SlideShare a Scribd company logo
1 of 584
Download to read offline
คØำนØำ 
สĞำนักพัฒนาทรัพยากรบุคลากรด้านพลังงาน (สพบ.) กรมพัฒนาพลังงาน 
ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้พัฒนาหลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรด้าน 
การอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล” โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 
เป็นวิศวกรและช่างเทคนิคและหลักสูตร “การพัฒนาทีมบริหารระบบการ 
จัดการพลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล” ซึ่งการฝึกอบรมดังกล่าว 
ประสบผลสĞำเร็จเป็นอย่างดี จนทĞำให้มีโรงพยาบาลที่เข้ารับการฝึกอบรม 
มีผลการประหยัดพลังงานดีเด่นได้รับรางวัล Thailand Energy Award 
และได้รับรางวัล Asean Energy Award 
สพบ. ได้ประเมินผลโครงการพบว่า ในโรงพยาบาลขนาดเล็กอันได้แก่ 
โรงพยาบาลชุมชน ในระดับอĞำเภอ ซึ่งมีจĞำนวนมากและมีการใช้พลังงาน 
ค่อนข้างสูง อีกทั้งมีโครงสร้างการบริหารจัดการในโรงพยาบาลแตกต่าง 
จากโรงพยาบาลขนาดใหญ่และมีบุคลากรไม่มาก รวมถึง สพบ. ได้ศึกษา 
แนวทางการดĞำเนินการจัดการพลังงานจากโรงพยาบาลขนาดเล็กที่ได้รับ 
รางวัล Thailand Energy Awards และ Asean Energy Awards พบว่ามี 
แนวทางที่สามารถทĞำได้รวดเร็วกว่าโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ดังนั้น สพบ. 
จึงเห็นว่าควรพัฒนาหลักสูตรระบบการจัดการพลังงานในอาคารประเภท 
โรงพยาบาลขนาดเล็ก ซึ่งมีจĞำนวนเตียงไม่เกิน 200 เตียง ขึ้น โดยฝึกอบรม 
ให้แก่บุคลากรในโรงพยาบาล เพื่อมุ่งเน้นการเพิ่มพลังในการขับเคลื่อน 
ระบบการจัดการพลังงานในโรงพยาบาลขนาดเล็กโดยอาศัยบทเรียนและ 
การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานของคณะทĞำงานจากโรงพยาบาล 
ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่ประสบความสĞำเร็จโดยคาดว่าการฝึกอบรมนี้ 
จะช่วยให้เกิดการบริหารจัดการพลังงานที่ดีในโรงพยาบาลขนาดเล็ก และ 
ส่งผลให้การใช้พลังงานของโรงพยาบาล มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ 
โรงพยาบาลชุมชนในระดับอĞำเภอในประเทศไทยมีจĞำนวนทั้งสิ้น 736 แห่ง 
สพบ. จึงมีเป้าหมายในการฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่เป็นคณะ 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
ทĞำงานระบบการจัดการพลังงาน หรือคณะทĞำงานอื่นๆ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง 
ในลักษณะเดียวกันให้ครอบคลุมจĞำนวนโรงพยาบาลขนาดเล็กทั่วประเทศ 
โดยในปีงบประมาณ 2557 จะดĞำเนินการฝึกอบรมเพื่อให้มีผู้ผ่าน 
การฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 360 คน และจะดĞำเนินการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง 
จนถึงปี 2561 เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่ผ่าน 
การฝึกอบรมในหลักสูตรดังกล่าวมีทักษะ ความรู้ และกลยุทธ์ในการขับเคลื่อน 
ระบบการจัดการพลังงานให้ ประสบผลสĞำเร็จในโรงพยาบาลอย่างถูกต้อง 
สĞำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน 
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 
กระทรวงพลังงาน 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
กิตติกรรมประกาศ 
หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร 
ประเภทโรงพยาบาล 
รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาการพัฒนาหลักสูตร 
นายมนัสวี ฮะกีมี ผู้อĞำนวยการสĞำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล 
ด้านพลังงาน 
นายพงค์พัฒน์ มั่งคั่ง วิศวกรชĞำนาญการพิเศษ 
นายบรรพต ดิสกุล นักทรัพยากรบุคคลชĞำนาญการพิเศษ 
นายพิสิทธิ์ บุญคล้าย นักทรัพยากรบุคคลชĞำนาญการ 
นายวรชัย วรชัยธรรม นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ 
นายเอกวัฒน์ หวังสันติธรรม นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ 
คณะทØำงานด้านการพัฒนาหลักสูตร 
ผศ.ประสิทธิ นางทิน ประธานคณะทĞำงาน 
ดร.ณัฐสุทธิ์ แมนธนานนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพลังงานและ 
สิ่งแวดล้อม 
นายศรายุทธ์ ขุนณรงค์ ผเู้ชี่ยวชาญดา้นการบรหิารจดัการทรัพยากร 
อาคาร 
นายอภิรักษ์ สกุลพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการระบบ 
วิศวกรรมอาคาร 
นายฉัตรชัย ดีประเสริฐ ผู้เชี่ยวชาญด้านไฟฟ้า 
ผศ.ดร.อมตะ ทักศนภักดิ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบĞำรุงรักษาระบบวิศวกรรม 
อาคาร 
นายเพชร ใจหาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี 
นายวรพจน์ ช่างหล่อ ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อการสอน 
นายพยุงศักดิ์ ก้อนแก้ว ผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกอบรม 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
นายธัชชัย มีหนุน ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร 
นางสาวปวีณา ฮั่วจั่น เลขานุการคณะทĞำงาน 
ผู้แทนจากโรงพยาบาลร่วมวิพากษ์หลักสูตร 
นพ.ชวนนท์ อิ่มอาบ ผู้อĞำนวยการโรงพยาบาลวัดเพลง 
ทพญ.อรุณศรี มิ่งมงคล ทันตแพทย์ชĞำนาญการ โรงพยาบาลบ้านนา 
นางวารุณี ระเบียบดี เจ้าหน้าที่เภสัชกรรมชĞำนาญงาน 
โรงพยาบาลกันตัง 
นายสวุทิย์ ร่งุประทปีไพบรูณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชĞำนาญงาน 
โรงพยาบาลบางบ่อ 
คณะทØำงานด้านการฝึกอบรม 
นายวุฒิพงษ์ ลาภทวี ว่าที่ ร.ต.ภาคภูมิ ศรีทองนวล 
นางสาวปวีณา ฮั่วจัน นางสาวจารุภัทร จันทรเกตุ 
นางสาวณัฐพรพรรณ มีล้อมศักดดา นายปราโมทย์ พูลทรัพย์ 
นายณัฐชา ภู่ประดิษฐ์ นางสาวพรทิพย์ ภูตะโชติ 
นางณฐวรรณ ปรัชญ์ธนานันท์ นายภัทรพงศ์ เต็มวิริยะกุล 
นายคีรินทร์ ไกรเกตุ นายภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์ 
นายปราโมทย์ ฉิมปลอด นายธีรพงศ์ กาญเจริญนนท์ 
นายธงชัย พงศ์ทวีทรัพย์ นายกฤติ พรจันทร์เท้า 
นายเกรียงไกร อินตานĞำ นายทิชาพันธ์ ไกรเกตุ 
นายอดิศักดิ์ ปิติเลิศ นางสาวอภิวรรณ พรหมโยธิน 
นายชัยกฤติ จินะดิษฐ์ นายธีรพงศ์ หอศิวาลัย 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
สารบัญ 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล 
หน้า 
บทที่ 1 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1 
1.1 สถานการณ์และวิกฤตการณ์พลังงาน 4 
1.2 บทบาทของผู้บริหารในการอนุรักษ์พลังงาน 
ให้ประสบความสĞำเร็จ 6 
1.3 กฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้น 
ที่ควรทราบ 8 
1.4 โครงการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน 10 
1.5 มาตรฐานด้านการจัดการพลังงานที่ควรรู้ 11 
1.6 Balanced Scorecard 14 
1.7 กลยุทธ์สู่ความสĞำเร็จด้านบริหารจัดการพลังงาน 
8 ขั้นตอน 16 
1.8 KPI สĞำหรับทีมบริหาร 51 
1.9 การบริหารจัดการแบบคล่องตัว 
(LEAN MANAGEMENT) 53 
1.10 การเปลี่ยนสถานะ จากผู้รับเป็นผู้ให้ 
(Changing Status from Receiver to Provider) 59 
บทที่ 2 การจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล 66 
2.1 การบริหารจัดการทรัพยากรอาคารในมุมของ 
บุคลากร (People) 68 
2.2 การบริหารด้านกระบวนการ (Process) 78 
2.3 การบริหารจัดการอาคารสถานที่ (Place) 79
บทที่ 3 กลยุทธ์การจัดการระบบวิศวกรรมเพื่อการอนุรักษ์ 
พลังงานในโรงพยาบาล 114 
3.1 สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย 
ในปัจจุบัน 115 
3.2 การบริหารจัดการค่าไฟฟ้า 117 
3.2.1 การคิดค่าไฟฟ้าจากอุปกรณ์ไฟฟ้า 118 
3.2.2 ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า 122 
3.2.3 องค์ประกอบค่าไฟฟ้า 133 
3.2.4 การคĞำนวณค่าไฟฟ้า 134 
3.2.5 การบริหารจัดการค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 137 
3.3 การบริหารจัดการระบบปรับอากาศ 143 
3.3.1 หลักการทĞำความเย็น 144 
3.3.2 ประเภทของระบบปรับอากาศ 146 
3.3.3 คุณภาพอากาศภายใน (Indoor Air Quality) 
เพื่อผลทางด้านการประหยัดพลังงาน 153 
3.3.4 การออกแบบระบบปรับอากาศให้ 
ประหยัดพลังงานในโรงพยาบาล 157 
3.3.5 การเลือกใช้อุปกรณ์และระบบ 
การปรับอากาศเพื่อการประหยัดพลังงาน 161 
3.3.6 การติดตั้งระบบปรับอากาศให้ 
ประหยัดพลังงาน 164 
3.4 การบริหารจัดการระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 165 
3.4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแสงสว่าง 166 
3.4.2 ประเภทของหลอดไฟฟ้า 168 
3.4.3 ส่วนประกอบของชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่าง 171 
3.4.4 การตรวจวัดความเข้มแสงสว่าง 173 
3.4.5 ขั้นตอนและเทคนิควิธีการวัดแสงสว่าง 175 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
3.4.6 มาตรการอนุรักษ์พลังงาน 
ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 176 
3.5 การจัดการระบบบĞำบัดนĞ้ำเสีย 
(Water Treatment Plant) 188 
3.5.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนĞ้ำเสีย 188 
3.5.2 ประเภทของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียที่นิยมใช้ในอาคาร 190 
3.5.3 การควบคุมระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียเพื่อ 
การอนุรักษ์พลังงาน 198 
3.6 การบริหารจัดการพลังงานสะอาด 201 
3.6.1 ความหมายของพลังงานสะอาด 201 
3.6.2 ตัวอย่างของพลังงานสะอาด 202 
3.7 การบĞำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบวิศวกรรม 
ในโรงพยาบาล 214 
3.7.1 หลักการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 
(Preventive Maintenance) 216 
3.7.2 แนวทางการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 218 
3.7.3 กลยุทธ์การดĞำเนินงานบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 220 
3.7.4 รายละเอียดการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 
ระบบวิศวกรรมในโรงพยาบาล 228 
3.7.5 ผลลัพธ์ที่ได้จากการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 248 
บทที่ 4 กรณีศึกษา 253 
กรณีศึกษาหน่วยงาน ER (Emergency Room) 254 
กรณีศึกษาหน่วยงาน IPD 256 
กรณีศึกษาหน่วยงาน จ่ายกลาง CSSD 
(Central Sterile Supply Department) 258 
กรณีศึกษาหน่วยงานซักฟอก (Laundry) 261 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
กรณีศึกษาหน่วยงานเภสัชกรรม (Pharmacy Division) 264 
กรณีศึกษาหน่วยงานโภชนาการ 268 
กรณีศึกษาหน่วยงาน X-Ray โรงพยาบาลบางบ่อ 270 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
สารบัญรูป 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล 
หน้า 
บทที่ 1 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1 
รูปที่ 1.1 สถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ปี 2553-2556 5 
รูปที่ 1.2 กĞำลังการผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ 
ณ เดือนธันวาคม 2556 6 
รูปที่ 1.3 รูป (ก) นายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ 
ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพญาไทศรีราชา เดิน 
ขึ้น-ลงบันไดแทนการใช้ลิฟต์เช่นเดียวกับพนักงาน 
ทั่วไป และรูป (ข) นางพรพรรณ บุณยเกียรติ 
รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร สถาบันโรคทรวงอก 
รณรงค์ปิดไฟเมื่อเลิกใช้งาน 7 
รูปที่ 1.4 โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารใช้ทดแทน 
LPG รูป (ก) โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ได้รับ 
เงินสนับสนุนบางส่วนจากสำนักนโยบายและแผน 
พลังงาน รูป (ข) ซีไอเอ็มบี ไทย จัดสัมมนา 
“กลยุทธ์การดำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานสำหรับ 
โรงพยาบาล”รูป (ค) โครงการผลิตนํ้าร้อนพลัง 
แสงอาทิตย์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ได้รับเงินสนับสนุน 
จากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 10 
รูปที่ 1.5 แสดงตัวอย่า งผังคณะกรรมการด้า นการจัดการ 
พลังงาน 19 
รูปที่ 1.6 แสดงตัวอย่า งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้า น 
การจัดการพลังงาน 20 
รูปที่ 1.7 แสดงตัวอย่า งคำถามเพื่อการประเมินนโยบาย 
การจัดการพลังงาน 23
รูปที่ 1.8 แสดงตัวอย่า งผลการประเมินจากตารางประเมิน 
การจัดการด้า นพลังงาน (Energy Management 
Matrix: EMM) 24 
รูปที่ 1.9 แสดงตัวอย่า งการประชาสัมพันธ์งานด้า นการอนุรักษ์ 
พลังงานภายในโรงพยาบาล 28 
รูปที่ 1.10 ตัวอย่า งประกาศนโยบายอนุรักษ์พลังงานของ 
โรงพยาบาล 29 
รูปที่ 1.11 การประชาสัมพันธ์ด้า นการอนุรักษ์พลังงาน 
ในรูปแบบต่า งๆ 31 
รูปที่ 1.12 แสดงการใช้พลังงานไฟฟ้า เฉลี่ยในระบบต่า งๆ 
ของอาคารควบคุมประเภทโรงพยาบาล 35 
รูปที่ 1.13 แสดงตัวอย่า งการประเมินศักยภาพอนุรักษ์ 
พลังงาน โดยการใช้เครื่องมือวัด 38 
รูปที่ 1.14 แสดงเป้า หมายอย่า งเป็นรูปธรรม (ก) เป็นตัวอย่า ง 
ของภาคใต้ (ข) เป็นตัวอย่า งของประเทศไทยและ 
อาเซียน รูป (ค) สร้า งความสำเร็จร่วมกับโรงพยาบาล 
ทั่วประเทศ (โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา) 39 
รูปที่ 1.15 เป้า หมายเฉพาะ เน้นมาตรการลงทุนและระยะเวลา 
