SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 23
Baixar para ler offline
ความสําคัญ
ของระดับความรุนแรง
ทีเกิดจาก
RISKRISK
By Suradet Sriangkoon
คือโอกาสทีจะประสบกับอันตรายหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์
อันตรายหรือการบาดเจ็บต่อร่างกายและจิตใจทีเกิดจาก
เหตุร้าย, ภาวะคุกคาม, ความไม่แน่นอน, ขันตอนการปฏิบัติทีมีช่องโหว่
ความไม่พร้อมในด้านต่างๆ สภาพแวดล้อมทีไม่ปลอดภัย และอืนๆ
ต่อผู้ป่วย เจ้าหน้าที หน่วยงาน องค์กร และชุมชน
fb : Suradet Sriangkoon ระดับความรุนแรง
ชนิดของความเสียง
ความเสียงสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ความเสียงทางคลินิก
(ความเสียงทีเกิดจากกระบวนการดูแลผู้ป่วย เช่น ระบบยา ห้องปฏิบัติการ
ชันสูตร, รังสี , Specific Clinical risk , Common Clinical risk, PSG เป็นต้น)
ความเสียงทางกายภาพ
(ความเสียงทีเกียวกับสิงแวดล้อม เครืองมือ หรือ Back office ข้อร้องเรียน,
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เวชระเบียน สารสนเทศ เป็นต้น)
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสียง
การจัดการกับความเสียงให้เป็น
หลีกเลียง ป้ องกัน ถ่ายโอน แบ่งแยก ลดความสูญเสีย ชดเชย
การประเมินความเสียงให้เป็น
ระดับความรุนแรง ,RCA,FMEA,HFE
การค้นหา/รายงานความเสียงให้เป็น
อดีต ปัจจุบัน อนาคต
การติดตามการประเมินการพัฒนาการติดตามการประเมินการพัฒนา
การประสานการสือสารการให้คําปรึกษาการประสานการสือสารการให้คําปรึกษา
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ดังนันเมือเราดังนันเมือเรา
บริหารจัดการบริหารจัดการ RISKRISK
สิงทีเกิดขึนคือสิงทีเกิดขึนคือ
มาตรการในการป้ องกันมาตรการในการป้ องกัน
กระบวนการดูแลผู้ป่วยกระบวนการดูแลผู้ป่วย
ทีมีคุณภาพ ความปลอดภัยมากขึนทีมีคุณภาพ ความปลอดภัยมากขึน
เกิดเกิด CQICQI เกิดนวัตกรรมเกิดนวัตกรรม
เกิดการพัฒนาคุเกิดการพัฒนาคุณณภาพอย่างต่อเนืองภาพอย่างต่อเนือง
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
การประเมินความรุนแรง
เพือจัดลําดับความสําคัญ
ของความเสียงทีเกิดขึน เพือ
การแก้ไขและกําหนด
มาตรการในการป้ องกัน
อย่างเหมาะสม
ดังนันสิงทีเราควรรู้คือ
ระดับความรุนแรง
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ระดับความรุนแรง…ทีเราควรรู้
ความรุนแรงทางคลินิก
ความรุนแรงทางกายภาพความรุนแรงทางกายภาพ
ระดับความรุนแรงสามารถแบ่งออกเป็นสองแบบ
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ระดับความรุนแรงทางคลินิก
การแบ่งระดับความรุนแรงทางคลินิก
ใช้การจัดลําดับความรุนแรงตาม
NCC-MERP index
( National coordinating council
Medication error reporting
and prevention index )
สามารถแบ่งออกเป็น 9 ระดับนันคือ
A B C D E F G H I
เรียงลําดับความรุนแรงจากน้อยไปหามาก
AA
BB
CC
DD
EE FF
GG HH
II
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
A : มีโอกาสเกิดความเสียง แต่ยังไม่เกิดขึน
B : เกิดความเสียง แต่ยังไม่ถึงตัวผู้ป่วย (ไม่เกิดผลกระทบ)
C : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) แต่ไม่เกิดอันตราย
D : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) แต่ต้องเฝ้ าระวังว่าไม่เกิด
อันตราย
E : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) ทําให้ต้องมีการรักษาเพิมเติม
F : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) ทําให้นอนโรงพยาบาลนานขึน
G : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) ทําให้เกิดความพิการหรือ
สูญเสียอวัยวะ
H : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) ทําให้ต้องมีการช่วยชีวิต
I : เกิดความเสียง ถึงตัวผู้ป่วย (เกิดผลกระทบ) ทีอาจเป็นสาเหตุทําให้ผู้ป่วย
เสียชีวิต
หมายเหตุ : ข้อความสีแดงคือใจความสําคัญของแต่ละความรุนแรง ที
ควรทําความเข้าใจ
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ตัวอย่างการประเมินความรุนแรงทางคลินิก
การจ่ายยา Penicillin
A : ตรวจประวัติผู้ป่วยพบแพ้ Penicillin จึงเฝ้ าระวัง/กําหนดมาตรการป้ องกัน การ
จ่ายยา เพือป้ องกันการแพ้ยาซํา
B : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ แต่พยาบาลดักจับได้ก่อน
C : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ ถึงตัวผู้ป่วยแล้ว แต่พยาบาลทราบก่อน
D : จ่ายยา Penicillin ผิดเตียง โดยจ่ายให้เตียงอืน
E : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับ จนต้องให้ยาแก้แพ้
F : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับ และทําให้ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาล
นานขึน
G : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับ จนทําให้เกิด Steven Johnson
Syndrome และเกิดตาบอด
H : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับจนเกิดการแพ้ หยุดหายใจ และมี
การช่วยชีวิต
I : จ่ายยา Penicillin ทีผู้ป่วยแพ้ แล้วผู้ป่วยได้รับจนเกิดการแพ้ และเสียชีวิต
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ระดับความรุนแรงทางคลินิกกับความหมายอืนๆ
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์คือ การบาดเจ็บ
อันตราย หรือภาวะแทรกซ้อนทีเป็นผลจากการ
ดูแลรักษา มิใช่กระบวนการตามธรรมชาติของ
โรค ส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต หรือต้องนอน
โรงพยาบาลนานขึน หรืออวัยวะในร่างกายต้อง
สูญเสียการทําหน้าที ( Thai HA )
ถ้าเทียบระดับความรุนแรงคือ
ความรุนแรงในระดับ E F G H I
ระดับความรุนแรงกับเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse event )
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ระดับความรุนแรงกับ Near Miss , Error, Contributing factor
Contributing factor คือปัจจัยต่างๆทีมี
โอกาสทําให้เกิดความเสียงขึน เช่น
ปัจจัยภายนอก,องค์กร,เจ้าหน้าที,ผู้ป่วย
ถ้าเทียบระดับความรุนแรงคือความ
รุนแรงระดับ A
Error คือ Hazard :สถานการณ์หรือการ
กระทําทีนํามาสู่ความเสียงหรือการเพิม
ความเสียง
ถ้าเทียบระดับความรุนแรงคือความ
รุนแรงระดับ B
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
Near Miss คือ Incident without
harm : การกระทําหรือการละเว้น
การกระทําซึงอาจส่งผลให้เกิด
อันตรายต่อผู้ป่วย แต่ไม่เกิด
อันตรายเนืองจากความบังเอิญ การ
ป้ องกันหรือการทําให้ปัญหาทุเลาลง
ถ้าเทียบระดับความรุนแรงคือ
ความรุนแรงระดับ C D
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
Sentinel Event คือเหตุการณ์ความเสียง
หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทีไม่ต้องการ
ให้เกิดขึนในองค์กร เพราะเมือเกิดขึนจะ
เกิดความเสียหายทีรุนแรง เช่น อัคคีภัย,
รถพยาบาลประสบอุบัติ, หม้อนึงระเบิด
แก๊สระเบิด , ทารกถูกลักพาตัว,ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย
เป็นต้น ซึงจะเป็นเหตุการณ์ใดบ้างก็ขึนกับบริบท
ขององค์กร และเมือเกิดขึนต้องมีช่องทางพิเศษ
ในการรายงาน เช่นรายงานผู้อํานวยการทันที
และนําไปสู่การปรับปรุง แก้ไขไม่ให้เกิดซําอีก
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
สรุประดับความรุนแรงกับความหมายอืนๆ
Contributing factor
A
Error : Hazard
B
Near miss: Incident without
Harm
C D
Adverse event :
Incident with
Harm
E F G H I Harm from
Nature of
disease
อ้างอิงจาก HA Update 2009
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ระดับความรุนแรงทางกายภาพ
ความรุนแรงทางกายภาพ
สามารถแบ่งออกเป็น 5 ระดับนันคือ
1 2 3 4 5
เรียงลําดับความรุนแรงน้อยไปหามาก
อ้างอิงจากระบบ HRMS
Healthcare Risk management System
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1
2
3
4
5
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
1: มีโอกาสเกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหายไม่เกิน 10,000
บาท/ ยังไม่มีผลกระทบต่อผลสําเร็จหรือวัตถุประสงค์ของการ
ดําเนินงาน
2: เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหาย 10,001 - 50,000 บาท/
มีผลกระทบ (ทีควบคุมได้) ต่อผลสําเร็จหรือวัตถุประสงค์ของ
การดําเนินงาน
3: เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหาย 50,001 - 250,000 บาท/
เกิดผลกระทบปานกลาง (ทีต้องทําการแก้ไข) ต่อผลสําเร็จหรือ
วัตถุประสงค์ของการดําเนินงาน
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
4: เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหาย 250,001 – 10,000,000
บาท/ มีผลกระทบสูง ทําให้การดําเนินงานไม่ประสบผลสําเร็จ
ตามวัตถุประสงค์
5: เกิดความผิดพลาด/ มูลค่าความเสียหายมากกว่า 10 ล้านบาท/
มีผลกระทบสูงมาก ทําให้ภารกิจขององค์กรเสียหายอย่าง
ร้ายแรง
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ปลักไฟชํารุดทีเสียงทําให้เกิดไฟฟ้ าช๊อต
1 : เดิน Round ENV พบปลักไฟชํารุด
2 : ปลักไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทําให้เครืองคอมพิวเตอร์เสีย
3 : ปลักไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทําให้ Server ของโรงพยาบาลเสีย
4 : ปลักไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทําให้เกิดเพลิงไหม้ในห้อง Server
5 : ปลักไฟเกิดไฟฟ้ าช๊อต ทําให้เกิดเพลิงไหม้ในห้อง Server และ
ลุกลามไหม้ตึกอํานวยการ
ตัวอย่างการประเมินความรุนแรงทางคลินิก
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
ระดับความรุนแรง การรายงาน ระยะเวลาการ
นําส่งใบรายงาน
แนวทางการ
จัดการ
ระยะเวลาการวาง
มาตรการป้ องกัน
ระยะเวลาการ
ติดตามผล
A – D
ระดับ 1 - 2
รายงานตาม
ระบบ
สามารถนําส่งได้
ทุกวัน
รวบรวมและดู
แนวโน้มว่ามี
ความถีทีสูงขึน
หรือไม่
ดูแนวโน้ม
ความถี
2 เดือน
E,F
ระดับ 3
เสียงต่อSentinel
event
รายงานตาม
ระบบ
ภายใน
72 ชัวโมง
ดําเนินการหา
สาเหตุและวาง
มาตรการ
ป้ องกัน/แก้ไข
1 สัปดาห์ 1 เดือน
G,H,I
ระดับ 4
รายงานตามระบบ
ภายใน
24 ชัวโมง
ดําเนินการ
หา RCA 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
Sentinel event
ระดับ 5
รายงาน
ผู้อํานวยการ
โรงพยาบาลหรือ
ผู้แทนทราบทันที
รายงานทันที ดําเนินการ
หา RCA 1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
คุณค่าของระดับความรุนแรง : เกิดการจัดการความเสียงอย่างเหมาะสม
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
คุณค่าของระดับความรุนแรง : เพือนําไปสู่การทํา RCA,FMEA
RCA ( Root Cause Analysis )
คือเครืองมือในการค้นหาสาเหตุทีแท้จริง หรือรากของปัญหา เพือ
นําไปสู่การแก้ไข กําหนดมาตรการป้ องกัน เพือไม่ให้เกิดซําอีก
ความรุนแรงทีทํา RCA คือ E, F, G, H, I, 3,4,5
ซึงขึนกับบริบทขององค์กร
FMEA ( Failure Mode Effect analysis )
คือเครืองมือทีช่วยในการกําหนดมาตรการป้ องกันล่วงหน้า เพือ
ป้ องกันไม่ให้ความเสียงหรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เกิดขึน
ความรุนแรงทีทํา FMEA คือ A, B, C, D,1,2 โดยอาศัยความถี
ทีเกิดขึนมาช่วยจัดลําดับความสําคัญในการกําหนดมาตรการ
ความรุนแรง x ความถี
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
คุณค่าของระดับความรุนแรง : สร้างความตระหนักให้กับบุคลากร
เพือให้บุคลากรมีความเข้าใจความรุนแรงที
เกิดขึน ไม่ว่าระดับใดล้วนสร้างผลกระทบต่อ ผู้ป่วย
ผู้รับบริการ หน่วยงาน องค์กร ชุมชน และตนเอง จึง
ต้องมีการจัดการอย่างเหมาะสม
สร้างความตระหนักให้กับบุคลากรว่า ควรช่วยกัน
ค้นหาความเสียง/รายงานความเสียงทีไม่สร้าง
ผลกระทบ เช่น A,B,C,D,1,2 เพือนํามาสู่การกําหนด
มาตรการป้ องกันไม่ให้เกิดความเสียงทีรุนแรง
เมือเกิดความเสียงขึนไม่ว่าระดับความรุนแรง
แบบใด บุคลากรทีพบความเสียงจะต้องสามารถ
แก้ไขปัญหาเบืองต้นได้ เพือลดความรุนแรงทีเกิดขึน
หรือไม่ให้เกิดความเสียงทีรุนแรงขึน
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon
การทีบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ใน
ระดับความรุนแรง จะทําให้เกิด
ความปลอดภัยกับผู้ป่วย ผู้รับบริการ
เพราะความเสียงทีเกิดขึน จะได้รับการ
แก้ไขเบืองต้น เพือไม่ให้เกิดความรุนแรง
มากขึน อีกทังความเสียงทีเกิดขึนได้รับ
การจัดการอย่างเหมาะสม เพือนําไปสู่
การแก้ไข กําหนดมาตรการป้ องกันเพือ
ไม่ให้เกิดซํา นําไปสู่การพัฒนาคุณภาพ
และความปลอดภัยมากขึนครับ
ระดับความรุนแรงfb : Suradet Sriangkoon

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writingChutikarn Haruthai
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 

Mais procurados (20)

12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 

Destaque

การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงแนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)tumetr1
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555techno UCH
 
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...JibPo Po
 

Destaque (19)

การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยงแนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
แนวทางการประเมินและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยงระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
ระเบียบปฏิบัตืการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
 
Risk management
Risk managementRisk management
Risk management
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
สรุปผลการตรวจสอบความสมบูรณืของเวชระเบียนผู้ป่วยนอกปีงบประมาณ 2555
 
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
โครงการพัฒนาระบบการดำเนินงานสุขภาพจิต ด้วยกลไกทางกฎหมาย โดย กลุ่มงานสังคมสงเค...
 
บท1
บท1บท1
บท1
 

Mais de Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...Suradet Sriangkoon
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...Suradet Sriangkoon
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 

Mais de Suradet Sriangkoon (17)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 
Grows model
Grows modelGrows model
Grows model
 
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยงความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
ความฝัน ความสุข ความเสี่ยง
 
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน  Safety โดยสถาบัน...
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน Safety โดยสถาบัน...
 
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของรถพยาบาลฉุกเฉิน Prevention โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเ...
 
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืนความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
ความปลอดภัยอย่างยั่งยืน
 

ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk