยคา และปฏิบัติตามเงื่อนไข 
แห่งกฎหมายในเรื่องการจดทะเบียนสมรสด้วยความยินยอมของทั้งสองฝ่ายโดย 
ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ความบกพร่องที่ผู้ตายไม่ได้ลงลายมือชื่อไว้ที่ด้านหน้า 
ทะเบียนสมรสดังกล่าวยังไม่เป็นเหตุถึงทาให้การจดทะเบียนสมรสไม่มีผล 
สมบูรณ์เป็นโมฆะแต่อย่างไร 
11/11/57 19
ในการรับบุตรบุญธรรมตาม ป.พ.พ. มาตรา 1583 (เดิม) ซึ่งใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น บัญญัติ 
ว่า ถ้าผู้ที่บุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ การรับบุตรบุญธรรมจะทาได้ต่อเมื่อได้รับ 
ความยินยอมของบิดามารดา ถ้าไม่มีบิดามารดา ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้ความยินยอมก็ 
ได้ และมาตรา 1585 (เดิม) บัญญัติว่า การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์เมื่อได้จดทะเบียน 
ตามกฎหมาย เมื่อพิจารณาประกอบ พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัวฯ มาตรา 22 แล้วจะเห็นว่า 
บทบัญญัติดังกล่าวกาหนดแต่เพียงว่า การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมต้องได้รับความ 
ยินยอมจากบิดามารดาเท่านั้น มิได้บังคับว่าคา ยินยอมต้องทา เป็นหนังสือหรือต้องมีลายมือ 
ชื่อของบิดามารดาให้ความยินยอมแต่อย่างไร ดังนั้น เมื่อได้ความว่าจา เลยที่1 กับ ม. ซึ่ง 
เป็นบิดามารดาของจา เลยที่ 2 และที่ 3 จดทะเบียนหย่าและแยกกันอยู่โดยมีบันทึกหลัง 
ทะเบียนหย่าว่าให้จา เลยที่ 1 รับเลี้ยงจา เลยที่ 2 และที่ 3 ส่วน ม. รับเลี้ยงบุตรคนเล็ก และ 
ต่อมาจาเลยที่ 1 จดทะเบียนสมรสกับผู้ตายและผู้ตายได้จดทะเบียนรับจาเลยที่2 และที่ 3 
เป็นบุตรบุญธรรม ซึ่งจา เลยที่ 4 ในฐานะนายทะเบียนได้ดา เนินการจดทะเบียนรับบุตรบุญ 
ธรรมให้แก่ผู้ตายโดยที่ให้เฉพาะจา เลยที่ 1 บิดาเป็นผู้ลงลายมือชื่อให้ความยินยอมแต่เพียงผู้ 
เดียว โดยเห็นว่าตาม 
11/11/57 20
บันทึกข้อตกลงหลังทะเบียนหย่ามีผลทาให้จาเลยที่ 1 เป็นผู้มีอานาจปกครอง 
จา เลยที่ 2 และที่ 3 เพียงผู้เดียว แม้ข้อความในบันทึกหลังทะเบียนหย่ามิอาจถือ 
ได้ว่า ม. ตกลงยินยอมให้จาเลยที่ 1 เป็นผู้มีอานาจปกครองจาเลยที่ 2 และที่ 3 
เพียงผู้เดียวก็ตาม แต่ปรากฏว่านับแต่ผู้ตายจดทะเบียนรับจาเลยที่ 2 และที่ 3 
เป็นบุตรบุญธรรมจนกระทั่งผู้ตายถึงแก่ความตายเป็นเวลากว่า 29 ปีม. ก็มิได้ 
ว่ากล่าวคัดค้านการรับบุตรบุญธรรม และยังทา หนังสือยืนยันว่าทราบเรื่องและ 
ให้ความยินยอมมาโดยตลอดตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน และเหตุที่ไม่ได้ลงลายมือ 
ชื่อไว้ก็เพราะขณะที่จดทะเบียนหย่ากับจา เลยที่ 1 ม. ตกลงให้จา เลยที่ 2 และที่ 3 
อยู่ในการเลี้ยงดูของจา เลยที่ 1 นั้น หมายถึงการให้เป็นผู้ใช้อา นาจปกครองบุตร 
แต่ผู้เดียวด้วยและไม่ขอคัดค้าน รวมทั้งยังขอร้องสอดเข้ามาเป็นจา เลยร่วมโดย 
ยืนยันการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม พฤติการณ์จึงฟังได้ว่า ม. ได้ให้ความ 
ยินยอมด้วยแล้วในการรับบุตรบุญธรรมของผู้ตาย การรับบุตรบุญธรรม 
ดังกล่าวจึงชอบแล้ว 
11/11/57 21
การสมรสต่างประเทศ 
ม.๑๔๕๙ 
มาตรา 1459 การสมรสในต่างประเทศระหว่างคนที่มีสัญชาติไทยด้วยกัน หรือ 
ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีสัญชาติไทย จะทา ตามแบบที่กา หนดไว้ตามกฎหมายไทยหรือ 
กฎหมายแห่งประเทศนั้นก็ได้ 
ในกรณีที่คู่สมรสประสงค์จะจดทะเบียนตามกฎหมายไทยให้พนักงานทูต 
หรือกงสุลไทยเป็นผู้รับจดทะเบียน 
11/11/57 22
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยา 
๑.ความสัมพันธ์ทางส่วนตัว 
๒.ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สิน 
11/11/57 23
๑.ความสัมพันธ์ทางส่วนตัว 
๑.ต้องอยู่กินด้วยกันและช่วยเหลือกัน 
มาตรา ๑๔๖๑ สามีภริยาต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา สามีภริยา 
ต้องช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและ ฐานะของตน 
11/11/57 24
คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๕๐๖/๒๕๔๒ สามีเข้าไปตามภรรยาที่อยู่บ้าน 
ผู้อื่นไม่มีความผิดฐานบุกรุก 
การช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดู 
การช่วยเหลือ คือ การช่วยปฏิบัติหน้าที่ในครอบครัวเพื่อให้ครอบครัว 
ดา รงอยู่ด้วยความสุข เข่น การจัดการบ้านเรือน ดูแลบุตร 
การอุปการะเลี้ยงดู คือ การให้สิ่งที่จา เป็นต่อการดา รงชีวิต เช่น เงิน 
ทอง ปัจจัยในการดา รงชีวิต 
11/11/57 25
สิทธิในการเรียกค่าเลี้ยงดูจากบุคคลภายนอก 
ที่ทา ละเมิดต่อสามีหรือภริยา 
ม.๔๔๕ ม.๔๔๓ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๘๒๒/๒๕๒๔ สามีภริยาสมัครใจแยกกันอยู่ สามี 
ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ภริยา 
11/11/57 26
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๘๗/๒๕๓๗ สามีภรรยามีหน้าที่ต้อง 
ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันและกันตามความสามารถและ 
ฐานะของตน หาใช่จาเลยที่ ๑ ซึ่งเป็นสามีจะต้องมีหน้าที่ 
อุปการะเลี้ยงดูภริยาแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่ ฉะนั้น เมื่อโจทก์ไม่ 
สามารถนาสืบได้ว่าจาเลยที่ ๑ มีความสามารถหรือฐานะดีกว่า 
โจทก์เพียงใด และโจทก์มีรายจ่ายเกินรายได้ของตนเพียงใด 
แต่กลับได้ความว่าเงินเดือนที่โจทก์ได้รับพอใช่จ่าย เช่นนี้ 
โจทก์จึงไม่สมควรได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูจากจา เลยที่ ๑ 
11/11/57 27
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๓๖๙/๒๕๔๐ ค่าอุปการะเลี้ยงดู 
ที่โจทก์ที่ ๑ ซึ่งเป็นภริยาของผู้ตายตาม ป.พ.พ. ม. 
๑๔๖๑ วรรคสอง นั้น โจทก์ที่ ๑ มีอายุ๔๗ ปี ส่วน 
ผู้ตายมีอายุ ๕๐ ปี ย่อมเห็นว่าโจทก์ที่ ๑ มีโอกาสรับ 
การอุปการะตามกฎหมายได้ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี การที่ 
โจทก์ที่ ๑ เรียกค่าขาดไร้อุปการะเป็นเวลา ๑๐ ปี จึง 
เป็นระยะเวลาที่สมควร 
11/11/57 28
๒.ข้อตกลงแยกกันอยู่เป็นการชั่วคราว 
๒.๑ สามีภริยาทา ข้อตกลงแยกกันต่างหาก 
ผลทางกฎหมาย 
๑.ใช้บังคับได้หรือไม่ 
วาจาหรือลายลักษณ์อักษร 
11/11/57 29
๒.การสมรสสิ้นสุดลงหรือไม่ 
๓.ทา การสมรสใหม่ได้หรือไม่ 
๔.เป็นเหตุหย่าตาม ม.๑๕๑๖ (๔) หรือไม่ 
๕. หากเหตุแยกกันอยู่เพราะไม่สามารถอยู่กินด้วยกันอย่างปกติสุขและสามีภริยา 
แยกกันอยู่มาเกินสามปี สามีหรือภริยาฝ่ายหนึ่งมีสิทธิฟ้องหย่าได้ ม.๑๕๑๖ (๔) 
(๔/๒) 
11/11/57 30
คา พิพากษาฎีกาที่ ๗๘๐/๒๕๐๒ เหตุหย่าในข้อจงใจละทิ้งร้างเกินกว่า 1 ปีนั้น ตราบใดที่ 
ยังทิ้งร้างกันอยู่ ก็ย่อมมีสิทธิฟ้องขอหย่าได้ไม่ขาดอายุความ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 
10/2502) 
คดีก่อน ศาลพิพากษายกฟ้อง โดยอ้างเหตุว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมในข้อที่ 
กล่าวหาว่าจา เลยร้องเรียนต่อกรมมหาดไทยเป็นการหมิ่นประมาทโจทก์ และที่ว่าจา เลย 
จงใจละทิ้งร้างโจทก์นั้น ในฟ้องไม่กล่าวว่า เหตุเกิดเมื่อใดทิ้งร้างไปเมื่อใด โดยยังมิได้ 
วินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นข้อโต้เถียงเรื่องการหย่าเลย โจทก์ฟ้องคดีหลังกล่าวหาว่าจา เลย 
ร้องเรียนต่อกรมมหาดไทย และร้องเรียนต่อสภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็นเหตุให้โจทก์ 
ได้รับความเสียหายอันเป็นการกระทา เป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากัน และว่าจา เลย 
จงใจละทิ้งร้างโจทก์เป็นเวลากว่า 1 ปี เป็นคนละประเด็น คนละเหตุไม่เป็นฟ้องซ้า 
กล่าวฟ้องว่า จา เลยมีเจตนาจงใจละทิ้งร้างโจทก์ไป ย่อมแสดงความหมายอยู่ในตัว 
แล้ว ไม่จา ต้องกล่าวว่ากระทา การอย่างใดอันได้ชื่อว่าเป็นการจงใจละทิ้งร้าง ฟ้องเช่นนี้ 
ไม่เคลือบคลุม 
11/11/57 31
เมื่อปรากฏว่า โจทก์เองก็ไม่ต้องการจะให้จา เลยมาอยู่ร่วมกับ 
โจทก์ โจทก์จะกลับมาฟ้องขอหย่าโดยอ้างเหตุว่าจา เลยมีเจตนาจงใจละ 
ทิ้งร้างโจทก์หาได้ไม่ โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องขอหย่าจา เลยตามข้ออ้างเช่น 