คืนทุนเป็นหลัก 40 
รูปที่ 1.16 เป้า หมายสมบูรณ์ เน้นผลลัพธ์อัตราการใช้พลังงาน 
ต่อยอดผู้ป่วยครองเตียง (IPD) 40 
รูปที่ 1.17 เป้าหมายสัมพันธ์ เน้นการสื่อสารและ 
ประชาสัมพันธ์ 40 
รูปที่ 1.18 แสดงแผนผัง Cause-and-Effect Diagram 
(หรือ Fishbone Diagram) 41 
รูปที่ 1.19 แสดงการจัดการตามแผนระยะสั้น ระยะกลาง 
ระยะยาว 42 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 1.20 แสดงตัวอย่างการดĞำเนินการตามแผน 
อนุรักษ์พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์ 
การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน 45 
รูปที่ 1.21 แสดงตัวอย่างประกาศแต่งตั้งคณะผู้ตรวจ 
ประเมินการจัดการพลังงานภายในโรงพยาบาล 48 
รูปที่ 1.22 ตัวอย่างการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน 
ในโรงพยาบาล 49 
รูปที่ 1.23 ตัวอย่างการประชุมทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไข 
ข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน 51 
รูปที่ 1.24 วงจรการประยุกต์ใช้ระบบลีนอย่างมีประสิทธิภาพ 55 
รูปที่ 1.25 SPA Handbook แบบที่ท่านสามารถดาวน์โหลด 
ได้บนเว็บไซต์ของสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ 
มหาราชินี 62 
รูปที่ 1.26 การพัฒนาฐานข้อมูลที่ดาวน์โหลดได้ ในรูปแบบ 
คาร์บอน คาลคูเลเตอร์ 63 
รูปที่ 1.27 บรรยากาศการแนะนĞำกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ 
หน่วยงานก่อนลงพื้นที่จริง 64 
รูปที่ 1.28 การถ่ายรูปร่วมกันของทีม ATM ของสถาบัน 
โรคทรวงอก (ชุดสีครีมปกเขียว) หลังลงสอน 
การทĞำ PA ที่รพ.สมุทรปราการ (ชุดสีฟ้า) 64 
บทที่ 2 การจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล 66 
รูปที่ 2.1 สรุปลĞำดับขั้นตอนที่ผู้บริหารจะใช้หลักบริหารจัดการ 
ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิด 
ความยั่งยืน 76 
รูปที่ 2.2 แสดงขั้นตอนการบริหารจัดการงานแบบวงจร 
PDCA 78 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 2.3 แสดงกิจกรรมระหว่างช่วงใช้อาคาร 81 
รูปที่ 2.4 แสดงความสัมพันธ์ของธุรกิจกับ Facility 86 
รูปที่ 2.5 สภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ซึ่งเป็นเขตร้อนชื้น 87 
รูปที่ 2.6 การโคจรของดวงอาทิตย์ สĞำหรับประเทศไทย 88 
รูปที่ 2.7 แสดงการใช้ต้นไม้กันความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร 89 
รูปที่ 2.8 แสดงการจัดวางพื้นที่ไม่ได้เป็นส่วนการใช้งานหลัก 
มาเป็นส่วนที่โดนความร้อนแทน 90 
รูปที่ 2.9 แสดงรูปแบบภูมิสถาปัตยกรรมแบบต่างๆ ที่ช่วย 
ลดความร้อนเข้าสู่อาคาร 91 
รูปที่ 2.10 แสดงการสะท้อนความร้อนจากผิวดินเข้าตัวอาคาร 91 
รูปที่ 2.11 แสดงการป้องกันการสะท้อนจากผิวดินเข้าตัวอาคาร 92 
รูปที่ 2.12 รูปอาคารโรงพยาบาลก่อนและหลังดĞำเนินการ 94 
รูปที่ 2.13 ทางเชื่อมระหว่างอาคาร A และ อาคาร B 95 
รูปที่ 2.14 แสดงแผนผังห้องชั้น 9 ก่อนการปรับปรุง 97 
รูปที่ 2.15 แสดงแผนผังห้องชั้น 9 หลังปรับปรุง 
(ในวงกลมคือห้องที่เพิ่มมา 3 ห้องจากพื้นที่ 
เคาน์เตอร์เดิม) 97 
รูปที่ 2.16 แสดงการเปรียบเทียบก่อนปรับปรุงและหลัง 
การปรับปรุงแล้วเสร็จ 98 
รูปที่ 2.17 แสดงการเปรียบเทียบก่อนปรับปรุงและหลัง 
การปรับปรุงแล้วเสร็จ (ต่อ) 98 
รูปที่ 2.18 รูปแสดงเส้นทางการเดินรถเข้า – ออก 
อาคารก่อนปรับปรุง 101 
รูปที่ 2.19 รูปแสดงเส้นทางการเดินรถเข้า – ออกอาคาร 
หลังปรับปรุง 102 
รูปที่ 2.20 เสื้อผู้ป่วยแบบเดิม 103 
รูปที่ 2.21 เสื้อผู้ป่วยแบบใหม่ 103 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 2.22 ทดสอบรีดผ้าทั้ง 2 แบบ ด้วยเครื่องรีด 104 
รูปที่ 2.23 เปรียบเทียบผลการรีดผ้าทั้ง 2 แบบ ด้วย 104 
รูปที่ 2.24 แสดงผังพื้นที่ห้องกลุ่มงานพยาบาลก่อนและ 
หลังการปรับปรุง 106 
รูปที่ 2.25 แสดงการปรับปรุงพื้นที่เอกซเรย์ 108 
รูปที่ 2.26 แสดงระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียโรงพยาบาล หาดใหญ่ 110 
รูปที่ 2.27 แสดงการตรวจวัดและเก็บค่าพลังงานไฟฟ้า 
ของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียก่อนละหลังปรับปรุง 112 
รูปที่ 2.28 แสดงกราฟค่าพลังงานไฟฟ้าของระบบบĞำบัด 
นĞ้ำเสียก่อนและหลังปรับปรุง 112 
รูปที่ 2.29 แสดงการเลี้ยงปลาเพื่อตรวจสอบคุณภาพนĞ้ำ 
เบื้องต้นหลังจากผ่านระบบบĞำบัด 112 
รูปที่ 2.30 แสดงการเข้าศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่างๆ 113 
บทที่ 3 การจัดการระบบวิศวกรรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 114 
ในโรงพยาบาล 
รูปที่ 3.1 สถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ปี 2553 – 2556 116 
รูปที่ 3.2 กĞำลังการผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ ณ 
เดือนธันวาคม 2556 117 
รูปที่ 3.3 Name Plate ของพัดลม 120 
รูปที่ 3.4 Name Plate ของเครื่อง Fax 120 
รูปที่ 3.5 Name Plate ของเครื่อง Infusion Pump 121 
รูปที่ 3.6 ใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า ประจĞำเดือนธันวาคม 2556 
โรงพยาบาลกันตัง 136 
รูปที่ 3.7 แสดง Profile ค่าไฟฟ้าเพื่อการบริหารจัดการ 
ค่าไฟฟ้า และ Energy Management Software 
โปรแกรมบริหารจัดการพลังงานแบบอัตโนมัติ 141 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 3.8 ระบบบริหารจัดการพลังงาน Energy 
Management Software 143 
รูปที่ 3.9 การประยุกต์ใช้ Peak Demand Controller 
กับเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 143 
รูปที่ 3.10 แสดงวัฏจักรการทĞำความเย็นของระบบ 
ปรับอากาศ 144 
รูปที่ 3.11 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทตั้งพื้น 
(Floor Standing Type) 146 
รูปที่ 3.12 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทตั้งแขวน 
(Ceiling Type) 147 
รูปที่ 3.13 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทติดผนัง 
(Wall Type) 147 
รูปที่ 3.14 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทฝังฝ้าเพดาน 
(Cassette Type) 148 
รูปที่ 3.15 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทต่อ 
ท่อส่งลมเย็น (Duct Type) 148 
รูปที่ 3.16 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทหน้าต่าง 
(Window Type) 149 
รูปที่ 3.17 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทเคลื่อนที่ 
(Movable Type) 149 
รูปที่ 3.18 กราฟเปรียบเทียบการทĞำงานของคอมเพรสเซอร์ 
ระบบทั่วไปและระบบอินเวอร์เตอร์ 150 
รูปที่ 3.19 ระบบ VRF (VARIABLE REFRIGERANT FLOW) 152 
รูปที่ 3.20 แสดงการใช้งานของระบบ VRF ที่สามารถ 
เลือกใช้เครื่องส่งลมเย็นหลายชนิดได้ตาม 
ความเหมาะสม 152 
รูปที่ 3.21 แสดงการตรวจวัดคุณภาพอากาศในโรงพยาบาล 154 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 3.22 รูปแบบก่อนติดตั้งของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน 
ความร้อนอากาศ บริเวณโซนผู้ป่วยนอก OPD 154 
รูปที่ 3.23 แสดงรูปแบบหลังติดตั้งของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน 
ความร้อนอากาศ บริเวณโซนผู้ป่วยนอก OPD 155 
รูปที่ 3.24 ภาพแสดงอุณหภูมิที่ลดลงของอากาศที่เติมเข้ามา 
ในห้องผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนอากาศ 
และลักษณะการติดตั้งอุปกรณ์นี้ภายในฝ้าเพดาน 155 
รูปที่ 3.25 โครงสร้างแกนแลกเปลี่ยนความร้อน (Lossnay) 
ของบริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา 156 
รูปที่ 3.26 แสดงการเปรียบเทียบคĞำจĞำกัดความด้านแสงสว่าง 166 
รูปที่ 3.27 ตัวอย่างหลอดไส้ 168 
รูปที่ 3.28 ตัวอย่างหลอดโซเดียมความดันตĞ่ำ 169 
รูปที่ 3.29 ตัวอย่างหลอดปรอทความดันสูง 170 
รูปที่ 3.30 แสดงตัวอย่างหลอดโซเดียมความดันสูง 170 
รูปที่ 3.31 แสดงตัวอย่างหลอดเมทัลฮาไลด์ 170 
รูปที่ 3.32 แสดงตัวอย่างหลอดแอลอีดี 171 
รูปที่ 3.33 แสดงมาตรการเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต์ 
ขนาด 36 วัตต์ เป็นหลอดประหยัดไฟ LED 180 
รูปที่ 3.34 แสดงการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมกĞำลังไฟฟ้าสĞำหรับ 
แสงสว่าง โดยไมโครโปรเซสเซอร์ 183 
รูปที่ 3.35 แสดงมาตรการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าชนิด LED 6 วัตต์ 
ทดแทนหลอดไฟฟ้าชนิด Halogen 50 วัตต์ 187 
รูปที่ 3.36 แสดงส่วนประกอบของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียแบบ RBC 192 
รูปที่ 3.37 แสดงส่วนประกอบของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสีย 
แบบคลองวน 193 
รูปที่ 3.38 แสดงส่วนประกอบของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสีย 
แบบตะกอนเร่ง 195 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 3.39 ตัวอย่างการใช้ VSD กับชุดเติมอากาศของระบบ 
บĞำบัดนĞ้ำเสียร่วมกับ DO Sensor 200 
รูปที่ 3.40 ตัวอย่างการมอนิเตอร์ (Monitor) แสดงค่าของ 
คุณภาพนĞ้ำเสียแบบ Real Time เพื่อควบคุม 
การทĞำงานระบบให้ทĞำงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
และประหยัดพลังงานโดยอัตโนมัติ 200 
รูปที่ 3.41 การผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ 203 
รูปที่ 3.42 ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ 204 
รูปที่ 3.43 ระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจĞำหน่าย 204 
รูปที่ 3.44 ระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน 205 
รูปที่ 3.45 ระบบเทอร์โมไซฟอน (Thermosiphon Systems) 208 
รูปที่ 3.46 ระบบปั๊มนĞ้ำหมุนเวียน (Force circulation) 208 
รูปที่ 3.47 ระบบผสมผสาน (Solar Hybrid System) 209 
รูปที่ 3.48 ตัวอย่างโครงการ Grid-connected PV Solar 
Roof Top ณ อาคารอนุรักษ์พลังงาน 
เฉลิมพระเกียรติ 210 
รูปที่ 3.49 แสดงการทĞำงานของระบบผลิตนĞ้ำร้อนจาก 
เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 211 
รูปที่ 3.50 การติดตั้งระบบผลิตนĞ้ำร้อนจากเครื่องปรับอากาศ 
แบบแยกส่วน 212 
รูปที่ 3.51 การตรวจวัดหาค่าไฟฟ้า ก่อนและหลังปรับปรุง 212 
รูปที่ 3.52 การติดตั้งระบบทĞำนĞ้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ 
Solar Collector โรงพยาบาลพญาไท 2 213 
รูปที่ 3.53 แสดงแนวทางการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 218 
รูปที่ 3.54 แสดงระบบส่งจ่ายกĞำลังไฟฟ้าจากไฟฟ้าฯ 
เข้ามายังหม้อแปลงไฟฟ้าของโรงพยาบาล 230 
รูปที่ 3.55 แสดงรูปเครื่องกĞำเนิดไฟฟ้า (Generator) 230 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
รูปที่ 3.56 แสดงรูปแบตเตอรี่สĞำรอง UPS 231 
รูปที่ 3.57 กระบวนการในการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกันกับ 
ผลลัพธ์ที่ได้ 249 
บทที่ 4 กรณีศึกษา 253 
กรณีศึกษาหน่วยงาน ER (Emergency Room) 
รูปที่ 1 ความสว่างของหลอดไฟ 254 
รูปที่ 2 ก่อนปรับปรุง 255 
รูปที่ 3 หลังปรับปรุง 255 
กรณีศึกษาหน่วยงาน IPD 
รูปที่ 1 เครื่องปรับอากาศ 256 
กรณีศึกษาหน่วยงาน จ่ายกลาง CSSD (Central Sterile Supply 
Department 
รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงเครื่องนึ่งทĞำลายเชื้อ 259 
รูปที่ 2 หลังปรับปรุงเครื่องนึ่งทĞำลายเชื้อ 260 
กรณีศึกษา หน่วยงานซักฟอก (Laundry) 
รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงกระบวนการซักผ้า 262 
รูปที่ 2 หลังปรับปรุงกระบวนการซักผ้า 263 
กรณีศึกษาหน่วยงาน เภสัชกรรม (Pharmacy Division) 
รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงระบบปรับอากาศห้องเก็บยา 265 
รูปที่ 2 หลังปรับปรุงระบบปรับอากาศห้องเก็บยา 266 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
กรณีศึกษาหน่วยงานโภชนาการ 
รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงการปั่นอาหารทางสายยาง 269 
รูปที่ 2 หลังปรับปรุงการปั่นอาหารทางสายยาง 269 
กรณีศึกษา: หน่วยงาน X-Ray โรงพยาบาลบางบ่อ 
รูปที่ 1 ห้อง X-Ray ใหญ่ 271 
รูปที่ 2 ห้อง X-Ray เล็ก 271 
รูปที่ 3 ก่อนปรับปรุงห้อง X-Ray เล็ก 272 
รูปที่ 4 หลังปรับปรุงห้อง X-Ray เล็ก 272 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
สารบัญตาราง 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล 
หน้า 
บทที่ 2 การจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล 66 
ตารางที่ 2.1 ตัวอย่างการใช้พลังงานในพื้นที่หลักๆ 
ที่สĞำคัญในโรงพยาบาล 79 
ตารางที่ 2.2 ประมาณการอายุใช้งานของส่วนประกอบอาคาร 82 
บทที่ 3 การจัดการระบบวิศวกรรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 
ในโรงพยาบาล 114 
ตารางที่ 3.1 ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในรอบปี 2556 
โรงพยาบาลกันตัง 139 
ตารางที่ 3.2 ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะหรืออัตราส่วน 
ประสิทธิภาพพลังงานขั้นตĞ่ำของ 
เครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก 146 
ตารางที่ 3.3 ตารางค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคาร 156 
