SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
ระบบส่งกำลังรถยนต์
ระบบส่งกำลังรถยนต์
หน้ำที่ของระบบส่งกำลัง (Power train System) คือ การ
ถ่ายทอดการหมุนของเครื่องยนต์ ไปยังล้อ เพื่อให้เคลื่อนที่ได้
ประเภทของกำรขับเคลื่อนรถยนต์
ปัจจุบันได้มีการวางรูปแบบของระบบส่งกาลัง
ออกเป็น 3 แบบคือ
1. ระบบขับเคลื่อนล้อหน้า
2. ระบบขับเคลื่อนล้อหลัง
3. ระบบขับเคลื่อน 4 ล้อ
1.รถยนต์ขับเคลื่อนล้อหน้ำ
(FF = Front Engine Front Wheel Drive)
จะมีเพลาซ้าย - ขวา ต่อออกจากชุดเฟืองท้าย ไปหมุน ล้อ
(แบบนี้ไม่ต้องมีเพลากลาง)
โครงสร้ำงรถยนต์ขับเคลื่อนล้อหน้ำ (FRONT WHEEL DRIVE)
3 2 1
4 5
1. เครื่องยนต์ 2. ชุดคลัตช์ 3. ชุดเกียร์ 4. เฟืองท้ำย 5. เพลำขับหน้ำ
แสดงโครงสร้ำงรถยนต์ขับเคลื่อนล้อหน้ำ
2.1 รถยนต์เครื่องอยู่หน้ำขับหลัง
(FR = Front Engine Rear Wheel Drive)
2.ระบบขับเคลื่อนล้อหลัง
รถยนต์ขับเคลื่อนล้อหลัง และวางเครื่องยนต์ด้านหน้ารถจะมี
เพลากลาง ต่อออกจากห้องเกียร์ ไปสู่ชุดเฟืองท้ายที่ติดตั้ง ไว้ด้านหลังรถ
แล้วต่อเพลาขับ ซ้าย-ขวา ออกจากชุดเฟืองท้าย
1. เครื่องยนต์
2. ชุดคลัตช์
3. ชุดเกียร์
4. เพลำกลำง
5. เฟืองท้ำย
6. เพลำข้ำง
2.1 โครงสร้ำงรถยนต์ขับเคลื่อนล้อหลัง(Rear wheel drive)
เครื่องยนต์ คลัตช์ เกียร์ เพลำกลำง เฟืองท้ำย
เพลำขับล้อหลัง
แสดงโครงสร้ำงรถยนต์ขับเคลื่อนล้อหลัง
1
23
4
5 6
2.2รถยนต์เครื่องอยู่หลังขับหลัง
(RR = Rear Engine Rear Wheel Drive)
สาหรับรถยนต์ขับเคลื่อนล้อหลัง และวางเครื่องยนต์
ช่วงหลังรถ ก็ไม่จาเป็นต้องมีเพลากลาง นิยมใช้กันน้อยมาก
2.3 รถเครื่องวำงกลำงขับหลัง
(MR = Midship Engine Rear Wheel Drive)
จุดเด่น คือการจัดให้น้าหนักส่วนใหญ่อยู่ระหว่างล้อหน้าและล้อหลัง
เพื่อให้จุดศูนย์ถ่วงอยู่ตรงกลางรถ ข้อเสีย คือมีเนื้อที่ใช้ประโยชน์น้อย
และเสียงรบกวนจากเครื่องยนต์มีมาก
2.4 แบบกระปุกเกียร์ร่วมกับเฟื่องท้ำย
( transaxle )
เครื่องยนต์จะถูกติดตั้งไว้ตอนหน้าเช่นเดียวกับระ
ขับเคลื่อนล้อหน้าแบบธรรมดา แต่กระปุกเกียร์ร่วมกับชุด
เฟืองท้ายนี้จะถูกติดตั้งให้อยู่ทางตอนท้านของตัวรถ
2.5 แบบเครื่องยนต์ติดตั้งอยู่ใต้ตัวถังรถ
( underfloor engine )
3.รถยนต์ขับเคลื่อน 4 ล้อ
(4 WD = Four Wheel Drive)
มีแรงฉุดในการขับเคลื่อนจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ไม่ลื่นไถลโดยเฉพาะการ
ใช้งานบนถนนที่ไม่เรียบ ขรุขระ เป็นหลุมเป็นบ่อ ทางปีนป่าย หล่มโคลนทางโค้ง
และถนนลื่น จะได้ประโยชน์จากการขับเคลื่อน 4 ล้อดีที่สุด
โครงสร้ำงรถยนต์ขับเคลื่อน 4 ล้อ (FOUR WHEEL DRIVE)
1. กระปุกเกียร์ 2. กระปุกเกียร์แบ่งกำลัง 3. เพลำกลำงหน้ำ 4. เฟืองท้ำยตัวหน้ำ
5. เพลำหน้ำ 6. เพลำกลำงหลัง 7. เฟืองท้ำยตัวหลัง 8. เพลำท้ำย
3
แสดงโครงสร้ำงรถยนต์ขับเคลื่อน 4 ล้อ
2
4
5
7
8
1 6
ระบบส่งกำลังรถยนต์
1 เครื่องยนต์ 2 คลัตช์ 3 ชุดเกียร์
4 เพลำกลำง 5 ข้อต่อ 6 เฟืองท้ำย
7 เพลำขับ 8 ดุม 9 ล้อและยำง
คลัตช์รถยนต์
คลัตช์ 1.เป็นอุปกรณ์ทาหน้าที่ในการถ่ายทอดแรงบิดจากเครื่องยนต์
ไปยังกระปุกเกียร์
2.ตัดต่อการทางานของเครื่องยนต์และกระปุกเกียร์ให้เป็นไป
ตามสภาวะของการทางาน
ส่วนประกอบคลัตช์รถยนต์
1. แป้นเหยียบคลัตช์
2. ก้ำนดัน
3. แม่ปั๊มคลัตช์ตัวบน
4. ท่อทำงน้ำมัน
5. ปั๊มคลัตช์ตัวล่ำง
6. ก้ำมปูคลัตช์ (ตีนผี)
7. ชุดกดคลัตช์
กระปุกเกียร์ (Transmission)
เกียร์รถยนต์ในระบบส่งกาลังคือ เป็นอุปกรณ์เปลี่ยนอัตราทดประกอบไป
ด้วยชุดเฟืองหลายๆ ชุดที่ต่อกัน เพื่อให้รถยนต์สามารถส่งกาลังขับเคลื่อน
ได้มากขึ้น สามารถเคลื่อนที่ไปด้านหน้าหรือถอยหลังก็ได้สามารถเพิ่ม
และลดแรงบิดให้กับเพลาเพื่อให้รถยนต์มีกาลังขับเคลื่อนในระยะที่เริ่มต้น
และในขณะที่รถวิ่งด้วยความเร็วที่มากขึ้น
เพลำกลำง
เพลำกลำงและข้อต่อเพลำกลำง ทาหน้าที่ถ่ายทอดกาลังจากกระปุก
เกียร์ไปยังเฟืองท้าย สาหรับเครื่องยนต์อยู่หน้าขับเคลื่อนล้อหลัง
(FR) โดยมีข้อต่อเลื่อนและข้อต่ออ่อนจะถูกนามาใช้ในบริเวณที่
เพลาต่อกันเพื่อให้ถ่ายทอดกาลังได้อย่างราบรื่น
ข้อต่อเลื่อน
เพลำกลำง
ต่อไปเฟืองท้าย
ต่อไปกระปุกเกียร์
ข้อต่อเลื่อน (Slip joint)
ข้อต่อเลื่อน
ข้อต่ออ่อน
ร่องสไปลน์
หน้ำที่ข้อต่อเลื่อน (Slip joint)
เนื่องจากรถยนต์ต้องวิ่งไปตามพื้นถนนที่ไม่ราบเรียบ ขรุขระ
ดังนั้นจึงทาให้การเต้นของเพลากลางเปลี่ยนแปลงไป คือเพลากลาง
จะต้องหดเข้าหรือยืดออกตลอดเวลา เนื่องจากการเต้นขึ้นลงตาม
สภาพของผิวถนน จึงจาเป็นต้องใส่ข้อต่อเลื่อนเข้าไปที่ส่วนปลาย
ของเพลากลางด้านท้ายกระปุกเกียร์เพื่อป้องกันไม่ให้เพลาขาด โดย
การเซาะร่องเพลา ให้เป็นร่องเรียกว่า สไปลน์ (Spline) ทาให้
สามารถเลื่อนเข้าออกได้
ข้อต่ออ่อน (Universal joint)
ข้อต่ออ่อน
กำกบำท
ส่วนประกอบและหน้ำที่ของข้อต่ออ่อน
คือกากบาทและชุดลูกปืน หรือที่เราเรียกกันว่า"ยอย" เป็นข้อต่อ
ส่งกาลัง สาหรับเพลาขับที่จะต้องหมุน ไปยังปลายทาง ที่ต่างระนาบกัน
ตัวอย่างเช่น เครื่องยนต์ขับเคลื่อนล้อหลัง มีเครื่องยนต์ และชุดเกียร์อยู่
ช่วงหน้ารถ แต่จะต้องส่งแรงขับไปที่เพลากลาง (Driveshaft) เพื่อให้ไป
ถึงเฟืองท้าย (Differential) ซึ่งอยู่ด้านท้ายรถยนต์ แต่ด้วยระบบกัน
สะเทือน (Suspension system) ล้อหลัง ทาให้การขับเคลื่อนไปตามท้อง
ถนนมีการกระเด้งเต้นขึ้น-ลงไปตามสภาพถนนที่ขรุขระด้วยเหตุนี้ การ
ส่งแรงขับเคลื่อนไปตามเพลาขับจากห้องเกียร์ถึงเฟืองท้ายจึงไม่เป็นไป
ตามระนาบเดียวกัน (เพราะองศาของเฟืองท้ายเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ) ดังนั้น
จึงต้องใช้ข้อต่ออ่อน ติดตั้งอยู่บริเวณจุดมุม ที่มีการเปลี่ยนองศาแนว
ระนาบ
เฟืองท้ำย (Differential)
เฟืองท้ำย คืออุปกรณ์ส่งต่อแรงหมุนจากเพลาขับ (Axle) ไป
ยังดุมล้อ (Hub) และในขณะเดียวกัน เฟืองท้าย จะมีอัตราส่วน
การทดรอบด้วย แต่จะไม่สามารถเปลี่ยนอัตราส่วนการทด
รอบ เป็นหลายระดับเหมือนเกียร์
ส่วนประกอบของเพลำขับล้อแบบขับเคลื่อนล้อหน้ำ
และแบบขับหลัง
ยางหุ้มเพลา เพลาขับล้อ
หน้ำที่ของเพลำขับ
เพลาขับล้อ คือแกนโลหะที่ได้รับแรงหมุนมาจากเฟืองท้าย
(Differential) เพื่อส่งกาลังต่อไปให้กับล้อขับเคลื่อนและรวมถึง
แกนเพลาท้ายประเภทที่เป็นแกนโลหะแท่งยาวจากล้อซ้ายถึงล้อขวา
โดยทั่วไปแล้วเพลาขับล้อ จะส่งแรงขับเพียง 2 ล้อ ซึ่งเป็นการ
ขับเคลื่อนล้อหลัง หรือขับเคลื่อนล้อหน้าแล้วแต่บริษัทผู้ผลิต

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)Rangsit
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Dew Thamita
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารThepsatri Rajabhat University
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 

Mais procurados (20)

เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
11.ลม
11.ลม11.ลม
11.ลม
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
บทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสารบทที่ 6 สมบัติของสาร
บทที่ 6 สมบัติของสาร
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 

Destaque

Power transmission in Automobiles
Power transmission in AutomobilesPower transmission in Automobiles
Power transmission in AutomobilesRambabu Tadala
 
หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์Kamol Mahasiri
 
อุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.com
อุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.comอุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.com
อุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.comDNTMb Inc.
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"S'kae Nfc
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 

Destaque (11)

งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
Power transmission in Automobiles
Power transmission in AutomobilesPower transmission in Automobiles
Power transmission in Automobiles
 
หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์หลักการเครื่องยนต์
หลักการเครื่องยนต์
 
Presentation hitec
Presentation hitecPresentation hitec
Presentation hitec
 
อุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.com
อุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.comอุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.com
อุปกรณ์ นิวเมติกส์ Burkert - นิวเมติก.com
 
Cylinder head
Cylinder headCylinder head
Cylinder head
 
Robot beginner
Robot beginner Robot beginner
Robot beginner
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut01-Bolt and Nut
01-Bolt and Nut
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 

ระบบส่งกำลัง