SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
10 R
กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon
6R -7R -10R
6R 7R 10R
Right Drug Right Drug Right Drug
Right Patient Right Patient Right Patient
Right Dose Right Dose Right Dose
Right Route Right Route Right Route
Right Time Right Time Right Time and Frequency
Right Document Right Document Right Document
Right to Refuse Right to Refuse
Right History and Assessment
Right Drug-Drug Interaction and
Evaluation
Right to Education and Information
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Drug
ตรวจสอบความถูกต้องของยาทัง ชือของยา รูปร่าง
ของยา ภาชนะทีบรรจุ เพราะยาบางชนิด มีชือที
คล้ายกัน ลักษณะทีคล้ายกัน ภาชนะบรรจุทีคล้ายกัน
อาจทําให้สับสน และให้ยาผิดได้ จึงต้องตรวจสอบทุก
ครังก่อนให้ยา
หน่วยงานมีการกําหนดมาตรการในการป้ องกัน
ของยาทีชือคล้ายกัน ลักษณะทีคล้ายกัน ภาชนะบรรจุ
ทีคล้ายกัน เช่น การทําเอกสารเผยแพร่ การจัดทํา
รูปภาพของยาทีคล้ายกันในโรงพยาบาล เป็นต้น
ยาทีได้รับ และให้กับผู้ป่วยต้องตรวจสอบ 3 ครังคือ
ตอนทีได้รับยา , การเตรียมยา , ก่อนให้กับผู้ป่วย
ผู้เตรียมยา และผู้จ่ายยาต้องเป็นคนเดียวกัน
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Patient
ก่อนการให้ยาต้องถามชือ – นามสกุล
ของผู้ป่วยว่าชือ - นามสกุลอะไร อย่าใช้วิธี
ถามนําว่า “ ชือ นามสกุล นีหรือไม่” แล้วให้
ผู้ป่วยตอบว่า ใช่หรือไม่ใช่ หรือสันหน้า พยัก
หน้า เพราะบางครังผู้ป่วยอยู่ในภาวะทีสับสน
อาจไม่เข้าใจทีเราถาม แต่พยักหน้ารับ หรือตอบ
ว่า ใช่ กับเรา
ตรวจสอบกับกับสายข้อมือทีติดชือ- นามสกุล
ผู้ป่วยไว้ทุกครัง เพือความถูกต้อง ปลอดภัย
เปรียบเทียบชือ-นามสกุลของผู้ป่วยกับ
medication sheet/คําสังการใช้ยา เพือความ
ถูกต้อง และตรวจสอบประวัติการแพ้ยา
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Dose
ตรวจสอบปริมาณยาทีจะให้อีกครังกับ การ์ดยา
,medication sheet , doctor order รวมทังการให้ครัง
สุดท้าย เพือให้เกิดความถูกต้อง และสอดคล้องกัน
ยาทีให้กับเด็ก และผู้ใหญ่มีขนาดทีแตกต่าง ถ้ามีข้อ
สงสัยในปริมาณยาทีให้ ให้สอบถามกับแพทย์เจ้าของไข้
ว่าปริมาณยาทีให้มีความถูกต้องหรือไม่ เพือไม่ให้ผู้ป่วย
ได้รับยามากเกินไป รวมทังผู้ป่วยทีเป็นผู้ใหญ่ ถ้าเกิดข้อ
สงสัยในปริมาณการให้ยา ก็ควรถามเช่นกัน
การคํานวณระดับยาควรมีการคํานวณซํา เพือให้เกิด
ความถูกต้อง หรือให้พยาบาลท่านอืนมาคํานวณซําให้ถ้า
ไม่มันใจ เพือให้เกิดความถูกต้อง
ปริมาณยาทีจะให้ควรตรวจสอบกับ medication sheet/
คําสังการใช้ยาทุกครัง
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Route
ตรวจสอบคําสังการใช้ยา ก่อน
การให้ยาทุกครังว่าให้ยาทาง oral , IV
, SQ , IM หรืออืนๆ เพือให้เกิดความ
ถูกต้องในการให้ยา เพราะบางครังตัว
ยานันถูกต้อง แต่ทางทีจะให้ยาผิด ยาทีให้
ไปก็อาจก่อให้อันตรายแก่ผู้ป่วยได้
ยาในแต่ละตัวทีให้ควรกําหนดทางทีจะ
ให้ให้มีความชัดเจน และอาจกําหนด
เอกสารข้อห้ามการให้ยาบางชนิดทีว่าไม่
ควรให้ทางไหน เพือสร้างความปลอดภัย
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Time and Frequency
ควรตรวจสอบเวลาในการให้ยา
จากคําสังการใช้ยาทีกําหนดไว้ก่อน
การให้ยา เพือดูเวลาทีให้ยาครัง
สุดท้ายว่าเป็นเวลาเท่าใด ให้ไปแล้ว
หรือไม่ ให้เวลาเท่าใด เพือป้ องกัน
การให้ยาผิดเวลาหรือผู้ป่วยได้รับยา
มากเกินไป
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Documentation
ควรมีการบันทึกการให้ยา และลงชือ
การให้ยาในเวลาเดียวกับทีให้ยากับ
ผู้ป่วยในเอกสารทีได้กําหนดไว้ เพือให้
ข้อมูลการให้ยาเป็นปัจจุบัน และสามารถ
สือสารกับพยาบาลหรือวิชาชีพอืนทีเกียวข้อง
ในเรืองการให้ยา เพือป้ องกันไม่ให้เกิดการให้
ยาซําซ้อน หรือไม่แน่ใจว่าให้แล้วหรือไม่
มีบันทึกการลงลายมือชือผู้ให้ยา วัน
เวลาทีให้ยา ชือยาทีให้ ปริมาณยาทีให้
ทางทีให้ยา และถ้ามีผู้ตรวจสอบซําก็ลง
ชือกํากับด้วย
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right to Refuse
ในกรณีทีผู้ป่วยปฏิเสธการรับยา เรา
ต้องให้คําอธิบายถึงผลทีเกิดขึนของการ
ไม่รับยาของผู้ป่วยให้ผู้ป่วยได้รับทราบใน
ทุกด้าน อย่างละเอียด และใช้ความ
พยายามอย่างทีสุดทีจะให้ผู้ป่วยรับยา แต่
ทว่าถ้าผู้ป่วยไม่ยอมรับ ก็เป็นสิทธิของ
ผู้ป่วย แต่การปฏิเสธนันต้องตังอยู่บน
พืนฐานข้อเท็จจริงว่าไม่เป็นอันตรายต่อ
ผู้ป่วย และบันทึกการปฏิเสธการรับยาของ
ผู้ป่วย
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right History and Assessment
เพือป้ องกันการแพ้ยาซํา ควรตรวจสอบ
ประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครังก่อนการให้ยา
ควรมีการทดสอบ Skin test ในกรณีทีผู้ป่วย
ได้รับยา Antibiotic ทาง IV เป็นครังแรก เพือจะ
ได้สังเกตอาการ และปฏิกิริยาทีเกิดขึนกับผู้ป่วย
ก่อนการให้ยา
ถ้าคาดว่าจะเกิดความไม่ปลอดภัยในการให้
ยา ควรตรวจสอบซํากับคําสังการใช้ หรือปรึกษา
แพทย์, เภสัชกร
ผู้ปฏิบัติงานต้องปฏิบัติตามแนวทางต่างๆใน
การให้ยาอย่างเคร่งครัด
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
ควรมีความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจในเรืองของ
ปฏิกิริยาต่อกันของยา ว่ายาชนิดใดเกิดปฏิกิริยาต่อกันเมือมี
การให้พร้อมกันก่อนการให้ยา ในกรณีทีมีการให้ยามากกว่า 1 ชนิด
แก่ผู้ป่วย เพือป้ องกันไม่ให้เกิดปฏิกิริยา หรือถ้าจําเป็นจะได้มี
มาตรการในการรองรับสถานการณ์ทีเกิดขึน
หน่วยงานควรมีการจัดทํารายชือยาทีมีปฏิกิริยาต่อกัน
เพือให้บุคลากรได้รับรู้ เพือให้เกิดความตระหนักในการ
สร้างความปลอดภัย
สังเกตอาการของผู้ป่วยก่อนการให้ยา และหลังการให้
ยาเพือเฝ้ าระวังการแพ้ยา หรือยาเกิดปฏิกิริยาต่อกัน
กําหนดแนวทาง/วิธีปฏิบัติในการป้ องกันการแพ้ยา
รวมทังมาตรการการแก้ไขการแพ้ยา/ยาเกิดปฏิกิริยาต่อ
กัน สือสาร ถ่ายทอดให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Right to Education and
Information
ผู้ป่วยและญาติมีสิทธิทีจะได้รับรู้ใน
เรืองของยาทีต้องได้รับ เราต้องอธิบาย
ให้ผู้ป่วยได้รับทราบถึง ชือยาทีจะให้
ทางทีจะให้ยา ผลการรักษา และ
ผลข้างเคียงของยาทีอาจจะเกิดให้
ผู้ป่วย/ญาติได้รับรู้ รวมถึงความเข้าใจ
ในการแพ้ยาของผู้ป่วย เพือช่วยกันใน
การสร้างความปลอดภัยในการให้ยา
ร่วมกัน
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
ดังนันบทบาทการบริหารยานัน
จึงไม่ได้เป็นบทบาทของพยาบาลเพียงเดียว
แต่ต้องอาศัยแพทย์ เภสัชกร
วิชาชีพอืนๆทีเกียวข้อง รวมทังผู้ป่วย/ญาติ
ทีต้องช่วยกันให้ความรู้ ข้อเสนอแนะ ข้อท้วงติง และข้อมูล
เพือสร้างความปลอดภัยในการใช้ยาร่วมกัน
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
เอกสารอ้างอิง
Liane Clores , 10 R’s in Giving Medication,
nursingcrib.com
ข้อมูล 10 R medication ในฐานข้อมูล Google
By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

Mais procurados (20)

Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 

Destaque

Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Lek Suthida
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลSutthiluck Kaewboonrurn
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
10 rights of medication administration
10 rights of medication administration10 rights of medication administration
10 rights of medication administrationCarmina Gurrea
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 

Destaque (20)

Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
10 rights of medication administration
10 rights of medication administration10 rights of medication administration
10 rights of medication administration
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 

Mais de Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 

Mais de Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoonหลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA -  Suradet Sriangkoon
หลักคิดสำคัญการวิเคราะห์ RCA - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย

  • 2. 6R -7R -10R 6R 7R 10R Right Drug Right Drug Right Drug Right Patient Right Patient Right Patient Right Dose Right Dose Right Dose Right Route Right Route Right Route Right Time Right Time Right Time and Frequency Right Document Right Document Right Document Right to Refuse Right to Refuse Right History and Assessment Right Drug-Drug Interaction and Evaluation Right to Education and Information By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 3. Right Drug ตรวจสอบความถูกต้องของยาทัง ชือของยา รูปร่าง ของยา ภาชนะทีบรรจุ เพราะยาบางชนิด มีชือที คล้ายกัน ลักษณะทีคล้ายกัน ภาชนะบรรจุทีคล้ายกัน อาจทําให้สับสน และให้ยาผิดได้ จึงต้องตรวจสอบทุก ครังก่อนให้ยา หน่วยงานมีการกําหนดมาตรการในการป้ องกัน ของยาทีชือคล้ายกัน ลักษณะทีคล้ายกัน ภาชนะบรรจุ ทีคล้ายกัน เช่น การทําเอกสารเผยแพร่ การจัดทํา รูปภาพของยาทีคล้ายกันในโรงพยาบาล เป็นต้น ยาทีได้รับ และให้กับผู้ป่วยต้องตรวจสอบ 3 ครังคือ ตอนทีได้รับยา , การเตรียมยา , ก่อนให้กับผู้ป่วย ผู้เตรียมยา และผู้จ่ายยาต้องเป็นคนเดียวกัน By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 4. Right Patient ก่อนการให้ยาต้องถามชือ – นามสกุล ของผู้ป่วยว่าชือ - นามสกุลอะไร อย่าใช้วิธี ถามนําว่า “ ชือ นามสกุล นีหรือไม่” แล้วให้ ผู้ป่วยตอบว่า ใช่หรือไม่ใช่ หรือสันหน้า พยัก หน้า เพราะบางครังผู้ป่วยอยู่ในภาวะทีสับสน อาจไม่เข้าใจทีเราถาม แต่พยักหน้ารับ หรือตอบ ว่า ใช่ กับเรา ตรวจสอบกับกับสายข้อมือทีติดชือ- นามสกุล ผู้ป่วยไว้ทุกครัง เพือความถูกต้อง ปลอดภัย เปรียบเทียบชือ-นามสกุลของผู้ป่วยกับ medication sheet/คําสังการใช้ยา เพือความ ถูกต้อง และตรวจสอบประวัติการแพ้ยา By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 5. Right Dose ตรวจสอบปริมาณยาทีจะให้อีกครังกับ การ์ดยา ,medication sheet , doctor order รวมทังการให้ครัง สุดท้าย เพือให้เกิดความถูกต้อง และสอดคล้องกัน ยาทีให้กับเด็ก และผู้ใหญ่มีขนาดทีแตกต่าง ถ้ามีข้อ สงสัยในปริมาณยาทีให้ ให้สอบถามกับแพทย์เจ้าของไข้ ว่าปริมาณยาทีให้มีความถูกต้องหรือไม่ เพือไม่ให้ผู้ป่วย ได้รับยามากเกินไป รวมทังผู้ป่วยทีเป็นผู้ใหญ่ ถ้าเกิดข้อ สงสัยในปริมาณการให้ยา ก็ควรถามเช่นกัน การคํานวณระดับยาควรมีการคํานวณซํา เพือให้เกิด ความถูกต้อง หรือให้พยาบาลท่านอืนมาคํานวณซําให้ถ้า ไม่มันใจ เพือให้เกิดความถูกต้อง ปริมาณยาทีจะให้ควรตรวจสอบกับ medication sheet/ คําสังการใช้ยาทุกครัง By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 6. Right Route ตรวจสอบคําสังการใช้ยา ก่อน การให้ยาทุกครังว่าให้ยาทาง oral , IV , SQ , IM หรืออืนๆ เพือให้เกิดความ ถูกต้องในการให้ยา เพราะบางครังตัว ยานันถูกต้อง แต่ทางทีจะให้ยาผิด ยาทีให้ ไปก็อาจก่อให้อันตรายแก่ผู้ป่วยได้ ยาในแต่ละตัวทีให้ควรกําหนดทางทีจะ ให้ให้มีความชัดเจน และอาจกําหนด เอกสารข้อห้ามการให้ยาบางชนิดทีว่าไม่ ควรให้ทางไหน เพือสร้างความปลอดภัย By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 7. Right Time and Frequency ควรตรวจสอบเวลาในการให้ยา จากคําสังการใช้ยาทีกําหนดไว้ก่อน การให้ยา เพือดูเวลาทีให้ยาครัง สุดท้ายว่าเป็นเวลาเท่าใด ให้ไปแล้ว หรือไม่ ให้เวลาเท่าใด เพือป้ องกัน การให้ยาผิดเวลาหรือผู้ป่วยได้รับยา มากเกินไป By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 8. Right Documentation ควรมีการบันทึกการให้ยา และลงชือ การให้ยาในเวลาเดียวกับทีให้ยากับ ผู้ป่วยในเอกสารทีได้กําหนดไว้ เพือให้ ข้อมูลการให้ยาเป็นปัจจุบัน และสามารถ สือสารกับพยาบาลหรือวิชาชีพอืนทีเกียวข้อง ในเรืองการให้ยา เพือป้ องกันไม่ให้เกิดการให้ ยาซําซ้อน หรือไม่แน่ใจว่าให้แล้วหรือไม่ มีบันทึกการลงลายมือชือผู้ให้ยา วัน เวลาทีให้ยา ชือยาทีให้ ปริมาณยาทีให้ ทางทีให้ยา และถ้ามีผู้ตรวจสอบซําก็ลง ชือกํากับด้วย By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 9. Right to Refuse ในกรณีทีผู้ป่วยปฏิเสธการรับยา เรา ต้องให้คําอธิบายถึงผลทีเกิดขึนของการ ไม่รับยาของผู้ป่วยให้ผู้ป่วยได้รับทราบใน ทุกด้าน อย่างละเอียด และใช้ความ พยายามอย่างทีสุดทีจะให้ผู้ป่วยรับยา แต่ ทว่าถ้าผู้ป่วยไม่ยอมรับ ก็เป็นสิทธิของ ผู้ป่วย แต่การปฏิเสธนันต้องตังอยู่บน พืนฐานข้อเท็จจริงว่าไม่เป็นอันตรายต่อ ผู้ป่วย และบันทึกการปฏิเสธการรับยาของ ผู้ป่วย By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 10. Right History and Assessment เพือป้ องกันการแพ้ยาซํา ควรตรวจสอบ ประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครังก่อนการให้ยา ควรมีการทดสอบ Skin test ในกรณีทีผู้ป่วย ได้รับยา Antibiotic ทาง IV เป็นครังแรก เพือจะ ได้สังเกตอาการ และปฏิกิริยาทีเกิดขึนกับผู้ป่วย ก่อนการให้ยา ถ้าคาดว่าจะเกิดความไม่ปลอดภัยในการให้ ยา ควรตรวจสอบซํากับคําสังการใช้ หรือปรึกษา แพทย์, เภสัชกร ผู้ปฏิบัติงานต้องปฏิบัติตามแนวทางต่างๆใน การให้ยาอย่างเคร่งครัด By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 11. Right Drug-Drug Interaction and Evaluation ควรมีความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจในเรืองของ ปฏิกิริยาต่อกันของยา ว่ายาชนิดใดเกิดปฏิกิริยาต่อกันเมือมี การให้พร้อมกันก่อนการให้ยา ในกรณีทีมีการให้ยามากกว่า 1 ชนิด แก่ผู้ป่วย เพือป้ องกันไม่ให้เกิดปฏิกิริยา หรือถ้าจําเป็นจะได้มี มาตรการในการรองรับสถานการณ์ทีเกิดขึน หน่วยงานควรมีการจัดทํารายชือยาทีมีปฏิกิริยาต่อกัน เพือให้บุคลากรได้รับรู้ เพือให้เกิดความตระหนักในการ สร้างความปลอดภัย สังเกตอาการของผู้ป่วยก่อนการให้ยา และหลังการให้ ยาเพือเฝ้ าระวังการแพ้ยา หรือยาเกิดปฏิกิริยาต่อกัน กําหนดแนวทาง/วิธีปฏิบัติในการป้ องกันการแพ้ยา รวมทังมาตรการการแก้ไขการแพ้ยา/ยาเกิดปฏิกิริยาต่อ กัน สือสาร ถ่ายทอดให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 12. Right to Education and Information ผู้ป่วยและญาติมีสิทธิทีจะได้รับรู้ใน เรืองของยาทีต้องได้รับ เราต้องอธิบาย ให้ผู้ป่วยได้รับทราบถึง ชือยาทีจะให้ ทางทีจะให้ยา ผลการรักษา และ ผลข้างเคียงของยาทีอาจจะเกิดให้ ผู้ป่วย/ญาติได้รับรู้ รวมถึงความเข้าใจ ในการแพ้ยาของผู้ป่วย เพือช่วยกันใน การสร้างความปลอดภัยในการให้ยา ร่วมกัน By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 13. ดังนันบทบาทการบริหารยานัน จึงไม่ได้เป็นบทบาทของพยาบาลเพียงเดียว แต่ต้องอาศัยแพทย์ เภสัชกร วิชาชีพอืนๆทีเกียวข้อง รวมทังผู้ป่วย/ญาติ ทีต้องช่วยกันให้ความรู้ ข้อเสนอแนะ ข้อท้วงติง และข้อมูล เพือสร้างความปลอดภัยในการใช้ยาร่วมกัน By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
  • 14. เอกสารอ้างอิง Liane Clores , 10 R’s in Giving Medication, nursingcrib.com ข้อมูล 10 R medication ในฐานข้อมูล Google By Suradet Sriangkoon / Sukonrat Sriangkoon 10 R กับการให้ยาอย่างปลอดภัย