ว่านี้ 
โจทก์ฟ้องขอหย่าอ้างเหตุว่า จา เลยกระทา การเป็นปฏิปักษ์ต่อการ 
เป็นสามีภริยากัน แต่ปรากฏว่า เป็นเรื่องเกิดขึ้นก่อนที่โจทก์จา เลยทา 
สัญญาประนีประนอมกัน โจทก์จะอ้างเหตุที่ว่านั้นมาเป็นข้อฟ้องหย่า 
หาได้ไม่ เพราะผลของสัญญาประนีประนอมนั้น ย่อมทา ให้การ 
เรียกร้องซึ่งแต่ละฝ่ายได้ยอมสละนั้นระงับสิ้นไป และทา ให้แต่ละฝ่าย 
ได้สิทธิตามที่แสดงในสัญญานั้นว่าเป็นของตน 
11/11/57 32
คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๖๒๗/๒๕๓๐ ในคดีหย่า แม้โจทก์จา เลยตกลงหย่ากัน 
ระหว่างพิจารณาแต่การที่ จา เลยจะมีสิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพจากโจทก์หรือไม่นั้น 
จะต้องพิจารณาว่า มีเหตุแห่งการหย่าหรือไม่ และเหตุแห่งการหย่านั้นเป็น 
ความผิดของโจทก์ หรือไม่เมื่อโจทก์จา เลยสมัครใจแยกกันอยู่จึงถือไม่ได้ว่า 
โจทก์จงใจละทิ้งร้างจา เลยอันจะทา ให้จา เลยมีสิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพจากโจทก์ 
ส่วนค่าอุปการะเลี้ยงดูในระหว่างที่สามีภริยาแยกกันอยู่นั้นฝ่ายที่มี 
ความสามารถหรือฐานะน้อยกว่าและแยกไปอยู่โดยสุจริต ชอบที่จะได้รับการ 
ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูจากอีกฝ่าย เมื่อโจทก์ จา เลยต่างสมัครใจแยกกันอยู่ 
ชั่วคราวโดยไม่ใช่ความผิดของจา เลย และจา เลยไม่มีอาชีพหรือรายได้เพียงพอ 
โจทก์ซึ่งอุปการะเลี้ยงดูจา เลย มาตลอดและอยู่ในฐานะที่สามารถจะอุปการะ 
เลี้ยงดูจา เลยได้จึงมี หน้าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูจา เลย 
11/11/57 33
๒.๒ ศาลมีคา สั่งอนุญาตให้แยกกันอยู่ สาเหตุ คือ 
๑.สามีภริยาไม่สามารถที่จะอยู่กินร่วมกันอย่างปกติสุข 
๒.การอยู่ร่วมกันจะเป็นอันตรายแก่กายอย่างมากของสามี 
ภริยา 
๓. การอยู่ร่วมกันจะเป็นอันตรายแก่จิตใจอย่างมากของสามี 
ภริยา 
๔. การอยู่ร่วมกันจะเป็นการทา ลายความผาสุกอย่างมากของ 
สามีภริยา 
11/11/57 34
๓.การเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ให้คู่สมรส 
มาตรา ๑๔๖๓ ในกรณีที่ศาลสั่งให้สามีหรือภริยาเป็นคนไร้ 
ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ ภริยาหรือสามีย่อมเป็นผู้ 
อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ แต่เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรืออัยการร้องขอ และถ้ามี 
เหตุสา คัญศาลจะตั้งผู้อื่น เป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ก็ได้ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๙๓๙/๒๕๓๗ ถ้าไม่มีเหตุสา คัญ ตั้งภริยาเป็นผู้ 
อนุบาลสามีเพียงคนเดียวได้ ไม่ต้องตั้งบุตร 
11/11/57 35
คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๗๒๗/๒๕๓๐ จา เลยเป็นบุตรย่อมมี 
อานาจร้องขอต่อศาลให้สั่งให้มารดาเป็นคนเสมือนไร้ 
ความสามารถ หรือเป็นคนไร้ความสามารถ ตาม ป.พ.พ. 
มาตรา ๓๒ หรือ มาตรา ๒๘ โดยไม่ต้องรับความยินยอม 
จากโจทก์ผู้เป็นบิดาและสามีของมารดาจา เลย ทั้งศาลมี 
อา นาจแต่งตั้งจา เลยเป็นผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาลมารดาได้ 
ตาม มาตรา ๑๔๖๓ แม้ตามปกติคู่สมรสจะเป็นผู้พิทักษ์ 
หรือผู้อนุบาลตามกฎหมายก็ตาม 
11/11/57 36
๔.การซื่อสัตย์ในความรักต่อกัน 
๕.การใช้คา นา หน้านามและชื่อสกุลของหญิงมีสามี 
พ.ร.บ.คา นา หน้านามหญิง พ.ศ. ๒๕๕๑ ม. ๔ และมาตรา ๕ 
หญิงอายุสิบห้าปีบริบูรณ์ยังไม่สมรสใช้คา นา หน้าว่า “นางสาว” 
สมรสแล้วใช้คา ว่า “นางสาว” หรือ “นาง” ก็ได้ 
11/11/57 37
พ.ร.บ. ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕และ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๒ และ 
มาตรา ๑๓ กาหนดให้หญิงจะใช้ชื่อสกุลเดิมของตนก็ได้หรือยินยอมให้สามีใช้ 
ชื่อสกุลของตนเองได้ หรือใช้ชื่อสกุลของสามีได้(สามียินยอม) ตกลงใน 
ระหว่างสมรสหรือภายหลังก็ได้ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖/๒๕๓๙ 
11/11/57 38
สัญชาติและภูมิลา เนาของสามีภริยา 
การสมรสไม่ทา ให้สัญชาติของสามีหรือภริยาเปลี่ยนแปลงไป 
สามีภริยามีภูมิลา เนาเดียวกัน มาตรา ๔๓ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๑๓๖๙/๒๕๒๔ สามีนา รถยนต์สินสมรสไปใช้ใน 
การกระทา ความผิดตามลา พัง โดยภริยาไม่รู้เห็นยินยอมด้วย รถยนต์ 
ของกลางจึงริบเพียงกึ่งหนึ่ง อีกกึ่งหนึ่งต้องคืนภริยา 
11/11/57 39
คา พิพากษาฎีกาที่ ๒๗๒๔/๒๕๓๔ เจ้าพนักงานเรียกสามีมา 
ชี้แจงคนเดียว ไม่ถือว่าเป็นการชี้แจงแทนภริยา 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๘๐๘/๒๕๔๐ สามีป้องกันภริยาจากการถูก 
กระทา อนาจารได้ไม่เป็นความผิด 
11/11/57 40
ความสัมพันธ์ด้านทรัพย์สิน 
๑.สัญญาก่อนสมรสในเรื่องทรัพย์สิน 
มาตรา ๑๔๖๕ ถ้าสามีภริยามิได้ทา สัญญากันไว้ในเรื่องทรัพย์สินเป็น พิเศษก่อนสมรส 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาในเรื่องทรัพย์สินนั้น ให้บังคับ ตามบทบัญญัติในหมวดนี้ 
ถ้าข้อความใดในสัญญาก่อนสมรสขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม อันดีของ 
ประชาชน หรือระบุให้ใช้กฎหมายประเทศอื่นบังคับเรื่องทรัพย์สินนั้น ข้อความนั้น ๆ เป็น 
โมฆะ 
11/11/57 41
๑.ความสัมพันธ์ในเรื่องการจัดการทรัพย์สิน 
มาตรา ๑๔๖๕ ถึง มาตรา ๑๔๙๓ 
๒. ไม่ขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๔๒๑๔/๒๕๓๔ โจทก์จา เลยยังเป็นสามีภริยากันอยู่และไม่ปรากฎว่าได้ 
ทาสัญญาก่อนสมรสในเรื่องทรัพย์สินไว้เป็นพิเศษก่อนสมรส ความสัมพันธ์ระหว่างสามี 
ภริยาในเรื่องทรัพย์สินต้องบังคับตาม ป.พ.พ. บรรพ ๕ หมวด ๔ ว่าด้วยทรัพย์สินระหว่าง 
สามีภริยา โจทก์จาเลยเป็นสามีภริยากันจะฟ้องร้องเรื่องทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาไม่ได้ 
เว้นแต่จะมีกฎหมายให้อา นาจ กรณีตามคา ฟ้องขอแบ่งเงินขายที่ดินสินสมรสไม่มีกฎหมาย 
ให้อา นาจไว้ จึงไม่สามารถฟ้องขอแบ่งเงินดังกล่าวได้ 
11/11/57 42
แบบของสัญญาก่อนสมรส 
มาตรา ๑๔๖๖ สัญญาก่อนสมรสเป็นโมฆะ ถ้ามิได้จดแจ้งข้อตกลงกันเป็น 
สัญญาก่อนสมรสนั้นไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับการจดทะเบียนสมรส หรือ 
มิได้ทา เป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สมรสและพยานอย่างน้อยสองคนแนบไว้ 
ท้ายทะเบียนสมรส และได้จดไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับการจดทะเบียน 
สมรสว่าได้มีสัญญานั้นแนบไว้ 
11/11/57 43
๑.จดแจ้งสัญญาก่อนสมรสไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับจดทะเบียนสมรส 
หรือ 
๒. ทา เป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สมรสและพยานอย่างน้อยสองคนแนบท้าย 
ไว้ท้ายทะเบียนสมรส พร้อมทั้งจดไว้ในทะเบียนขณะจดทะเบียนสมรสว่าได้ 
มีสัญญาแนบท้ายไว้ 
ฝ่าฝืน เป็นโมฆะ 
นามาตรา ๙ มาใช้ได้ 
11/11/57 44
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๓๖๔/๒๕๓๒ สัญญาก่อนสมรสทา ไม่ถูกแบบ 
เพราะไม่ได้นามาแนบท้ายทะเบียนสมรส เป็นโมฆะ 
คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๑๑/๒๕๓๗ การที่โจทก์จาเลยทาความตกลงในเรื่อง 
ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาว่า จา เลยให้สัญญาว่าบ้านพร้อมที่ดินซึ่งเป็นสิน 
ส่วนตัวของจา เลยเป็นสินสมรสนั้น เป็นการที่คู่สมรสแจ้งข้อความที่เป็นสัญญา 
ก่อนสมรสไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับการจดทะเบียนตาม มาตรา ๑๔๖๖ เมื่อ 
ไม่ปรากฎว่ามีข้อความขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ 
ประชาชน ย่อมมีผลใช้บังคับ ตามมาตรา ๑๔๖๖ วรรคสอง โจทก์มีสิทธิขอให้ 
จา เลยจดทะเบียนใส่ชื่อโจทก์เป็นเข้าของกรรมสิทธ์ิร่วมกับจา เลยคนละครึ่งใน 
โฉนดที่ดินพร้อมบ้านได้ 
11/11/57 45
การเปลี่ยนแปลงสัญญาก่อนสมรส 
มาตรา๑๔๖๗ เมื่อสมรสแล้วจะเปลี่ยนแปลงเพิกถอนสัญญา 
ก่อนสมรสนั้นไม่ได้ นอกจากจะได้รับอนุญาตจากศาล 
เมื่อได้มีคาสั่งของศาลถึงที่สุดให้เปลี่ยนแปลงเพิกถอน 
สัญญาก่อนสมรสแล้ว ให้ศาลแจ้งไปยังนายทะเบียนสมรสเพื่อ 
จดแจ้งไว้ในทะเบียนสมรส 
11/11/57 46
ผลของสัญญาก่อนสมรส 
ใช้บังคับระหว่างคู่สมรส 
ไม่มีผลใช้บังคับกับบุคคลภายนอก 
มาตรา ๑๔๖๘ ข้อความในสัญญาก่อนสมรสไม่มีผลกระทบกระเทือนถึง สิทธิ 
ของบุคคลภายนอกผู้ทา การโดยสุจริตไม่ว่าจะได้เปลี่ยนแปลงเพิกถอน โดย 
คา สั่งของศาลหรือไม่ก็ตาม 
11/11/57 47
คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๒/๒๕๐๔ ที่ดินและเรือนเป็น 
ของภริยาก่อนสมรส แม้จะทาสัญญาก่อนสมรสว่าสามี 
จะไม่เกี่ยวข้องก็ตาม แต่เมื่อภริยายอมให้สามีลงชื่อในใบ 
ไต่สวนเพื่อขอออกโฉนดว่าเป็นของสามี แล้วสามีเอาไป 
จานองอื่นแล้วนา เงินมาซื้อรถยนต์เพื่อรับส่งผู้โดยสาร 
เป็นอาชีพของสามีภริยาเป็นเหตุให้ผู้รับจานองเชื่อโดย 
สุจริตว่าเป็นที่ดินของสามี ดังนี้ การจา นองสมบูรณ์ใช้ 
บังคับได้มีผลผูกพันภริยา 
11/11/57 48
สัญญาระหว่างสมรสในเรื่องทรัพย์สิน 
มาตรา ๑๔๖๙ สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินใดที่สามีภริยาได้ทา ไว้ต่อ 
กัน ในระหว่างเป็นสามีภริยากันนั้น ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะบอกล้างเสีย 
ในเวลาใด ที่เป็นสามีภริยากันอยู่ หรือภายในกา หนดหนึ่งปีนับแต่ 
วันที่ขาดจากการ เป็นสามีภริยากันก็ได้ แต่ไม่กระบทกระเทือนถึง 
สิทธิของบุคคลภายนอก ผู้ทา การโดยสุจริต 
11/11/57 49
มาตรา ๑๔๗๖/๑ สามีและภริยาจะจัดการสินสมรสให้แตกต่างไปจากที่ บัญญัติไว้ใน มาตรา ๑๔๗๖ 
ทั้งหมดหรือบางส่วนได้ก็ต่อเมื่อได้ทา สัญญาก่อน สมรสไว้ตามที่บัญญัติใน มาตรา ๑๔๖๕ และ มาตรา 
๑๔๖๖ 
ในกรณีดังกล่าวนี้ การจัดการสินสมรสให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในสัญญาก่อนสมรส 
ในกรณีที่สัญญาก่อนสมรสระบุการจัดการสินสมรสไว้แต่เพียงบางส่วนของ มาตรา ๑๔๗๖ การจัดการ 
สิน ส ม ร ส น อ ก จ า ก ที่ร ะ บุไ ว้ใ น สัญ ญ า ก่อ น ส ม ร ส ใ ห้ เ ป็น ไ ป ต า ม ม า ต ร า ๑ ๔ ๗ ๖ 
มาตรา ๑๔๖๙ สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินใดที่สามีภริยาได้ทาไว้ต่อกัน ใน 
ระหว่างเป็นสามีภริยากันนั้น ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะบอกล้างเสียในเวลาใด ที่เป็น 
สามีภริยากันอยู่ หรือภายในกา หนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ขาดจากการ เป็นสามี 
ภริยากันก็ได้ แต่ไม่กระบทกระเทือนถึงสิทธิของบุคคลภายนอก ผู้ทาการโดย 
สุจริต 
11/11/57 50
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๒๑๑/๒๕๓๑ สามีภริยาทาสัญญาชดใช้ 
ค่าเสียหายทางอาญาให้แก่กันบอกล้างไม่ได้ 
คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๑๘/๒๕๔๖ บอกล้างสัญญาระหว่างสมรสไม่ต้องใช้ 
มาตรา ๕๓๕ เรื่องข้อยกเว้นการถอนคืนการให้เพราะเหตุเนรคุณ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๔๘๕-๕๔๘๖ /๒๕๓๗ โจทก์ผู้เป็นสามียกที่ดินให้จา เลยผู้เป็นภริยา 
ระหว่างสมรส โจทก์มีสิทธิบอกล้างสัญญาระหว่างสมรสนั้นในเวลาใดก็ได้ระหว่างที่เป็น 
สามีภริยากันอยู่ เมื่อโจทก์บอกล้างสัญญาระหว่างสมรสแก่จา เลยโดยชอบด้วยกฎหมาย 
ก่อนโจทก์ถึงแก่กรรมแล้ว สิทธิการบอกล้างจึงไม่ใช่สิทธิเฉพาะตัวอีกต่อไปและย่อมตก 
ทอดไปยังทายาโจทก์ โดยทายาทของโจทก์เข้าเป็นคู่ความแทนที่ได้ 
11/11/57 51
คา พิพากษาฎีกาที่ ๗๙๗๘/๒๕๔๒ ฟ้องหย่าและขอแบ่งสินสมรส ถือว่าเป็นการบอกล้าง 
สัญญาระหว่างสมรสแล้ว ทา ให้ทรัพย์กลับมาเป็นสินสมรสตามเดิม 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๙๗๔/๒๕๓๘ สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่สามีภริยาได้ทา ไว้ต่อ 
กันในระหว่างเป็นสามีภริยาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1469 ได้ให้ 
สิทธิสามีหรือภริยาบอกล้างได้ในระหว่างที่เป็นสามีภริยากันหรือภายในหนึ่งปีนับแต่ 
วันที่ขาดจากการเป็นสามีภริยากัน จึงเป็นบทบัญญัติที่มุ่งคุ้มครองสิทธิของคู่สมรส 
โดยทั่วไปที่ได้ทา สัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สินกันไว้ในระหว่างสมรส โดยตกอยู่ภายใต้ 
อิทธิพลของความเสน่หาหรือเหตุอื่นใดอันทา ให้ตนต้องเสียประโยชน์ มิให้ถูกเอารัดเอา 
เปรียบหรือถูกข่มเหงโดยไม่ชอบธรรม และเป็นการป้องกันมิให้ครอบครัวต้องร้าวฉาน 
แตกแยกกันได้ ดังนั้นข้อตกลงที่ว่าจะไม่ยกเลิกสัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินในระหว่าง 
สมรสของสามีภริยา จึงมีวัตถุประสงค์ที่ขัดต่อบทกฎหมายดังกล่าว ย่อมตกเป็นโมฆะตาม 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 (เดิม) 
11/11/57 52
โจทก์จาเลยเป็นสามีภริยาโดยจดทะเบียนสมรส แม้จะตกลงหย่า 
ขาดกันตามประเพณีศาสนาอิสลามและทาสัญญาแบ่งผลประโยชน์ 
และทรัพย์สินโดยมีเงื่อนไขระบุไว้ด้วยว่าจาเลยยินยอมผูกพันตาม 
สัญญาตลอดไป และจะไม่ยกเลิกสัญญานี้ แต่เมื่อโจทก์จา เลยยังมิได้ 
จดทะเบียนหย่า ก็ต้องถือว่าโจทก์จาเลยยังเป็นสามีภริยากันตาม 
กฎหมาย สัญญาแบ่งผลประโยชน์และทรัพย์สินดังกล่าวจึงเป็นสัญญา 
ระหว่างสมรสที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่สามีภริยาได้ทาไว้ต่อกันใน 
ระหว่างเป็นสามีภริยาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 
1469 
11/11/57 53
คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๗๔๔/๒๕๓๙ การที่โจทก์ยกที่ดินให้จา เลยมีกรรมสิทธ์ิ 
รวมตามบันทึกข้อตกลงเรื่องกรรมสิทธ์ิรวมในระหว่างสมรสมีผลทา ให้ที่ดินตก 
เป็นสินส่วนตัวของจาเลย บันทึกข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาระหว่างสมรสที่ 
สมบูรณ์ใช้บังคับกันได้ มิใช่เป็นการยกให้ที่จะถอนคืนการให้เพราะประพฤติ 
เนรคุณตามมาตรา ๕๓๑ โจทก์มีสิทธิบอกล้างได้ตามมาตรา ๑๔๖๙ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๗๔/๒๕๔๓ ทา สัญญาระหว่างสมรสแทนสัญญา 
ประนีประนอมยอมความ ก็บอกล้างสัญญาระหว่างสมรสได้ 
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๔/๒๕๔๘ การบอกล้างสัญญาระหว่างสมรส 
ไม่ถือว่าเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต 
11/11/57 54
คา พิพากษาฎีกาที่ ๒๐๓๙/๒๕๔๔บันทึกที่โจทก์จา เลยทา ขึ้น แม้จะมี 
ข้อความว่าโจทก์และจา เลยตกลงหย่ากัน แต่ตราบใดที่ยังไม่จดทะเบียนหย่าก็ 
ต้องถือว่าเป็นสามีภริยากันอยู่ เมื่อข้อตกลงนั้นมีส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินด้วย 
จึงเป็นสัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ทาไว้ต่อกันในระหว่างเป็นสามีภริยาฝ่ายใด 
ฝ่ายหนึ่งจะบอกล้างเสียในเวลาใดที่เป็นสามีภริยาหรือภายในกา หนดหนึ่งปี 
นับแต่วันที่ขาดจากการเป็นสามีภริยาก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ 
พาณิชย์ มาตรา ๑๔๖๙ การที่จา เลยยื่นคา ให้การว่าบอกเลิกข้อตกลงแล้ว ย่อม 
ถือได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาบอกล้างไปในตัว ในขณะยังเป็นสามีภริยากันอยู่ 
จึงไม่มีผลบังคับแก่โจทก์จาเลยอีก ศาลจึงไม่อาจพิพากษาให้จาเลยชาระเงิน 
ตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้แก่โจทก์ได้ 
11/11/57 55
คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๔/๒๕๔๘ การบอกล้างสัญญาระหว่างสมรส 
ไม่ถือว่าเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต 
หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน 
ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๔๕ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย 
ครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติบรรณาการ 
ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๕๔ รวมคำบรรยำย.กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย 
ครอบครัว สมัยที่ ๖๔ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร : สานักอบรมศึกษา 
กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา 
ไพโรจน์ กัมพูสิริ. ๒๕๔๐ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพ ๕ ว่ำ 
ด้วยครอบครัว , กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติธรรม 
11/11/57 56
กฎหมายครอบครัวการสมรส

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาSukit U-naidhamma
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
การสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสการสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสbilly ratchadamri
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2AJ Por
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน0895043723
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวSukit U-naidhamma
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1Wilawun Wisanuvekin
 

Mais procurados (20)

กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
การสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรสการสิ้นสุดการสมรส
การสิ้นสุดการสมรส
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัวกฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
ทดสอบภูมิศาสตร์กายภาพ
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์ไอโซเมอร์
ไอโซเมอร์
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 

Destaque

กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้วกฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้วYosiri
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาbilly ratchadamri
 
แบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสสำเร็จ นางสีคุณ
 

Destaque (7)

การสมรส
การสมรสการสมรส
การสมรส
 
การสมรส
การสมรสการสมรส
การสมรส
 
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้วกฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
กฎหมายครอบครัว กลุ่มแต้ว
 
การหมั้น
การหมั้นการหมั้น
การหมั้น
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา
 
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรมการรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
 
แบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสแบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
แบบสอบถาม แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรส
 

กฎหมายครอบครัวการสมรส

  • 1. การสมรส Conditions of Marriage Sukit U-naidhamma 11/11/57 1
  • 2. การสมรส คือ การที่ชายและหญิงสมัครใจอยู่กินกันฉันสามีภริยาชั่ว ชีวิต องค์ประกอบ ๑.คู่สมรสจะต้องเป็นชายและหญิง คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 157/2524 ผู้ร้องเป็นชายโดยกา เนิด แม้จะได้รับการ ผ่าตัดเปลี่ยนแปลงอวัยวะเพศเป็นหญิงแล้วก็ตาม แต่ก็ไม่มีกฎหมายรับรองให้ สิทธิผู้ร้องที่จะขอเปลี่ยนแปลงเพศที่ถือกา เนิดมาได้ ทั้งมิใช่เป็นกรณีที่ผู้ร้อง จะต้องใช้สิทธิทางศาลตามกฎหมาย ฉะนั้น ผู้ร้องจะขอให้ศาลมีคา สั่งให้ผู้ร้อง เปลี่ยนเพศมาเป็นหญิงไม่ได้ 11/11/57 2
  • 3. ๒.การสมรสจะต้องเป็นการสมัครใจของชายหญิง ๓.จะต้องอยู่ร่วมกันชั่วชีวิต ๔.จะต้องมีคู่สมรสเพียงคนเดียว เงื่อนไขการสมรส ๑.ชายและหญิงจะต้องมีอายุครบสิบเจ็ดปีบริบูรณ์ 11/11/57 3
  • 4. คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๒๖๙/๒๕๔๔ จาเลยกระทาชาเราผู้เสียหายซึ่งเป็น เด็กหญิงอายุไม่เกิน15 ปี โดยผู้เสียหายยินยอมย่อมเป็นความผิดตามประมวล กฎหมายอาญา มาตรา 277 วรรคหนึ่ง แต่ในวรรคท้ายบัญญัติว่า ความผิด ดังกล่าวถ้าเป็นการกระทา ที่ชายกระทา กับเด็กหญิงอายุกว่า 13 ปี แต่ยังไม่เกิน 15 ปี โดยเด็กหญิงนั้นยินยอมและภายหลังศาลอนุญาตให้ชายและเด็กหญิงนั้น สมรสกัน ผู้กระทาผิดไม่ต้องรับโทษ มีความหมายว่าในกรณีที่ชายและ เด็กหญิงมีอายุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ยังไม่อาจที่จะสมรสกันได้ตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1448 หากจะสมรสกันอันจะทา ให้ชายไม่ต้อง รับโทษต้องมีคา สั่งของศาลอนุญาตให้ทา การสมรส ฉะนั้น เมื่อขณะที่จา เลย และผู้เสียหายจดทะเบียนสมรสกันนั้น ทั้งจา เลยและผู้เสียหายมีอายุครบ 17 ปี บริบูรณ์แล้ว ย่อมจดทะเบียนสมรสกันได้โดยไม่ต้องได้รับอนุญาตจากศาล จา เลยและผู้เสียหายจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายอิสลามแล้ว ย่อมเป็นสามี ภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมาย จา เลยจึงไม่ต้องรับโทษอีกต่อไป 11/11/57 4
  • 5. ๒.ชายหรือหญิงจะต้องไม่เป็นคนวิกลจริต คือ บุคคลที่มี จิตผิดปกติ และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ ม.๑๔๔๙ ม.๑๔๙๕ ๓.ญาติสนิทสมรสกันไม่ได้ ม.๑๔๕๐ 11/11/57 5
  • 6. ๓.๑.ญาติสืบสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป คือ บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย และทวด ๓.๒. ญาติสืบสายโลหิตโดยตรงลงมา คือ ลูก หลาน เหลน ลื่อ ๓.๓.พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน ๓.๔. พี่น้องร่วมแต่บิดามารดาเดียวกัน ๔.ผู้รับบุตรบุญธรรมกับบุตรบุญธรรมจะสมรสกันไม่ได้ มาตรา ๑๕๙๘/๑๙ มาตรา ๑๕๙๙/๒๗ มาตรา ๑๔๕๑ มาตรา ๑๕๙๘/๓๒ มาตรา ๑๔๕๑ ๕.ชายหรือหญิงมิได้เป็นคู่สมรสของบุคคล มาตรา ๑๔๕๒ มาตรา ๑๔๙๕ 11/11/57 6
  • 7. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1221/2527 พ.จดทะเบียนสมรสกับจา เลยที่1ขณะที่ พ. มี โจทก์เป็นภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายก่อนใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 อยู่แล้ว เป็นการฝ่าฝืนเงื่อนไขแห่งการสมรสและเป็นโมฆะตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 และ 1496 โจทก์คงเป็นภริยา ของ พ. แต่ผู้เดียวเดิมที่พิพาทมีชื่อ พ. ถือกรรมสิทธ์ิร่วมกับบิดาก่อนสมรสกับ โจทก์จึงเป็นสินเดิมของ พ. กึ่งหนึ่ง ซึ่งตกเป็นสินส่วนตัวตาม ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ตรวจชา ระใหม่ อีกกึ่งหนึ่ง พ. ได้รับมรดกของบิดา หลังสมรส จึงตกเป็นสินสมรสของโจทก์และ พ. สามีเมื่อที่พิพาทเป็นสินสมรส และสินส่วนตัวจึงเป็นสินบริคณห์ตาม มาตรา1462 เดิม สิ่งปลูกสร้างบนที่พิพาท ย่อมตกเป็นส่วนควบ พ. ทา หนังสือมอบอา นาจให้ขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างราย พิพาทซึ่งเป็นสินบริคณห์ให้จา เลยทั้งห้า ต้องถือว่าโจทก์ยินยอมให้ขาย 11/11/57 7
  • 8. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1053/2537 โจทก์บรรยายฟ้องโดยระบุว่าโจทก์จา เลยได้ ร่วมกันซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลเมื่อวันที่อะไร ประจา งวดใด และได้ซื้อสลาก กินแบ่งรัฐบาลขณะที่โจทก์จา เลยเป็นสามีภรรยากันโดยชอบด้วยกฎหมายและ อ้างเหตุจา เป็นในการที่โจทก์ขอเป็นผู้จัดการเงินรางวัลที่จา เลยถูกสลากกินแบ่ง รัฐบาลแต่ผู้เดียวเอาไว้ ฟ้องโจทก์ได้บรรยายโดยชัดแจ้งซึ่งสภาพแห่งข้อหา และคา ขอบังคับแล้ว ส่วนการที่โจทก์จา เลยจะซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลที่ไหน จากใคร เป็นเพียงรายละเอียดที่สามารถนา สืบในชั้นพิจารณาได้ และจา เลยเอง ก็เข้าใจข้อหาโจทก์ดีสามารถต่อสู้คดีโจทก์ได้ถูกต้อง ฟ้องโจทก์จึงไม่เคลือบ คลุม แม้ภรรยาเดิมของจา เลยจะฟ้องเพิกถอนการหย่า และศาลมีคา พิพากษา ตามยอมให้เพิกถอนการจดทะเบียนหย่าแล้วก็ตาม แต่เป็นการทา ภายหลังจากที่ โจทก์จา เลยจดทะเบียนสมรสกันถูกต้องตามกฎหมายแล้ว การสมรสระหว่าง โจทก์กับจา เลยจึงไม่เป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชาระใหม่ พ.ศ. 2519 11/11/57 8
  • 9. มาตรา 1496 ประกอบด้วยมาตรา 1452 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น จา เลยใช้ เงินของจา เลยซื้อสลากกินแบ่งฯ ก่อนสมรสกับโจทก์สลากกินแบ่งฯ ออกรางวัลหลังจากที่ โจทก์จาเลยสมรสกันแล้ว และถูกรางวัล เงินรางวัลที่จาเลยได้รับมาจากการถูกสลากกิน แบ่งรัฐบาลระหว่างสมรสถือว่าเป็นทรัพย์สินที่ได้มาระหว่างสมรสย่อมเป็นสินสมรสตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชาระใหม่พ.ศ. 2519 มาตรา 1474(1) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชาระใหม่พ.ศ. 2519 มาตรา 1485 บัญญัติว่าสามีหรือภริยาอาจร้องขอต่อศาลให้ตนเป็นผู้จัดการสินสมรสโดยเฉพาะอย่างใด อย่างหนึ่งหรือเข้าร่วมจัดการในการนั้นได้ ถ้าการที่จะทา เช่นนั้นจะเป็นประโยชน์ยิ่งกว่า เป็นข้อยกเว้นจากหลักทั่วไป เมื่อไม่ปรากฏว่าโจทก์จา เลยทา สัญญาก่อนสมรสกันไว้ เงิน รางวัลที่เหลือฝากในธนาคารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสินสมรส โจทก์จา เลยย่อมเป็นผู้จัดการ สินสมรสร่วมกันอยู่แล้วกรณีจึงไม่มีเหตุจา เป็นใด ๆ ที่โจทก์จะเป็นผู้จัดการเงินรางวัล ดังกล่าวเพียงผู้เดียวแต่อย่างใด 11/11/57 9
  • 10. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 6077/2537 ขณะจา เลยจดทะเบียนสมรสกับ น. เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2522น. จดทะเบียนสมรสกับโจทก์อยู่ก่อนแล้ว ฉะนั้นการสมรส ระหว่างจาเลยกับ น. จึงฝ่าฝืนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 ตกเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1496 เดิมซึ่งใช้ บังคับอยู่ในขณะนั้น การตกเป็นโมฆะดังกล่าวมีผลเท่ากับว่าจา เลยและ น. มิได้ ทา การสมรสกัน ดังนั้นการจดทะเบียนสมรสระหว่างโจทก์และ น. ในครั้งหลัง จึงกระทา ในขณะที่จา เลยไม่มีฐานะเป็นคู่สมรสของ น. การสมรสระหว่างโจทก์ และ น. จึงชอบด้วยกฎหมายโจทก์จึงเป็นผู้มีส่วนได้เสียตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์มาตรา 133 เดิม และมาตรา 1497 เดิม มีอานาจฟ้องขอให้ศาล พิพากษาว่าการสมรสระหว่างจาเลยกับ น. เป็นโมฆะ ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1496 เดิมได้ 11/11/57 10
  • 11. คำ พิพำกษำศำลฎีกำที่ 1237/2544 ขณะที่จา เลยจดทะเบียนสมรสกับ ส. ในวันที่ 10 สิงหาคม2531 จาเลยไม่มีคู่สมรสเพราะจาเลยจดทะเบียน หย่ากับ ค. แล้วตั้งแต่วันที่ 4 กรกฎาคม 2515 จึงไม่เป็นการฝ่าฝืน เงื่อนไขการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 การที่จา เลยไม่มีคู่สมรสอยู่ในขณะที่จดทะเบียนสมรส แม้จา เลยจะแจ้ง ว่าจาเลยเคยสมรสแต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสก็มีผลอย่างเดียวกันว่า จา เลยไม่มีคู่สมรสในขณะที่จา เลยจดทะเบียนสมรสกับ ส. นั่นเองการที่ นายทะเบียนจดทะเบียนสมรสให้จาเลยกับ ส. โดยเชื่อว่าจาเลยไม่เคย สมรสมาก่อนจึงไม่อาจทาให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหายและไม่น่าจะ เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน จาเลยจึงไม่มีความผิดตาม ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 137 และมาตรา 267 11/11/57 11
  • 12. ๖.ชายหรือหญิงยินยอมเป็นสามีภรรยากัน คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1127/2536 เมื่อคดีอาญาที่จา เลยทั้งสองถูกฟ้องเป็นเรื่องแจ้งความ เท็จต่อเจ้าพนักงาน ส่วนคดีนี้เป็นคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ศาลมีคา พิพากษาว่าการสมรสของ จา เลยทั้งสองเป็นโมฆะตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ซึ่งไม่ต้องอาศัยมูลความผิด ทางอาญาฐานแจ้งความเท็จแต่อย่างใด กรณีจึงไม่ใช่คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ศาลไม่ จา ต้องถือข้อเท็จจริงตามที่ปรากฏในคดีอาญาและมีอา นาจฟังข้อเท็จจริงใหม่ตามที่ปรากฏ ในสา นวนคดีแพ่งได้ เมื่อพฤติการณ์แห่งคดีปรากฏว่าช่วงเกิดเหตุจา เลยที่2 ยังอยู่กินฉัน สามีภรรยากับนาย บ.ส่วนจา เลยที่ 1 มีฐานะเป็นเพียงลูกจ้างของบุคคลทั้งสอง การที่จา เลย ทั้งสองร่วมกันไปขอจดทะเบียนสมรสโดยแจ้งต่อเจ้าพนักงานว่ามีเจตนาจะสมรสกันและ ต่างไม่เคยมีคู่สมรสมาก่อนจึงผิดไปจากเจตนาที่แท้จริง และไม่น่าเชื่อว่าจา เลยทั้งสอง ยินยอมเป็นสามีภริยากันอันเป็นเงื่อนไขแห่งการสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา 1458 โจทก์จึงมีสิทธิร้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรสระหว่างจา เลยทั้ง สองเป็นโมฆะได้ 11/11/57 12
  • 13. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 5280/2544 โจทก์ฟ้องขอให้ศาลพิพากษาว่าการสมรส ระหว่างจาเลยกับนาง ส. มารดาโจทก์เป็นโมฆะ โดยอ้างว่า จาเลยจดทะเบียน สมรสกับหญิงอื่น โดยหญิงนั้นแอบอ้างชื่อว่าเป็นนาง ส. เป็นการกล่าวอ้างว่ามี การจดทะเบียนสมรสไม่ถูกต้องตามกฎหมายโดยนาง ส. ไม่ได้ให้ความยินยอม อันเป็นการฝ่าฝืนต่อประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 ย่อมตก เป็นโมฆะตามมาตรา 1495 ซึ่งจะต้องมีคา พิพากษาของศาลเท่านั้นที่จะแสดงว่า การสมรสเป็นโมฆะ โดยคู่สมรส บิดามารดา หรือผู้สืบสันดานของคู่สมรสอาจ ร้องขอให้ศาลพิพากษาว่า การสมรสเป็นโมฆะได้ตามมาตรา 1496 ดังนั้น แม้ นาง ส. ถึงแก่ความตายทาให้การสมรสสิ้นสุดลงก่อนโจทก์ฟ้อง แต่เมื่อยัง ปรากฏความเป็นโมฆะอยู่โดยยังไม่มีคาพิพากษาให้เป็นโมฆะ ย่อม กระทบกระเทือนสิทธิของโจทก์ซึ่งเป็นผู้สืบสันดาน โจทก์ย่อมมีอา นาจฟ้อง ขอให้การสมรสเป็นโมฆะได้ 11/11/57 13
  • 14. คำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1067/2545 การสมรสจะทา ได้ต่อเมื่อชายและหญิงยินยอมเป็นสามี ภริยากัน โดยทั้งสองคนตกลงจะเป็นบุคคลในครอบครัวเดียวกัน ต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามี ภริยาทั้งในทางธรรมชาติและกฎหมาย ได้ดูแลความทุกข์สุข เจ็บป่วยซึ่งกันและกันต้อง ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและฐานะของตน การที่จา เลยจดทะเบียน สมรสกับ ช. แต่ไม่ได้พักอาศัยอยู่ด้วยกัน เมื่อ ช. ป่วย โจทก์เป็นผู้พา ช. ไปโรงพยาบาลและ เสียค่ารักษาพยาบาลให้ และยังให้ ช. ไปพักอาศัยอยู่ด้วย ส่วนจา เลยยังคงพักอาศัยอยู่กับ น้องสาวและไม่เคยออกค่ารักษาพยาบาลทั้งไม่เคยมาเยี่ยมเยียน ช. เลย เห็นได้ชัดว่าจา เลย กับ ช. มิได้อยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยาแต่อย่างใด จา เลยเองก็ยังรับว่าไม่อยากไปจดทะเบียน สมรส แต่ ช. เป็นผู้พาไปโดยบอกว่าถ้าไม่จดทะเบียนสมรสแล้วจะไม่มีผู้ใดมีสิทธิรับเงิน บา เหน็จตกทอด ซึ่งก็ปรากฏว่าเมื่อ ช. ถึงแก่กรรมจา เลยเป็นผู้ได้รับเงินบา เหน็จตกทอดมา จริง แสดงว่าจา เลยจดทะเบียนสมรสกับ ช. โดยมิได้มีเจตนาที่จะเป็นสามีภริยากันมาแต่แรก หากแต่เป็นการกระทา เพื่อให้มีสิทธิรับเงินบา เหน็จตกทอดเท่านั้น การสมรสของจา เลยจึง ฝ่าฝืนต่อบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1458 ตกเป็นโมฆะตาม มาตรา 1495 11/11/57 14
  • 15. ๗.หญิงหม้ายจะสมรสใหม่ได้ต่อเมื่อผ่าน ๓๑๐ วันนับจากการสมรสสิ้นสุดลง ม.๑๔๕๓ ๘.ผู้เยาว์จะทา การสมรสได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอมจากบิดามารดาหรือ ผู้ปกครอง ม.๑๔๕๔ ม.๑๔๕๕ 11/11/57 15
  • 17. คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๔๐/๒๕๒๕ นายทะเบียนอ้างระเบียบกระทรวงมหาดไทย มาเป็นเหตุไม่รับจดทะเบียนไม่ได้ คา พิพากษาฎีกาที่ ๔๑๕๒/๒๕๓๒ โจทก์ไปยื่นคา ร้องขอจดทะเบียนสมรสโดย ระบุด้วยว่าเอาหนังสือรับรองความเป็นโสดจากสถานทูตมาแสดงไม่ได้ ขอให้ จาเลยทาหนังสือถามข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวโจทก์ไปที่สถานทูตเพื่อใช้ ประกอบการจดทะเบียนสมรสตามกฎหมายไทย การที่จา เลยซึ่งเป็นนายทะเบียน ออกหนังสือสอบถามให้และรอหนังสือรับรองจากสถานทูตประเทศที่โจทก์มี สัญชาติ เพื่อประกอบการพิจารณาว่าโจทก์เป็นโสดไม่ต้องห้ามสมรสตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1452 นั้น ถือไม่ได้ว่าจา เลยปฏิเสธไม่ ยอมรับจดทะเบียนสมรสให้แก่โจทก์ กรณีจึงยังไม่มีการโต้แย้งสิทธิของโจทก์ โจทก์ไม่มีอา นาจฟ้อง. 11/11/57 17
  • 18. คาพิพากษาฎีกาที่ ๒๖๑๖/๒๕๔๓ แม้ใบทะเบียนการสมรสมิได้ ประทับตรานายทะเบียน ก็หาทาให้ทะเบียนการสมรสไม่สมบูรณ์หรือ เป็นโมฆะ เพราะพระราชบัญญัติการจดทะเบียนครอบครัวฯ กาหนด เพียงให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อไว้เป็นสา คัญ มิได้มีบทบัญญัติว่าต้อง ประทับตรานายทะเบียนแต่อย่างใด 11/11/57 18
  • 19. คาพิพากษาฎีกาที่ ๓๗๓๙/๒๕๔๘ แม้ตามสาเนาทะเบียนการสมรสจะปรากฏ ลายมือชื่อฝ่ายชายคือ จา เลยที่ 1 เป็นผู้ร้องขอจดทะเบียนแต่เพียงผู้เดียวก็ตาม แต่ ในบันทึกด้านหลังของทะเบียนสมรสดังกล่าวเจ้าหน้าที่ได้บันทึกถ้อยคา ที่จา เลย ที่ 1 และผู้ตายให้ไว้ว่าคู่สมรสทั้งสองฝ่ายมีความสมัครใจและเต็มใจที่จะจด ทะเบียนสมรสกัน โดยทั้งจา เลยที่ 1 และผู้ตายได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐาน บันทึกดังกล่าวได้ทาในวันและเวลาต่อเนื่องกับรายการจดทะเบียนสมรส ด้านหน้า จึงย่อมถือได้ว่าจา เลยที่ 1 และผู้ตายได้ให้ถ้อยคา และปฏิบัติตามเงื่อนไข แห่งกฎหมายในเรื่องการจดทะเบียนสมรสด้วยความยินยอมของทั้งสองฝ่ายโดย ถูกต้องตามกฎหมายแล้ว ความบกพร่องที่ผู้ตายไม่ได้ลงลายมือชื่อไว้ที่ด้านหน้า ทะเบียนสมรสดังกล่าวยังไม่เป็นเหตุถึงทาให้การจดทะเบียนสมรสไม่มีผล สมบูรณ์เป็นโมฆะแต่อย่างไร 11/11/57 19
  • 20. ในการรับบุตรบุญธรรมตาม ป.พ.พ. มาตรา 1583 (เดิม) ซึ่งใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น บัญญัติ ว่า ถ้าผู้ที่บุตรบุญธรรมยังไม่บรรลุนิติภาวะ การรับบุตรบุญธรรมจะทาได้ต่อเมื่อได้รับ ความยินยอมของบิดามารดา ถ้าไม่มีบิดามารดา ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้ความยินยอมก็ ได้ และมาตรา 1585 (เดิม) บัญญัติว่า การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์เมื่อได้จดทะเบียน ตามกฎหมาย เมื่อพิจารณาประกอบ พ.ร.บ.จดทะเบียนครอบครัวฯ มาตรา 22 แล้วจะเห็นว่า บทบัญญัติดังกล่าวกาหนดแต่เพียงว่า การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมต้องได้รับความ ยินยอมจากบิดามารดาเท่านั้น มิได้บังคับว่าคา ยินยอมต้องทา เป็นหนังสือหรือต้องมีลายมือ ชื่อของบิดามารดาให้ความยินยอมแต่อย่างไร ดังนั้น เมื่อได้ความว่าจา เลยที่1 กับ ม. ซึ่ง เป็นบิดามารดาของจา เลยที่ 2 และที่ 3 จดทะเบียนหย่าและแยกกันอยู่โดยมีบันทึกหลัง ทะเบียนหย่าว่าให้จา เลยที่ 1 รับเลี้ยงจา เลยที่ 2 และที่ 3 ส่วน ม. รับเลี้ยงบุตรคนเล็ก และ ต่อมาจาเลยที่ 1 จดทะเบียนสมรสกับผู้ตายและผู้ตายได้จดทะเบียนรับจาเลยที่2 และที่ 3 เป็นบุตรบุญธรรม ซึ่งจา เลยที่ 4 ในฐานะนายทะเบียนได้ดา เนินการจดทะเบียนรับบุตรบุญ ธรรมให้แก่ผู้ตายโดยที่ให้เฉพาะจา เลยที่ 1 บิดาเป็นผู้ลงลายมือชื่อให้ความยินยอมแต่เพียงผู้ เดียว โดยเห็นว่าตาม 11/11/57 20
  • 21. บันทึกข้อตกลงหลังทะเบียนหย่ามีผลทาให้จาเลยที่ 1 เป็นผู้มีอานาจปกครอง จา เลยที่ 2 และที่ 3 เพียงผู้เดียว แม้ข้อความในบันทึกหลังทะเบียนหย่ามิอาจถือ ได้ว่า ม. ตกลงยินยอมให้จาเลยที่ 1 เป็นผู้มีอานาจปกครองจาเลยที่ 2 และที่ 3 เพียงผู้เดียวก็ตาม แต่ปรากฏว่านับแต่ผู้ตายจดทะเบียนรับจาเลยที่ 2 และที่ 3 เป็นบุตรบุญธรรมจนกระทั่งผู้ตายถึงแก่ความตายเป็นเวลากว่า 29 ปีม. ก็มิได้ ว่ากล่าวคัดค้านการรับบุตรบุญธรรม และยังทา หนังสือยืนยันว่าทราบเรื่องและ ให้ความยินยอมมาโดยตลอดตั้งแต่ต้นจนถึงปัจจุบัน และเหตุที่ไม่ได้ลงลายมือ ชื่อไว้ก็เพราะขณะที่จดทะเบียนหย่ากับจา เลยที่ 1 ม. ตกลงให้จา เลยที่ 2 และที่ 3 อยู่ในการเลี้ยงดูของจา เลยที่ 1 นั้น หมายถึงการให้เป็นผู้ใช้อา นาจปกครองบุตร แต่ผู้เดียวด้วยและไม่ขอคัดค้าน รวมทั้งยังขอร้องสอดเข้ามาเป็นจา เลยร่วมโดย ยืนยันการจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม พฤติการณ์จึงฟังได้ว่า ม. ได้ให้ความ ยินยอมด้วยแล้วในการรับบุตรบุญธรรมของผู้ตาย การรับบุตรบุญธรรม ดังกล่าวจึงชอบแล้ว 11/11/57 21
  • 22. การสมรสต่างประเทศ ม.๑๔๕๙ มาตรา 1459 การสมรสในต่างประเทศระหว่างคนที่มีสัญชาติไทยด้วยกัน หรือ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีสัญชาติไทย จะทา ตามแบบที่กา หนดไว้ตามกฎหมายไทยหรือ กฎหมายแห่งประเทศนั้นก็ได้ ในกรณีที่คู่สมรสประสงค์จะจดทะเบียนตามกฎหมายไทยให้พนักงานทูต หรือกงสุลไทยเป็นผู้รับจดทะเบียน 11/11/57 22
  • 24. ๑.ความสัมพันธ์ทางส่วนตัว ๑.ต้องอยู่กินด้วยกันและช่วยเหลือกัน มาตรา ๑๔๖๑ สามีภริยาต้องอยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา สามีภริยา ต้องช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันตามความสามารถและ ฐานะของตน 11/11/57 24
  • 25. คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๕๐๖/๒๕๔๒ สามีเข้าไปตามภรรยาที่อยู่บ้าน ผู้อื่นไม่มีความผิดฐานบุกรุก การช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดู การช่วยเหลือ คือ การช่วยปฏิบัติหน้าที่ในครอบครัวเพื่อให้ครอบครัว ดา รงอยู่ด้วยความสุข เข่น การจัดการบ้านเรือน ดูแลบุตร การอุปการะเลี้ยงดู คือ การให้สิ่งที่จา เป็นต่อการดา รงชีวิต เช่น เงิน ทอง ปัจจัยในการดา รงชีวิต 11/11/57 25
  • 26. สิทธิในการเรียกค่าเลี้ยงดูจากบุคคลภายนอก ที่ทา ละเมิดต่อสามีหรือภริยา ม.๔๔๕ ม.๔๔๓ คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๘๒๒/๒๕๒๔ สามีภริยาสมัครใจแยกกันอยู่ สามี ต้องจ่ายค่าอุปการะเลี้ยงดูให้ภริยา 11/11/57 26
  • 27. คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๙๘๗/๒๕๓๗ สามีภรรยามีหน้าที่ต้อง ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูกันและกันตามความสามารถและ ฐานะของตน หาใช่จาเลยที่ ๑ ซึ่งเป็นสามีจะต้องมีหน้าที่ อุปการะเลี้ยงดูภริยาแต่เพียงฝ่ายเดียวไม่ ฉะนั้น เมื่อโจทก์ไม่ สามารถนาสืบได้ว่าจาเลยที่ ๑ มีความสามารถหรือฐานะดีกว่า โจทก์เพียงใด และโจทก์มีรายจ่ายเกินรายได้ของตนเพียงใด แต่กลับได้ความว่าเงินเดือนที่โจทก์ได้รับพอใช่จ่าย เช่นนี้ โจทก์จึงไม่สมควรได้รับค่าอุปการะเลี้ยงดูจากจา เลยที่ ๑ 11/11/57 27
  • 28. คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๓๖๙/๒๕๔๐ ค่าอุปการะเลี้ยงดู ที่โจทก์ที่ ๑ ซึ่งเป็นภริยาของผู้ตายตาม ป.พ.พ. ม. ๑๔๖๑ วรรคสอง นั้น โจทก์ที่ ๑ มีอายุ๔๗ ปี ส่วน ผู้ตายมีอายุ ๕๐ ปี ย่อมเห็นว่าโจทก์ที่ ๑ มีโอกาสรับ การอุปการะตามกฎหมายได้ไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี การที่ โจทก์ที่ ๑ เรียกค่าขาดไร้อุปการะเป็นเวลา ๑๐ ปี จึง เป็นระยะเวลาที่สมควร 11/11/57 28
  • 29. ๒.ข้อตกลงแยกกันอยู่เป็นการชั่วคราว ๒.๑ สามีภริยาทา ข้อตกลงแยกกันต่างหาก ผลทางกฎหมาย ๑.ใช้บังคับได้หรือไม่ วาจาหรือลายลักษณ์อักษร 11/11/57 29
  • 30. ๒.การสมรสสิ้นสุดลงหรือไม่ ๓.ทา การสมรสใหม่ได้หรือไม่ ๔.เป็นเหตุหย่าตาม ม.๑๕๑๖ (๔) หรือไม่ ๕. หากเหตุแยกกันอยู่เพราะไม่สามารถอยู่กินด้วยกันอย่างปกติสุขและสามีภริยา แยกกันอยู่มาเกินสามปี สามีหรือภริยาฝ่ายหนึ่งมีสิทธิฟ้องหย่าได้ ม.๑๕๑๖ (๔) (๔/๒) 11/11/57 30
  • 31. คา พิพากษาฎีกาที่ ๗๘๐/๒๕๐๒ เหตุหย่าในข้อจงใจละทิ้งร้างเกินกว่า 1 ปีนั้น ตราบใดที่ ยังทิ้งร้างกันอยู่ ก็ย่อมมีสิทธิฟ้องขอหย่าได้ไม่ขาดอายุความ (ประชุมใหญ่ครั้งที่ 10/2502) คดีก่อน ศาลพิพากษายกฟ้อง โดยอ้างเหตุว่า ฟ้องโจทก์เคลือบคลุมในข้อที่ กล่าวหาว่าจา เลยร้องเรียนต่อกรมมหาดไทยเป็นการหมิ่นประมาทโจทก์ และที่ว่าจา เลย จงใจละทิ้งร้างโจทก์นั้น ในฟ้องไม่กล่าวว่า เหตุเกิดเมื่อใดทิ้งร้างไปเมื่อใด โดยยังมิได้ วินิจฉัยชี้ขาดในประเด็นข้อโต้เถียงเรื่องการหย่าเลย โจทก์ฟ้องคดีหลังกล่าวหาว่าจา เลย ร้องเรียนต่อกรมมหาดไทย และร้องเรียนต่อสภาวัฒนธรรมแห่งชาติเป็นเหตุให้โจทก์ ได้รับความเสียหายอันเป็นการกระทา เป็นปฏิปักษ์ต่อการเป็นสามีภริยากัน และว่าจา เลย จงใจละทิ้งร้างโจทก์เป็นเวลากว่า 1 ปี เป็นคนละประเด็น คนละเหตุไม่เป็นฟ้องซ้า กล่าวฟ้องว่า จา เลยมีเจตนาจงใจละทิ้งร้างโจทก์ไป ย่อมแสดงความหมายอยู่ในตัว แล้ว ไม่จา ต้องกล่าวว่ากระทา การอย่างใดอันได้ชื่อว่าเป็นการจงใจละทิ้งร้าง ฟ้องเช่นนี้ ไม่เคลือบคลุม 11/11/57 31
  • 32. เมื่อปรากฏว่า โจทก์เองก็ไม่ต้องการจะให้จา เลยมาอยู่ร่วมกับ โจทก์ โจทก์จะกลับมาฟ้องขอหย่าโดยอ้างเหตุว่าจา เลยมีเจตนาจงใจละ ทิ้งร้างโจทก์หาได้ไม่ โจทก์ไม่มีสิทธิฟ้องขอหย่าจา เลยตามข้ออ้างเช่น ว่านี้ โจทก์ฟ้องขอหย่าอ้างเหตุว่า จา เลยกระทา การเป็นปฏิปักษ์ต่อการ เป็นสามีภริยากัน แต่ปรากฏว่า เป็นเรื่องเกิดขึ้นก่อนที่โจทก์จา เลยทา สัญญาประนีประนอมกัน โจทก์จะอ้างเหตุที่ว่านั้นมาเป็นข้อฟ้องหย่า หาได้ไม่ เพราะผลของสัญญาประนีประนอมนั้น ย่อมทา ให้การ เรียกร้องซึ่งแต่ละฝ่ายได้ยอมสละนั้นระงับสิ้นไป และทา ให้แต่ละฝ่าย ได้สิทธิตามที่แสดงในสัญญานั้นว่าเป็นของตน 11/11/57 32
  • 33. คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๖๒๗/๒๕๓๐ ในคดีหย่า แม้โจทก์จา เลยตกลงหย่ากัน ระหว่างพิจารณาแต่การที่ จา เลยจะมีสิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพจากโจทก์หรือไม่นั้น จะต้องพิจารณาว่า มีเหตุแห่งการหย่าหรือไม่ และเหตุแห่งการหย่านั้นเป็น ความผิดของโจทก์ หรือไม่เมื่อโจทก์จา เลยสมัครใจแยกกันอยู่จึงถือไม่ได้ว่า โจทก์จงใจละทิ้งร้างจา เลยอันจะทา ให้จา เลยมีสิทธิเรียกค่าเลี้ยงชีพจากโจทก์ ส่วนค่าอุปการะเลี้ยงดูในระหว่างที่สามีภริยาแยกกันอยู่นั้นฝ่ายที่มี ความสามารถหรือฐานะน้อยกว่าและแยกไปอยู่โดยสุจริต ชอบที่จะได้รับการ ช่วยเหลืออุปการะเลี้ยงดูจากอีกฝ่าย เมื่อโจทก์ จา เลยต่างสมัครใจแยกกันอยู่ ชั่วคราวโดยไม่ใช่ความผิดของจา เลย และจา เลยไม่มีอาชีพหรือรายได้เพียงพอ โจทก์ซึ่งอุปการะเลี้ยงดูจา เลย มาตลอดและอยู่ในฐานะที่สามารถจะอุปการะ เลี้ยงดูจา เลยได้จึงมี หน้าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูจา เลย 11/11/57 33
  • 34. ๒.๒ ศาลมีคา สั่งอนุญาตให้แยกกันอยู่ สาเหตุ คือ ๑.สามีภริยาไม่สามารถที่จะอยู่กินร่วมกันอย่างปกติสุข ๒.การอยู่ร่วมกันจะเป็นอันตรายแก่กายอย่างมากของสามี ภริยา ๓. การอยู่ร่วมกันจะเป็นอันตรายแก่จิตใจอย่างมากของสามี ภริยา ๔. การอยู่ร่วมกันจะเป็นการทา ลายความผาสุกอย่างมากของ สามีภริยา 11/11/57 34
  • 35. ๓.การเป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ให้คู่สมรส มาตรา ๑๔๖๓ ในกรณีที่ศาลสั่งให้สามีหรือภริยาเป็นคนไร้ ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ ภริยาหรือสามีย่อมเป็นผู้ อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ แต่เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรืออัยการร้องขอ และถ้ามี เหตุสา คัญศาลจะตั้งผู้อื่น เป็นผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ก็ได้ คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๙๓๙/๒๕๓๗ ถ้าไม่มีเหตุสา คัญ ตั้งภริยาเป็นผู้ อนุบาลสามีเพียงคนเดียวได้ ไม่ต้องตั้งบุตร 11/11/57 35
  • 36. คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๗๒๗/๒๕๓๐ จา เลยเป็นบุตรย่อมมี อานาจร้องขอต่อศาลให้สั่งให้มารดาเป็นคนเสมือนไร้ ความสามารถ หรือเป็นคนไร้ความสามารถ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๓๒ หรือ มาตรา ๒๘ โดยไม่ต้องรับความยินยอม จากโจทก์ผู้เป็นบิดาและสามีของมารดาจา เลย ทั้งศาลมี อา นาจแต่งตั้งจา เลยเป็นผู้พิทักษ์หรือผู้อนุบาลมารดาได้ ตาม มาตรา ๑๔๖๓ แม้ตามปกติคู่สมรสจะเป็นผู้พิทักษ์ หรือผู้อนุบาลตามกฎหมายก็ตาม 11/11/57 36
  • 37. ๔.การซื่อสัตย์ในความรักต่อกัน ๕.การใช้คา นา หน้านามและชื่อสกุลของหญิงมีสามี พ.ร.บ.คา นา หน้านามหญิง พ.ศ. ๒๕๕๑ ม. ๔ และมาตรา ๕ หญิงอายุสิบห้าปีบริบูรณ์ยังไม่สมรสใช้คา นา หน้าว่า “นางสาว” สมรสแล้วใช้คา ว่า “นางสาว” หรือ “นาง” ก็ได้ 11/11/57 37
  • 38. พ.ร.บ. ชื่อบุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕และ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ มาตรา ๑๒ และ มาตรา ๑๓ กาหนดให้หญิงจะใช้ชื่อสกุลเดิมของตนก็ได้หรือยินยอมให้สามีใช้ ชื่อสกุลของตนเองได้ หรือใช้ชื่อสกุลของสามีได้(สามียินยอม) ตกลงใน ระหว่างสมรสหรือภายหลังก็ได้ คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๔๖/๒๕๓๙ 11/11/57 38
  • 39. สัญชาติและภูมิลา เนาของสามีภริยา การสมรสไม่ทา ให้สัญชาติของสามีหรือภริยาเปลี่ยนแปลงไป สามีภริยามีภูมิลา เนาเดียวกัน มาตรา ๔๓ คา พิพากษาฎีกาที่ ๑๓๖๙/๒๕๒๔ สามีนา รถยนต์สินสมรสไปใช้ใน การกระทา ความผิดตามลา พัง โดยภริยาไม่รู้เห็นยินยอมด้วย รถยนต์ ของกลางจึงริบเพียงกึ่งหนึ่ง อีกกึ่งหนึ่งต้องคืนภริยา 11/11/57 39
  • 40. คา พิพากษาฎีกาที่ ๒๗๒๔/๒๕๓๔ เจ้าพนักงานเรียกสามีมา ชี้แจงคนเดียว ไม่ถือว่าเป็นการชี้แจงแทนภริยา คา พิพากษาฎีกาที่ ๘๐๘/๒๕๔๐ สามีป้องกันภริยาจากการถูก กระทา อนาจารได้ไม่เป็นความผิด 11/11/57 40
  • 41. ความสัมพันธ์ด้านทรัพย์สิน ๑.สัญญาก่อนสมรสในเรื่องทรัพย์สิน มาตรา ๑๔๖๕ ถ้าสามีภริยามิได้ทา สัญญากันไว้ในเรื่องทรัพย์สินเป็น พิเศษก่อนสมรส ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยาในเรื่องทรัพย์สินนั้น ให้บังคับ ตามบทบัญญัติในหมวดนี้ ถ้าข้อความใดในสัญญาก่อนสมรสขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม อันดีของ ประชาชน หรือระบุให้ใช้กฎหมายประเทศอื่นบังคับเรื่องทรัพย์สินนั้น ข้อความนั้น ๆ เป็น โมฆะ 11/11/57 41
  • 42. ๑.ความสัมพันธ์ในเรื่องการจัดการทรัพย์สิน มาตรา ๑๔๖๕ ถึง มาตรา ๑๔๙๓ ๒. ไม่ขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน คา พิพากษาฎีกาที่ ๔๒๑๔/๒๕๓๔ โจทก์จา เลยยังเป็นสามีภริยากันอยู่และไม่ปรากฎว่าได้ ทาสัญญาก่อนสมรสในเรื่องทรัพย์สินไว้เป็นพิเศษก่อนสมรส ความสัมพันธ์ระหว่างสามี ภริยาในเรื่องทรัพย์สินต้องบังคับตาม ป.พ.พ. บรรพ ๕ หมวด ๔ ว่าด้วยทรัพย์สินระหว่าง สามีภริยา โจทก์จาเลยเป็นสามีภริยากันจะฟ้องร้องเรื่องทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาไม่ได้ เว้นแต่จะมีกฎหมายให้อา นาจ กรณีตามคา ฟ้องขอแบ่งเงินขายที่ดินสินสมรสไม่มีกฎหมาย ให้อา นาจไว้ จึงไม่สามารถฟ้องขอแบ่งเงินดังกล่าวได้ 11/11/57 42
  • 43. แบบของสัญญาก่อนสมรส มาตรา ๑๔๖๖ สัญญาก่อนสมรสเป็นโมฆะ ถ้ามิได้จดแจ้งข้อตกลงกันเป็น สัญญาก่อนสมรสนั้นไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับการจดทะเบียนสมรส หรือ มิได้ทา เป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สมรสและพยานอย่างน้อยสองคนแนบไว้ ท้ายทะเบียนสมรส และได้จดไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับการจดทะเบียน สมรสว่าได้มีสัญญานั้นแนบไว้ 11/11/57 43
  • 44. ๑.จดแจ้งสัญญาก่อนสมรสไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับจดทะเบียนสมรส หรือ ๒. ทา เป็นหนังสือลงลายมือชื่อคู่สมรสและพยานอย่างน้อยสองคนแนบท้าย ไว้ท้ายทะเบียนสมรส พร้อมทั้งจดไว้ในทะเบียนขณะจดทะเบียนสมรสว่าได้ มีสัญญาแนบท้ายไว้ ฝ่าฝืน เป็นโมฆะ นามาตรา ๙ มาใช้ได้ 11/11/57 44
  • 45. คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๓๖๔/๒๕๓๒ สัญญาก่อนสมรสทา ไม่ถูกแบบ เพราะไม่ได้นามาแนบท้ายทะเบียนสมรส เป็นโมฆะ คาพิพากษาฎีกาที่ ๖๗๑๑/๒๕๓๗ การที่โจทก์จาเลยทาความตกลงในเรื่อง ทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาว่า จา เลยให้สัญญาว่าบ้านพร้อมที่ดินซึ่งเป็นสิน ส่วนตัวของจา เลยเป็นสินสมรสนั้น เป็นการที่คู่สมรสแจ้งข้อความที่เป็นสัญญา ก่อนสมรสไว้ในทะเบียนสมรสพร้อมกับการจดทะเบียนตาม มาตรา ๑๔๖๖ เมื่อ ไม่ปรากฎว่ามีข้อความขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ ประชาชน ย่อมมีผลใช้บังคับ ตามมาตรา ๑๔๖๖ วรรคสอง โจทก์มีสิทธิขอให้ จา เลยจดทะเบียนใส่ชื่อโจทก์เป็นเข้าของกรรมสิทธ์ิร่วมกับจา เลยคนละครึ่งใน โฉนดที่ดินพร้อมบ้านได้ 11/11/57 45
  • 46. การเปลี่ยนแปลงสัญญาก่อนสมรส มาตรา๑๔๖๗ เมื่อสมรสแล้วจะเปลี่ยนแปลงเพิกถอนสัญญา ก่อนสมรสนั้นไม่ได้ นอกจากจะได้รับอนุญาตจากศาล เมื่อได้มีคาสั่งของศาลถึงที่สุดให้เปลี่ยนแปลงเพิกถอน สัญญาก่อนสมรสแล้ว ให้ศาลแจ้งไปยังนายทะเบียนสมรสเพื่อ จดแจ้งไว้ในทะเบียนสมรส 11/11/57 46
  • 47. ผลของสัญญาก่อนสมรส ใช้บังคับระหว่างคู่สมรส ไม่มีผลใช้บังคับกับบุคคลภายนอก มาตรา ๑๔๖๘ ข้อความในสัญญาก่อนสมรสไม่มีผลกระทบกระเทือนถึง สิทธิ ของบุคคลภายนอกผู้ทา การโดยสุจริตไม่ว่าจะได้เปลี่ยนแปลงเพิกถอน โดย คา สั่งของศาลหรือไม่ก็ตาม 11/11/57 47
  • 48. คาพิพากษาฎีกาที่ ๑๐๘๒/๒๕๐๔ ที่ดินและเรือนเป็น ของภริยาก่อนสมรส แม้จะทาสัญญาก่อนสมรสว่าสามี จะไม่เกี่ยวข้องก็ตาม แต่เมื่อภริยายอมให้สามีลงชื่อในใบ ไต่สวนเพื่อขอออกโฉนดว่าเป็นของสามี แล้วสามีเอาไป จานองอื่นแล้วนา เงินมาซื้อรถยนต์เพื่อรับส่งผู้โดยสาร เป็นอาชีพของสามีภริยาเป็นเหตุให้ผู้รับจานองเชื่อโดย สุจริตว่าเป็นที่ดินของสามี ดังนี้ การจา นองสมบูรณ์ใช้ บังคับได้มีผลผูกพันภริยา 11/11/57 48
  • 49. สัญญาระหว่างสมรสในเรื่องทรัพย์สิน มาตรา ๑๔๖๙ สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินใดที่สามีภริยาได้ทา ไว้ต่อ กัน ในระหว่างเป็นสามีภริยากันนั้น ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะบอกล้างเสีย ในเวลาใด ที่เป็นสามีภริยากันอยู่ หรือภายในกา หนดหนึ่งปีนับแต่ วันที่ขาดจากการ เป็นสามีภริยากันก็ได้ แต่ไม่กระบทกระเทือนถึง สิทธิของบุคคลภายนอก ผู้ทา การโดยสุจริต 11/11/57 49
  • 50. มาตรา ๑๔๗๖/๑ สามีและภริยาจะจัดการสินสมรสให้แตกต่างไปจากที่ บัญญัติไว้ใน มาตรา ๑๔๗๖ ทั้งหมดหรือบางส่วนได้ก็ต่อเมื่อได้ทา สัญญาก่อน สมรสไว้ตามที่บัญญัติใน มาตรา ๑๔๖๕ และ มาตรา ๑๔๖๖ ในกรณีดังกล่าวนี้ การจัดการสินสมรสให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในสัญญาก่อนสมรส ในกรณีที่สัญญาก่อนสมรสระบุการจัดการสินสมรสไว้แต่เพียงบางส่วนของ มาตรา ๑๔๗๖ การจัดการ สิน ส ม ร ส น อ ก จ า ก ที่ร ะ บุไ ว้ใ น สัญ ญ า ก่อ น ส ม ร ส ใ ห้ เ ป็น ไ ป ต า ม ม า ต ร า ๑ ๔ ๗ ๖ มาตรา ๑๔๖๙ สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินใดที่สามีภริยาได้ทาไว้ต่อกัน ใน ระหว่างเป็นสามีภริยากันนั้น ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะบอกล้างเสียในเวลาใด ที่เป็น สามีภริยากันอยู่ หรือภายในกา หนดหนึ่งปีนับแต่วันที่ขาดจากการ เป็นสามี ภริยากันก็ได้ แต่ไม่กระบทกระเทือนถึงสิทธิของบุคคลภายนอก ผู้ทาการโดย สุจริต 11/11/57 50
  • 51. คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๒๑๑/๒๕๓๑ สามีภริยาทาสัญญาชดใช้ ค่าเสียหายทางอาญาให้แก่กันบอกล้างไม่ได้ คาพิพากษาฎีกาที่ ๘๑๘/๒๕๔๖ บอกล้างสัญญาระหว่างสมรสไม่ต้องใช้ มาตรา ๕๓๕ เรื่องข้อยกเว้นการถอนคืนการให้เพราะเหตุเนรคุณ คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๔๘๕-๕๔๘๖ /๒๕๓๗ โจทก์ผู้เป็นสามียกที่ดินให้จา เลยผู้เป็นภริยา ระหว่างสมรส โจทก์มีสิทธิบอกล้างสัญญาระหว่างสมรสนั้นในเวลาใดก็ได้ระหว่างที่เป็น สามีภริยากันอยู่ เมื่อโจทก์บอกล้างสัญญาระหว่างสมรสแก่จา เลยโดยชอบด้วยกฎหมาย ก่อนโจทก์ถึงแก่กรรมแล้ว สิทธิการบอกล้างจึงไม่ใช่สิทธิเฉพาะตัวอีกต่อไปและย่อมตก ทอดไปยังทายาโจทก์ โดยทายาทของโจทก์เข้าเป็นคู่ความแทนที่ได้ 11/11/57 51
  • 52. คา พิพากษาฎีกาที่ ๗๙๗๘/๒๕๔๒ ฟ้องหย่าและขอแบ่งสินสมรส ถือว่าเป็นการบอกล้าง สัญญาระหว่างสมรสแล้ว ทา ให้ทรัพย์กลับมาเป็นสินสมรสตามเดิม คา พิพากษาฎีกาที่ ๕๙๗๔/๒๕๓๘ สัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่สามีภริยาได้ทา ไว้ต่อ กันในระหว่างเป็นสามีภริยาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1469 ได้ให้ สิทธิสามีหรือภริยาบอกล้างได้ในระหว่างที่เป็นสามีภริยากันหรือภายในหนึ่งปีนับแต่ วันที่ขาดจากการเป็นสามีภริยากัน จึงเป็นบทบัญญัติที่มุ่งคุ้มครองสิทธิของคู่สมรส โดยทั่วไปที่ได้ทา สัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สินกันไว้ในระหว่างสมรส โดยตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลของความเสน่หาหรือเหตุอื่นใดอันทา ให้ตนต้องเสียประโยชน์ มิให้ถูกเอารัดเอา เปรียบหรือถูกข่มเหงโดยไม่ชอบธรรม และเป็นการป้องกันมิให้ครอบครัวต้องร้าวฉาน แตกแยกกันได้ ดังนั้นข้อตกลงที่ว่าจะไม่ยกเลิกสัญญาที่เกี่ยวกับทรัพย์สินในระหว่าง สมรสของสามีภริยา จึงมีวัตถุประสงค์ที่ขัดต่อบทกฎหมายดังกล่าว ย่อมตกเป็นโมฆะตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 113 (เดิม) 11/11/57 52
  • 53. โจทก์จาเลยเป็นสามีภริยาโดยจดทะเบียนสมรส แม้จะตกลงหย่า ขาดกันตามประเพณีศาสนาอิสลามและทาสัญญาแบ่งผลประโยชน์ และทรัพย์สินโดยมีเงื่อนไขระบุไว้ด้วยว่าจาเลยยินยอมผูกพันตาม สัญญาตลอดไป และจะไม่ยกเลิกสัญญานี้ แต่เมื่อโจทก์จา เลยยังมิได้ จดทะเบียนหย่า ก็ต้องถือว่าโจทก์จาเลยยังเป็นสามีภริยากันตาม กฎหมาย สัญญาแบ่งผลประโยชน์และทรัพย์สินดังกล่าวจึงเป็นสัญญา ระหว่างสมรสที่เกี่ยวกับทรัพย์สินที่สามีภริยาได้ทาไว้ต่อกันใน ระหว่างเป็นสามีภริยาตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1469 11/11/57 53
  • 54. คาพิพากษาฎีกาที่ ๔๗๔๔/๒๕๓๙ การที่โจทก์ยกที่ดินให้จา เลยมีกรรมสิทธ์ิ รวมตามบันทึกข้อตกลงเรื่องกรรมสิทธ์ิรวมในระหว่างสมรสมีผลทา ให้ที่ดินตก เป็นสินส่วนตัวของจาเลย บันทึกข้อตกลงดังกล่าวเป็นสัญญาระหว่างสมรสที่ สมบูรณ์ใช้บังคับกันได้ มิใช่เป็นการยกให้ที่จะถอนคืนการให้เพราะประพฤติ เนรคุณตามมาตรา ๕๓๑ โจทก์มีสิทธิบอกล้างได้ตามมาตรา ๑๔๖๙ คา พิพากษาฎีกาที่ ๖๗๔/๒๕๔๓ ทา สัญญาระหว่างสมรสแทนสัญญา ประนีประนอมยอมความ ก็บอกล้างสัญญาระหว่างสมรสได้ คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๔/๒๕๔๘ การบอกล้างสัญญาระหว่างสมรส ไม่ถือว่าเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต 11/11/57 54
  • 55. คา พิพากษาฎีกาที่ ๒๐๓๙/๒๕๔๔บันทึกที่โจทก์จา เลยทา ขึ้น แม้จะมี ข้อความว่าโจทก์และจา เลยตกลงหย่ากัน แต่ตราบใดที่ยังไม่จดทะเบียนหย่าก็ ต้องถือว่าเป็นสามีภริยากันอยู่ เมื่อข้อตกลงนั้นมีส่วนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินด้วย จึงเป็นสัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ทาไว้ต่อกันในระหว่างเป็นสามีภริยาฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่งจะบอกล้างเสียในเวลาใดที่เป็นสามีภริยาหรือภายในกา หนดหนึ่งปี นับแต่วันที่ขาดจากการเป็นสามีภริยาก็ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ มาตรา ๑๔๖๙ การที่จา เลยยื่นคา ให้การว่าบอกเลิกข้อตกลงแล้ว ย่อม ถือได้ว่าเป็นการแสดงเจตนาบอกล้างไปในตัว ในขณะยังเป็นสามีภริยากันอยู่ จึงไม่มีผลบังคับแก่โจทก์จาเลยอีก ศาลจึงไม่อาจพิพากษาให้จาเลยชาระเงิน ตามบันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้แก่โจทก์ได้ 11/11/57 55
  • 56. คา พิพากษาฎีกาที่ ๓๗๑๔/๒๕๔๘ การบอกล้างสัญญาระหว่างสมรส ไม่ถือว่าเป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๔๕ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย ครอบครัว. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติบรรณาการ ประสพสุข บุญเดช. ๒๕๕๔ รวมคำบรรยำย.กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ว่ำด้วย ครอบครัว สมัยที่ ๖๔ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๔. กรุงเทพมหานคร : สานักอบรมศึกษา กฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ไพโรจน์ กัมพูสิริ. ๒๕๔๐ คำอธิบำยประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพ ๕ ว่ำ ด้วยครอบครัว , กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์นิติธรรม 11/11/57 56