ตารางที่ 3.4 ค่ามาตรฐานความสว่างพื้นที่ต่างๆ ใน 
โรงพยาบาล 174 
ตารางที่ 3.5 ตารางเปรียบเทียบผลประหยัดของหลอด 
LED Fluorescent และ Fluorescent T5 179 
ตารางที่ 3.6 คุณสมบัติหลอดฮาโลเจนและหลอด LED 186 
ตารางที่ 3.7 ค่ามาตรฐานคุณภาพนĞ้ำ อ้างอิงกรมควบคุม 
มลพิษ 196 
ตารางที่ 3.8 ตัวอย่างการคĞำนวณอัตรากĞำลังงานบĞำรุงรักษา 223 
ตารางที่ 3.9 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ 
บĞำรุงรักษาระบบสวิทช์ปิด - เปิดไฟฟ้าแรงสูง 
(HV. Switchgear) 232 
ตารางที่ 3.10 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ
บĞำรุงรักษาระบบชุดปรับปรุงตัวประกอบ 
กĞำลังไฟฟ้า (Capacitor Bank) 233 
ตารางที่ 3.11 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและบĞำรุงรักษา 
ระบบหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) 234 
ตารางที่ 3.12 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ 
บĞำรุงรักษาระบบตู้ประธานจ่ายไฟฟ้า 
(Main Distribution Board) 235 
ตารางที่ 3.13 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ 
บĞำรุงรักษาระบบแบตเตอรี่สĞำรอง (UPS) 236 
ตารางที่ 3.14 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและบĞำรุงรักษา 
ระบบเครื่องกĞำเนิดไฟฟ้าสĞำรอง (Generator) 237 
ตารางที่ 3.15 ระยะเวลาการบĞำรุงรักษาองค์ประกอบของ 
ระบบแสงสว่าง 240 
ตารางที่ 3.16 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและบĞำรุงรักษา 
ระบบ Air Sprit Type 247 
ตารางที่ 3.17 ประโยชน์ที่ได้จากการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 248 
ตารางที่ 3.18 สรุปรายละเอียดและขอบเขตการบĞำรุงรักษา 
เชิงป้องกันระบบวิศวกรรมในโรงพยาบาล 250 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
1 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
บทที่ 1 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
ความสØำคัญของเนื้อหาวิชา 
หากกล่าวถึงโรงพยาบาล ไม่ว่าจะเป็นอาคารควบคุม (โรงพยาบาล 
ขนาดใหญ่หรือทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ภาครัฐ โรงพยาบาลเอกชน) หรือ 
อาคารนอกข่าย (โรงพยาบาลชุมชน) ก็ล้วนแต่มีการใช้พลังงานที่สูงมาก 
แทบทั้งสิ้นเมื่อเทียบกับอาคารประเภทอื่นไม่ว่าจะเป็น อาคารสĞำนักงาน 
สถาบันการศึกษา โรงแรม และห้างสรรพสินค้า เหตุผลก็เป็นเพราะว่า 
โรงพยาบาลต้องเปิดทĞำการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง รวมถึงมีผู้ใช้อาคาร 
และมีเครื่องมือที่ใช้พลังงานจĞำนวนมาก และคĞำถามข้อหนึ่งที่มักอยู่ในใจ 
ผู้บริหารเกี่ยวกับสภาวะการณ์ดังกล่าวก็คือ “แล้วจะอนุรักษ์พลังงาน 
ในโรงพยาบาลของเราให้ประสบความสĞำเร็จได้อย่างไร ประสบความสĞำเร็จ 
หมายถึงอะไร” คĞำตอบก็คือ การอนุรักษ์พลังงานในโรงพยาบาลให้ 
ประสบความสĞำเร็จ คือ การที่โรงพยาบาลมีการให้บริการได้อย่างเต็มที่ 
เต็มประสิทธิภาพและสามารถประหยัดพลังงานได้ด้วย มีผลประหยัด 
ชัดเจน และมีความยั่งยืน แต่ผู้บริหารต้องคĞำนึงถึงเสมอว่า ความเป็นไป 
ได้ของความสĞำเร็จ (The Chance of Success)นั้น จะต้องมีจุดเริ่มต้น 
และความสมĞ่ำเสมอมาจากตัวท่านผู้บริหารสูงสุดเท่านั้น ในบทนี้จะได้ 
กล่าวถึงวิธีการบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ที่ผู้บริหารควรศึกษา 
เป็นอย่างยิ่งและเมื่อท่านมีความเข้าใจก็สามารถปฏิบัติได้อย่างทันท่วงที 
และหากเป็นเช่นนี้ก็เชื่อได้ว่าโรงพยาบาลของท่านก็จะสามารถประสบ 
ความสĞำเร็จได้ภายในเวลาอันสั้นในเรื่องของการอนุรักษ์พลังงานด้วย 
ความยั่งยืน 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
2 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อให้เกิดความเข้าใจในรูปแบบการบริหารจัดการพลังงาน 
แบบมีส่วนร่วมกับเครื่องมือบริหาร (Balance Scorecard) ในปัจจุบันที่ 
โรงพยาบาลใช้อยู่ รวมถึงการสร้างจิตอาสาของเจ้าหน้าที่ทุกคนใน 
โรงพยาบาล 
2. เพื่อให้สามารถนĞำแนวทางการบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม 
ที่ได้รับการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
โดยทันที 
บทนØำ 
ในฐานะที่ท่านเป็นผู้บริหาร ขององค์กรการบริหารจัดการพลังงาน 
ในปัจจุบันและอนาคตเป็นสิ่งสĞำคัญ ที่ท่านหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะเป็น 
ความอยู่รอดขององค์กรและประเทศชาติ ซึ่งจากข้อมูลข่าวสารที่ผ่านมา 
สĞำนักข่าวหนึ่งรายงานว่า “ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่งประเทศไทย 
(กฟผ.) เปิดเผยว่า ตัวเลขความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (peak) 26 เมษายน 
2555 อยู่ที่ 26,121 เมกะวัตต์ (MW) เป็นสถิติใหม่ในปีนี้ซึ่งสูงกว่าที่กฟผ. 
คาดการณ์ไว้ว่าปีนี้จะมีการใช้ไฟฟ้าสูงสุดอยู่ที่ 25,784 เมกะวัตต์ โดยมี 
ปัจจัยหนึ่งคือสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าวซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 38.5 องศาเซลเซียส 
อย่างไรก็ตาม กฟผ. ให้ความมั่นใจว่ายังมีกĞำลังผลิตไฟฟ้าสĞำรองเพียงพอ 
แต่ขอให้ประชาชนช่วยกันประหยัดไฟฟ้า เพื่อลดการใช้พลังงานอีกทางหนึ่ง 
ณ สิ้นปี 54 ไทยมีกĞำลังการผลิตติดตั้งรวม 31,447 เมกะวัตต์” จาก 
สถานะการณ์ดังกล่าวนี้ แสดงให้เห็นชัดเจนว่า พลังงานสĞำรองเป็นเรื่องวิกฤต 
ระดับชาติและใกล้ตัวมากกว่าที่เคยเป็น และนอกจากเรื่องของแนวโน้ม 
ความขาดแคลนพลังงานแล้วยังมีเรื่องของธรรมชาติ (สิ่งแวดล้อม) 
ที่ต้องการเยียวยาอยา่งเรง่ดว่นอกีดว้ย หลายทา่นอาจยงัไมท่ราบวา่ทกุวนันี้ 
ประเทศไทยเองแทบจะตกเป็นเมืองขึ้นในด้านพลังงานแก่พม่าแล้ว เนื่องจาก 
เราต้องซื้อก๊า ซธรรมชาติจากพม่าเพื่อมาทดแทนความต้องการพลังงาน
3 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
ภายในประเทศ จากรายงานข่าว (สิงหาคม 2552) ที่ว่า นายกิตติ ตันเจริญ 
ผู้อĞำนวยการเขื่อนศรีนครินทร์ ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนไทยหลายสĞำนัก 
ว่า “สาเหตุที่ต้องเปิดระบายนĞ้ำเขื่อนศรีนครินทร์ เพราะวันที่ 13 สิงหาคม 
ที่ผ่านมา แหล่งผลิตก๊า ซธรรมชาติบงกชในอ่าวไทย ท่อส่งก๊า ซรั่ว ต้องปิด 
ซ่อมทั้งระบบ ทĞำให้ก๊า ซธรรมชาติหายไปถึง 650 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน 
ต่อมาวันที่ 15 สิงหาคม แหล่งผลิตก๊า ซธรรมชาติยาดานาในพม่า ก็มีปัญหา 
เช่นเดียวกัน ทĞำให้ก๊า ซธรรมชาติหายไป 1,100 ล้านลูกบาศก์ฟุต รวมก๊า ซ 
2 แหล่งที่หายไปสูงถึง 1,750 ล้านลูกบาศก์ฟุต คิดเป็นกĞำลังผลิตไฟฟ้า 
10,000 เมกะวตัต ์ซงึ่เกนิความสามารถของโรงไฟฟา้พลงัความรอ้นทีผ่ลติ 
อยู่ในประเทศไทยจะรับมือได้ทัน ฉะนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ไฟฟ้าในประเทศไทย 
ดับ กฟผ. จึงให้เขื่อนศรีนครินทร์ ซึ่งมีกĞำลังผลิตไฟฟ้ามากเป็นอันดับ 2 
รองจากเขื่อนภูมิพล เดินเครื่องปั่นไฟฟ้าทั้ง 5 เครื่อง ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม 
แปดโมงเช้าจนถึงตีสองของอีกวัน เพื่อป้อนไฟเข้าระบบอย่างกะทันหัน 
ทĞำให้ไม่มีเวลาเตือนให้ประชาชนที่อยู่ท้ายเขื่อน รู้ล่วงหน้าว่านĞ้ำจะท่วม 
เพราะต้องใช้ปริมาณนĞ้ำผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จนส่งผล 
ให้กระทบต่อระดับนĞ้ำในแม่นĞ้ำแควใหญ่ หรือนี่คือการตอบโต้ของรัฐบาล 
พม่าต่อรัฐบาลไทยผ่านจุดอ่อนเรื่อง “การพึ่งพาพลังงาน” เพราะวันที่ 
แหล่งผลิตก๊า ซยานาดาในพม่าหยุดจ่ายอย่างกะทันหันนั้น เกิดขึ้นในช่วง 
เวลาเดียวกับที่ประเทศไทยในฐานะประธานอาเซียน ได้แสดงท่าทีตĞำหนิ 
ประนาม และกดดันรัฐบาลพม่า ซึ่งในปี 2556 นี้ประเทศพม่าแจ้งหยุดส่ง 
ก๊า ซธรรมชาติ ระหว่างวันที่ 4-12 เมษายน เพื่อซ่อมบĞำรุงแท่นขุดเจาะ 
กา๊ซธรรมชาตยิาดานา ทĞำให้หลายฝา่ ยเริ่มวิตกว่าไฟฟ้าในประเทศไทย 
จะดับทั้งประเทศ ขณะเดียวกัน กระทรวงพลังงานก็ได้มีการเตรียมพร้อม 
และซ้อมแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน และขอความร่วมมือจากประชาชนให้ช่วยกัน 
ประหยัดไฟให้มากที่สุด ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการผลิตไฟฟ้าในประเทศได้ 
จะเห็นว่าทุกวันนี้หากเรา ไม่ช่วยกันลดการใช้พลังงาน หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ 
ที่สิ้นเปลืองพลังงาน การไฟฟ้าฯ คงต้องหาแหล่งพลังงานเพิ่ม เพื่อรองรับ 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
4 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
ความต้องการ หรืออาจมีมาตรการตัดไฟบางพื้นที่ ในบางช่วงเวลา ซึ่งมาตรการ 
อย่างหลัง ไม่น่าจะโดนใจผู้ใช้ไฟสักเท่าไหร่และถือเป็นวิกฤตที่ประเทศไทย 
กĞำลังเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น เรื่องของต้นทุนพลังงานที่เพิ่มขึ้น 
ซึ่งจะสะท้อนออกมาในรูปของค่าไฟฟ้า ค่าเชื้อเพลิง ที่เพิ่มสูงขึ้นด้วย 
ดังนั้นท่านผู้บริหารต้องเข้าใจว่า ในปัจจุบันต้นทุนการดĞำเนินการต่างก็ 
ปรบัตวัสงูขึน้อยา่งรวดเรว็ ทกุองคก์รจงึพยายามแขง่ขนัเพอื่รกัษาสถานะ 
ทางธุรกิจ โรงพยาบาลก็เป็นองค์กรหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากต้นทุนที่ 
ปรับตัวดังกล่าว โดยองค์ประกอบที่จะทĞำให้โรงพยาบาลมีผลประกอบการ 
ที่ดีหรือได้กĞำไรสูงนอกจากจะเพิ่มรายได้แล้ว ยังจะต้องสามารถควบคุม 
ต้นทุนในการดĞำเนินการได้ อาทิเช่น ค่าแรงงานบุคคลากรเวชภัณฑ์ 
ทางการแพทย์ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคและพลังงาน โดยคงไว้ซึ่งต้นทุน 
บางอย่างก็ไม่สามารถปรับลดได้เพราะจะกระทบกับการให้บริการ แต่ 
สĞำหรับต้นทุนด้านพลังงานนั้นถ้าท่านได้ศึกษาอย่างถ่องแท้แล้วจะพบว่า 
โรงพยาบาลเองก็สามารถลดต้นทุนดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพและ 
ไม่มีผลกระทบต่อการให้บริการ 
1.1 สถานการณ์และวิกฤตการณ์พลังงาน 
ไฟฟ้าเป็นปัจจัยที่มีความสĞำคัญอย่างยิ่งต่อการดĞำเนินชีวิตและการ 
ดĞำเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคครัวเรือน และภาค 
การเกษตร ล้วนต้องใช้พลังงานไฟฟ้าแทบทั้งสิ้น แต่จากสถิติการใช้ไฟฟ้า 
ของประเทศไทยพบว่า 
ในปี 2556 ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของประเทศ มีค่าเท่ากับ 
26,598.14 เมกะวัตต์ เกิดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 
เวลา 14.00 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2555 จĞำนวน 477.14 เมกะวัตต์ คิดเป็น 
ร้อยละ 1.83 โดยมีสาเหตุหลักจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด อยู่ที่ระดับ 
37.5 องศาเซสเซียส 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
5 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
เมกะวัตต์ 
27,000.00 
24,009.00 23,900.00 
24,464.00 24,571.00 
24,882.00 
25,178.00 
25,551.00 25,682.00 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล 
26,121.00 
26,598.14 
26,500.00 
26,000.00 
25,500.00 
25,000.00 
24,500.00 
24,000.00 
23,500.00 
23,000.00 
22,500.00 
10 พ.ค.53 24 พ.ค.54 23 มี.ค.55 29 มี.ค.55 19 เม.ย.55 20 เม.ย.55 24 เม.ย.55 25 เม.ย.55 26 เม.ย.55 16 พ.ค.56 
ที่มา : กองสารสนเทศ ฝ่า ยสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่งประเทศไทย 
รูปที่ 1.1 สถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ปี 2553 - 2556 
ในปี 2556 (ข้อมูลเดือนธันวาคม 2556) กĞำลังผลิตไฟฟ้ารวมของ 
ประเทศมีกĞำลังผลิตติดตั้งรวมทั้งสิ้น 33,681.02 เมกะวัตต์ โดยเป็นกĞำลัง 
ผลิตจาก 
1) โรงไฟฟ้าของ กฟผ. รวม 15,010.13 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 
44.56 ของกĞำลังผลิตทั้งประเทศ 
2) กĞำลังผลิตที่รับซื้อจากโรงไฟฟ้าเอกชนและต่างประเทศ รวม 
18,670.89 เมกะวัตต์ หรือ ร้อยละ 55.44 ประกอบด้วย กĞำลังผลิตของ 
ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ภายในประเทศรวม 12,741.70 เมกะวัตต์ 
ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ประเภทสัญญา Firm รวม 3,524.60 เมกะวัตต์ 
และไฟฟ้าซื้อจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) 
และ มาเลเซีย รวม 2,404.60 เมกะวัตต์
6 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
ที่มา : กองสารสนเทศ ฝ่า ยสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่งประเทศไทย 
รูปที่ 1.2 กĞำลังการผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ ณ เดือนธันวาคม 2556 
จากกĞำลังผลิตไฟฟ้ารวมของประเทศกับความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของ 
ระบบ พบว่า ประเทศไทย มีกĞำลังไฟฟ้าสĞำรองเพียง 7,082.88 เมกะวัตต์ 
ซึ่งกĞำลังไฟฟ้าสĞำรองเป็นกĞำลังผลิตไฟฟ้าที่วางแผนการผลิต ให้มีมากกว่า 
ปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าสงูสดุในเวลาปกตจิำĞนวนหนึ่ง แตเ่นื่องจาก 
การก่อสร้างโรงไฟฟ้า ต้องใช้เวลานาน และปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้า 
ของประเทศคาดการณ์ได้ยาก ถ้ามีกĞำลังผลิตไฟฟ้าสĞำรอง ไม่เพียงพอกับ 
ความต้องการอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศได้ 
1.2 บทบาทของผู้บริหารในการอนุรักษ์พลังงาน 
ให้ประสบความสĞำเร็จ 
ผู้บริหารระดับสูงมีบทบาทสĞำคัญอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนและผลักดัน 
ให้กิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานประสบความสĞำเร็จเป็นไปอย่างต่อเนื่อง 
และยั่งยืนดังต่อไปนี้ 
1. พัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์พลังงานและแสดงเจตนารมณ์ 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
7 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานต่อบุคลากรในองค์กร โดยประกาศนโยบาย 
การอนุรักษ์พลังงานของโรงพยาบาลให้พนักงานทุกระดับทราบ มีคĞำกล่าว 
ที่คุ้นเคยที่ว่า “ถ้าหัวไม่ส่าย หางก็ไม่กระดิก” ดังนั้นหากท่านต้องการให้ 
ระบบเกิด ท่านต้องเป็นคนแรกที่จะต้องเริ่มทĞำอย่างจริงจัง และจริงใจ มี 
หลายองค์กรที่ผู้นĞำเป็นตัวอย่าง ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟท์ร่วมกับพนักงาน 
หรือปิดไฟเมื่อเลิกใช้งาน สร้างแรงผลักดันให้กับพนักงาน (จุดสĞำคัญ คือ 
ผู้นĞำต้องเป็นตัวอย่างที่ดี) 
(ก) (ข) 
รูปที่ 1.3 รูป (ก) นายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ ผู้อĞำนวยการโรงพยาบาล 
พญาไทศรีราชา เดินขึ้น-ลงบันไดแทนการใช้ลิฟต์เช่นเดียวกับ 
พนักงานทั่วไป และรูป (ข) นางพรพรรณ บุณยเกียรติ รองผู้อĞำนวยการ 
ฝ่า ยบริหาร สถาบันโรคทรวงอก รณรงค์ปิดไฟเมื่อเลิกใช้งาน 
2. สนับสนุนกĞำลังคน ในที่นี้หมายถึง ทีมงานหรือทีมบริหารจัดการ 
พลังงาน ซึ่งเป็นตัวแทนจากทุกภาคส่วนในโรงพยาบาลให้มีความรับผิดชอบ 
ให้สอดคล้องกับระบบการบริหารโรงพยาบาล ประกอบด้วย ประธาน 
คณะกรรมการ ที่ปรึกษา กรรมการ และเลขานุการ ซึ่งจะกล่าวถึงโดย 
ละเอียดในหัวข้อ 1.3.1 ต่อไป และท่าน(ผู้บริหาร) จะต้องให้คĞำแนะนĞำ 
และเป็นที่ปรึกษาเพื่อให้ความรู้ การแก้ปัญหาต่างๆ แก่ทีมงานที่จัดตั้งขึ้น 
เพื่อให้สามารถขยายผลในองค์กรเพื่อการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
โดยการส่งไปอบรมภายนอกหรือจัดอบรมภายในองค์กรเอง โดยที่ปรึกษา 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
8 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
หรือผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก เพื่อสิ่งเหล่านี้จะได้เป็นโปรไฟล์ในเรื่องการ 
ฝึกอบรม (Training) ของโรงพยาบาลของท่านเอง 
3. สนับสนุนงบประมาณในการทĞำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง (เพราะ 
ท่านต้องเข้าใจความจริงข้อหนึ่งที่ว่า พนักงานเจ้าหน้าที่มีไอเดีย อยากทĞำ 
แต่ไม่มีใครที่จะออกเงินตัวเอง) ดังนั้น ผู้บริหารต้องสนับสนุนเรื่องเงิน 
ซึ่งเป็นปัจจัยสĞำคัญที่กระตุ้นให้เกิดความพร้อมในทุกๆเรื่อง พึงระลึก 
อยู่เสมอว่า “You gets what you pay for” ดังนั้นต้องมีการลงทุน กับ 
สิ่งที่คุ้มค่าต่อองค์กร 
4. ติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและที่สĞำคัญคือ 
ต้องมีเวลาติดตามเรื่องนี้อย่างจริงจัง หรือว่ามีวาระให้ทีมงานได้มีโอกาส 
รายงานความคืบหน้าในสิ่งที่ได้รับมอบหมาย 
5. ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งในที่นี้หมายถึง พระราชบัญญัติ 
การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานฯ 
1.3 กฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้นที่ควรทราบ 
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานฯเป็นกฎหมายที่เน้น 
การส่งเสริมและช่วยเหลือแก่โรงงานควบคุมและอาคารควบคุม (โรงงาน 
หรืออาคาร ที่ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดมากกว่า 1,175 kVA หรือมี 
การใช้พลังงานทั้งหมดเทียบเท่าพลังงานความร้อนตั้งแต่ 20 ล้านMJ/ปี 
ขึ้นไป) แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้พระราชบัญญัติฯ มีสภาพบังคับ จึงต้องมี 
บทกĞำหนดโทษในลักษณะของค่าปรับสำĞหรับผ้ทูี่ไม่ดำĞเนินการตามกฎหมาย 
โดยจะกล่าวถึงเฉพาะในส่วนของ เจ้าของอาคารควบคุมที่ไม่ดĞำเนินการจัดการ 
พลังงานตามที่กĞำหนดในกฎกระทรวง การไม่แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้าน 
พลังงาน สĞำหรับบทกĞำหนดโทษของผู้ที่ฝ่า ฝืนไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ 
และกฎหมายลĞำดับรองของพระราชบัญญัติฯนี้มีดังต่อไปนี้ 
1) เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมแห่งใด 
แจ้งรายละเอียดหรือเหตุผลในการมีคĞำขอให้อธิบดีผ่อนผัน 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
9 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
การที่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ตามมาตรา 8 วรรค 
สามอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจĞำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือ 
ปรับไม่เกิน 150,000 บาท หรือทั้งจĞำทั้งปรับ (มาตรา 53) 
2) เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมผู้ใด 
ไม่ปฏิบัติตามคĞำสั่งของอธิบดีตามมาตรา 10 และมาตรา 21 
ที่สั่งให้ผู้นั้นแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้พลังงานเพื่อ 
ตรวจสอบให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นไปตามมาตรฐาน 
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กĞำหนดในกฎกระทรวงต้องระวางโทษ 
ปรับไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 54) 
3) เจ้าของโรงงานควบคุม เจ้าของอาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบ 
ด้านพลังงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามความ 
ในมาตรา 9 หรือมาตรา 21 อันได้แก่ กฎกระทรวงในเรื่องต่างๆ 
ดังนี้ การกĞำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการ 
พลังงานให้เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม 
ต้องปฏิบัติการกĞำหนดให้เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของ 
อาคารควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจĞำ 
ในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม (ผชอ.) แต่ละแห่ง 
ตลอดจนกĞำหนดคุณสมบัติและหน้าที่ของผู้รับผิดชอบด้าน 
พลังงานต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท (มาตรา 55) 
4) ผู้ใดไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบ 
ตามจĞำนวนที่ต้องส่งตามมาตรา 35 มาตรา 36 หรือมาตรา 
37 ต้องระวางโทษจĞำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 2 ปีหรือปรับตั้งแต่ 
100,000 บาทถึง 1,000,000 บาท หรือทั้งจĞำทั้งปรับ (มาตรา 58) 
5) ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อĞำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้า 
หน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 47 (2) ต้องระวางโทษ 
ปรับไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 60) 
หมายเหตุ: ท่านผู้บริหารสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก www.dede.go.th 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
10 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
1.4 โครงการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน 
ครั้นเมื่อท่านผู้บริหารเป็นทั้งผู้รอบรู้ เข้าใจในบทบาทตัวเองและ 
ทีมงาน และตระหนักถึงเรื่องของกฎหมายและมาตรฐานแล้ว อีกสิ่งหนึ่ง 
ทีท่่านผบู้รหิารโรงพยาบาลจำĞเปน็ตอ้งมีกค็อื “แหลง่สนบัสนนุด้านการเงนิ” 
เพราะความจริงข้อหนึ่งที่ว่า “ไม่ช้าก็เร็ว ท่านจะต้องมีการปรับปรุงอาคาร 
เทคโนโลยีฯหรืออุปกรณ์ต่างๆในโรงพยาบาลของท่าน” (ดูเรื่องของ 
การบริหารทรัพยากรอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานในบทที่ 2) 
แหล่งสนับสนุนเงินลงทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เช่น การปรับเปลี่ยน 
เทคโนโลยีเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมนั้น 
มีแหล่งเงินทุนทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนหลายแห่งด้วยกัน 
ที่ให้การสนับสนุนในรูปสินเชื่อ ดอกเบี้ยตĞ่ำ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 
อาทิ เช่น ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย ธนาคารกสิกรไทย กระทรวงพลังงาน 
เป็นต้น 
(ก) (ข) (ค) 
รูปที่1.4 โครงการผลิตก๊า ซชีวภาพจากเศษอาหารใช้ทดแทน LPG รูป (ก) 
โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ได้รับเงินสนับสนุนบางส่วน 
จากสĞำนักนโยบายและแผนพลังงาน รูป (ข) ซีไอเอ็มบี ไทย 
จัดสัมมนา “กลยุทธ์การดĞำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงาน 
สĞำหรับโรงพยาบาล”รูป (ค) โครงการผลิตน้Ğำร้อนพลัง 
แสงอาทิตย์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ได้รับเงินสนับสนุนจาก 
กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
11 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
การสนับสนุนจาก BOI ที่สนับสนุนในเรื่องของการยกเว้นภาษีนĞำเข้า 
เครื่องจักรอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน หรือนโยบายส่งเสริมการลงทุนด้าน 
การอนุรักษ์พลังงานในประเทศไทยนั้นมีอยู่มากโดยผู้ประกอบการ 
สามารถขอรับเงินกู้ดอกเบี้ยตĞ่ำ หรือ การลดหย่อนภาษี หรือ เงินสนับสนุน 
โครงการ 
การสนับสนุนผ่านโครงการของภาครัฐบาล เช่น โครงการอนุรักษ์ 
พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์พลังงานเข้าไป 
แนะนĞำเทคนิควิธีการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งทางด้านความร้อนและทางด้าน 
ไฟฟ้า ที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงาน เน้นการสร้างจิตสĞำนึกให้บุคลากร 
ในสถานประกอบการมคีวามรเู้ขา้ใจหลกัในการบรหิารจดัการ อยา่งเปน็ระบบ 
สร้างเสริมการมีส่วนร่วม และคิดนอกกรอบในด้านการอนุรักษ์พลังงาน 
เพือ่ใหเ้กดิการใชพ้ลงังานอยา่งคมุ้คา่และมกีารใชอ้ปุกรณอ์ยา่งเตม็ประสทิธภิาพ 
ซึ่งจะทĞำให้เกิดการสานต่อกันเป็นนโยบาย การอนุรักษ์พลังงานให้ยั่งยืน 
ต่อไปในอนาคต 
โครงการสนับสนุนของภาครัฐที่ได้รับความนิยมสูงในปัจจุบัน ได้แก่ 
โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษี โครงการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์ 
พลังงาน เป็นเงินทุนดอกเบี้ยตĞ่ำไม่เกิน 4% และโครงการส่งเสริมวัสดุ 
อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งทางกระทรวงพลังงานก็ได้สนับสนุน 
เป็นเงินให้เปล่า เป็นจĞำนวน 20% ของเงินลงทุน สูงสุดไม่เกิน 3 ล้านบาท 
ต่อราย ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาครัฐมีการสนับสนุนอยู่ตลอดเวลา 
อีกตัวอย่างที่เป็นการสนับสนุน ก็คือตĞำราที่ท่านถืออยู่ในมือนี้ก็มาจาก 
หลักสูตรการอบรม ทีมบริหารระบบการจัดการพลังงานในอาคารประเภท 
โรงพยาบาล ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกจากเงินสนับสนุนของภาครัฐด้วยเช่นกัน 
1.5 มาตรฐานด้านการจัดการพลังงานที่ควรรู้ 
หากพูดถึงมาตรฐานด้านพลังงานที่จำĞเป็นต้องร้คูงหนีไม่พ้น ISO 50001:2011 
โดยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2554 องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
12 
การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 
(International Organization for Standardization: ISO) ได้ประกาศ 
ใช้มาตรฐานการจัดการพลังงาน หรือ ISO 50001:2011 เพื่อเป็นแรง 
ขับเคลื่อนให้องค์กรต่างๆให้ความใส่ใจต่อการจัดการพลังงานมากขึ้น 
คาดการณ์ว่ามาตรฐานดังกล่าวจะส่งผลในเชิงบวกต่อการลดการใช้ 
พลังงานของโลกประมาณ 60% 
ISO 50001 หรือ ระบบการจัดการพลังงาน ที่สามารถนĞำไปใช้ได้กับ 
องค์กรทุกขนาดและทุกประเภท อีกทั้งยังสามารถบูรณาการให้เข้ากับ 
ระบบอื่นๆ ได้ โดยเฉพาะมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมหรือ ISO 14001 
และ OHSAS 18001 ซึ่งจะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตามหลักการ P-D-C-A 
(PLAN - DO - CHECK - ACTION) โดย Plan คือการวางแผนที่ครอบคลุม 
เรื่องของการทบทวนด้านพลังงาน การกĞำหนดดัชนีชี้วัดพลังงาน (EnPIs) 
วัตถุประสงค์ของการจัดการพลังงาน กĞำหนดเป้าหมายและแผนการดĞำเนินงาน 
ที่สĞำคัญ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อนโยบายด้านพลังงานและ พัฒนา 
ศักยภาพด้านพลังงานขององค์กรในส่วนของ Do จะเป็นการดĞำเนินการ 
ตามแผนงานการจัดการพลังงานขององค์กร สĞำหรับ Check เป็น 
กระบวนการติดตามและวัดผล ที่เป็นตัวกĞำหนดมาตรการปฏิบัติการด้าน 
พลังงานสอดคล้องตามนโยบายพลังงาน และวัตถุประสงค์ พร้อมทั้ง 
รายงานผลที่เกิดขึ้น สุดท้าย ACTION เป็นการปฏิบัติจริงและมีการดĞำเนินการ 
จัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง ในที่นี้อยากขอเพิ่มอีกหนึ่งหลักการที่มี 
ความสĞำคัญเช่นเดียวกันคือ S (Standard) เพราะไม่ว่าจะทĞำสิ่งใดแล้ว 
บอกว่าดี หรือไม่ดี ก็ต้องนĞำมาเทียบกับ Standard ทั้งสิ้น 
นอกจากนี้ ISO 50001:2011 ยังเน้นหนักที่มาตรฐานด้านพลังงานดัง 
ต่อไปนี้ 
1) การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) ซึ่งจะ 
รวมทั้งมุมมองด้านการใช้เทคโนโลยี 
2) การใช้พลังงาน (Energy Use) ทั้งมุมมองเชิงคุณภาพ รวมทั้ง 
กิจกรรมที่มนุษย์มีส่วนร่วม 
คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร
คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร

More Related Content

Similar to คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร

แบบรายงาน ปี 57
แบบรายงาน ปี 57แบบรายงาน ปี 57
แบบรายงาน ปี 57LaiLa Kbn
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีKrittamook Sansumdang
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทqcstandard
 
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องโครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องOxygenfox Pay
 

Similar to คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร (9)

แบบรายงาน ปี 57
แบบรายงาน ปี 57แบบรายงาน ปี 57
แบบรายงาน ปี 57
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎีใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
ใบงานที่6 การทดลองทฤษฎี
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไทตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
ตัวอย่างการวิเคราะห์อาคาร โรงพยาบาลพญาไท
 
Hpon2 mix
Hpon2 mixHpon2 mix
Hpon2 mix
 
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่องโครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง
โครงการพัฒนาและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง
 
Presentation led hospital
Presentation led hospitalPresentation led hospital
Presentation led hospital
 
EX
EXEX
EX
 

คู่มืออบรมบริหารและบุคลากร

  • 1. คØำนØำ สĞำนักพัฒนาทรัพยากรบุคลากรด้านพลังงาน (สพบ.) กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้พัฒนาหลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรด้าน การอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล” โดยมีกลุ่มเป้าหมาย เป็นวิศวกรและช่างเทคนิคและหลักสูตร “การพัฒนาทีมบริหารระบบการ จัดการพลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล” ซึ่งการฝึกอบรมดังกล่าว ประสบผลสĞำเร็จเป็นอย่างดี จนทĞำให้มีโรงพยาบาลที่เข้ารับการฝึกอบรม มีผลการประหยัดพลังงานดีเด่นได้รับรางวัล Thailand Energy Award และได้รับรางวัล Asean Energy Award สพบ. ได้ประเมินผลโครงการพบว่า ในโรงพยาบาลขนาดเล็กอันได้แก่ โรงพยาบาลชุมชน ในระดับอĞำเภอ ซึ่งมีจĞำนวนมากและมีการใช้พลังงาน ค่อนข้างสูง อีกทั้งมีโครงสร้างการบริหารจัดการในโรงพยาบาลแตกต่าง จากโรงพยาบาลขนาดใหญ่และมีบุคลากรไม่มาก รวมถึง สพบ. ได้ศึกษา แนวทางการดĞำเนินการจัดการพลังงานจากโรงพยาบาลขนาดเล็กที่ได้รับ รางวัล Thailand Energy Awards และ Asean Energy Awards พบว่ามี แนวทางที่สามารถทĞำได้รวดเร็วกว่าโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ดังนั้น สพบ. จึงเห็นว่าควรพัฒนาหลักสูตรระบบการจัดการพลังงานในอาคารประเภท โรงพยาบาลขนาดเล็ก ซึ่งมีจĞำนวนเตียงไม่เกิน 200 เตียง ขึ้น โดยฝึกอบรม ให้แก่บุคลากรในโรงพยาบาล เพื่อมุ่งเน้นการเพิ่มพลังในการขับเคลื่อน ระบบการจัดการพลังงานในโรงพยาบาลขนาดเล็กโดยอาศัยบทเรียนและ การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานของคณะทĞำงานจากโรงพยาบาล ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่ประสบความสĞำเร็จโดยคาดว่าการฝึกอบรมนี้ จะช่วยให้เกิดการบริหารจัดการพลังงานที่ดีในโรงพยาบาลขนาดเล็ก และ ส่งผลให้การใช้พลังงานของโรงพยาบาล มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ โรงพยาบาลชุมชนในระดับอĞำเภอในประเทศไทยมีจĞำนวนทั้งสิ้น 736 แห่ง สพบ. จึงมีเป้าหมายในการฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่เป็นคณะ คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 2. ทĞำงานระบบการจัดการพลังงาน หรือคณะทĞำงานอื่นๆ ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ในลักษณะเดียวกันให้ครอบคลุมจĞำนวนโรงพยาบาลขนาดเล็กทั่วประเทศ โดยในปีงบประมาณ 2557 จะดĞำเนินการฝึกอบรมเพื่อให้มีผู้ผ่าน การฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 360 คน และจะดĞำเนินการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง จนถึงปี 2561 เพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรมในหลักสูตรดังกล่าวมีทักษะ ความรู้ และกลยุทธ์ในการขับเคลื่อน ระบบการจัดการพลังงานให้ ประสบผลสĞำเร็จในโรงพยาบาลอย่างถูกต้อง สĞำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 3. กิตติกรรมประกาศ หลักสูตรพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร ประเภทโรงพยาบาล รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิและที่ปรึกษาการพัฒนาหลักสูตร นายมนัสวี ฮะกีมี ผู้อĞำนวยการสĞำนักพัฒนาทรัพยากรบุคคล ด้านพลังงาน นายพงค์พัฒน์ มั่งคั่ง วิศวกรชĞำนาญการพิเศษ นายบรรพต ดิสกุล นักทรัพยากรบุคคลชĞำนาญการพิเศษ นายพิสิทธิ์ บุญคล้าย นักทรัพยากรบุคคลชĞำนาญการ นายวรชัย วรชัยธรรม นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ นายเอกวัฒน์ หวังสันติธรรม นักทรัพยากรบุคคลปฎิบัติการ คณะทØำงานด้านการพัฒนาหลักสูตร ผศ.ประสิทธิ นางทิน ประธานคณะทĞำงาน ดร.ณัฐสุทธิ์ แมนธนานนท์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพลังงานและ สิ่งแวดล้อม นายศรายุทธ์ ขุนณรงค์ ผเู้ชี่ยวชาญดา้นการบรหิารจดัการทรัพยากร อาคาร นายอภิรักษ์ สกุลพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการระบบ วิศวกรรมอาคาร นายฉัตรชัย ดีประเสริฐ ผู้เชี่ยวชาญด้านไฟฟ้า ผศ.ดร.อมตะ ทักศนภักดิ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบĞำรุงรักษาระบบวิศวกรรม อาคาร นายเพชร ใจหาญ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี นายวรพจน์ ช่างหล่อ ผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อการสอน นายพยุงศักดิ์ ก้อนแก้ว ผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกอบรม คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 4. นายธัชชัย มีหนุน ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาหลักสูตร นางสาวปวีณา ฮั่วจั่น เลขานุการคณะทĞำงาน ผู้แทนจากโรงพยาบาลร่วมวิพากษ์หลักสูตร นพ.ชวนนท์ อิ่มอาบ ผู้อĞำนวยการโรงพยาบาลวัดเพลง ทพญ.อรุณศรี มิ่งมงคล ทันตแพทย์ชĞำนาญการ โรงพยาบาลบ้านนา นางวารุณี ระเบียบดี เจ้าหน้าที่เภสัชกรรมชĞำนาญงาน โรงพยาบาลกันตัง นายสวุทิย์ ร่งุประทปีไพบรูณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชĞำนาญงาน โรงพยาบาลบางบ่อ คณะทØำงานด้านการฝึกอบรม นายวุฒิพงษ์ ลาภทวี ว่าที่ ร.ต.ภาคภูมิ ศรีทองนวล นางสาวปวีณา ฮั่วจัน นางสาวจารุภัทร จันทรเกตุ นางสาวณัฐพรพรรณ มีล้อมศักดดา นายปราโมทย์ พูลทรัพย์ นายณัฐชา ภู่ประดิษฐ์ นางสาวพรทิพย์ ภูตะโชติ นางณฐวรรณ ปรัชญ์ธนานันท์ นายภัทรพงศ์ เต็มวิริยะกุล นายคีรินทร์ ไกรเกตุ นายภูมิศิลป์ พละพลีวัลย์ นายปราโมทย์ ฉิมปลอด นายธีรพงศ์ กาญเจริญนนท์ นายธงชัย พงศ์ทวีทรัพย์ นายกฤติ พรจันทร์เท้า นายเกรียงไกร อินตานĞำ นายทิชาพันธ์ ไกรเกตุ นายอดิศักดิ์ ปิติเลิศ นางสาวอภิวรรณ พรหมโยธิน นายชัยกฤติ จินะดิษฐ์ นายธีรพงศ์ หอศิวาลัย คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 5. สารบัญ คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล หน้า บทที่ 1 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1 1.1 สถานการณ์และวิกฤตการณ์พลังงาน 4 1.2 บทบาทของผู้บริหารในการอนุรักษ์พลังงาน ให้ประสบความสĞำเร็จ 6 1.3 กฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้น ที่ควรทราบ 8 1.4 โครงการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน 10 1.5 มาตรฐานด้านการจัดการพลังงานที่ควรรู้ 11 1.6 Balanced Scorecard 14 1.7 กลยุทธ์สู่ความสĞำเร็จด้านบริหารจัดการพลังงาน 8 ขั้นตอน 16 1.8 KPI สĞำหรับทีมบริหาร 51 1.9 การบริหารจัดการแบบคล่องตัว (LEAN MANAGEMENT) 53 1.10 การเปลี่ยนสถานะ จากผู้รับเป็นผู้ให้ (Changing Status from Receiver to Provider) 59 บทที่ 2 การจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล 66 2.1 การบริหารจัดการทรัพยากรอาคารในมุมของ บุคลากร (People) 68 2.2 การบริหารด้านกระบวนการ (Process) 78 2.3 การบริหารจัดการอาคารสถานที่ (Place) 79
  • 6. บทที่ 3 กลยุทธ์การจัดการระบบวิศวกรรมเพื่อการอนุรักษ์ พลังงานในโรงพยาบาล 114 3.1 สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ในปัจจุบัน 115 3.2 การบริหารจัดการค่าไฟฟ้า 117 3.2.1 การคิดค่าไฟฟ้าจากอุปกรณ์ไฟฟ้า 118 3.2.2 ประเภทอัตราค่าไฟฟ้า 122 3.2.3 องค์ประกอบค่าไฟฟ้า 133 3.2.4 การคĞำนวณค่าไฟฟ้า 134 3.2.5 การบริหารจัดการค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 137 3.3 การบริหารจัดการระบบปรับอากาศ 143 3.3.1 หลักการทĞำความเย็น 144 3.3.2 ประเภทของระบบปรับอากาศ 146 3.3.3 คุณภาพอากาศภายใน (Indoor Air Quality) เพื่อผลทางด้านการประหยัดพลังงาน 153 3.3.4 การออกแบบระบบปรับอากาศให้ ประหยัดพลังงานในโรงพยาบาล 157 3.3.5 การเลือกใช้อุปกรณ์และระบบ การปรับอากาศเพื่อการประหยัดพลังงาน 161 3.3.6 การติดตั้งระบบปรับอากาศให้ ประหยัดพลังงาน 164 3.4 การบริหารจัดการระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 165 3.4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแสงสว่าง 166 3.4.2 ประเภทของหลอดไฟฟ้า 168 3.4.3 ส่วนประกอบของชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่าง 171 3.4.4 การตรวจวัดความเข้มแสงสว่าง 173 3.4.5 ขั้นตอนและเทคนิควิธีการวัดแสงสว่าง 175 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 7. 3.4.6 มาตรการอนุรักษ์พลังงาน ในระบบไฟฟ้าแสงสว่าง 176 3.5 การจัดการระบบบĞำบัดนĞ้ำเสีย (Water Treatment Plant) 188 3.5.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนĞ้ำเสีย 188 3.5.2 ประเภทของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียที่นิยมใช้ในอาคาร 190 3.5.3 การควบคุมระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียเพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน 198 3.6 การบริหารจัดการพลังงานสะอาด 201 3.6.1 ความหมายของพลังงานสะอาด 201 3.6.2 ตัวอย่างของพลังงานสะอาด 202 3.7 การบĞำรุงรักษาเชิงป้องกันระบบวิศวกรรม ในโรงพยาบาล 214 3.7.1 หลักการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) 216 3.7.2 แนวทางการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 218 3.7.3 กลยุทธ์การดĞำเนินงานบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 220 3.7.4 รายละเอียดการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน ระบบวิศวกรรมในโรงพยาบาล 228 3.7.5 ผลลัพธ์ที่ได้จากการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 248 บทที่ 4 กรณีศึกษา 253 กรณีศึกษาหน่วยงาน ER (Emergency Room) 254 กรณีศึกษาหน่วยงาน IPD 256 กรณีศึกษาหน่วยงาน จ่ายกลาง CSSD (Central Sterile Supply Department) 258 กรณีศึกษาหน่วยงานซักฟอก (Laundry) 261 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 8. กรณีศึกษาหน่วยงานเภสัชกรรม (Pharmacy Division) 264 กรณีศึกษาหน่วยงานโภชนาการ 268 กรณีศึกษาหน่วยงาน X-Ray โรงพยาบาลบางบ่อ 270 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 9. สารบัญรูป คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล หน้า บทที่ 1 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1 รูปที่ 1.1 สถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ปี 2553-2556 5 รูปที่ 1.2 กĞำลังการผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ ณ เดือนธันวาคม 2556 6 รูปที่ 1.3 รูป (ก) นายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพญาไทศรีราชา เดิน ขึ้น-ลงบันไดแทนการใช้ลิฟต์เช่นเดียวกับพนักงาน ทั่วไป และรูป (ข) นางพรพรรณ บุณยเกียรติ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร สถาบันโรคทรวงอก รณรงค์ปิดไฟเมื่อเลิกใช้งาน 7 รูปที่ 1.4 โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารใช้ทดแทน LPG รูป (ก) โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ได้รับ เงินสนับสนุนบางส่วนจากสำนักนโยบายและแผน พลังงาน รูป (ข) ซีไอเอ็มบี ไทย จัดสัมมนา “กลยุทธ์การดำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานสำหรับ โรงพยาบาล”รูป (ค) โครงการผลิตนํ้าร้อนพลัง แสงอาทิตย์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ได้รับเงินสนับสนุน จากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 10 รูปที่ 1.5 แสดงตัวอย่า งผังคณะกรรมการด้า นการจัดการ พลังงาน 19 รูปที่ 1.6 แสดงตัวอย่า งคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการด้า น การจัดการพลังงาน 20 รูปที่ 1.7 แสดงตัวอย่า งคำถามเพื่อการประเมินนโยบาย การจัดการพลังงาน 23
  • 10. รูปที่ 1.8 แสดงตัวอย่า งผลการประเมินจากตารางประเมิน การจัดการด้า นพลังงาน (Energy Management Matrix: EMM) 24 รูปที่ 1.9 แสดงตัวอย่า งการประชาสัมพันธ์งานด้า นการอนุรักษ์ พลังงานภายในโรงพยาบาล 28 รูปที่ 1.10 ตัวอย่า งประกาศนโยบายอนุรักษ์พลังงานของ โรงพยาบาล 29 รูปที่ 1.11 การประชาสัมพันธ์ด้า นการอนุรักษ์พลังงาน ในรูปแบบต่า งๆ 31 รูปที่ 1.12 แสดงการใช้พลังงานไฟฟ้า เฉลี่ยในระบบต่า งๆ ของอาคารควบคุมประเภทโรงพยาบาล 35 รูปที่ 1.13 แสดงตัวอย่า งการประเมินศักยภาพอนุรักษ์ พลังงาน โดยการใช้เครื่องมือวัด 38 รูปที่ 1.14 แสดงเป้า หมายอย่า งเป็นรูปธรรม (ก) เป็นตัวอย่า ง ของภาคใต้ (ข) เป็นตัวอย่า งของประเทศไทยและ อาเซียน รูป (ค) สร้า งความสำเร็จร่วมกับโรงพยาบาล ทั่วประเทศ (โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา) 39 รูปที่ 1.15 เป้า หมายเฉพาะ เน้นมาตรการลงทุนและระยะเวลา คืนทุนเป็นหลัก 40 รูปที่ 1.16 เป้า หมายสมบูรณ์ เน้นผลลัพธ์อัตราการใช้พลังงาน ต่อยอดผู้ป่วยครองเตียง (IPD) 40 รูปที่ 1.17 เป้าหมายสัมพันธ์ เน้นการสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ 40 รูปที่ 1.18 แสดงแผนผัง Cause-and-Effect Diagram (หรือ Fishbone Diagram) 41 รูปที่ 1.19 แสดงการจัดการตามแผนระยะสั้น ระยะกลาง ระยะยาว 42 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 11. รูปที่ 1.20 แสดงตัวอย่างการดĞำเนินการตามแผน อนุรักษ์พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์ การปฏิบัติตามเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงาน 45 รูปที่ 1.21 แสดงตัวอย่างประกาศแต่งตั้งคณะผู้ตรวจ ประเมินการจัดการพลังงานภายในโรงพยาบาล 48 รูปที่ 1.22 ตัวอย่างการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน ในโรงพยาบาล 49 รูปที่ 1.23 ตัวอย่างการประชุมทบทวน วิเคราะห์ และแก้ไข ข้อบกพร่องของการจัดการพลังงาน 51 รูปที่ 1.24 วงจรการประยุกต์ใช้ระบบลีนอย่างมีประสิทธิภาพ 55 รูปที่ 1.25 SPA Handbook แบบที่ท่านสามารถดาวน์โหลด ได้บนเว็บไซต์ของสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี 62 รูปที่ 1.26 การพัฒนาฐานข้อมูลที่ดาวน์โหลดได้ ในรูปแบบ คาร์บอน คาลคูเลเตอร์ 63 รูปที่ 1.27 บรรยากาศการแนะนĞำกลุ่มผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ หน่วยงานก่อนลงพื้นที่จริง 64 รูปที่ 1.28 การถ่ายรูปร่วมกันของทีม ATM ของสถาบัน โรคทรวงอก (ชุดสีครีมปกเขียว) หลังลงสอน การทĞำ PA ที่รพ.สมุทรปราการ (ชุดสีฟ้า) 64 บทที่ 2 การจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล 66 รูปที่ 2.1 สรุปลĞำดับขั้นตอนที่ผู้บริหารจะใช้หลักบริหารจัดการ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิด ความยั่งยืน 76 รูปที่ 2.2 แสดงขั้นตอนการบริหารจัดการงานแบบวงจร PDCA 78 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 12. รูปที่ 2.3 แสดงกิจกรรมระหว่างช่วงใช้อาคาร 81 รูปที่ 2.4 แสดงความสัมพันธ์ของธุรกิจกับ Facility 86 รูปที่ 2.5 สภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ซึ่งเป็นเขตร้อนชื้น 87 รูปที่ 2.6 การโคจรของดวงอาทิตย์ สĞำหรับประเทศไทย 88 รูปที่ 2.7 แสดงการใช้ต้นไม้กันความร้อนเข้าสู่ตัวอาคาร 89 รูปที่ 2.8 แสดงการจัดวางพื้นที่ไม่ได้เป็นส่วนการใช้งานหลัก มาเป็นส่วนที่โดนความร้อนแทน 90 รูปที่ 2.9 แสดงรูปแบบภูมิสถาปัตยกรรมแบบต่างๆ ที่ช่วย ลดความร้อนเข้าสู่อาคาร 91 รูปที่ 2.10 แสดงการสะท้อนความร้อนจากผิวดินเข้าตัวอาคาร 91 รูปที่ 2.11 แสดงการป้องกันการสะท้อนจากผิวดินเข้าตัวอาคาร 92 รูปที่ 2.12 รูปอาคารโรงพยาบาลก่อนและหลังดĞำเนินการ 94 รูปที่ 2.13 ทางเชื่อมระหว่างอาคาร A และ อาคาร B 95 รูปที่ 2.14 แสดงแผนผังห้องชั้น 9 ก่อนการปรับปรุง 97 รูปที่ 2.15 แสดงแผนผังห้องชั้น 9 หลังปรับปรุง (ในวงกลมคือห้องที่เพิ่มมา 3 ห้องจากพื้นที่ เคาน์เตอร์เดิม) 97 รูปที่ 2.16 แสดงการเปรียบเทียบก่อนปรับปรุงและหลัง การปรับปรุงแล้วเสร็จ 98 รูปที่ 2.17 แสดงการเปรียบเทียบก่อนปรับปรุงและหลัง การปรับปรุงแล้วเสร็จ (ต่อ) 98 รูปที่ 2.18 รูปแสดงเส้นทางการเดินรถเข้า – ออก อาคารก่อนปรับปรุง 101 รูปที่ 2.19 รูปแสดงเส้นทางการเดินรถเข้า – ออกอาคาร หลังปรับปรุง 102 รูปที่ 2.20 เสื้อผู้ป่วยแบบเดิม 103 รูปที่ 2.21 เสื้อผู้ป่วยแบบใหม่ 103 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 13. รูปที่ 2.22 ทดสอบรีดผ้าทั้ง 2 แบบ ด้วยเครื่องรีด 104 รูปที่ 2.23 เปรียบเทียบผลการรีดผ้าทั้ง 2 แบบ ด้วย 104 รูปที่ 2.24 แสดงผังพื้นที่ห้องกลุ่มงานพยาบาลก่อนและ หลังการปรับปรุง 106 รูปที่ 2.25 แสดงการปรับปรุงพื้นที่เอกซเรย์ 108 รูปที่ 2.26 แสดงระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียโรงพยาบาล หาดใหญ่ 110 รูปที่ 2.27 แสดงการตรวจวัดและเก็บค่าพลังงานไฟฟ้า ของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียก่อนละหลังปรับปรุง 112 รูปที่ 2.28 แสดงกราฟค่าพลังงานไฟฟ้าของระบบบĞำบัด นĞ้ำเสียก่อนและหลังปรับปรุง 112 รูปที่ 2.29 แสดงการเลี้ยงปลาเพื่อตรวจสอบคุณภาพนĞ้ำ เบื้องต้นหลังจากผ่านระบบบĞำบัด 112 รูปที่ 2.30 แสดงการเข้าศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่างๆ 113 บทที่ 3 การจัดการระบบวิศวกรรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน 114 ในโรงพยาบาล รูปที่ 3.1 สถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ปี 2553 – 2556 116 รูปที่ 3.2 กĞำลังการผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ ณ เดือนธันวาคม 2556 117 รูปที่ 3.3 Name Plate ของพัดลม 120 รูปที่ 3.4 Name Plate ของเครื่อง Fax 120 รูปที่ 3.5 Name Plate ของเครื่อง Infusion Pump 121 รูปที่ 3.6 ใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า ประจĞำเดือนธันวาคม 2556 โรงพยาบาลกันตัง 136 รูปที่ 3.7 แสดง Profile ค่าไฟฟ้าเพื่อการบริหารจัดการ ค่าไฟฟ้า และ Energy Management Software โปรแกรมบริหารจัดการพลังงานแบบอัตโนมัติ 141 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 14. รูปที่ 3.8 ระบบบริหารจัดการพลังงาน Energy Management Software 143 รูปที่ 3.9 การประยุกต์ใช้ Peak Demand Controller กับเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 143 รูปที่ 3.10 แสดงวัฏจักรการทĞำความเย็นของระบบ ปรับอากาศ 144 รูปที่ 3.11 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทตั้งพื้น (Floor Standing Type) 146 รูปที่ 3.12 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทตั้งแขวน (Ceiling Type) 147 รูปที่ 3.13 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทติดผนัง (Wall Type) 147 รูปที่ 3.14 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทฝังฝ้าเพดาน (Cassette Type) 148 รูปที่ 3.15 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทต่อ ท่อส่งลมเย็น (Duct Type) 148 รูปที่ 3.16 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทหน้าต่าง (Window Type) 149 รูปที่ 3.17 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนประเภทเคลื่อนที่ (Movable Type) 149 รูปที่ 3.18 กราฟเปรียบเทียบการทĞำงานของคอมเพรสเซอร์ ระบบทั่วไปและระบบอินเวอร์เตอร์ 150 รูปที่ 3.19 ระบบ VRF (VARIABLE REFRIGERANT FLOW) 152 รูปที่ 3.20 แสดงการใช้งานของระบบ VRF ที่สามารถ เลือกใช้เครื่องส่งลมเย็นหลายชนิดได้ตาม ความเหมาะสม 152 รูปที่ 3.21 แสดงการตรวจวัดคุณภาพอากาศในโรงพยาบาล 154 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 15. รูปที่ 3.22 รูปแบบก่อนติดตั้งของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนอากาศ บริเวณโซนผู้ป่วยนอก OPD 154 รูปที่ 3.23 แสดงรูปแบบหลังติดตั้งของอุปกรณ์แลกเปลี่ยน ความร้อนอากาศ บริเวณโซนผู้ป่วยนอก OPD 155 รูปที่ 3.24 ภาพแสดงอุณหภูมิที่ลดลงของอากาศที่เติมเข้ามา ในห้องผ่านอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อนอากาศ และลักษณะการติดตั้งอุปกรณ์นี้ภายในฝ้าเพดาน 155 รูปที่ 3.25 โครงสร้างแกนแลกเปลี่ยนความร้อน (Lossnay) ของบริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา 156 รูปที่ 3.26 แสดงการเปรียบเทียบคĞำจĞำกัดความด้านแสงสว่าง 166 รูปที่ 3.27 ตัวอย่างหลอดไส้ 168 รูปที่ 3.28 ตัวอย่างหลอดโซเดียมความดันตĞ่ำ 169 รูปที่ 3.29 ตัวอย่างหลอดปรอทความดันสูง 170 รูปที่ 3.30 แสดงตัวอย่างหลอดโซเดียมความดันสูง 170 รูปที่ 3.31 แสดงตัวอย่างหลอดเมทัลฮาไลด์ 170 รูปที่ 3.32 แสดงตัวอย่างหลอดแอลอีดี 171 รูปที่ 3.33 แสดงมาตรการเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ เป็นหลอดประหยัดไฟ LED 180 รูปที่ 3.34 แสดงการติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมกĞำลังไฟฟ้าสĞำหรับ แสงสว่าง โดยไมโครโปรเซสเซอร์ 183 รูปที่ 3.35 แสดงมาตรการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าชนิด LED 6 วัตต์ ทดแทนหลอดไฟฟ้าชนิด Halogen 50 วัตต์ 187 รูปที่ 3.36 แสดงส่วนประกอบของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสียแบบ RBC 192 รูปที่ 3.37 แสดงส่วนประกอบของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสีย แบบคลองวน 193 รูปที่ 3.38 แสดงส่วนประกอบของระบบบĞำบัดนĞ้ำเสีย แบบตะกอนเร่ง 195 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 16. รูปที่ 3.39 ตัวอย่างการใช้ VSD กับชุดเติมอากาศของระบบ บĞำบัดนĞ้ำเสียร่วมกับ DO Sensor 200 รูปที่ 3.40 ตัวอย่างการมอนิเตอร์ (Monitor) แสดงค่าของ คุณภาพนĞ้ำเสียแบบ Real Time เพื่อควบคุม การทĞำงานระบบให้ทĞำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงานโดยอัตโนมัติ 200 รูปที่ 3.41 การผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ 203 รูปที่ 3.42 ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ 204 รูปที่ 3.43 ระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อกับระบบจĞำหน่าย 204 รูปที่ 3.44 ระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสาน 205 รูปที่ 3.45 ระบบเทอร์โมไซฟอน (Thermosiphon Systems) 208 รูปที่ 3.46 ระบบปั๊มนĞ้ำหมุนเวียน (Force circulation) 208 รูปที่ 3.47 ระบบผสมผสาน (Solar Hybrid System) 209 รูปที่ 3.48 ตัวอย่างโครงการ Grid-connected PV Solar Roof Top ณ อาคารอนุรักษ์พลังงาน เฉลิมพระเกียรติ 210 รูปที่ 3.49 แสดงการทĞำงานของระบบผลิตนĞ้ำร้อนจาก เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 211 รูปที่ 3.50 การติดตั้งระบบผลิตนĞ้ำร้อนจากเครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน 212 รูปที่ 3.51 การตรวจวัดหาค่าไฟฟ้า ก่อนและหลังปรับปรุง 212 รูปที่ 3.52 การติดตั้งระบบทĞำนĞ้ำร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Collector โรงพยาบาลพญาไท 2 213 รูปที่ 3.53 แสดงแนวทางการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 218 รูปที่ 3.54 แสดงระบบส่งจ่ายกĞำลังไฟฟ้าจากไฟฟ้าฯ เข้ามายังหม้อแปลงไฟฟ้าของโรงพยาบาล 230 รูปที่ 3.55 แสดงรูปเครื่องกĞำเนิดไฟฟ้า (Generator) 230 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 17. รูปที่ 3.56 แสดงรูปแบตเตอรี่สĞำรอง UPS 231 รูปที่ 3.57 กระบวนการในการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกันกับ ผลลัพธ์ที่ได้ 249 บทที่ 4 กรณีศึกษา 253 กรณีศึกษาหน่วยงาน ER (Emergency Room) รูปที่ 1 ความสว่างของหลอดไฟ 254 รูปที่ 2 ก่อนปรับปรุง 255 รูปที่ 3 หลังปรับปรุง 255 กรณีศึกษาหน่วยงาน IPD รูปที่ 1 เครื่องปรับอากาศ 256 กรณีศึกษาหน่วยงาน จ่ายกลาง CSSD (Central Sterile Supply Department รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงเครื่องนึ่งทĞำลายเชื้อ 259 รูปที่ 2 หลังปรับปรุงเครื่องนึ่งทĞำลายเชื้อ 260 กรณีศึกษา หน่วยงานซักฟอก (Laundry) รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงกระบวนการซักผ้า 262 รูปที่ 2 หลังปรับปรุงกระบวนการซักผ้า 263 กรณีศึกษาหน่วยงาน เภสัชกรรม (Pharmacy Division) รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงระบบปรับอากาศห้องเก็บยา 265 รูปที่ 2 หลังปรับปรุงระบบปรับอากาศห้องเก็บยา 266 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 18. กรณีศึกษาหน่วยงานโภชนาการ รูปที่ 1 ก่อนปรับปรุงการปั่นอาหารทางสายยาง 269 รูปที่ 2 หลังปรับปรุงการปั่นอาหารทางสายยาง 269 กรณีศึกษา: หน่วยงาน X-Ray โรงพยาบาลบางบ่อ รูปที่ 1 ห้อง X-Ray ใหญ่ 271 รูปที่ 2 ห้อง X-Ray เล็ก 271 รูปที่ 3 ก่อนปรับปรุงห้อง X-Ray เล็ก 272 รูปที่ 4 หลังปรับปรุงห้อง X-Ray เล็ก 272 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 19. สารบัญตาราง คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล หน้า บทที่ 2 การจัดการทรัพยากรในโรงพยาบาล 66 ตารางที่ 2.1 ตัวอย่างการใช้พลังงานในพื้นที่หลักๆ ที่สĞำคัญในโรงพยาบาล 79 ตารางที่ 2.2 ประมาณการอายุใช้งานของส่วนประกอบอาคาร 82 บทที่ 3 การจัดการระบบวิศวกรรมเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ในโรงพยาบาล 114 ตารางที่ 3.1 ข้อมูลการใช้ไฟฟ้าในรอบปี 2556 โรงพยาบาลกันตัง 139 ตารางที่ 3.2 ค่าสัมประสิทธิ์สมรรถนะหรืออัตราส่วน ประสิทธิภาพพลังงานขั้นตĞ่ำของ เครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก 146 ตารางที่ 3.3 ตารางค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคาร 156 ตารางที่ 3.4 ค่ามาตรฐานความสว่างพื้นที่ต่างๆ ใน โรงพยาบาล 174 ตารางที่ 3.5 ตารางเปรียบเทียบผลประหยัดของหลอด LED Fluorescent และ Fluorescent T5 179 ตารางที่ 3.6 คุณสมบัติหลอดฮาโลเจนและหลอด LED 186 ตารางที่ 3.7 ค่ามาตรฐานคุณภาพนĞ้ำ อ้างอิงกรมควบคุม มลพิษ 196 ตารางที่ 3.8 ตัวอย่างการคĞำนวณอัตรากĞำลังงานบĞำรุงรักษา 223 ตารางที่ 3.9 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ บĞำรุงรักษาระบบสวิทช์ปิด - เปิดไฟฟ้าแรงสูง (HV. Switchgear) 232 ตารางที่ 3.10 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ
  • 20. บĞำรุงรักษาระบบชุดปรับปรุงตัวประกอบ กĞำลังไฟฟ้า (Capacitor Bank) 233 ตารางที่ 3.11 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและบĞำรุงรักษา ระบบหม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) 234 ตารางที่ 3.12 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ บĞำรุงรักษาระบบตู้ประธานจ่ายไฟฟ้า (Main Distribution Board) 235 ตารางที่ 3.13 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและ บĞำรุงรักษาระบบแบตเตอรี่สĞำรอง (UPS) 236 ตารางที่ 3.14 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและบĞำรุงรักษา ระบบเครื่องกĞำเนิดไฟฟ้าสĞำรอง (Generator) 237 ตารางที่ 3.15 ระยะเวลาการบĞำรุงรักษาองค์ประกอบของ ระบบแสงสว่าง 240 ตารางที่ 3.16 ตัวอย่างรายละเอียดการตรวจสอบและบĞำรุงรักษา ระบบ Air Sprit Type 247 ตารางที่ 3.17 ประโยชน์ที่ได้จากการบĞำรุงรักษาเชิงป้องกัน 248 ตารางที่ 3.18 สรุปรายละเอียดและขอบเขตการบĞำรุงรักษา เชิงป้องกันระบบวิศวกรรมในโรงพยาบาล 250 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 21. 1 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล บทที่ 1 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ความสØำคัญของเนื้อหาวิชา หากกล่าวถึงโรงพยาบาล ไม่ว่าจะเป็นอาคารควบคุม (โรงพยาบาล ขนาดใหญ่หรือทั่วไป โรงพยาบาลศูนย์ภาครัฐ โรงพยาบาลเอกชน) หรือ อาคารนอกข่าย (โรงพยาบาลชุมชน) ก็ล้วนแต่มีการใช้พลังงานที่สูงมาก แทบทั้งสิ้นเมื่อเทียบกับอาคารประเภทอื่นไม่ว่าจะเป็น อาคารสĞำนักงาน สถาบันการศึกษา โรงแรม และห้างสรรพสินค้า เหตุผลก็เป็นเพราะว่า โรงพยาบาลต้องเปิดทĞำการทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง รวมถึงมีผู้ใช้อาคาร และมีเครื่องมือที่ใช้พลังงานจĞำนวนมาก และคĞำถามข้อหนึ่งที่มักอยู่ในใจ ผู้บริหารเกี่ยวกับสภาวะการณ์ดังกล่าวก็คือ “แล้วจะอนุรักษ์พลังงาน ในโรงพยาบาลของเราให้ประสบความสĞำเร็จได้อย่างไร ประสบความสĞำเร็จ หมายถึงอะไร” คĞำตอบก็คือ การอนุรักษ์พลังงานในโรงพยาบาลให้ ประสบความสĞำเร็จ คือ การที่โรงพยาบาลมีการให้บริการได้อย่างเต็มที่ เต็มประสิทธิภาพและสามารถประหยัดพลังงานได้ด้วย มีผลประหยัด ชัดเจน และมีความยั่งยืน แต่ผู้บริหารต้องคĞำนึงถึงเสมอว่า ความเป็นไป ได้ของความสĞำเร็จ (The Chance of Success)นั้น จะต้องมีจุดเริ่มต้น และความสมĞ่ำเสมอมาจากตัวท่านผู้บริหารสูงสุดเท่านั้น ในบทนี้จะได้ กล่าวถึงวิธีการบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ที่ผู้บริหารควรศึกษา เป็นอย่างยิ่งและเมื่อท่านมีความเข้าใจก็สามารถปฏิบัติได้อย่างทันท่วงที และหากเป็นเช่นนี้ก็เชื่อได้ว่าโรงพยาบาลของท่านก็จะสามารถประสบ ความสĞำเร็จได้ภายในเวลาอันสั้นในเรื่องของการอนุรักษ์พลังงานด้วย ความยั่งยืน คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 22. 2 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เกิดความเข้าใจในรูปแบบการบริหารจัดการพลังงาน แบบมีส่วนร่วมกับเครื่องมือบริหาร (Balance Scorecard) ในปัจจุบันที่ โรงพยาบาลใช้อยู่ รวมถึงการสร้างจิตอาสาของเจ้าหน้าที่ทุกคนใน โรงพยาบาล 2. เพื่อให้สามารถนĞำแนวทางการบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม ที่ได้รับการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยทันที บทนØำ ในฐานะที่ท่านเป็นผู้บริหาร ขององค์กรการบริหารจัดการพลังงาน ในปัจจุบันและอนาคตเป็นสิ่งสĞำคัญ ที่ท่านหลีกเลี่ยงไม่ได้ เพราะเป็น ความอยู่รอดขององค์กรและประเทศชาติ ซึ่งจากข้อมูลข่าวสารที่ผ่านมา สĞำนักข่าวหนึ่งรายงานว่า “ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า ตัวเลขความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (peak) 26 เมษายน 2555 อยู่ที่ 26,121 เมกะวัตต์ (MW) เป็นสถิติใหม่ในปีนี้ซึ่งสูงกว่าที่กฟผ. คาดการณ์ไว้ว่าปีนี้จะมีการใช้ไฟฟ้าสูงสุดอยู่ที่ 25,784 เมกะวัตต์ โดยมี ปัจจัยหนึ่งคือสภาพอากาศที่ร้อนอบอ้าวซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 38.5 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ตาม กฟผ. ให้ความมั่นใจว่ายังมีกĞำลังผลิตไฟฟ้าสĞำรองเพียงพอ แต่ขอให้ประชาชนช่วยกันประหยัดไฟฟ้า เพื่อลดการใช้พลังงานอีกทางหนึ่ง ณ สิ้นปี 54 ไทยมีกĞำลังการผลิตติดตั้งรวม 31,447 เมกะวัตต์” จาก สถานะการณ์ดังกล่าวนี้ แสดงให้เห็นชัดเจนว่า พลังงานสĞำรองเป็นเรื่องวิกฤต ระดับชาติและใกล้ตัวมากกว่าที่เคยเป็น และนอกจากเรื่องของแนวโน้ม ความขาดแคลนพลังงานแล้วยังมีเรื่องของธรรมชาติ (สิ่งแวดล้อม) ที่ต้องการเยียวยาอยา่งเรง่ดว่นอกีดว้ย หลายทา่นอาจยงัไมท่ราบวา่ทกุวนันี้ ประเทศไทยเองแทบจะตกเป็นเมืองขึ้นในด้านพลังงานแก่พม่าแล้ว เนื่องจาก เราต้องซื้อก๊า ซธรรมชาติจากพม่าเพื่อมาทดแทนความต้องการพลังงาน
  • 23. 3 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ภายในประเทศ จากรายงานข่าว (สิงหาคม 2552) ที่ว่า นายกิตติ ตันเจริญ ผู้อĞำนวยการเขื่อนศรีนครินทร์ ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนไทยหลายสĞำนัก ว่า “สาเหตุที่ต้องเปิดระบายนĞ้ำเขื่อนศรีนครินทร์ เพราะวันที่ 13 สิงหาคม ที่ผ่านมา แหล่งผลิตก๊า ซธรรมชาติบงกชในอ่าวไทย ท่อส่งก๊า ซรั่ว ต้องปิด ซ่อมทั้งระบบ ทĞำให้ก๊า ซธรรมชาติหายไปถึง 650 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ต่อมาวันที่ 15 สิงหาคม แหล่งผลิตก๊า ซธรรมชาติยาดานาในพม่า ก็มีปัญหา เช่นเดียวกัน ทĞำให้ก๊า ซธรรมชาติหายไป 1,100 ล้านลูกบาศก์ฟุต รวมก๊า ซ 2 แหล่งที่หายไปสูงถึง 1,750 ล้านลูกบาศก์ฟุต คิดเป็นกĞำลังผลิตไฟฟ้า 10,000 เมกะวตัต ์ซงึ่เกนิความสามารถของโรงไฟฟา้พลงัความรอ้นทีผ่ลติ อยู่ในประเทศไทยจะรับมือได้ทัน ฉะนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ไฟฟ้าในประเทศไทย ดับ กฟผ. จึงให้เขื่อนศรีนครินทร์ ซึ่งมีกĞำลังผลิตไฟฟ้ามากเป็นอันดับ 2 รองจากเขื่อนภูมิพล เดินเครื่องปั่นไฟฟ้าทั้ง 5 เครื่อง ตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม แปดโมงเช้าจนถึงตีสองของอีกวัน เพื่อป้อนไฟเข้าระบบอย่างกะทันหัน ทĞำให้ไม่มีเวลาเตือนให้ประชาชนที่อยู่ท้ายเขื่อน รู้ล่วงหน้าว่านĞ้ำจะท่วม เพราะต้องใช้ปริมาณนĞ้ำผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ จนส่งผล ให้กระทบต่อระดับนĞ้ำในแม่นĞ้ำแควใหญ่ หรือนี่คือการตอบโต้ของรัฐบาล พม่าต่อรัฐบาลไทยผ่านจุดอ่อนเรื่อง “การพึ่งพาพลังงาน” เพราะวันที่ แหล่งผลิตก๊า ซยานาดาในพม่าหยุดจ่ายอย่างกะทันหันนั้น เกิดขึ้นในช่วง เวลาเดียวกับที่ประเทศไทยในฐานะประธานอาเซียน ได้แสดงท่าทีตĞำหนิ ประนาม และกดดันรัฐบาลพม่า ซึ่งในปี 2556 นี้ประเทศพม่าแจ้งหยุดส่ง ก๊า ซธรรมชาติ ระหว่างวันที่ 4-12 เมษายน เพื่อซ่อมบĞำรุงแท่นขุดเจาะ กา๊ซธรรมชาตยิาดานา ทĞำให้หลายฝา่ ยเริ่มวิตกว่าไฟฟ้าในประเทศไทย จะดับทั้งประเทศ ขณะเดียวกัน กระทรวงพลังงานก็ได้มีการเตรียมพร้อม และซ้อมแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน และขอความร่วมมือจากประชาชนให้ช่วยกัน ประหยัดไฟให้มากที่สุด ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการผลิตไฟฟ้าในประเทศได้ จะเห็นว่าทุกวันนี้หากเรา ไม่ช่วยกันลดการใช้พลังงาน หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ ที่สิ้นเปลืองพลังงาน การไฟฟ้าฯ คงต้องหาแหล่งพลังงานเพิ่ม เพื่อรองรับ คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 24. 4 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ความต้องการ หรืออาจมีมาตรการตัดไฟบางพื้นที่ ในบางช่วงเวลา ซึ่งมาตรการ อย่างหลัง ไม่น่าจะโดนใจผู้ใช้ไฟสักเท่าไหร่และถือเป็นวิกฤตที่ประเทศไทย กĞำลังเผชิญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น เรื่องของต้นทุนพลังงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งจะสะท้อนออกมาในรูปของค่าไฟฟ้า ค่าเชื้อเพลิง ที่เพิ่มสูงขึ้นด้วย ดังนั้นท่านผู้บริหารต้องเข้าใจว่า ในปัจจุบันต้นทุนการดĞำเนินการต่างก็ ปรบัตวัสงูขึน้อยา่งรวดเรว็ ทกุองคก์รจงึพยายามแขง่ขนัเพอื่รกัษาสถานะ ทางธุรกิจ โรงพยาบาลก็เป็นองค์กรหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากต้นทุนที่ ปรับตัวดังกล่าว โดยองค์ประกอบที่จะทĞำให้โรงพยาบาลมีผลประกอบการ ที่ดีหรือได้กĞำไรสูงนอกจากจะเพิ่มรายได้แล้ว ยังจะต้องสามารถควบคุม ต้นทุนในการดĞำเนินการได้ อาทิเช่น ค่าแรงงานบุคคลากรเวชภัณฑ์ ทางการแพทย์ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคและพลังงาน โดยคงไว้ซึ่งต้นทุน บางอย่างก็ไม่สามารถปรับลดได้เพราะจะกระทบกับการให้บริการ แต่ สĞำหรับต้นทุนด้านพลังงานนั้นถ้าท่านได้ศึกษาอย่างถ่องแท้แล้วจะพบว่า โรงพยาบาลเองก็สามารถลดต้นทุนดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ไม่มีผลกระทบต่อการให้บริการ 1.1 สถานการณ์และวิกฤตการณ์พลังงาน ไฟฟ้าเป็นปัจจัยที่มีความสĞำคัญอย่างยิ่งต่อการดĞำเนินชีวิตและการ ดĞำเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคครัวเรือน และภาค การเกษตร ล้วนต้องใช้พลังงานไฟฟ้าแทบทั้งสิ้น แต่จากสถิติการใช้ไฟฟ้า ของประเทศไทยพบว่า ในปี 2556 ความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของประเทศ มีค่าเท่ากับ 26,598.14 เมกะวัตต์ เกิดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤษภาคม 2556 เวลา 14.00 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2555 จĞำนวน 477.14 เมกะวัตต์ คิดเป็น ร้อยละ 1.83 โดยมีสาเหตุหลักจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด อยู่ที่ระดับ 37.5 องศาเซสเซียส คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 25. 5 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล เมกะวัตต์ 27,000.00 24,009.00 23,900.00 24,464.00 24,571.00 24,882.00 25,178.00 25,551.00 25,682.00 คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล 26,121.00 26,598.14 26,500.00 26,000.00 25,500.00 25,000.00 24,500.00 24,000.00 23,500.00 23,000.00 22,500.00 10 พ.ค.53 24 พ.ค.54 23 มี.ค.55 29 มี.ค.55 19 เม.ย.55 20 เม.ย.55 24 เม.ย.55 25 เม.ย.55 26 เม.ย.55 16 พ.ค.56 ที่มา : กองสารสนเทศ ฝ่า ยสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่งประเทศไทย รูปที่ 1.1 สถิติความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ปี 2553 - 2556 ในปี 2556 (ข้อมูลเดือนธันวาคม 2556) กĞำลังผลิตไฟฟ้ารวมของ ประเทศมีกĞำลังผลิตติดตั้งรวมทั้งสิ้น 33,681.02 เมกะวัตต์ โดยเป็นกĞำลัง ผลิตจาก 1) โรงไฟฟ้าของ กฟผ. รวม 15,010.13 เมกะวัตต์ คิดเป็นร้อยละ 44.56 ของกĞำลังผลิตทั้งประเทศ 2) กĞำลังผลิตที่รับซื้อจากโรงไฟฟ้าเอกชนและต่างประเทศ รวม 18,670.89 เมกะวัตต์ หรือ ร้อยละ 55.44 ประกอบด้วย กĞำลังผลิตของ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP) ภายในประเทศรวม 12,741.70 เมกะวัตต์ ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ประเภทสัญญา Firm รวม 3,524.60 เมกะวัตต์ และไฟฟ้าซื้อจากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป. ลาว) และ มาเลเซีย รวม 2,404.60 เมกะวัตต์
  • 26. 6 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ที่มา : กองสารสนเทศ ฝ่า ยสื่อสารองค์การ การไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่งประเทศไทย รูปที่ 1.2 กĞำลังการผลิตไฟฟ้ารวมของระบบ ณ เดือนธันวาคม 2556 จากกĞำลังผลิตไฟฟ้ารวมของประเทศกับความต้องการไฟฟ้าสูงสุดของ ระบบ พบว่า ประเทศไทย มีกĞำลังไฟฟ้าสĞำรองเพียง 7,082.88 เมกะวัตต์ ซึ่งกĞำลังไฟฟ้าสĞำรองเป็นกĞำลังผลิตไฟฟ้าที่วางแผนการผลิต ให้มีมากกว่า ปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าสงูสดุในเวลาปกตจิำĞนวนหนึ่ง แตเ่นื่องจาก การก่อสร้างโรงไฟฟ้า ต้องใช้เวลานาน และปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้า ของประเทศคาดการณ์ได้ยาก ถ้ามีกĞำลังผลิตไฟฟ้าสĞำรอง ไม่เพียงพอกับ ความต้องการอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศได้ 1.2 บทบาทของผู้บริหารในการอนุรักษ์พลังงาน ให้ประสบความสĞำเร็จ ผู้บริหารระดับสูงมีบทบาทสĞำคัญอย่างยิ่งต่อการสนับสนุนและผลักดัน ให้กิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานประสบความสĞำเร็จเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืนดังต่อไปนี้ 1. พัฒนาทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์พลังงานและแสดงเจตนารมณ์ คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 27. 7 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานต่อบุคลากรในองค์กร โดยประกาศนโยบาย การอนุรักษ์พลังงานของโรงพยาบาลให้พนักงานทุกระดับทราบ มีคĞำกล่าว ที่คุ้นเคยที่ว่า “ถ้าหัวไม่ส่าย หางก็ไม่กระดิก” ดังนั้นหากท่านต้องการให้ ระบบเกิด ท่านต้องเป็นคนแรกที่จะต้องเริ่มทĞำอย่างจริงจัง และจริงใจ มี หลายองค์กรที่ผู้นĞำเป็นตัวอย่าง ใช้บันไดแทนการใช้ลิฟท์ร่วมกับพนักงาน หรือปิดไฟเมื่อเลิกใช้งาน สร้างแรงผลักดันให้กับพนักงาน (จุดสĞำคัญ คือ ผู้นĞำต้องเป็นตัวอย่างที่ดี) (ก) (ข) รูปที่ 1.3 รูป (ก) นายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ ผู้อĞำนวยการโรงพยาบาล พญาไทศรีราชา เดินขึ้น-ลงบันไดแทนการใช้ลิฟต์เช่นเดียวกับ พนักงานทั่วไป และรูป (ข) นางพรพรรณ บุณยเกียรติ รองผู้อĞำนวยการ ฝ่า ยบริหาร สถาบันโรคทรวงอก รณรงค์ปิดไฟเมื่อเลิกใช้งาน 2. สนับสนุนกĞำลังคน ในที่นี้หมายถึง ทีมงานหรือทีมบริหารจัดการ พลังงาน ซึ่งเป็นตัวแทนจากทุกภาคส่วนในโรงพยาบาลให้มีความรับผิดชอบ ให้สอดคล้องกับระบบการบริหารโรงพยาบาล ประกอบด้วย ประธาน คณะกรรมการ ที่ปรึกษา กรรมการ และเลขานุการ ซึ่งจะกล่าวถึงโดย ละเอียดในหัวข้อ 1.3.1 ต่อไป และท่าน(ผู้บริหาร) จะต้องให้คĞำแนะนĞำ และเป็นที่ปรึกษาเพื่อให้ความรู้ การแก้ปัญหาต่างๆ แก่ทีมงานที่จัดตั้งขึ้น เพื่อให้สามารถขยายผลในองค์กรเพื่อการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการส่งไปอบรมภายนอกหรือจัดอบรมภายในองค์กรเอง โดยที่ปรึกษา คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 28. 8 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล หรือผู้เชี่ยวชาญจากภายนอก เพื่อสิ่งเหล่านี้จะได้เป็นโปรไฟล์ในเรื่องการ ฝึกอบรม (Training) ของโรงพยาบาลของท่านเอง 3. สนับสนุนงบประมาณในการทĞำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง (เพราะ ท่านต้องเข้าใจความจริงข้อหนึ่งที่ว่า พนักงานเจ้าหน้าที่มีไอเดีย อยากทĞำ แต่ไม่มีใครที่จะออกเงินตัวเอง) ดังนั้น ผู้บริหารต้องสนับสนุนเรื่องเงิน ซึ่งเป็นปัจจัยสĞำคัญที่กระตุ้นให้เกิดความพร้อมในทุกๆเรื่อง พึงระลึก อยู่เสมอว่า “You gets what you pay for” ดังนั้นต้องมีการลงทุน กับ สิ่งที่คุ้มค่าต่อองค์กร 4. ติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและที่สĞำคัญคือ ต้องมีเวลาติดตามเรื่องนี้อย่างจริงจัง หรือว่ามีวาระให้ทีมงานได้มีโอกาส รายงานความคืบหน้าในสิ่งที่ได้รับมอบหมาย 5. ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งในที่นี้หมายถึง พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานฯ 1.3 กฎหมายด้านการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้นที่ควรทราบ พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานฯเป็นกฎหมายที่เน้น การส่งเสริมและช่วยเหลือแก่โรงงานควบคุมและอาคารควบคุม (โรงงาน หรืออาคาร ที่ติดตั้งหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดมากกว่า 1,175 kVA หรือมี การใช้พลังงานทั้งหมดเทียบเท่าพลังงานความร้อนตั้งแต่ 20 ล้านMJ/ปี ขึ้นไป) แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้พระราชบัญญัติฯ มีสภาพบังคับ จึงต้องมี บทกĞำหนดโทษในลักษณะของค่าปรับสำĞหรับผ้ทูี่ไม่ดำĞเนินการตามกฎหมาย โดยจะกล่าวถึงเฉพาะในส่วนของ เจ้าของอาคารควบคุมที่ไม่ดĞำเนินการจัดการ พลังงานตามที่กĞำหนดในกฎกระทรวง การไม่แจ้งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด้าน พลังงาน สĞำหรับบทกĞำหนดโทษของผู้ที่ฝ่า ฝืนไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติฯ และกฎหมายลĞำดับรองของพระราชบัญญัติฯนี้มีดังต่อไปนี้ 1) เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมแห่งใด แจ้งรายละเอียดหรือเหตุผลในการมีคĞำขอให้อธิบดีผ่อนผัน คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 29. 9 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล การที่ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ตามมาตรา 8 วรรค สามอันเป็นเท็จ ต้องระวางโทษจĞำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 150,000 บาท หรือทั้งจĞำทั้งปรับ (มาตรา 53) 2) เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุมผู้ใด ไม่ปฏิบัติตามคĞำสั่งของอธิบดีตามมาตรา 10 และมาตรา 21 ที่สั่งให้ผู้นั้นแจ้งข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการใช้พลังงานเพื่อ ตรวจสอบให้การอนุรักษ์พลังงานเป็นไปตามมาตรฐาน หลักเกณฑ์และวิธีการที่กĞำหนดในกฎกระทรวงต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 54) 3) เจ้าของโรงงานควบคุม เจ้าของอาคารควบคุม หรือผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงานผู้ใดไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ออกตามความ ในมาตรา 9 หรือมาตรา 21 อันได้แก่ กฎกระทรวงในเรื่องต่างๆ ดังนี้ การกĞำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการ พลังงานให้เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของอาคารควบคุม ต้องปฏิบัติการกĞำหนดให้เจ้าของโรงงานควบคุมหรือเจ้าของ อาคารควบคุมต้องจัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจĞำ ในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม (ผชอ.) แต่ละแห่ง ตลอดจนกĞำหนดคุณสมบัติและหน้าที่ของผู้รับผิดชอบด้าน พลังงานต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท (มาตรา 55) 4) ผู้ใดไม่ส่งเงินเข้ากองทุนหรือส่งเงินเข้ากองทุนไม่ครบ ตามจĞำนวนที่ต้องส่งตามมาตรา 35 มาตรา 36 หรือมาตรา 37 ต้องระวางโทษจĞำคุกตั้งแต่ 3 เดือนถึง 2 ปีหรือปรับตั้งแต่ 100,000 บาทถึง 1,000,000 บาท หรือทั้งจĞำทั้งปรับ (มาตรา 58) 5) ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อĞำนวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้า หน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา 47 (2) ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 60) หมายเหตุ: ท่านผู้บริหารสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก www.dede.go.th คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 30. 10 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล 1.4 โครงการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน ครั้นเมื่อท่านผู้บริหารเป็นทั้งผู้รอบรู้ เข้าใจในบทบาทตัวเองและ ทีมงาน และตระหนักถึงเรื่องของกฎหมายและมาตรฐานแล้ว อีกสิ่งหนึ่ง ทีท่่านผบู้รหิารโรงพยาบาลจำĞเปน็ตอ้งมีกค็อื “แหลง่สนบัสนนุด้านการเงนิ” เพราะความจริงข้อหนึ่งที่ว่า “ไม่ช้าก็เร็ว ท่านจะต้องมีการปรับปรุงอาคาร เทคโนโลยีฯหรืออุปกรณ์ต่างๆในโรงพยาบาลของท่าน” (ดูเรื่องของ การบริหารทรัพยากรอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงานในบทที่ 2) แหล่งสนับสนุนเงินลงทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เช่น การปรับเปลี่ยน เทคโนโลยีเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมนั้น มีแหล่งเงินทุนทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนหลายแห่งด้วยกัน ที่ให้การสนับสนุนในรูปสินเชื่อ ดอกเบี้ยตĞ่ำ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน อาทิ เช่น ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย ธนาคารกสิกรไทย กระทรวงพลังงาน เป็นต้น (ก) (ข) (ค) รูปที่1.4 โครงการผลิตก๊า ซชีวภาพจากเศษอาหารใช้ทดแทน LPG รูป (ก) โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ได้รับเงินสนับสนุนบางส่วน จากสĞำนักนโยบายและแผนพลังงาน รูป (ข) ซีไอเอ็มบี ไทย จัดสัมมนา “กลยุทธ์การดĞำเนินโครงการอนุรักษ์พลังงาน สĞำหรับโรงพยาบาล”รูป (ค) โครงการผลิตน้Ğำร้อนพลัง แสงอาทิตย์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ได้รับเงินสนับสนุนจาก กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 31. 11 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล การสนับสนุนจาก BOI ที่สนับสนุนในเรื่องของการยกเว้นภาษีนĞำเข้า เครื่องจักรอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน หรือนโยบายส่งเสริมการลงทุนด้าน การอนุรักษ์พลังงานในประเทศไทยนั้นมีอยู่มากโดยผู้ประกอบการ สามารถขอรับเงินกู้ดอกเบี้ยตĞ่ำ หรือ การลดหย่อนภาษี หรือ เงินสนับสนุน โครงการ การสนับสนุนผ่านโครงการของภาครัฐบาล เช่น โครงการอนุรักษ์ พลังงานแบบมีส่วนร่วม โดยมีผู้เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์พลังงานเข้าไป แนะนĞำเทคนิควิธีการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งทางด้านความร้อนและทางด้าน ไฟฟ้า ที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงาน เน้นการสร้างจิตสĞำนึกให้บุคลากร ในสถานประกอบการมคีวามรเู้ขา้ใจหลกัในการบรหิารจดัการ อยา่งเปน็ระบบ สร้างเสริมการมีส่วนร่วม และคิดนอกกรอบในด้านการอนุรักษ์พลังงาน เพือ่ใหเ้กดิการใชพ้ลงังานอยา่งคมุ้คา่และมกีารใชอ้ปุกรณอ์ยา่งเตม็ประสทิธภิาพ ซึ่งจะทĞำให้เกิดการสานต่อกันเป็นนโยบาย การอนุรักษ์พลังงานให้ยั่งยืน ต่อไปในอนาคต โครงการสนับสนุนของภาครัฐที่ได้รับความนิยมสูงในปัจจุบัน ได้แก่ โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษี โครงการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน เป็นเงินทุนดอกเบี้ยตĞ่ำไม่เกิน 4% และโครงการส่งเสริมวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งทางกระทรวงพลังงานก็ได้สนับสนุน เป็นเงินให้เปล่า เป็นจĞำนวน 20% ของเงินลงทุน สูงสุดไม่เกิน 3 ล้านบาท ต่อราย ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาครัฐมีการสนับสนุนอยู่ตลอดเวลา อีกตัวอย่างที่เป็นการสนับสนุน ก็คือตĞำราที่ท่านถืออยู่ในมือนี้ก็มาจาก หลักสูตรการอบรม ทีมบริหารระบบการจัดการพลังงานในอาคารประเภท โรงพยาบาล ซึ่งเป็นหลักสูตรแรกจากเงินสนับสนุนของภาครัฐด้วยเช่นกัน 1.5 มาตรฐานด้านการจัดการพลังงานที่ควรรู้ หากพูดถึงมาตรฐานด้านพลังงานที่จำĞเป็นต้องร้คูงหนีไม่พ้น ISO 50001:2011 โดยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2554 องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล
  • 32. 12 การบริหารจัดการพลังงานในโรงพยาบาล (International Organization for Standardization: ISO) ได้ประกาศ ใช้มาตรฐานการจัดการพลังงาน หรือ ISO 50001:2011 เพื่อเป็นแรง ขับเคลื่อนให้องค์กรต่างๆให้ความใส่ใจต่อการจัดการพลังงานมากขึ้น คาดการณ์ว่ามาตรฐานดังกล่าวจะส่งผลในเชิงบวกต่อการลดการใช้ พลังงานของโลกประมาณ 60% ISO 50001 หรือ ระบบการจัดการพลังงาน ที่สามารถนĞำไปใช้ได้กับ องค์กรทุกขนาดและทุกประเภท อีกทั้งยังสามารถบูรณาการให้เข้ากับ ระบบอื่นๆ ได้ โดยเฉพาะมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมหรือ ISO 14001 และ OHSAS 18001 ซึ่งจะต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตามหลักการ P-D-C-A (PLAN - DO - CHECK - ACTION) โดย Plan คือการวางแผนที่ครอบคลุม เรื่องของการทบทวนด้านพลังงาน การกĞำหนดดัชนีชี้วัดพลังงาน (EnPIs) วัตถุประสงค์ของการจัดการพลังงาน กĞำหนดเป้าหมายและแผนการดĞำเนินงาน ที่สĞำคัญ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อนโยบายด้านพลังงานและ พัฒนา ศักยภาพด้านพลังงานขององค์กรในส่วนของ Do จะเป็นการดĞำเนินการ ตามแผนงานการจัดการพลังงานขององค์กร สĞำหรับ Check เป็น กระบวนการติดตามและวัดผล ที่เป็นตัวกĞำหนดมาตรการปฏิบัติการด้าน พลังงานสอดคล้องตามนโยบายพลังงาน และวัตถุประสงค์ พร้อมทั้ง รายงานผลที่เกิดขึ้น สุดท้าย ACTION เป็นการปฏิบัติจริงและมีการดĞำเนินการ จัดการพลังงานอย่างต่อเนื่อง ในที่นี้อยากขอเพิ่มอีกหนึ่งหลักการที่มี ความสĞำคัญเช่นเดียวกันคือ S (Standard) เพราะไม่ว่าจะทĞำสิ่งใดแล้ว บอกว่าดี หรือไม่ดี ก็ต้องนĞำมาเทียบกับ Standard ทั้งสิ้น นอกจากนี้ ISO 50001:2011 ยังเน้นหนักที่มาตรฐานด้านพลังงานดัง ต่อไปนี้ 1) การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) ซึ่งจะ รวมทั้งมุมมองด้านการใช้เทคโนโลยี 2) การใช้พลังงาน (Energy Use) ทั้งมุมมองเชิงคุณภาพ รวมทั้ง กิจกรรมที่มนุษย์มีส่วนร่วม คู่มือพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานในอาคารประเภทโรงพยาบาล